SlideShare a Scribd company logo
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ
พฤติกรรมและการรับรู้
โดย
นางสาวจุฑามาศ ศิริภักดิ์ รหัส 033
นางสาวณิชากร เส้งสุย รหัส 048
หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต สาขาวิชาชีพครู
มหาวิทยาลัยราชภัฎนครศรีธรรมราช
คานา
รายงานเรื่องพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและการรับรู้ เป็นรายงานที่จัดทาขึ้นเพื่อ
ประกอบการ นาเสนอในรายวิชาจิตวิทยาสาหรับครู ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความรู้ที่ลึกซึ้งใน พื้นฐานทางชีววิทยาที่
เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและการรับรู้ อันประกอบไปด้วยลั กษณะทางกายภาพ จนถึงประสาทสั มผัส ระบบ
ประสาทในร่างกายของมนุษย์ ตลอดจนสารเคมีต่าง ๆ ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ อันมี ส่วน
เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับรู้ อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ ที่ทาให้มนุษย์แต่ละคนมีพัฒนาการ
ทั้งนี้ ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูลของ
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและการรับรู้ หากมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดพลาดไปบ้างผู้เรียบเรียงต้อง
ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
สารบัญ
เรื่อง หน้า
บทที่ 1 พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม 1
ระบบประสาท 1
ระบบกล้ามเนื้อ 12
ต่อมไร้ท่อ 18
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม 30
บทที่ 2 การรับรู้ 36
อ้างอิง 38
บทที่ 1 พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม
1.1 ระบบประสาท
ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมและประสานการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เมื่อมีสิ่งเร้าจาก
ภายนอกหรือความต้องการภายในกระตุ้นระบบประสาทก็จะวิเคราะห์สั่งการ ให้ร่างกายตอบสนอง
1) หน้าที่ของระบบประสาท
1. รวบรวมข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกร่างกาย (Sensory fuynction)
2. นาส่งข้อมูลไปยังระบบประสาทเพื่อทาการวิเคราะห์
3. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้มีการตอบสนองที่เหมาะสม (integrative function)
4. ส่งงานไปยังระบบต่าง ๆ เช่น กล้ามเนื้อ ต่อม หรืออวัยวะอื่น ๆ ให้มีการสนองที่เหมาะสม (motor
function)
2) ระบบประสาทแบ่งเป็น 2 ส่วนได้แก่
1. ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system - CNS)
ประกอบไปด้วยสมองและไขสันหลัง
2. ระบบประสาทส่วนปลาย หรือระบบประสารทรอบนอก
(Peripheral nervous system : PNS)
เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากร่างกายและนาส่งไป
ยังระบบประสาทส่วนกลาง
 เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่นาส่งข้อมูลไปยังระบบ
ประสาทส่วนกลางเรียกว่า afferent neuron
 เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่นาส่งข้อมูลจากเซลล์
ประสาทส่วนกลางไปยังส่วนต่าง ๆ เรียกว่า
efferent neuron
รูปที่ 1 ระบบประสาทของมนุษย์
ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/
human/lesson/lesson5.php
~ 6 ~
3) เซลล์ประสาท (Neurons)
เป็นหน่วยพื้นฐานของระบบประสาท ประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ 3 ส่วนได้แก่ body , dendrites
และ axon ซึ่งข้อมูลที่ถูกส่งไปยังระบบประสารทจะเป็นสัญญาณไฟฟ้า (electrical signals) ซึ่งเรียกว่า
impulse (กระแสประสาท) เซลล์ประสาทจะนาสัญญาณประสาทส่งไปในทิศทางเดียว
รูปที่ 2 เซลล์ประสาท
ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson5.php
1. ตัวเซลล์ (cell body) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียส ตัวเซลล์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ
4 - 25 ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ที่สาคัญ คือ ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม และกอลจิคอม
เพล็กซ์
2. ใยประสาท (nerve fiber) แบ่งออกเป็น
2.1 เดนไดรต์ (dendrite) เป็นส่วนของเซลล์ประสาทที่ยื่นออกไป ส่วนใหญ่จะอยู่รอบๆตัวเซลล์
ทาหน้าที่รับกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เซลล์ประสาทหนึ่งตัวจะมีเดนไดรต์ได้หลายแขนง บริเวณแอกซอน
อาจมีเยื่อจาพวกลิพิดมาหุ้ม เรียกว่า เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) ซึ่งติดต่อกันเซลล์ชวันน์ (Schwann cell)
ซึ่งเป็นเซลล์ค้าจุนชนิดหนึ่ง
2.2 แอกซอน (axon) เป็นส่วนของใยประสาทที่ทาหน้าที่นากระแสประสาทออกจากบริเวณเดน
ไดรต์ ไปสู่เซลล์อื่นๆเซลล์ประสาทตัว ในหนึ่งเซลล์จะมีแอกซอนเพียงหนึ่งแอกซอนเท่านั้น
ส่วนของแอกซอนตรงบริเวณร่อยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม
เรียกว่า โนด ออฟแรนเวียร์ (node of Ranvier)
~ 7 ~
4) ชนิดของเซลล์ประสาท
1. Sensory neurons (Reception afferent) เซลล์ประสาทรับความรู้สึก
มีหน้าที่นาส่งกระแสประสาท(impulse) ไปยังระบบประสาทส่วนกลาง
2. Motor neurons (efferent) เซลล์ประสาทสั่งการ มีหน้าที่นาส่งกระแสประสาท (impulse) จาก
กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ ไปยังระบบประสาทส่วนกลาง
3. Interneurons เซลล์ประสาทเชื่อมโยง
เป็นตัวเชื่อมระหว่าง sensory และ motor
ข้อมูลเมื่อผ่านระบบประสาทจากเซลล์ประสาทตัวหนึ่งไปยังเซลล์ประสาทอีกตัว
หนึ่ง บริเวณรอยต่อของเซลล์ประสาท 2 เส้นเรียกว่า synapse เซลล์ประสาท
นอกจากจะติดต่อกันเองแล้วยังสามารถติดต่อกับเซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ต่อมต่าง ๆ
