SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
ระบบประสาท
ระบบประสาท
      ระบบประสาทของสัตวชั้นสูงแบงตามโครงสรางได 2 ระบบ
      1. ระบบประสาทกลาง (Central Nervous System : C.N.S.) ประกอบดวยสมองและ
ไขสันหลัง
      2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System :P.N.S) ประกอบดวยเสนประสาท
สมอง และเสนประสาทไขสันหลัง
      ระบบประสาทของสัตวชั้นสูงแบงตามการทํางานได 2 ระบบ
      1. Somatic Nervous System : SNS ไดแก กลามเนื้อลาย
      2. Autonomic Nervous System : ANS ไดแก กลามเนื้อรอบ กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ

       ระบบประสาททําหนาที่
       1. ตอบสนองสิ่งเราที่มากระตุน
       2. ควบคุมการทํางาน
       3. ควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ
ตัวเซลล (Body)
เซลลประสาทของสัตวมีกระดูกสันหลัง                                         Axon
                                             ใยประสาท (fiber)              Dendrite
        ประเภทของเซลลประสาท
        1. แบงโดยใชขั้วเปนเกณฑได 3 แบบ คือ เซลลประสาทขั้วเดียว เซลลประสาทสองขั้ว และ
เซลลประสาทหลายขั้ว
        2. แบงโดยใชหนาที่เปนเกณฑ แบงได 3 แบบ คือ sensory neuron, motor neuron และ
inter neuron




                                  ภาพเซลลประสาทชนิดตาง ๆ
การทํางานของเซลลประสาท
         กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปในใยประสาทไดดวยปฏิกิริยาทางไฟฟาเคมี (electrochemical reaction)
A.L. Hodgkin และ A.F. Huxley ไดทดลองวัดความตางศักยของเยื่อหุมเซลลประสาทของปลาหมึก โดยใช
เครื่องมือที่เรียกวา microelectrode
         จากการทดลองพบวาความตางศักยไฟฟาระหวางภายในและภายนอกเซลลประสาทมีคา - 60
มิลลิโวลต ในสภาวะพัก ซึ่งเรียกวา resting potential หรือ polarisation
         ถามีการกระตุนที่จุดหนึ่งบน axon คาความตางศักยจะสูงขึ้นตามลําดับจนเปน + 60 มิลลิโวลต
เรียกวาเกิด depolarization และเรียกความตางศักยที่เปลี่ยนไปวา action potential ตอมาความตางศักย
ไฟฟาเริ่มลดลงเรียกวาเกิด repolarization สุดทายกลับลงมาเปน –60 มิลลิโวลตตามเดิมเรียก resting
potential
         เซลลประสาทในภาวะปกติ
         Na+ อยูภายนอกมากกวาภายใน
         K+        อยูภายในมากกวาภายนอก
         Cl-       เขาออกไดอิสระ
         Protein, Nucleic â มีขนาดโมเลกุลใหญอยูภายใน cell
         ใยประสาทไดรับการกระตุน
         ผนังเซลลประสาทเสียคุณสมบัติชั่วคราว คือ ยอมให Na+ เขาภายในเซลล ผลที่ตามมาคือ K+
ออกนอกเซลล ทําใหมีการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทสงตอไปยังสมองเพื่อใหเซลลประสาทกลับคืน
สภาพเดิม จึงตองมี Sodium potassium (-K pump) ซึ่งใชพลังงานจากการสลายโมเลกุลของ ATP
ภายในผิวของเซลลประสาท ดังรูป
ภาพแสดงการสงกระแสประสาท

      การถายทอดกระแสประสาท
      ในการสงกระแสประสาทจาก Axon ของเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่งตองผาน Synapse โดย
ปลาย axon จะหลั่งสารเคมีพวก Neurohormone (สารสื่อประสาท) เพื่อพากระแสประสาทใหขามไปได
      Neurohormone เชน acetylcholine สลายตัวเร็วมาก เพื่อไมใหซึมเขาเซลลหรือเสนเลือด โดย
Enzyme ชื่อ acetylcholinesterase

         การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท
         กระแสประสาทจะไมเกิดขึ้นถากระตุนดวยความแรงนอยเกินกวาระดับหนึ่ง ถากระตุนดวยความ
แรงมากก็ไมทําใหกระแสประสาทเคลื่อนที่เร็วขึ้น กระแสประสาทเคลื่อนที่ดวยความเร็วเทาเดิม เพราะวา
การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทใชพลังงานภายในเซลล
         ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาทขึ้นอยูกับ
         1. เยื่อไมอีลิน ถามีจะเคลื่อนที่เร็วกวาเซลลประสาทที่ไมมีเยื่อไมอีลิน
         2. Node of Ranvier ถาหางมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่เร็ว
         3. เสนผานศูนยกลาง ถามีขนาดใหญจะเคลื่อนที่เร็ว
ศูนยกลางของระบบประสาท
       Neural tube เปนโครงสรางที่มีลักษณะเปนหลอดยาวไปตามแนวสันหลังในระยะ embryo สวนหนา
เจริญไปเปนสมอง สวนหลังเจริญไปเปนไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุม 3 ชั้น คือ
       ชั้นนอก เปนเยื่อหนา เหนียว และแข็งแรง
       ชั้นกลาง เปนเยื่อบาง ๆ
       ชั้นใน เปนชั้นที่มีเสนเลือดมาหลอเลี้ยง เพื่อนําอาหารและออกซิเจนมาใหสมองและไขสันหลัง
       ระหวางเยื่อหุมสมองชั้นกลางและชั้นในมีชองคอนขางใหญเปนที่อยูของนํ้าไขสันหลังซึ่งมีหนาที่
ดังนี้
       1. หลอเลี้ยงสมอง และไขสันหลังใหชื่นอยูเสมอ
       2. นําออกซิเจนและอาหารมาเลี้ยงเซลลประสาท
       3. นําของเสียออกจากเซลล