ได้ด้วย
รูปที่ 3 แสดงบริเวณ synapse
ที่มา :
5) สารสื่อประสาท (Neurotransmitter)
เป็นสารเคมีที่หลั่งจากปลายประสาทตัวหนึ่ง มีผลต่อเซลล์ประสาท กล้ามเนื้อ และต่อม แบ่งตาม
กลไกการออกฤทธิ์ดังนี้
1. Excitatory transmitter ออกฤทธิ์กระตุ้นให้อีกเซลล์หนึ่งทางาน
2. Inhibitory transmitter ออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของอีกเซลล์หนึ่ง
3. สารเคมีทั้งที่เป็น Excitatory และ Inhibitory
รูปที่ 4 แสดงการทางานของเซลล์ประสาท
ที่มา : http://www.student.chula.ac.th/~56371019/Untitled-3.html
~ 8 ~
6) ระบบประสาทส่วนกลาง
(Central nervous system - CNS)
คือศูนย์รวมของระบบประสาททั้งหมด มีหน้าที่ใน
การสั่งงานกล้ามเนื้อที่อยู่ ใต้อานาจจิตใจ ทั้งหมดในร่างกาย
และประมวลของสิ่งเร้าที่รับมาจากประสาทสัมผัสทั้งหมด
ประกอบไปด้วยก้านสมองและไขสันหลัง ได้รับการปกป้องใน
กระดูก ไม่ให้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายนอกโดยตรง
ระบบประสาทส่วนกลางประกอบไปด้วยอวัยวะ สาคัญ 2
ส่วน คือ 1) สมอง 2) ไขสันหลัง
6.1 สมอง (Brain)
หน้าที่ของสมอง
เป็นอวัยวะที่ใช้ในการปรับและควบคุมการทางานของระบบประสาทและระบบอื่น ๆ ในร่างกาย โดย
สมองจะรับข้อมูลที่ถูกส่งมายังระบบประสาทส่วนปลายและส่งต่อมายังไขสันหลังและสมอง สมองทาหน้าที่
แปลผล วิเคราะห์ข้อมูลและสั่งการให้ระบบอื่น ๆ และร่างกายตอบสนองที่เหมาะสม
นอกจากนี้สมองยังมีระบบการทางานขั้นสูงที่สาคัญอีกหลายตัวเช่น ความรู้สึกตัว ความจา และมีส่วน
ในการกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์
รูปที่ 6 แสดงส่วนต่าง ๆ ของสมอง
ที่มา : http://www.islam-guide.com/th/ch1-1-d.htm
รูปที่ 5 แสดงระบบประสาทส่วนกลาง
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest1/
science04/46/2/nerve/content/central_nerve1.html
~ 9 ~
ส่วนประกอบของสมอง
1. Cerebrum เป็นสมองส่วนที่ใหญ่ที่สุด อยู่บริเวณหน้าผากถึงท้ายทอย มีรอยหยักเป็นร่องลึก
แบ่งเป็นสมองซักซ้ายและขวา และแบ่งตามหน้าที่ได้ 4 ส่วน
1.1 Frontal Lope ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย การพูด การคิด ฯลฯ
1.2 Parietal Lope รับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ของร่างกาย
1.3 Temporal Lope รับรส กลิ่น และเสียง
1.4 Occipital Lope ควบคุมการรับรู้ทางตาและภาพ
รูปที่ 7 แสดงการทางานของสมองแต่ละซัก
ที่มา :
รูปที่ 8 แสดงส่วนประกอบของสมองส่วน Cerebrum
ที่มา : http://www.dek-d.com/education/30449/
~ 10 ~
2. Hypothalamus เป็นส่วนที่อยู่ใต้สมองส่วน thalamus และติดกับต่อมใต้สมอง (Pituitary
Gland) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณน้้าในร่างกาย อุณหภูมิ การเต้นของหัวใจ ความหิว และอื่น
ๆ และยังสามารถหลั่งฮอร์โมนประสาทบางชนิดได้
3. Cerebellum เป็นสมองที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและการทางตัว
4. Limbic System เป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่รอบ ๆ Hypothalamus มีหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมที่
แสดงออกทางสัญชาตญาณต่าง ๆ
5. Midbrain หรือสมองส่วนกลางเป็นส่วนหนึ่งของก้านสมองทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยา
ตอบสนอง (reflex) เกี่ยวข้องกับการได้ยินการมองเห็น เช่นการควบคุมการเคลื่อนไหวของ
นัยน์ตา และการเปิดปิดของม่านตา
6. Pons เป็นส่วนหนึ่งของก้านสมอง สมองส่วนนี้อยู่ติดกับสมองส่วนกลาง มีหน้าที่ ควบคุมการ
หายใจ การเคี้ยว การหลั่งน้าลาย การเคลื่อนไหวบริเวณใบหน้า และเป็นเส้นทางการสื่อสาร
ระหว่างสมองส่วนหน้าและซีรีเบลลัม
7. Medulla oblongata เป็นสมองส่วนที่ติดกับสมองส่วน pons และไขสันหลัง ทาหน้าที่ควบคุม
การทางานของระบบประสาทอัตโนมัต เช่น การเต้นของหัวใจ การหายใจ การกลืน การจาม การ
สะอึก และอาเจียน ซ้ายังเป็นทางเดินของกระแสประสาทและไขสันหลังอีกด้วย
8. Reticular Formation เป็นส่วนประกอบโครงร่างตาข่ายที่อยู่ภายในก้านสมอง มีหน้าที่เกี่ยวกับ
รับรู้ การสนใจ และการนอนหลับ
6.2 ไขสันหลัง (Spinal Cord)
เป็นส่วนที่ลากยาวจากสมองลงมาตามกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อไขสันหลังประกอบด้วย เซลล์ประสาท
(neuron) และเซลล์ที่ช่วยค้าจุนประสาม (Glia) ภายในไขสันหลังจะถูกปกป้องด้วยกระดูกสันหลังเพื่อไม่ให้ไข
สันหลังได้รับอันตรายจากภายนอก ไขสันหลังมีหน้าที่หลักคือ ถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองและส่วน
ต่าง ๆ ของร่างกาย นอกจากนี้ไขสันหลังยังควบคุมการตอบสนองของ Reflex หรือการตอบสนองอัตโนมัติ
ของร่างกาย
หน้าที่ของไขสันหลัง
1) เป็นศูนย์กลางของ Spinal Reflex
2) ตาแหน่งแรกที่รับสัญญาณประสาทจากระบบความรู้สึกเพื่อส่งต่อไปยังสมอง
3) เป็นตาแหน่งสิ้นสุดของสัญญาณประสาทที่มาจากระบบประสาท motor เนื่องจากมี anterior
motor neurons ที่จะเป็นเซลล์ประสาทที่รับคาสั่งจาก corticospinal tract และสั่งการไปยัง
เซลล์กล้ามเนื้อ
4) ทางเดินของกระแสประสาทที่ติดต่อระหว่างไขสันหลังและสมอง
5) เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทออโตโนมิก
~ 11 ~
รูปที่ 9 แสดงการทางานของไขสันหลัง
ที่มา : https://blingbling123.wordpress.com/2010/09/
Reflex
รีเฟล็กซ์ หรือ ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยนอกการควบคุมของจิตใจ
(involuntary) ที่เกิดขึ้นอย่างแทบฉับพลันทันที (instantaneous) เพื่อเป็นการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น
7) ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system : PNS)
ระบบประสาทส่วนปลายประกอบด้วย