         สมอง (brain) เปนอวัยวะที่สําคัญและซับซอนที่สุดของระบบประสาท และมีขนาดใหญกวาสวน
อื่น ๆ มีคลื่นหรือรอยหยัก (convolution) มาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการคิดและการจํา สมองแบงเปน 2 ชั้น คือ
         ชั้นนอก มีเนื้อสีเทา เปนที่รวมของตัวเซลลประสาทและ axon ชนิด non-myelin sheath
         ชั้นใน มีสีขาวเปนสารพวกไขมัน ตัวเซลลประสาทมี myelin sheathe หุม
         สมองของคนแบงเปน 3 สวนคือ
         สมองสวนหนา (forebrain)
         สมองสวนกลาง (midbrain)
         สมองสวนทาย (hindbrain) ดังรูป




                                      ภาพแสดงสมองสวนตาง ๆ
สมองสวนหนา (froebrain) ประกอบดวย 3 สวน คือ
          1. เซรีบรัม (cerebrum) เปนสมองสวนหนาสุด ใหญที่สุด และเจริญมากที่สุด มีหนาที่เก็บขอมูล
สิ่งตาง ๆ มีความจํา ความคิด เปนศูนยรับความรูสึก มองเห็น ไดยิน กลิ่น รส สัมผัส เจ็บ-ปวด รอน-เย็น
และควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ
          2. ทาลามัส (thalamus) ทําหนาที่เปนศูนยรวมกระแสประสาทที่ผานเขามา แลวแยกกระแส
ประสาทสงไปยังสมองที่เกี่ยวของกับกระแสประสาทนั้น ๆ เปนสถานีถายทอดกระแสประสาทจากหู ตา
ไปยังเซรีบรัม และรับขอมูลจากเซรีบรัมสงไปยังเซรีเบลลัมและเมดัลลาออบลองกาตา
          3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เปนสวนลางสุด เปนรูปกรวยยื่นไปขางลาง ปลายสุดเปน
ตอมใตสมอง เซลลประสาทสมองบริเวณนี้สรางฮอรโมนประสาทหลายชนิดไปควบคุมการสรางฮอรโมน
ของตอมใตสมอง มีหนาที่ควบคุมกระบวนการพฤติกรรมของรางกาย เชน อุณหภูมิ ความดันเลือด
อารมณ ความรูสึกทางเพศ ความสมดุลของนํ้าในรางกาย ความกลัว ควบคุม metabolism การเตนของ
หัวใจ ความโศกเศรา ดีใจ ไฮโพทาลามัส เปนสวนที่เชื่อมระหวางระบบประสาทกับระบบตอมไรทอ
          สมองสวนกลาง (midbrain) มีหนาที่เกี่ยวของกับการควบคุมการเคลื่อนไหวของนัยนตา ทําให
ลูกตากลอกไปมาได ควบคุมการปดเปดของมานตาในเวลาที่มีแสงสวางเขามามากหรือนอย
          สมองสวนทาย (hindbrain) อยูถัดจากสมองสวนกลางและติดตอกับไขสันหลัง แบงเปนสองสวน
          1. เซรีเบลลัม (cerebellum) เปนสมองสวนที่ควบคุมการทรงตัวและควบคุมการเคลื่อนไหวของ
กลามเนื้อลายสัตวที่เคลื่อนที่ 3 มิติ มีสมองสวนนี้เจริญดี
          2. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เปนสวนที่เชื่อมตอระหวางสมองกับไขสันหลัง
มีรูปรางคลายไขสันหลัง เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางสมองกับไขสันหลัง มีหนาที่ควบคุม
อวัยวะภายในและควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ สัตวชนิดใดมีอัตราระหวางนํ้าหนักสมองตอนํ้าหนักตัว
มากจะฉลาดเรียนรูไดดี
          กานสมอง (brain stem) ประกอบดวย
          1. Midbrain
          2. Pons ในคนอยูดานหนาของเซรีเบลลัมติดตอกับสมองสวนกลาง สวนทางดานทองของ
                                
เซรีเบลลัมมีหนาที่ควบคุมเกี่ยวกับการเคี้ยวอาหาร การหลั่งนํ้าลาย การเคลื่อนไหวบริเวณใบหนา และ
ควบคุมการหายใน
          3. Medulla oblongata
ไขสันหลัง (spinal cord) เปนเนื้อเยื่อประสาทที่มี synapse มากที่สุด




               ภาพแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเขาและออกจากไขสันหลัง

         หนาที่ของไขสันหลัง
         - ศูนยเชื่อมระหวาง receptor (หนวยรับความรูสึก) และ effector (หนวยปฏิบัติงาน)
         - ทางผานระหวาง nerve impulse ระหวางไขสันหลังกับสมอง
         - ศูนยกลางการเคลื่อนไหว (simple reflex) ที่ตอบสนองการสัมผัสทางผิวหนัง
         เสนประสาทสมอง
         สัตวตางชนิดกันมีเสนประสาทสมองไมเทากัน เชน สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม นก และสัตวเลื้อยคลาน
มี 12 คู ปลาและสัตวครึ่งนํ้าครึ่งบกมี 10 คู
คนเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมชนิดหนึ่งมีเสนประสาทสมอง 12 คู ดังนี้
       เสนประสาทสมองของคน
       คูที่
       0 Terminal n.                     เยื่อจมูก                    ดานทองของ cerebrum
       1 Olfactory n.                    จมูก                         สมอง
       2 Optic n.                        ตา                           สมอง
       3 Oculomotor n.                   สมอง                         ตา
       4 Trochlear n.                    สมอง                         ตา
       5 Trigeminal n.                   สมอง                         หนาและฟน
       6 Abducent n.                     สมอง                         ตา
       7 Facial n.                       สมอง                         กลามเนื้อใบหนา
       8 Auditory n.                     หู                           สมอง
       9 Glossopharyngeal n.             คอหอย                        สมอง
       10 Vagus n.                       ชองอก, ทอง, หัว, ลําคอ     สมอง
       11 Accessory n.                   สมอง                         กลองเสียง
       12 Hypogolssal n.                 สมอง                         กลามเนื้อลิ้น