1. Sensory – somatic nervous system ประกอบไปด้วยเส้นประสาท 12 คู่และเส้นประสาทสันหลัง
31 คู่
1.1 cranial nerve เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่ ทาหน้าที่รับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว
ของกล้ามเนื้อใบหน้า ปาก ลาคอ
1.2 spinal nerves เส้นประสาทสันหลังประกอบไปด้วย sensory และ motor ซึ่งทางาน
ภายใต้อานาจของจิตใจ
2. Autonomic nervous system เป็นการควบคุมการทางานของร่างกายภายนอกจิตใจ ประกอบ
ไปด้วย sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่างระบบประสาทส่วนกลางและอวัยวะภายในต่าง ๆ
แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ Sympathetic และ parasympathetic nervous system ซึ่งทั้งสองระบบนี้
จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ
2.1 Sympathetic nervous system (ตื่นเต้น) ถูกกระตุ้นในกรณีฉุกเฉิน ผลจากการ
กระตุ้นเช่นหัวใจเต้นเร็ว เลือดไปเลี้ยงหัวใจมากขึ้น การย่อยอาหารลดลง
2.2 parasympathetic nervous system (ผ่อนคลาย) ผลจากการกระตุ้นระบบนี้ออก
ฤทธิ์ตรงกันข้ามกับการกระตุ้น หัวใจเต้นช้าลง ลาไส้ทางานมากขึ้น
~ 12 ~
’
รูปที่ 10 แสดงการทางานของระบบประสาท Sympathetic และ Parasympathetic
ที่มา : http://thenervous.weebly.com/36193632361036103611361936323626
36343607362936333605365036093623363336053636.html
1.2 ระบบกล้ามเนื้อ
ร่างกายแบ่งกล้ามเนื้อออกเป็น 3 ชนิด คือ
1. กล้ามเนื้อยึดกระดูกหรือกล้ามเนื้อลาย
2. กล้ามเนื้อเรียบ
3. กล้ามเนื้อหัวใจ
โดยที่กล้ามเนื้อลายนั้นถูกควบคุมอยู่ภายใต้อานาจจิตใจ
หรือรีเฟล็กซ์ ส่วนกล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อหัวใจทางานนอก
อานาจจิตใจ
1. กล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletonmuscle)
เป็นกล้ามเนื้อที่เกาะติดกับโครงกระดูกหรือกล้ามเนื้อลาย เช่น กล้ามเนื้อแขน กล้าม เนื้อขา จึงทา
หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง
เมื่อนาเซลล์กล้ามเนื้อเหล่านี้มาศึกษาด้วย กล้องจุลทรรศน์จะมองเห็นเป็นแถบลาย เซลล์กล้ามเนื้อนี้
มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว แต่ละเซลล์ มีหลายนิวเคลียสอยู่ที่ขอบของเซลล์ มีลายตามขวางสีเข้มและสี
จางสลับกัน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนเมื่อย้อมด้วยสี ซึ่งคนที่ออกกาลังเสมอเส้นใยกล้ามเนื้อจะโตขึ้น และหนาขึ้น แต่
จานวนไม่เพิ่มขึ้นการทางานของกล้ามเนื้อยึดกระดูกถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก
การทางานของกล้ามเนื้อชนิดนี้ ร่างกายสามารถบังคับได้ ซึ่งถือว่าอยู่ในอานาจจิตใจ โดยกล้ ามเนื้อ
ลายมีหน้าที่เคลื่อนไหวร่างกายที่ข้อต่อต่างๆเคลื่อนไหวลูกตา ช่วยในการเคี้ยวและการกลืน เคลื่อนไหวลิ้น
เคลื่อนไหวใบหน้าแสดงอารมณ์ต่างๆ และยังประกอบเป็นผนังอก และผนังท้องตลอดจนการควบคุมการ
ขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ
รูปที่ 12 แสดงตัวอย่างกล้ามเนื้อลาย
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/32442
~ 14 ~
2.กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiacmuscle)
ประกอบเป็นกล้ามเนื้อหัวใจเพียงแห่งเดียวอยู่นอกอานาจจิตใจ โดยควบคุมโดยระบบประสาท
อัตโนมัติมีลักษณะเป็นเซลล์รูปทรงกระบอกมีลายตามขวางเป็นแถบสีทึบสลับกับสีจาง เซลล์กล้ามเนื้อตอน
ปลายของเซลล์มีการแตกแขนง ไปประสานกับแขนงของเซลล์ใกล้เคียง เซลล์ทั้งหมดจะหดตัวพร้อมกัน และ
หดตัวเป็นจังหวะตลอดชีวิต
รูปที่ 13 แสดงตัวอย่างกล้ามเนื้อหัวใจ
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/32442
3.กล้ามเนื้อเรียบ (smoothmuscle)
เป็นกล้ามเนื้อที่พบอยู่ตามอวัยวะภายใน ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะย่อยอาหาร และ
อวัยวะภายในต่างๆ เช่นผนังกระเพาะอาหาร ผนังลาไส้ ผนังหลอดเลือด และม่านตา เป็นต้น กล้ามเนื้อเหล่านี้
ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว หัวท้ายแหลม แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียส ไม่มีลายพาดขวาง การทางานของ
กล้ามเนื้อเรียบถูกควบคุมโดยระบบประสาทอิสระ มีลักษณะเป็นเซลล์รูปกระสวย มีนิวเคลียสรูปไข่อยู่ตรง
กลาง
รูปที่ 14 แสดงตัวอย่างกล้ามเนื้อเรียบ
ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/32442
~ 15 ~
คุณสมบัติของกล้ามเนื้อ
 มีความรู้สึกต่อสิ่งเร้า (Irritability) คือ สามารถรับ และตอบสนองต่อการหดตัวของ กล้ามเนื้อ เช่น
กระแสประสาทที่กล้ามเนื้อเวลาที่จับโดนความร้อนหรือ กระแสไฟฟ้า เรามักมีการหนีหรือหลบเลี่ยง
 มีความสามารถที่จะหดตัวได้ (Contractelity) คือ กล้ามเนื้อสามารถเปลี่ยนรูปร่างให้สั้นหนา และ
แข็งได้
 มีความสามารถที่จะหย่อนตัวหรือยืดตัวได้ (Extensibility) กล้ามเนื้อสามารถ ที่จะเปลี่ยน รูปร่างให้
ยาวขึ้นกว่าความยาวปกติของมันได้ เมื่อถูกดึง เช่น กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ มดลูก เป็นต้น
 มีความยืดหยุ่นคล้ายยาง (Elasticity) คือ มีคุณสมบัติที่เตรียมพร้อมที่จะ กลับคืนสู่สภาพเดิมได้
ภายหลังการถูกยืดออกแล้ว
 มีความสามารถที่จะดารงคงที่อยู่ได้ (Tonus) โดยกล้ามเนื้อมีการหดตัว บ้างเล็กน้อย เพื่อ
เตรียมพร้อมที่จะทางานอยู่เสมอ
การท้างานของกล้ามเนื้อ
การทางานของกล้ามเนื้อนั้นจะต้องอาศัยปัจจัยต่างๆ ได้แก่
1. แคลเซียมไอออน หากขาดแล้วจะเกิดอาการชัก
2. พลังงาน ได้จากกระบวนการสลายอาหารภายในเซลล์
3. Myoglobin ทาหน้าที่นาออกซิเจนให้กล้ามเนื้อ
กล้ามเนื้อในส่วนต่างๆของร่างกาย
กล้ามเนื้อในร่างกายทั้งหมดมีอยู่ประมาณ 792 มัด เป็นกล้ามเนื้อชนิดที่อยู่ในอานาจจิตใจ 696 มัด ที่
เหลืออีก 96 มัด เป็นกล้ามเนื้อที่เราบังคับได้ไม่เต็มสมบูรณ์ ซึ่งได้แก่กล้ามเนื้อ ที่ทาหน้าที่ในการ
หายใจ (Respiration) จาม (Sneezing) ไอ (Coughing)
กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจ
การขยายขนาดของทรวงอกและการลดขนาดของทรวงอก การขยายขนาดทรวงอก จะทาให้เกิด
ช่องว่าง ซึ่งทาให้ความดันในปอดลดลง อากาศจากภายนอกจึงไหลเข้าสู่ปอดได้ ส่วนการลดขนาดก็เป็นการ
เพิ่มความดัน ทาให้เกิดการหายใจออก อวัยวะที่ทาหน้าที่เพิ่มและลดขนาดของทรวงอก คือกล้ามเนื้อต่างๆ
 กระบังลม (diaphragm) เป็นกล้ามเนื้อที่สาคัญที่สุดของการหายใจเข้าในขณะพักการหดตัวจะทาให้
เพิ่มขนาดของทรวงอกตามแนวตั้ง
~ 16 ~
 กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง กล้ามเนื้อนี้เกาะจากขอบล่างของซี่โคลงซี่บนและวิ่งเป็นเส้นทะแยงมุมมา
ทางด้านหน้ามาเกาะที่ขอบบนของซี่โครง
ซี่ล่าง เวลาหดตัวจะช่วยยกซี่โครงและกระดูกหน้าอก(sternum) ขึ้นทาให้ทรวงอกขยายตัวโดยมาก
จะเกิดเมื่อร่างกายจาเป็นต้องหายใจแรงๆเช่น ในขณะออกกาลังกาย
 กล้ามเนื้อบริเวณคอ โดยเวลาหดตัวจะช่วยยกซี่โครง 2 ซี่บน และกระดูกหน้าอกขึ้นทาให้ทรวงอก
เกิดช่องว่าง โดยมากจะเกิดขึ้นขณะร่างกายออกกาลังกาย
 กล้ามเนื้อที่ช่วยเหยียดหลังและศีรษะให้ตั้งตรงเพื่อให้หายใจเข้าได้เต็มที่ในขณะออกกาลังกายอย่าง
หนัก คือ กล้ามเนื้อหลังรูปสามเหลี่ยมใหญ่
รูปที่ 15 แสดงการทางานของกล้ามเนื้อในขณะหายใจเข้า และออก
ที่มา : http://iyayaya.exteen.com/page-4
กล้ามเนื้อที่ช่วยเพิ่มขนาดทรวงอกเพื่อหายใจออก
 กระบังลม เมื่อคลายตัวจะดันขึ้นสู่ด้านบนทาให้ขนาดของทรวงอกแคบลง แรงดันของอากาศในปอด
เพิ่มสูงขึ้น จึงเกิดการหายใจออก
 กล้ามเนื้อท้อง (abdominals) จะหดตัวทาให้ความดันในช่องท้องสูงขึ้น ความดันนี้จะไปดันกระบัง
ลมซึ่งคลายตัวให้กลับขึ้นไปในทรวงอกได้มากขึ้น
~ 17 ~
กล้ามเนื้อของแขน
กล้ามเนื้อของแขน แบ่งออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้
(1) กล้ามเนื้อของไหล่ ที่สาคัญได้แก่ กล้ามเนื้อ deltoid เนื้อใหญ่หนา มีรูปเป็นสามเหลี่ยม
คลุมอยู่ที่ข้อไหล่ ตั้งต้นจากปลายนอกของกระดูกไหปลาร้า และกระดูกสะบัก แล้วไปยึด
เกาะที่พื้นนอกตอนกลางของกระดูกแขนท่อนบน ทาหน้าที่ยกต้นแขนขึ้นมาข้างบนให้ได้
ระดับกับไหล่เป็นมุมฉาก
(2) กล้ามเนื้อของต้นแขน ที่สาคัญได้แก่ - ไบเซฟส์แบรคิไอ (biceps brachii) เป็นกล้ามเนื้อ
ที่อยู่ด้านหน้าของต้นแขน มีรูปคล้ายกระสวย ทาหน้าที่งอข้อศอกและหงายมือ - ไตร
เซฟส์แบรคิไอ (triceps brachii) เป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่อยู่ด้านหลังของต้นแขน ปลายบน
แยกออกเป็น 3 หัว ช่วยทาหน้าที่เหยียดปลายแขนหรือข้อศอก
(3) กล้ามเนื้อของปลายแขน มีอยู่หลายมัด จาแนกออกเป็นด้านหน้า และ ด้านหลัง ในแต่ละ
ด้านยังแยกเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นตื้น และชั้นลึก ทาหน้าที่เหยียดข้อศอก เหยียดและงอมือ
เหยียดนิ้วมือ กระดกข้อมือ งอข้อมือ พลิกแขนและคว่าแขน ฯลฯ
(4) กล้ามเนื้อของมือ เป็นกล้ามเนื้อสั้นๆ ทาหน้าที่เคลื่อนไหวนิ้วมือ
โดยเมื่อสมองสั่งให้ร่างกายเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อจะเกิดการหดตัวและคลายตัว ทางาน
ประสานเป็นคู่ ๆ พร้อมกัน แต่ตรงข้ามกัน ในขณะที่กล้ามเนื้อมัดหนึ่งหดตัว กล้ามเนื้อ
อีกมัดหนึ่งจะคลายตัว
o การเหยียดและงอแขน โดยมีมัดกล้ามเนื้อไบเซพ (Biceps) อยู่ด้านบน และไตรเซพ (Triceps) อยู่
ด้านล่างของแขน
o ไบเซพ คลายตัว ไตรเสพ หดตัว »» แขนเหยียดออก
o ไบเซพ หดตัว ไตรเสพ คลายตัว »» แขนงอเข้า
รูปที่ 15 แสดงกล้ามเนื้อแขน
ที่มา : http://my.dek-d.com/bcgs/writer/viewlongc.php?id=827860&chapter=9
~ 18 ~
กล้ามเนื้อของขา
กล้ามเนื้อของขาจาแนกออกเป็น
(1) กล้ามเนื้อตะโพก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ที่สุดของตะโพก ได้แก่ กลูเทียส แมกซิมัส (gluteus
maximus) มีลักษณะหยาบ และอยู่ตื้น ช่วยทาหน้าที่เหยียดและกางต้นขา นอกจากนี้ยังมีมัดเล็กๆ อยู่ใต้
กล้ามเนื้อมัดใหญ่นี้ ช่วยกางและหมุนต้นขาเข้าข้างใน
(2) กล้ามเนื้อของต้นขา ประกอบด้วย
- กล้ามเนื้อด้านหน้าของต้นขา มีหน้าที่เหยียดปลายขา
- กล้ามเนื้อด้านในของต้นขา มีหน้าที่หุบต้นขา
- กล้ามเนื้อด้านหลังของต้นขา มีหน้าที่งอปลายขา
(3) กล้ามเนื้อของปลายขา ประกอบด้วย
- กล้ามเนื้อด้านหลังของปลายขา ทาหน้าที่งอเท้าขึ้นเหยียด นิ้วเท้า และหันเท้าออกข้างนอก
- กล้ามเนื้อด้านนอกของปลายขา ช่วยทาหน้าที่เหยียดปลายเท้า เหมือนกล้ามเนื้อด้านหลังของ
ปลายขา
(4) กล้ามเนื้อของเท้า เป็นกล้ามเนื้อสั้นๆ เหมือนกับของมือ อยู่ที่หลังเท้า และฝ่าเท้า มีหน้าที่ช่วยยึด
เท้าให้เป็นส่วนโค้ง และเคลื่อนไหวนิ้วเท้า
1.3 ระบบต่อมไร้ท่อ
เป็นระบบการทางานหนึ่งที่สร้างสารชีวะโมเลกุล และสารดังกล่าวจะถูกหลั่งออกมาจากเซลล์ใน
ร่างกายสู่กระแสเลือด เรียกว่า “ฮอร์โมน (Hormone)”
ฮอร์โมน
มีความสาคัญอย่างยิ่งในการควบคุมสมดุลของร่างกาย เป็นระบบการทางานที่ช่วยสื่อสารข้อมูล
ระหว่างแหล่งสร้างฮอร์โมนต้นทางกับอวัยวะหรือเซลล์ปลายทางอย่างเหมาะสม
ต่อมไร้ท่อที่ส้าคัญในร่างกาย
1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary grand) 2. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland)
3. ต่อมพาราไทรอย (Parathyroid gland) 4. ตับอ่อน (Pancrease)
5. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) 6. ต่อมเพศ (Gonad)
7. ฮอร์โมนจากรก 8. ต่อมเหนือสมอง (Pineal gland)
9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
รูปที่ 15 แสดงต่อมใต้สมองในระบบร่างกายของมนุษย์
ที่มา : http://tukaping.igetweb.com/index.php?mo=3&art=41993599
~ 20 ~