                                              รากบน dorsal root ทําหนาที่รับความรูสึก
       เสนประสาทไขสันหลัง มี 2 ราก           รากลาง ventral root ทําหนาที่สงความรูสึก

         เสนประสาทไขสันหลังของกบมี 9 คู ของคนมี 31 คู ดังนี้
         - บริเวณคอ 8 คู
         - บริเวณอก 12 คู
         - บริเวณเอว 5 คู
         - กระเบนเหน็บ 5 คู
         - กนกบ 1 คู
         เสนประสาทไขสันหลังบริเวณเอว ตั้งแตคูที่ 2 ลงไปไมมีไขสันหลัง เปนบริเวณที่แพทยสามารถ
ฉีดยาเขาไขสันหลังหรือเจาะนํ้าเลี้ยงสมองได
ระบบประสาทโซมาติก เปนระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อลาย โดยเซลล
ประสาทรับความรูสึกจะรับกระแสประสามจากหนวยรับความรูสึกผานเสนประสาทไขสันหลังหรือเสน
ประสาทสมองเขาสูไขสันหลังหรือสมอง และกระแสประสาทนําคําสั่งจากสมองจะถูกสงผานเสนประสาท
สมองหรือเสนประสาทไขสันหลังไปยังหนวยปฏิบัติงานซึ่งเปนกลามเนื้อลายซึ่งบางครั้งอาจทํางานไดโดย
รับคําสั่งจากไขสันหลังเทานั้น เชน การกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเขา
          Reflex action หมายถึง การทํางานของหนวยปฏิบัติงานของระบบประสาทสวนกลางที่เกิดทันที
โดยมิไดมีการเตรียมลวงหนา
          Reflex arc เปนวงการทํางานของระบบประสาท ซึ่งจะทําหนาที่อยางสมบูรณไดตองประกอบดวย
                                                                                  
ประสาท 5 สวน คือ Receptor Sensory nerve association nerve motor nerve effector
หรืออยางนอยที่สุดตองประกอบดวยประสาท 2 สวน คือ sensory nerve กับ motor nerve
          Voluntary nervous system เปนระบบประสาทที่ทํางานภายใตอํานาจของจิตใจ
          Involuntary nervous system เปนระบบประสาทที่ทํางานนอกอํานาจจิตใจ
ระบบประสาทอัตโนมัติ เปนระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อ
หัวใจ และตอมตาง ๆ เพื่อปรับรางกายใหเขากับสภาพแวดลอมภายใน ประกอบดวย
        1. Sympathetic nervous system เปนประสาทที่อยูบริเวณไขสันหลัง จนถึงกระเบนเหน็บ
        2. Parasympathetic nervous system เปนประสาทที่อยูเหนือไขสันหลังและตํ่ากวากระเบนเหน็บ




               ภาพแสดงการทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก
ระบบประสาทของพวก invertebrate   - ระบบประสาทไมยุงยาก เปลี่ยนแปลงจาก ectoderm
Paramecium                      - ไมมีเซลลประสาท แตสามารถรับรูได ตอบสนอง
                                  สิ่งเราได
                                - มี Co-ordinating fiber (เสนใยประสานงาน) ที่โคน
                                  ของ cilia
Hydra                           - มีเซลลประสาทเชื่อมโยงคลายรางแห (nerve net)
Planaria                        - มีปมประสาท 2 ปมบริเวณหัว มีเสนประสาทใหญ
                                  สองเสนยาวตลอดลําตัว
Earthe worm                     - มีปมประสาทเปนวงแหวน ระหวางปลองที่ 2, 3 มี
                                  เสนประสาทยาวตลอดลําตัวทางดานทอง 2 เสน
Insect                          - มีปมประสาทที่หัวระหวางตาทั้งสอง และมีแขนง
                                  ประสาทไปยังสวนตาง ๆ
Mollusk                         - มีปมประสาทหัว 1 คู ลําตัว 1 คู ขาเดิน 1 คู
Echinoderm                      - มี nerve ring ออมรอบปาก
ภาพแสดงระบบประสาทของสัตวไมมีกระดูกสันหลังชนิดตาง ๆ
   ก-ข พารามีเซียม ค พลานาเรีย ง ไฮดรา จ แมลง
อวัยวะรับสัมผัสของสัตวชั้นสูง
       ตาคน ลักษณะกลมอยูในเบาตา มีเยื่อบาง ๆ ยึดลูกตาไวหลวม ๆ




         ผนังลูกตาประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ
         1. ชั้นนอก (sclera หรือ Sclerotic coat) เปน Fibrous tissue ไมยืดหยุน ผนังหนา ทําใหลูกตา
คงรูปได มีสีขาวมัว ๆ และมีสวนใส ๆ สีดํานูนออกมา เรียก กระจกตา (cornea) สวนนี้ชุมชื้นเสมอ เพราะมี
secretion จาก oil gland มาชโลม
         2. ชั้นกลาง (choroid coat) มีเสนเลือดมาเลี้ยงและมีรงควัตถุแผกระจายในชั้นนี้มากเพื่อมิให
แสงสวางทะลุผานชั้นเรตินาไปยังดานหลังโดยตรง นอกจากนี้มีมานตา (Iris) และพิวพิล (pupil) เปนทาง
ใหแสงผานเขาไปภายในตา
3. ชั้นใน (retina) เปนบริเวณที่มีเซลลรับแสงซึ่งมีรูปรางตาง ๆ กัน คือ
         3.1 เซลลรูปแทง (rod cell) รูปรางยาวเปนแทง ทําหนาที่เปนเซลลรับแสงสวางที่ไวมาก
จะบอกความมืดและความสวาง




                                 ภาพแสดงการทํางานของ rod cell

            3.2 เซลลรูปกรวย (cone cell) รูปรางเปนรูปกรวย ทําหนาที่เปนเซลลที่บอกความแตกตาง
ของสีแตตองการแสงสวางมาก เซลลรูปกรวยแบงไดเปน 3 ชนิด คือ เซลลรูปกรวยที่รับแสงสีแดง
เซลลรูปกรวยที่รับแสงสีเขียว และเซลลรูปกรวยที่รับแสงสีนํ้าเงิน เมื่อเซลลรูปกรวยไดรับการกระตุน
พรอม ๆ กันดวยความเขมของแสงตาง ๆ กัน จึงเกิดการผสมเปนสีตาง ๆ ขึ้น
        นอกจากนี้บริเวณเรตินายังมี fovea และ blindspot fovea อยูตรงกลางของ retina บริเวณนี้มี
เซลลรูปกรวยหนาแนนกวาบริเวณอื่น ภาพที่ตกบริเวณนี้จะชัดเจน สวน blindspot เปนบริเวณที่ใยประสาท
ออกจากนัยนตาเพื่อเขาสูเสนประสาทตา บริเวณนี้ไมมี cell รับแสงสวางเลย ภาพที่ตกบริเวณนี้จึงมอง
ไมเห็น
        สวนประกอบอื่น ๆ ของตา
        1. แกวตา (lens) หดตัว พองตัว และยืดหยุนได ดานในโคงมากกวาดานนอก มีหนาที่โฟกัส
ภาพใหชดบนเรตินา
        ั
        2. ชองภายในลูกตา (vitreous chamber) มีของเหลวเปนเมือกใสเหนียว มีคาดัชนีหักเหของแสง
สูงมาก เรียก vitreous humor
หูและการรับฟง
       หนาที่
       1. รับความถี่ของคลื่นเสียง
       2. การทรงตัว




                                    ภาพแสดงสวนประกอบของหูคน

        หูคนแบงเปน 3 สวน หูสวนนอก หูสวนกลาง และหูสวนใน
        หูสวนนอก ประกอบดวย
        1. ใบหู ทําหนาที่รับคลื่นเสียงจากภายนอก
        2. รูหู มีหนาที่รวมเสียงไปสูแกวหู ภายในมีขนและตอมขี้หู
        3. เยื่อแกวหู เปนเยื่อบาง ๆ กั้นระหวางหูสวนนอกกับหูสวนกลาง
        หูสวนกลาง ประกอบดวย
        1. กระดูกเล็ก ๆ 3 ชิ้น คือ กระดูคอน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ซึ่งทําหนาที่สงตอแรง
สั่นสะเทือน
        2. หลอดยูสเตเชียน เปนโพรงตอระหวางหูสวนกลางกับคอหอย มีหนาที่รับความดันระหวาง
ภายในกับภายนอก
        หูสวนใน ประกอบดวย
        1. คอเคลีย เปนทอขดคลายกนหอย มีปลายประสาทรับพลังงานเสียงแลวเปลี่ยนเปนพลังงาน
ไฟฟาสงไปยังศูนยรับเสียงในสมอง
        2. หลอดครึ่งวงกลม ทําหนาที่ทรงตัว



       จมูกและการดมกลิ่น
       ภายในเยื่อจมูกมีเซลลรับกลิ่น คือ olfactory cell ซึ่งทําหนาที่เกี่ยวกับการับกลิ่นโดยเฉพาะ




                                    แสดงโครงสรางภายในของจมูก
                                       ก. โพรงจมูก
                                       ข. เซลลรับกลิ่น
ลิ้นและการชิมรส
         ดานบนของลิ้นจะมีปุมเล็ก ๆ จํานวนมากเรียก พาพิลลา (papilla) ภายใน papilla ประกอบดวย
ตุมรับรส (taste bud) ที่ทําหนาที่เปนตัวรับรส ซึ่งมี 4 ชนิด คือ ตุมรับรสเค็ม ตุมรับรสหวาน ตุมรับรส
เปรี้ยว และตุมรับรสขม ดังภาพ




                         ภาพแสดงบริเวณของลิ้นที่มีตุมรับรสตาง ๆ กระจายอยู

         ผิวหนังและการสัมผัส
         ผิวหนังเปน nerve organ ที่มีพื้นที่มากที่สุด มีปลายประสาทมาก ปลายประสาทแตละเสนรับ
ความรูสึกจากสิ่งเราตางชนิดกัน

More Related Content

What's hot

ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemsupreechafkk
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน Thitaree Samphao
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทCotton On
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองWan Ngamwongwan
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)Natthaya Khaothong
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous systemBios Logos
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทflimgold
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการWan Ngamwongwan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkruchanon2555
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทDew Thamita
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลังWan Ngamwongwan
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...kasidid20309
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกไผ่ไผ่ อยากเด่น
 

What's hot (20)

ระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous systemระบบประสาท - Nervous system
ระบบประสาท - Nervous system
 
เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน เซลล์ประสาทและการทำงาน
เซลล์ประสาทและการทำงาน
 
ตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาทตรวจร่างกายระบบประสาท
ตรวจร่างกายระบบประสาท
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ประสาท
ประสาทประสาท
ประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
บทท 8 ระบบประสาท (1)
บทท   8 ระบบประสาท (1)บทท   8 ระบบประสาท (1)
บทท 8 ระบบประสาท (1)
 
nerve cell
nerve cellnerve cell
nerve cell
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการการทำงานของระบบประสาทสั่งการ
การทำงานของระบบประสาทสั่งการ
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
การทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาทการทำงานระบบประสาท
การทำงานระบบประสาท
 
ไขสันหลัง
ไขสันหลังไขสันหลัง
ไขสันหลัง
 
ืnervous system
ืnervous systemืnervous system
ืnervous system
 
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
รื่องSensory and-motor-mechanismน้องๆสามารถศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ slide ด...
 