ต่อมไพเนียล (PINEAL GLAND)
ต่อมไพเนียลอยู่ระหว่างเซรีบบัมซีกซ้ายและขวา ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน เมลาโทนิน (melatonin)
ซึ่งมีหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ไม่ให้เจริญเติบโตเร็วมากเกินไป
ความผิดปกติจากฮอร์โมนเมลาโทนิน
มากเกินไป เป็นวัยรุ่นช้าเกินกว่าปกติ
น้อยเกินไป เป็นวัยรุ่นเร็วกว่าปกติ
รูปที่ 16 แสดงต่อมไพเนียล
ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/
Hormone/Hormone/html/Website-endocrine-system/pineal.htm
ต่อมใต้สมอง (PITUITARY GLAND)
อยู่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโพทาลามัส แบ่ง
ออกเป็น 3 ส่วนได้แก่
1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า
2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง
3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ส่วนหนึ่งถูกควบคุมด้วย ฮอร์โมนประสาท จากไฮโปท
ลามัส
ต่อมใต้สมองส่วนหลัง
ไม่ได้สร้างฮอร์โมน แต่มีปลาย แอกซอล ของ นิวโรซีครีทอรี
เซลล์ (neurosecretory cell)
รูปที่ 17 แสดงต่อมใต้สมอง
ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/
Biology42042/Hormone/Hormone/html/Website-
endocrine-system/pituitary.htm
~ 21 ~
 โกรทฮอร์โมน (Growth hormone : GH)
o มีหน้าที่สาคัญในการในการควบคุมการเจริญเติบโตทั่ว ๆ ไปของร่างกาย
ความผิดปกติจากโกรทฮอร์โมน
วัยเด็ก
มากเกินไป ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติ
น้อยเกินไป เตี้ยแคระ
วัยผู้ใหญ่
มากเกินไป ส่วนที่เป็นกระดูกยังตอบสนองฮอร์โมน จะไม่สูงขึ้น
แต่ส่วนที่เป็นกระดูกจะใหญ่ผิดปกติ
น้อยเกินไป ไม่แสดงอาการ ทางกายภาพ
แต่จะมีระดับน้าตาลในเลือดน้อยกว่าคนปกติ
ทาให้ร่างกายไม่ทนต่อความเครียดต่าง ๆ
สมองอาจจะได้รับอันตรายได้ง่าย เพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ
ก. ในวัยเด็ก
ข. วัยผู้ใหญ่
รูปที่ 18 ผู้ป่วยที่มีลักษณะของโกรทฮอร์โมนผิดปกติ
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
~ 22 ~
 โกนาโดโทรฟิน (Gonodotrophin : Gn)
o ประกอบด้วย
 ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (Follicle stimulating hormone) เรียกว่า FSH
 และลูทิไนซิงฮอร์โมน (Luteinizing hormone) เรียกว่า LH
o เพศชาย
 FSH กระตุ้นการเจริญของอัณฑะ และหลอดสร้างอสุจิ
 LH กระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล (Interstitial cell) ที่แทรกระหว่าง
หลอดสร้างอสุจิในอัณฑะให้หลั่งฮอร์โมนเพศชาย คือ ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน
(testosterone)
o เพศหญิง
 FSH กระตุ้นการสร้างการเจริญของ ฟอลลิเคิล (Follicle) ในรังไข่ ขณะฟอลิเคิล
เจริญจะสร้าง ฮอร์โมนเอสโทรเจน (estrogen)
 LH จะกระตุ้นการตกไข่และเกิดคอร์ปัสลูเทียม คอปัสลูเทียมจะสร้างฮอร์โมน
โพรเจสเทอโรน (progesterone)
ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน ทาหน้าที่รวมกับ ฮอร์โมนเอสโทรเจน
ที่จะทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงรังไข่และมดลูก เพื่อรองรับการฝังตัวของเซลล์ไข่ที่ถูกผสม
 โพรแลกทิน (prolactin)
o กระตุ้นให้ต่อมน้านมสร้างน้านมเพื่อเลี้ยงลูกอ่อน
 อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (Adrenocorticotrophin)
o เรียกย่อว่า ACTH ทาหน้าที่กระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอกให้หลั่งฮอร์โมนตามปกติ
 ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (Thyroid stimulating hormone)
o เรียกว่า TSH หน้าที่หลักคือ กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนเป็นปกติ
~ 23 ~
 เอนดอร์ฟิน (endorphin)
o เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟิน พบว่ามีแหล่งสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าและอาจจะสร้าง
จากเนื้อเยื่อส่วนอื่น ๆ ได้อีกด้วย เป็นสารที่มีฤทธิ์ระงับความเจ็บปวด หลั่งเมื่อออกกาลังกาย
หรืออารมแจ่มใส เรียกว่าสารแห่งความสุข
ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า
 วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน
o เรียกว่า ADH ทาหน้าที่ควบคุมการดูดกลับน้าของท่อหน่วยได และกระตุ้นให้หลอกเลือดแดง
หดตัว
 ออกซิโทซิน (Oxytocin)
o ทาให้กล้ามเนื้อเรียบที่มดลูกบีบตัว จึงเป็นฮอร์โมนที่แพทย์ฉีดเพื่อช่วยให้การคลอดของ
มารดาที่มีฮอร์โมนชนิดนี้น้อยกว่าปกติ นอกจากนี้ยังมีผลกระตุ้นให้กล้ามเนื้อรอบ ๆ ต่อม
น้านมหดตัวเพื่อให้ขับน้านมออกมาเลี้ยงลูก
ต่อมไทรอยด์ (THYROID GLAND)
ต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย อยู่ติดกับบริเวณกล่องเสียงมีลักษณะเป็น 2 พู และมีส่วน
บาง ๆ ของเนื้อเยื่อของต่อมพาราไทรอยด์ติดต่ออยู่ด้วยข้างละ 2 ต่อม
รูปที่ 19 ต่อมไทรอยด์
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน ไทรอกซิน (thyroxin) ซึ่งมีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบ แล้วปล่อยเข้าสู่
กระแสเลือด มีหน้าที่ควบคุม ระบบเมตาบอลิซึมของร่างกาย
~ 24 ~
ผลกระทบจากฮอร์โมนไทร๊อกซินมีปัญหา
ขาดฮอร์โมน (เด็ก)
พัฒนาการทางด้านร่างกายและสมองด้อยลงร่างกาย เตี้แคระ แขน
ขาสั้น ผิวหยาบแห้ง ผมบาง เจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ปัญญาอ่อน เรียกว่า กลุ่ม
อาการ เครทินิซึท (cretinism)
ขาดฮอร์โมน (ผู้ใหญ่)
อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผม
ผิวหนังแห้ง หัวใจโต ร่างกายอ่อนแอ ติดเชื้อง่าย ซึม เฉื่อยชา และความจาเสื่อม กลุ่ม
อาการนี้เรียกว่า มิกซีดีมา (Myxedema)
โรคคอพอก
o เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน
o เนื่องจากต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้าง ไทรอกซิน ได้ อาการคล้าย
ซีนีมา แต่จะมีคอโตด้วย
o เนื่องจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่ง TSH มากระตุ้นต่อมไทรอยด์
มากเกินไป
ต่อมพาราไทรอยด์ (PARATHYROID GLAND)
ฮอร์โมนที่ถูกสร้างขึ้นคือ พาราทอร์โมน (Parathormone) หรือพาราไทรอยด์ฮอร์โมน
(Parathyroid hormone) เรียกย่อว่า PTH มีหน้าที่สาคัญคือควบคุมสมดุลของแคลเซียมในเลือดให้คงที่ โดยมี
ผลต่ออวัยวะ สาคัญ 3 แห่งคือ
1. ผลต่อการดูดซึมแคลเซียมในลาไส้เล็ก
2. ผลต่อการสลายแคลเซียมและฟอสฟอรัสในกระดูกและฟัน
3. ผลต่อการดูดกลับแคลเซียมที่ ไต แต่กระตุ้นการขับฟอสฟอรัสออกมาทางปัสสาวะ
ผลกระทบจากฮอร์โมน พาราทอโมน
น้อยเกินไป การดูดกลับของแคลเซียมน้อยเกินไป แคลเซียมต่า เกิดการชักกระตุก
ปอดไม่ทางานหายใจช้าลง อาจทาให้เสียชีวิตได้
~ 25 ~
มากเกินไป จะมีการสลายแคลเซียมจากฟันและกระดูดมายังกระแสเลือก ทาให้แคลเซียมใน
เลือดสูง กระดูกบาง ฟันหัก และผุง่าย
รูปที่ 20 ต่อมพาราไทรอยด์ และการรักษาสมดุลของแคลเซียม
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
ตับอ่อน (PANCREAS)
ภายในตับอ่อน จะมีกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า ไอส์เลดออฟแลงเกอร์ฮานส์ (Islats of langerhans)
ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ อินซูลิน (insulin) และกลูคาคอน (Glucagon)
ฮอร์โมนอินซูลิน
o สร้างจากกลุ่มเซลล์เบต้าเซลล์ ที่บริเวณ
ส่วนกลางของไอซ์เลนออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ลด
ระดับน้าตาลในเลือด ให้กลับสู่ภาวะปกติ
o เมื่อร่างกายมีระดับน้าตาลมากขึ้น อินซูลินก็จะ
ถูกหลั่งออกมาสู่เซลล์ตับและกล้ามเนื้อมากขึ้น และ
เปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกรโคเจนเพื่อเก็บสะสมไว้
ทาให้ระดับน้าตาลลดลง
รูปที่ 21 แสดงรูปตับอ่อน
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
~ 26 ~
กลูคากอน
o เป็นฮอร์โมนที่สร้างจาก แอลฟ่าเซลล์
o กลูคากอนจะไปกระตุ้นการสลายตัวของ ไกลโคเจนจากตับ และกล้ามเนื้อเป็นน้าตาล กลูโคส แล้ว
ปล่อยออกมาทาให้ระดับน้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น
รูปที่ 21 แสดงรูปการรักษาระดับน้าตาลในร่างกายด้วยฮอร์โมนจากตับอ่อน
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
ต่อมหมวดไต (ADRENAL GLAND)
ต่อมนี้ประกอบด้วยสองส่วน คือ ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex) และเนื้อเยื่อชั้นในเรียกว่า
ต่อมหมวกไตส่วนใน (Adrenal medulla)
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก(adrenal cortex)
ฮอโมนกลูโคคอร์ดิคอยด์ (glucocorticoids)
ทาหน้าที่หลักในการควบคุมเมเทบอลิซึมของคาบอไฮเดรต ตัวอย่าง
ฮอร์โมนกลุ่มนี้คือ คอร์ติซอล (cortisol) มีหน้าที่สาคัญคือ เพิ่มระดับน้าตาลใน
เลือด โดยกระตุ้นตับให้เปลี่ยนเป็นกรดอมิโนและกรดไขมัน เป็น คาบอร์ไฮเดรต
และสะสมในรูปไกรโคเจน
~ 27 ~
หากมีฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์มากเกินไป ทาให้เกิด
โรคคูชชิง (Cushing’s syndrome)
มีความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม ของคาบอไฮเดรต ไขมันและโปรตีน ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น
กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมัน บริเวณแขนขา แต่มีการสะสมไขมันบริเวณแกนกลาง
ของลาตัว เช่น ใบหน้า ต้นคอ เป็นต้น
รูปที่ 23 ตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นโรคคูชชิง
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
ฮอร์โมนมิเนราโลคอร์ดิคอยด์ (Mineralocorticoids)
มีหน้าที่หลักในการควบคุมสมดุลของน้าและแร่ธาตุในร่างกาย ฮอร์โมนกลุ่มนี้คือ แอลโดสเตอโรน
(aldosterone) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของไตในการดูดน้าและแคลเซียมกลับสู่หลอดเลือด และขับ
โพแทสเซียมออกจากท่อหน่วยไตให้สมดุลกับความต้องการของร่างกาย
ฮอร์โมนเพศ (sex hormone)
ในภาวะปกติฮอร์โมนเพศสร้างจากต่อมหมวกไตส่วนนอกมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเมื่อเทียบกับฮอร์ โมน
ที่สร้างจากอวัยวะเพศ ถ้าต่อมนี้สร้างฮอโมนเพศมากเกินไปจะทาให้มีความผิดปกติทางเพศได้
~ 28 ~
โรคแอดดิสัน
o เกิดจากต่อมหมวกไตถูกทาลาย จนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้
o อาการ ซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ อาจจะทาให้ถึงแก่ความ
ตายได้
รูปที่ 23 ตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นโรคแอดดิสัน
ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน(adrenal medulla)
ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด
1. เอพิเนฟริน (epinephrine) หรืออะดรีนาลีน (adrenaline)
2. นอร์เอพิเนฟริน (norepinephine) หรือนออะดรีนาลีน (noradrenaline)
อะดรีนาลีน
o มีผลทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น
o กระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น
o ทาให้หลอดเลือดขนาดเล็กที่อวัยวะต่าง ๆ ขยายตัว
o หลอดเลือดขนาดเล็กที่ผิวหนังและช่องท้องหดตัว
นออดรีนาลีน
o คล้ายกับอดรีนาลีน คือ ทาให้ความดันหลอดเลือดสูงขึ้น แต่ต่างกันตรงที่ นออดรีนาลีนส่งผลทา
ให้หลอดเลือดขนาดเล็กที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ บีบตัว
~ 29 ~
อวัยวะเพศ
 อวัยวะเพศ ได้แก่ อัณฑะ (testis) และรังไข่ (ovary)
 เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่นต่อมใต้สมองจะหลั่ง FSH และ LH เพิ่มขึ่น เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโต
ของอัณฑะและรังไข่ ทาให้สามารถสร้างเซลล์สืบพันธ์และฮอร์โมนได้
 เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น
เพศชาย
o เซลล์เลย์ดิกได้รับการกระตุ้นจากฮอร์โมน LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้าง
ฮอร์โมนเพศชายเรียกว่า แอนโดรเจน (Androgens)
o ประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญคือ เทสโทสเทอโรน มีหน้าที่สาคัญที่ทาให้ผู้ชาย
สามารถสืบพันธ์ได้ มีลักษณะของการแตกเนื้อหนุ่ม
เพศหญิง
o มีรังไข่ นอกจากจะมีหน้าที่ในการผลิตไข่แล้วรังไข่ยังสามารถผลิตฮอร์โมนเพศได้
o รังไข่มีแหล่งในการผลิตฮอร์โมน 2 แหล่งคือ ฟอลฮิเคิลและคอร์ปัสลูเทียม
 เมื่อรังไข่ได้รับ FSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะมีการสร้าง ฟอลฮิเคิล ร้
อมรอบโอโอไซต์หลายชั้น ในระยะไข่สุกก่อนที่จะหลุดออกจากรังไข่จะมี
ช่องกลวงตรงกลาง
 ในระยะตกไข่ฟอลฮิเคิ้ลจะสร้างฮอร์โมน อีสโทรเจน ซึ่งฮอร์โมนนี้จะทาให้
มีลักษณธของเพศหญิง
 คอปัสลูเทียมจะสร้าง ฮอร์โมน โพรเจสเทอโรน ซึ่งจะทาหน้าที่ร่วมกับ อีส
โทรเจน เพื่อช่วยกระตุ้นการเจริญเยื่อบุผนังมดลูกให้หนาขึ้น เพื่อรับไข่ที่ถูก
ผสม
รก
หลังจากเอ็มบริโอฝังที่ผนังมดลูกแล้ว เซลล์ของรก จะเริ่มหลั่งฮอร์โมน ฮิวแมน คอริโอนิก โกนาโด
โทรฟิน เพื่อกระตุ้นคอร์ปัสลูเทียในรังไข่ให้เจริญต่อไปและสร้างฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนมากขึ้น
~ 30 ~
ต่อมไทมีส (Thymus gland)
มีลักษณะเป็นพู มีตาแหน่งตรงกลางกระดูกอกกับหลอดเลือดใหญ่ของหัวใจมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด
ขาวลิมโฟไซต์ชนิต ที หรือ เซลล์ที การเจริญของเซลล์ที อาศัยฮอร์โมนไทโมซิน (thymosin) ซึ่งสร้างจาก
ต่อมไทมัส ดังนั้นต่อมไทมัสจึงเกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย
กระเพาะอาหารและล้าไส้เล็ก
กระเพาะอาหารสร้างฮอร์โมน แกสตริน (gastrin) มีหน้าที่กระตุ้นการหลั่งเอ็นไซน์และกรดไฮโดรคลอ
ริก
ส่วนลาไส้เล็กบริเวณดูโอดีนัมสร้าง ซีครีทีน (secretin) ทาหน้าที่กระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์ และ
โซเดียมไฮโดรเจนคาบอเนต ตลอดจนกระตุ้นดารบีบตัวของท่อน้าดี
~ 31 ~
1.4 พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
พันธุกรรม (Heredity)
ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นและสามารถสืบทอดไปยังรุ่นอื่น ๆ อาจจะสามารถเรียกได้
อึกอย่างว่า กรรมพันธุ์
พันธุกรรมนี้เป็นสิ่งที่ทาให้ลักษณะของคนเราแตกต่างกันออกไปโดยมีหน่วยควบคุมเรียกว่า ยีนส์
(Gene) พันธุกรรม(Heredity)ลักษณะหนึ่งๆไป โดยจะมีทั้งยีน(Gene)ที่ควบคุมลักษณะเด่น และยีน(Gene)ที่
ควบคุมลักษณะด้อย แต่ส่วนหนึ่งที่ทาให้ลักษณะเราแตกต่างออกไปนอกเหนือพันธุกรรม (Heredity) คือ
สิ่งแวดล้อม หรือ สภาพแวดล้อม เช่น ความอ้วน อาจเกิดจากสภาพแวดล้อมมากกว่าพันธุกรรม(Heredity)
รูปที่ 24 แสดงตัวอย่างของโครโมโซมและ DNA
ที่มา : http://tumcrum3.blogspot.com/2014/01/blog-post_3270.html
ยีน (GENE)
คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม มีลักษณะเรียงกันเหมือนสร้อยลูกปัด ทาหน้าที่ควบคุม
ลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่โดยผ่ านเซลล์สืบพันธุ์ ไปยังลูกหลาน ซึ่งยีนแต่ละตัวจะควบคุม
ลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญเป็น กรดนิวคลีอิก ชนิดที่เรียกว่า
ดีเอนเอ(deoxyribonucleic acid : DNA) อันเกิดจากการต่อกันเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกว่านิวคลี
โอไทด์ (nucleotide)
Phenotype ลักษณะของยีนส์เด่น เช่นรูปร่างหน้าตา สีผม สีผิว สีตา ฯลฯ เป็นลักษณะที่ปรากฏให้
เห็นได้ภายนอก
~ 32 ~
Genotype ลักษณะด้อย เป็นลักษณะที่แฝงเร้นไว้โดยอาจจะไม่ปรากฏในรุ่นหนึ่งแต่ปรากฏในรุ่นลูก
เช่น กลุ่มเลือด ตาบอดสี โรคลมบ้าหมู โรคเบาหวาน โรคปัญญาอ่อน โรคภูมิแพ้ และโรคบางชนิ ดที่ถ่านทอด
โดยสายเลือด
กระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม “กฎของเมนเดล”
1. ยีนเป็นหน่วยพันธุกรรมที่มีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ไม่ว่าจะถ่ายทอดไปกี่
ชั่วอายุคน
2. ยีนแบ่งเป็น 2 ประเภท 1 ยีนเด่น 2 ยีนด้อย
3. ยีนที่อยู่กันเป็นคู่จะแยกออกจากกันเมื่อเข้าสู่หน่วยสืบพันธ์ ซึ่งได้แก่ ไข่(egg) และเสปิร์ม(Sperm) ซึ่ง
เป็นเซลล์สืบพันธ์ของเพศหญิงและชาย
หลักในการถ่ายทอดพันธุกรรม
ยีนจะถูกถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานโดยผ่านทางโครโมโซม (Chomosome) ซึ่งมีอยู่ในร่างกายจานวน 46
โครโมโซม (23 คู่) โดยจะรับมาจากพ่อ 23 โครโมโซม แม่ 23 โครโมโซม โดยจะมีโครโมโซมเพศ 1 โครโมโซม
และโครโมโซมกาหนดลักษณะทางชีวภาพอื่นๆ จานวน 22 โครโมโซม
รูปที่ 25 แสดงโครใมโซมของมนุษย์
ที่มา : http://www.physicalagency.com/main/เทอร์เนอร์-ซินโดรม-โรคพันธุกรรมของเพศหญิง.html
~ 33 ~
โดยปกติโครโมโซม เพศชายคือ XY
เพศหญิงคือ XX
อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีผลต่อบุคคล
1. ด้านร่างกาย
โดยพันธุกรรมทางด้านร่างกายจะมีผลต่อบุคคลในด้านบุคลิกภาพ อารมณ์ และการรับรู้ตนเอง ซึ่ง
พันธุกรรมจะมีอิทธิพลต่อร่างกายของบุคคลไม่ว่าจะเป็นในด้านรูปร่าง สีผิว สีผม และเครื่องประกอบของ
ใบหน้า รวมทั้งโครงสร้างอื่น ๆ เช่น ความสูง น้าหนัก เป็นต้น
1.1 พันธุกรรมทางด้านร่างกายที่ส่งผลต่อบุคลิกภาพ เช่น บางคนมีโครโมโซม XXY เป็นโรค Klinefelter’s
Syndrome จะทาให้เป็นชายที่มีลักษณะของเพศหญิง คือ มีหน้าอก ใหญ่ และอวัยวะเพศชายไม่ทางาน
เนื่องจากต่อมเพศผลิตฮอร์โมนไม่เพียงพอ หรืออาจจะกลายเป็นโรคปัญญาอ่อนได้
1.2 พันธุกรรมทางด้านร่างกายที่ส่งผลต่ออารมณ์ของบุคคล เช่น