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมองเทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
เทคนิคการจำระบบประสาทและสมอง
 

Viewers also liked

Repoductiveอุ๋ย1
Repoductiveอุ๋ย1Repoductiveอุ๋ย1
Repoductiveอุ๋ย1Oui Nuchanart
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทPok Tanti
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดtuiye
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกNokko Bio
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1Wichai Likitponrak
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังWan Ngamwongwan
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทWan Ngamwongwan
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อWan Ngamwongwan
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกTa Lattapol
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5สำเร็จ นางสีคุณ
 

Viewers also liked (15)

Repoductiveอุ๋ย1
Repoductiveอุ๋ย1Repoductiveอุ๋ย1
Repoductiveอุ๋ย1
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
การทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาทการทำงานของเซลล์ประสาท
การทำงานของเซลล์ประสาท
 
หัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือดหัวใจและระบบเลือด
หัวใจและระบบเลือด
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
การแนะนำบทเรียน ม. 5 เทอม 1
 
จมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนังจมูกลิ้นผิวหนัง
จมูกลิ้นผิวหนัง
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
ต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อต่อมไร้ท่อ
ต่อมไร้ท่อ
 
ช วะ ม
ช วะ มช วะ ม
ช วะ ม
 
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึกบทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
บทที่ 3 ระบบประสาทและอวัยวะรับความรู้สึก
 
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
Ppt ระบบประสาท (nervous system) ชีววิทยา ม.5
 

Similar to ระบบประสาท

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทikaen2520
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)Natthaya Khaothong
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทyangclang22
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทkalita123
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทbowpp
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1juriyaporn
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2juriyaporn
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาทWichai Likitponrak
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาAngkana Chongjarearn
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทnokbiology
 

Similar to ระบบประสาท (20)

ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
ศ นย ควบค_มระประสาท (ต_อ)
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1ชุดการสอนที่1
ชุดการสอนที่1
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
test
testtest
test
 
ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2ชุดการสอนที่2
ชุดการสอนที่2
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 4 ชุดที่ 5
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 3
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
Biology m6
Biology m6Biology m6
Biology m6
 
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
กายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยา
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 

ระบบประสาท

  • 1. ระบบประสาท ระบบประสาท ระบบประสาทของสัตวชั้นสูงแบงตามโครงสรางได 2 ระบบ 1. ระบบประสาทกลาง (Central Nervous System : C.N.S.) ประกอบดวยสมองและ ไขสันหลัง 2. ระบบประสาทรอบนอก (Peripheral Nervous System :P.N.S) ประกอบดวยเสนประสาท สมอง และเสนประสาทไขสันหลัง ระบบประสาทของสัตวชั้นสูงแบงตามการทํางานได 2 ระบบ 1. Somatic Nervous System : SNS ไดแก กลามเนื้อลาย 2. Autonomic Nervous System : ANS ไดแก กลามเนื้อรอบ กลามเนื้อหัวใจ และตอมตาง ๆ ระบบประสาททําหนาที่ 1. ตอบสนองสิ่งเราที่มากระตุน 2. ควบคุมการทํางาน 3. ควบคุมการทํางานของอวัยวะตาง ๆ
  • 2. ตัวเซลล (Body) เซลลประสาทของสัตวมีกระดูกสันหลัง Axon ใยประสาท (fiber) Dendrite ประเภทของเซลลประสาท 1. แบงโดยใชขั้วเปนเกณฑได 3 แบบ คือ เซลลประสาทขั้วเดียว เซลลประสาทสองขั้ว และ เซลลประสาทหลายขั้ว 2. แบงโดยใชหนาที่เปนเกณฑ แบงได 3 แบบ คือ sensory neuron, motor neuron และ inter neuron ภาพเซลลประสาทชนิดตาง ๆ
  • 3. การทํางานของเซลลประสาท กระแสประสาทเคลื่อนที่ไปในใยประสาทไดดวยปฏิกิริยาทางไฟฟาเคมี (electrochemical reaction) A.L. Hodgkin และ A.F. Huxley ไดทดลองวัดความตางศักยของเยื่อหุมเซลลประสาทของปลาหมึก โดยใช เครื่องมือที่เรียกวา microelectrode จากการทดลองพบวาความตางศักยไฟฟาระหวางภายในและภายนอกเซลลประสาทมีคา - 60 มิลลิโวลต ในสภาวะพัก ซึ่งเรียกวา resting potential หรือ polarisation ถามีการกระตุนที่จุดหนึ่งบน axon คาความตางศักยจะสูงขึ้นตามลําดับจนเปน + 60 มิลลิโวลต เรียกวาเกิด depolarization และเรียกความตางศักยที่เปลี่ยนไปวา action potential ตอมาความตางศักย ไฟฟาเริ่มลดลงเรียกวาเกิด repolarization สุดทายกลับลงมาเปน –60 มิลลิโวลตตามเดิมเรียก resting potential เซลลประสาทในภาวะปกติ Na+ อยูภายนอกมากกวาภายใน K+ อยูภายในมากกวาภายนอก Cl- เขาออกไดอิสระ Protein, Nucleic â มีขนาดโมเลกุลใหญอยูภายใน cell ใยประสาทไดรับการกระตุน ผนังเซลลประสาทเสียคุณสมบัติชั่วคราว คือ ยอมให Na+ เขาภายในเซลล ผลที่ตามมาคือ K+ ออกนอกเซลล ทําใหมีการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทสงตอไปยังสมองเพื่อใหเซลลประสาทกลับคืน สภาพเดิม จึงตองมี Sodium potassium (-K pump) ซึ่งใชพลังงานจากการสลายโมเลกุลของ ATP ภายในผิวของเซลลประสาท ดังรูป
  • 4. ภาพแสดงการสงกระแสประสาท การถายทอดกระแสประสาท ในการสงกระแสประสาทจาก Axon ของเซลลหนึ่งไปยังอีกเซลลหนึ่งตองผาน Synapse โดย ปลาย axon จะหลั่งสารเคมีพวก Neurohormone (สารสื่อประสาท) เพื่อพากระแสประสาทใหขามไปได Neurohormone เชน acetylcholine สลายตัวเร็วมาก เพื่อไมใหซึมเขาเซลลหรือเสนเลือด โดย Enzyme ชื่อ acetylcholinesterase การเคลื่อนที่ของกระแสประสาท กระแสประสาทจะไมเกิดขึ้นถากระตุนดวยความแรงนอยเกินกวาระดับหนึ่ง ถากระตุนดวยความ แรงมากก็ไมทําใหกระแสประสาทเคลื่อนที่เร็วขึ้น กระแสประสาทเคลื่อนที่ดวยความเร็วเทาเดิม เพราะวา การเคลื่อนที่ของกระแสประสาทใชพลังงานภายในเซลล ความเร็วของกระแสประสาทในใยประสาทขึ้นอยูกับ 1. เยื่อไมอีลิน ถามีจะเคลื่อนที่เร็วกวาเซลลประสาทที่ไมมีเยื่อไมอีลิน 2. Node of Ranvier ถาหางมากกระแสประสาทจะเคลื่อนที่เร็ว 3. เสนผานศูนยกลาง ถามีขนาดใหญจะเคลื่อนที่เร็ว
  • 5. ศูนยกลางของระบบประสาท Neural tube เปนโครงสรางที่มีลักษณะเปนหลอดยาวไปตามแนวสันหลังในระยะ embryo สวนหนา เจริญไปเปนสมอง สวนหลังเจริญไปเปนไขสันหลัง ทั้งสมองและไขสันหลังมีเยื่อหุม 3 ชั้น คือ ชั้นนอก เปนเยื่อหนา เหนียว และแข็งแรง ชั้นกลาง เปนเยื่อบาง ๆ ชั้นใน เปนชั้นที่มีเสนเลือดมาหลอเลี้ยง เพื่อนําอาหารและออกซิเจนมาใหสมองและไขสันหลัง ระหวางเยื่อหุมสมองชั้นกลางและชั้นในมีชองคอนขางใหญเปนที่อยูของนํ้าไขสันหลังซึ่งมีหนาที่ ดังนี้ 1. หลอเลี้ยงสมอง และไขสันหลังใหชื่นอยูเสมอ 2. นําออกซิเจนและอาหารมาเลี้ยงเซลลประสาท 3. นําของเสียออกจากเซลล สมอง (brain) เปนอวัยวะที่สําคัญและซับซอนที่สุดของระบบประสาท และมีขนาดใหญกวาสวน อื่น ๆ มีคลื่นหรือรอยหยัก (convolution) มาก เพื่อเพิ่มพื้นที่ในการคิดและการจํา สมองแบงเปน 2 ชั้น คือ ชั้นนอก มีเนื้อสีเทา เปนที่รวมของตัวเซลลประสาทและ axon ชนิด non-myelin sheath ชั้นใน มีสีขาวเปนสารพวกไขมัน ตัวเซลลประสาทมี myelin sheathe หุม สมองของคนแบงเปน 3 สวนคือ สมองสวนหนา (forebrain) สมองสวนกลาง (midbrain) สมองสวนทาย (hindbrain) ดังรูป ภาพแสดงสมองสวนตาง ๆ
  • 6. สมองสวนหนา (froebrain) ประกอบดวย 3 สวน คือ 1. เซรีบรัม (cerebrum) เปนสมองสวนหนาสุด ใหญที่สุด และเจริญมากที่สุด มีหนาที่เก็บขอมูล สิ่งตาง ๆ มีความจํา ความคิด เปนศูนยรับความรูสึก มองเห็น ไดยิน กลิ่น รส สัมผัส เจ็บ-ปวด รอน-เย็น และควบคุมการทํางานของกลามเนื้อ 2. ทาลามัส (thalamus) ทําหนาที่เปนศูนยรวมกระแสประสาทที่ผานเขามา แลวแยกกระแส ประสาทสงไปยังสมองที่เกี่ยวของกับกระแสประสาทนั้น ๆ เปนสถานีถายทอดกระแสประสาทจากหู ตา ไปยังเซรีบรัม และรับขอมูลจากเซรีบรัมสงไปยังเซรีเบลลัมและเมดัลลาออบลองกาตา 3. ไฮโพทาลามัส (hypothalamus) เปนสวนลางสุด เปนรูปกรวยยื่นไปขางลาง ปลายสุดเปน ตอมใตสมอง เซลลประสาทสมองบริเวณนี้สรางฮอรโมนประสาทหลายชนิดไปควบคุมการสรางฮอรโมน ของตอมใตสมอง มีหนาที่ควบคุมกระบวนการพฤติกรรมของรางกาย เชน อุณหภูมิ ความดันเลือด อารมณ ความรูสึกทางเพศ ความสมดุลของนํ้าในรางกาย ความกลัว ควบคุม metabolism การเตนของ หัวใจ ความโศกเศรา ดีใจ ไฮโพทาลามัส เปนสวนที่เชื่อมระหวางระบบประสาทกับระบบตอมไรทอ สมองสวนกลาง (midbrain) มีหนาที่เกี่ยวของกับการควบคุมการเคลื่อนไหวของนัยนตา ทําให ลูกตากลอกไปมาได ควบคุมการปดเปดของมานตาในเวลาที่มีแสงสวางเขามามากหรือนอย สมองสวนทาย (hindbrain) อยูถัดจากสมองสวนกลางและติดตอกับไขสันหลัง แบงเปนสองสวน 1. เซรีเบลลัม (cerebellum) เปนสมองสวนที่ควบคุมการทรงตัวและควบคุมการเคลื่อนไหวของ กลามเนื้อลายสัตวที่เคลื่อนที่ 3 มิติ มีสมองสวนนี้เจริญดี 2. เมดัลลาออบลองกาตา (medulla oblongata) เปนสวนที่เชื่อมตอระหวางสมองกับไขสันหลัง มีรูปรางคลายไขสันหลัง เปนทางผานของกระแสประสาทระหวางสมองกับไขสันหลัง มีหนาที่ควบคุม อวัยวะภายในและควบคุมระบบประสาทอัตโนมัติ สัตวชนิดใดมีอัตราระหวางนํ้าหนักสมองตอนํ้าหนักตัว มากจะฉลาดเรียนรูไดดี กานสมอง (brain stem) ประกอบดวย 1. Midbrain 2. Pons ในคนอยูดานหนาของเซรีเบลลัมติดตอกับสมองสวนกลาง สวนทางดานทองของ  เซรีเบลลัมมีหนาที่ควบคุมเกี่ยวกับการเคี้ยวอาหาร การหลั่งนํ้าลาย การเคลื่อนไหวบริเวณใบหนา และ ควบคุมการหายใน 3. Medulla oblongata
  • 7. ไขสันหลัง (spinal cord) เปนเนื้อเยื่อประสาทที่มี synapse มากที่สุด ภาพแสดงทิศทางการเคลื่อนที่ของกระแสประสาทเขาและออกจากไขสันหลัง หนาที่ของไขสันหลัง - ศูนยเชื่อมระหวาง receptor (หนวยรับความรูสึก) และ effector (หนวยปฏิบัติงาน) - ทางผานระหวาง nerve impulse ระหวางไขสันหลังกับสมอง - ศูนยกลางการเคลื่อนไหว (simple reflex) ที่ตอบสนองการสัมผัสทางผิวหนัง เสนประสาทสมอง สัตวตางชนิดกันมีเสนประสาทสมองไมเทากัน เชน สัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านม นก และสัตวเลื้อยคลาน มี 12 คู ปลาและสัตวครึ่งนํ้าครึ่งบกมี 10 คู
  • 8. คนเปนสัตวเลี้ยงลูกดวยนํ้านมชนิดหนึ่งมีเสนประสาทสมอง 12 คู ดังนี้ เสนประสาทสมองของคน คูที่ 0 Terminal n. เยื่อจมูก ดานทองของ cerebrum 1 Olfactory n. จมูก สมอง 2 Optic n. ตา สมอง 3 Oculomotor n. สมอง ตา 4 Trochlear n. สมอง ตา 5 Trigeminal n. สมอง หนาและฟน 6 Abducent n. สมอง ตา 7 Facial n. สมอง กลามเนื้อใบหนา 8 Auditory n. หู สมอง 9 Glossopharyngeal n. คอหอย สมอง 10 Vagus n. ชองอก, ทอง, หัว, ลําคอ สมอง 11 Accessory n. สมอง กลองเสียง 12 Hypogolssal n. สมอง กลามเนื้อลิ้น รากบน dorsal root ทําหนาที่รับความรูสึก เสนประสาทไขสันหลัง มี 2 ราก รากลาง ventral root ทําหนาที่สงความรูสึก เสนประสาทไขสันหลังของกบมี 9 คู ของคนมี 31 คู ดังนี้ - บริเวณคอ 8 คู - บริเวณอก 12 คู - บริเวณเอว 5 คู - กระเบนเหน็บ 5 คู - กนกบ 1 คู เสนประสาทไขสันหลังบริเวณเอว ตั้งแตคูที่ 2 ลงไปไมมีไขสันหลัง เปนบริเวณที่แพทยสามารถ ฉีดยาเขาไขสันหลังหรือเจาะนํ้าเลี้ยงสมองได
  • 9. ระบบประสาทโซมาติก เปนระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อลาย โดยเซลล ประสาทรับความรูสึกจะรับกระแสประสามจากหนวยรับความรูสึกผานเสนประสาทไขสันหลังหรือเสน ประสาทสมองเขาสูไขสันหลังหรือสมอง และกระแสประสาทนําคําสั่งจากสมองจะถูกสงผานเสนประสาท สมองหรือเสนประสาทไขสันหลังไปยังหนวยปฏิบัติงานซึ่งเปนกลามเนื้อลายซึ่งบางครั้งอาจทํางานไดโดย รับคําสั่งจากไขสันหลังเทานั้น เชน การกระตุกขาเมื่อถูกเคาะที่หัวเขา Reflex action หมายถึง การทํางานของหนวยปฏิบัติงานของระบบประสาทสวนกลางที่เกิดทันที โดยมิไดมีการเตรียมลวงหนา Reflex arc เปนวงการทํางานของระบบประสาท ซึ่งจะทําหนาที่อยางสมบูรณไดตองประกอบดวย  ประสาท 5 สวน คือ Receptor Sensory nerve association nerve motor nerve effector หรืออยางนอยที่สุดตองประกอบดวยประสาท 2 สวน คือ sensory nerve กับ motor nerve Voluntary nervous system เปนระบบประสาทที่ทํางานภายใตอํานาจของจิตใจ Involuntary nervous system เปนระบบประสาทที่ทํางานนอกอํานาจจิตใจ
  • 10. ระบบประสาทอัตโนมัติ เปนระบบประสาทที่ควบคุมการทํางานของกลามเนื้อเรียบ กลามเนื้อ หัวใจ และตอมตาง ๆ เพื่อปรับรางกายใหเขากับสภาพแวดลอมภายใน ประกอบดวย 1. Sympathetic nervous system เปนประสาทที่อยูบริเวณไขสันหลัง จนถึงกระเบนเหน็บ 2. Parasympathetic nervous system เปนประสาทที่อยูเหนือไขสันหลังและตํ่ากวากระเบนเหน็บ ภาพแสดงการทํางานของระบบประสาทซิมพาเทติกและพาราซิมพาเทติก
  • 11. ระบบประสาทของพวก invertebrate - ระบบประสาทไมยุงยาก เปลี่ยนแปลงจาก ectoderm Paramecium - ไมมีเซลลประสาท แตสามารถรับรูได ตอบสนอง สิ่งเราได - มี Co-ordinating fiber (เสนใยประสานงาน) ที่โคน ของ cilia Hydra - มีเซลลประสาทเชื่อมโยงคลายรางแห (nerve net) Planaria - มีปมประสาท 2 ปมบริเวณหัว มีเสนประสาทใหญ สองเสนยาวตลอดลําตัว Earthe worm - มีปมประสาทเปนวงแหวน ระหวางปลองที่ 2, 3 มี เสนประสาทยาวตลอดลําตัวทางดานทอง 2 เสน Insect - มีปมประสาทที่หัวระหวางตาทั้งสอง และมีแขนง ประสาทไปยังสวนตาง ๆ Mollusk - มีปมประสาทหัว 1 คู ลําตัว 1 คู ขาเดิน 1 คู Echinoderm - มี nerve ring ออมรอบปาก
  • 12. ภาพแสดงระบบประสาทของสัตวไมมีกระดูกสันหลังชนิดตาง ๆ ก-ข พารามีเซียม ค พลานาเรีย ง ไฮดรา จ แมลง
  • 13. อวัยวะรับสัมผัสของสัตวชั้นสูง ตาคน ลักษณะกลมอยูในเบาตา มีเยื่อบาง ๆ ยึดลูกตาไวหลวม ๆ ผนังลูกตาประกอบดวยเนื้อเยื่อ 3 ชั้น คือ 1. ชั้นนอก (sclera หรือ Sclerotic coat) เปน Fibrous tissue ไมยืดหยุน ผนังหนา ทําใหลูกตา คงรูปได มีสีขาวมัว ๆ และมีสวนใส ๆ สีดํานูนออกมา เรียก กระจกตา (cornea) สวนนี้ชุมชื้นเสมอ เพราะมี secretion จาก oil gland มาชโลม 2. ชั้นกลาง (choroid coat) มีเสนเลือดมาเลี้ยงและมีรงควัตถุแผกระจายในชั้นนี้มากเพื่อมิให แสงสวางทะลุผานชั้นเรตินาไปยังดานหลังโดยตรง นอกจากนี้มีมานตา (Iris) และพิวพิล (pupil) เปนทาง ใหแสงผานเขาไปภายในตา
  • 14. 3. ชั้นใน (retina) เปนบริเวณที่มีเซลลรับแสงซึ่งมีรูปรางตาง ๆ กัน คือ 3.1 เซลลรูปแทง (rod cell) รูปรางยาวเปนแทง ทําหนาที่เปนเซลลรับแสงสวางที่ไวมาก จะบอกความมืดและความสวาง ภาพแสดงการทํางานของ rod cell 3.2 เซลลรูปกรวย (cone cell) รูปรางเปนรูปกรวย ทําหนาที่เปนเซลลที่บอกความแตกตาง ของสีแตตองการแสงสวางมาก เซลลรูปกรวยแบงไดเปน 3 ชนิด คือ เซลลรูปกรวยที่รับแสงสีแดง เซลลรูปกรวยที่รับแสงสีเขียว และเซลลรูปกรวยที่รับแสงสีนํ้าเงิน เมื่อเซลลรูปกรวยไดรับการกระตุน พรอม ๆ กันดวยความเขมของแสงตาง ๆ กัน จึงเกิดการผสมเปนสีตาง ๆ ขึ้น นอกจากนี้บริเวณเรตินายังมี fovea และ blindspot fovea อยูตรงกลางของ retina บริเวณนี้มี เซลลรูปกรวยหนาแนนกวาบริเวณอื่น ภาพที่ตกบริเวณนี้จะชัดเจน สวน blindspot เปนบริเวณที่ใยประสาท ออกจากนัยนตาเพื่อเขาสูเสนประสาทตา บริเวณนี้ไมมี cell รับแสงสวางเลย ภาพที่ตกบริเวณนี้จึงมอง ไมเห็น สวนประกอบอื่น ๆ ของตา 1. แกวตา (lens) หดตัว พองตัว และยืดหยุนได ดานในโคงมากกวาดานนอก มีหนาที่โฟกัส ภาพใหชดบนเรตินา ั 2. ชองภายในลูกตา (vitreous chamber) มีของเหลวเปนเมือกใสเหนียว มีคาดัชนีหักเหของแสง สูงมาก เรียก vitreous humor
  • 15. หูและการรับฟง หนาที่ 1. รับความถี่ของคลื่นเสียง 2. การทรงตัว ภาพแสดงสวนประกอบของหูคน หูคนแบงเปน 3 สวน หูสวนนอก หูสวนกลาง และหูสวนใน หูสวนนอก ประกอบดวย 1. ใบหู ทําหนาที่รับคลื่นเสียงจากภายนอก 2. รูหู มีหนาที่รวมเสียงไปสูแกวหู ภายในมีขนและตอมขี้หู 3. เยื่อแกวหู เปนเยื่อบาง ๆ กั้นระหวางหูสวนนอกกับหูสวนกลาง หูสวนกลาง ประกอบดวย 1. กระดูกเล็ก ๆ 3 ชิ้น คือ กระดูคอน กระดูกทั่ง และกระดูกโกลน ซึ่งทําหนาที่สงตอแรง สั่นสะเทือน 2. หลอดยูสเตเชียน เปนโพรงตอระหวางหูสวนกลางกับคอหอย มีหนาที่รับความดันระหวาง
  • 16. ภายในกับภายนอก หูสวนใน ประกอบดวย 1. คอเคลีย เปนทอขดคลายกนหอย มีปลายประสาทรับพลังงานเสียงแลวเปลี่ยนเปนพลังงาน ไฟฟาสงไปยังศูนยรับเสียงในสมอง 2. หลอดครึ่งวงกลม ทําหนาที่ทรงตัว จมูกและการดมกลิ่น ภายในเยื่อจมูกมีเซลลรับกลิ่น คือ olfactory cell ซึ่งทําหนาที่เกี่ยวกับการับกลิ่นโดยเฉพาะ แสดงโครงสรางภายในของจมูก ก. โพรงจมูก ข. เซลลรับกลิ่น
  • 17. ลิ้นและการชิมรส ดานบนของลิ้นจะมีปุมเล็ก ๆ จํานวนมากเรียก พาพิลลา (papilla) ภายใน papilla ประกอบดวย ตุมรับรส (taste bud) ที่ทําหนาที่เปนตัวรับรส ซึ่งมี 4 ชนิด คือ ตุมรับรสเค็ม ตุมรับรสหวาน ตุมรับรส เปรี้ยว และตุมรับรสขม ดังภาพ ภาพแสดงบริเวณของลิ้นที่มีตุมรับรสตาง ๆ กระจายอยู ผิวหนังและการสัมผัส ผิวหนังเปน nerve organ ที่มีพื้นที่มากที่สุด มีปลายประสาทมาก ปลายประสาทแตละเสนรับ ความรูสึกจากสิ่งเราตางชนิดกัน