เซลดอน (Sheldon) ได้เสนอไว้ให้เห็นถึงบุคคลที่มีรูปร่างต่างกัน 3 ลักษณะ ได้แก่
คนที่มีรูปร่างอ้วนท้วนเจ้าเนื้อ (Endomorphy)
มักจะมีอารมณ์ดี ร่าเริง โกรธง่ายหายเร็ว
คนที่มีรูปร่างผอมเกร็ง (Ectomorphy)
เป็นผู้ที่เก็บอารมณ์ไม่เก่ง โมโหยากแต่หายช้า ฯลฯ
คนที่มีรูปร่างสมส่วน (Mesomorphy)
เป็นผู้ที่มีอารมณ์มั่นคง มีน้าใจนักกีฬา ฯลฯ
1.3 พันธุกรรมทางด้านร่างกายที่ส่งผลต่อการรับรู้ตนเอง เช่น การรับรู้ตนเองนี้จะขึ้นอยู่กับการยอมรับและ
ค่านิยมของสังคมแต่ละแห่งเป็นสาคัญ ในขณะที่บางสังคมคนอ้วนจะกลายเป็นคนมีปมด้อย แต่บางสังคมผู้
มีรูปร่างอ้วนท้วน กลับได้รับการยกย่องในสังคม ฯลฯ
~ 34 ~
2. ด้านสติปัญญา
การพัฒนาด้านสติปัญญาของมนุษย์ได้รับอิทธิพลมาจากพันธุ กรรมและสิ่งแวดล้อม โดยมี
พันธุกรรมเป็นตัวปูพื้นฐานของสติปัญญาหรือเป็นขอบเขตของการพัฒนาการด้านสติปัญญา กล่าวคือบุคคลมี
ระดับสติปัญญาสัมพันธ์กับบรรพบุรุษของตน แต่จะสามรุพัฒนาขึ้นได้ ถ้าได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจาก
สภาพแวดล้อม
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อบุคคล
สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคลในด้านต่าง ๆ มากมายซึ่งเรา
จะได้รับพัฒนาการด้านสิ่งแวดล้อมจากการเรียนรู้ทางสังคม เป็นตัวหล่อหลอมและถ่ายทอดคุณลักษณะที่
สังคมต้องการให้เกิดแก่บุคคล
สิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อบุคคลตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิไปตลอดจนคลอดออกมาเป็นสมาชิกของสังคม
โดยสิ่งแวดล้อมมีผลต่อบุคคล 3 ช่วง คือ สภาพแวดล้อมก่อนเกิด สภาพแวดล้อมขณะเกิด และสภาพแวดล้อม
หลังเกิด
สภาพแวดล้อมก่อนเกิด
สิ่งแวดล้อมภายในครรภ์มารดาและการปฏิสนธิของแม่มีผลต่อตัวอ่อนในครรภ์มารดาเป็น
อย่างมาก โดยเฉพาะในด้านของพัฒนาการทางสมองของบุคคล ซึ่งสภาพแวดล้อมก่อนเกิดมีดังนี้
สุขภาพของแม่ มีผลอย่างมากต่อทารกในครรภ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน 3 เดือนแรกของการ
ตั้งครรภ์ เป็นระยะที่ ตัวอ่อนไวต่อการขาดออกซิเจนและการติดเชื้อต่าง ๆ ซึ่งจะพบอาการผิดปกติอัน
เนื่องมาจากสุขภาพของมารดา ดังนี้
- มารดามีความบกพร่องจากฮอร์โมนต่อมไทรอยด์ จะทาให้เด็กเกิดมาเป็นโรคกระดูก
อ่อน ท้องใหญ่ ผิวหนังหยาบ ผมติดกันเป็นกระจุก และสติปัญญาต่ากว่าปกติ
- มารดามีอาการขาดออกซิเจน จะทาให้เด็กคลอดออกมา จมูกแหว่ง ตาบอก แขนขา
ไม่มี มีความผิดปกติที่อวัยวะรับสัมผัส เป็นมะเร็งเม็ดเลือด และอาจจะทาให้
สติปัญญาต่า
- แม่ติดเชื้อหวัดเยอรมันในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ จะทาให้เด็กมีความ
ผิดปกติทางด้านสติปัญญาอย่างมาก ดังนั้นแพทย์จึงให้มารดาทาแท้งทันที
สุขภาพจิตของแม่ อารมณ์มีผลต่อลูกในครรภ์เป็นอย่างมาก หากแม่มีอารมณ์ไม่ปกติจะทา
ให้ฮอร์โมนไม่สมดุล อันเป็นสาเหตุให้เด็กปัญญาอ่อนชนิด Mogolism
~ 35 ~
การบริโภคของแม่ สิ่งที่แม่บริโภคเข้าไปในร่างกายทุกชนิดจะถูกส่งไปยังทารกในครรภ์ผ่าน
ทางกระแสเลือด ดังนั้นหากแม่ทานอาหารที่เป็นประโยชน์ทารกก็จะมีสุขภาพดี หากแม่ขาดสารอาหาร ทารกก็
จะมีความบกพร่องทางสมองและร่างกายผิดปกติ
การรับรังสี การที่แม่ได้รับรังสีเอ็กซ์หรือเรเดียม จะมีผลทาลายทารกในครรภ์และรังสี
บางอย่างอาจจะเข้าไปทาให้ยีนเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีผลต่อพันธุกรรมรุ่นต่อไป
การได้รับเชื้อ HIV การที่แม่ได้รับเชื้อ HIV เชื้อจะผ่านจากแม่เข้าสู่ทารก ทาให้มีภูมิคุ้มกัน
บกพร่องหรืออาจเสียชีวิตได้
สภาวะของ Rh Factor หมายถึง การที่ระบบเลือดของแม่มีสารบางอย่างเข้าไปก่อ
ปฏิกิริยาทาลายเม็ดเลือดแดง ของตัวอ่อนในครรภ์ ทาให้เกิดอาการแท้งหรือทารกตายหลังคลอด
สภาพแวดล้อมหลังเกิด
1) สิ่งแวดล้อมภายในครอบครัว เป็นสังคมกลุ่มแรกที่ มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ อารมณ์
ความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติของบุคคลเป็นอย่างมาก ได้แก่ ทัศนคติของพ่อแม่ที่มีต่อ
ลูก การอบรม เลี้ยงดู และบรรยากาศในครอบครัว การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก จานวน
พี่น้องและลาดับการเกิด การให้โภชนาการในครอบครัว ระดับ การศึกษาของพ่อแม่
และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว
2) สิ่งแวดล้อมภายในสถานศึกษา เป็นกลุ่มสังคมที่อบรมสั่งสอนบุคคลโดยการให้การ
เรียนรู้และอบรมบุคคลโดยตรง ซึ่งได้แก่ กฎระเบียบการปกครอง ทัศนคติและ
บุคลิกภาพ ของครู และกลุ่มเพื่อนโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา
3) สิ่งแวดล้อมในสังคม เป็นกลุ่มสังคมที่มีอิทธิพลหล่อห ลอมบุคคลในทางอ้อม ให้บุคคล
เกิดการเลียนแบบสังคม โดยกลุ่มสังคมที่มีอิทธิพลต่อบุคคลในสังคมมากที่สุด คือ
สื่อมวลชนทุกประเภท
ความเกี่ยวข้องระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม
พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมร่วมมีบทบาทในพัฒนาการด้านต่างๆ ของบุคคล ไม่ อาจจะบอก
ได้ว่า ระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมสิ่งใดจะมีความสาคัญมากกว่ากัน เพราะ ทั้งสองสิ่งล้วนแต่ส่งเสริมซึ่ง
กันและกัน โดยพัฒนาการด้านหนึ่งพันธุกรรมอาจมีผลมากกว่าและ ได้รับการส่งเสริมต่อจากอิทธิพลของ
สิ่งแวดล้อม แต่พัฒนาการอีกด้านหนึ่งอาจมีอิทธิพล มากกว่าก็ได้
1) พัฒนาการด้านสติปัญญา พบว่า พันธุกรรมจะมีอิทธิพลต่อระดับสติปัญญา ของบุคคล
มากกว่าสิ่งแวดล้อม ซึ่งจาก การศึกษาของ โลวิงเจอร์ พบว่า พันธุกรรมมีอิทธิพลต่อ
พัฒนาการทาง สติปัญญา 75% และสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพล 25% นอกจากนี้ พัฒนาการ
ทางด้านร่างกายก็มีผลมา จากพันธุกรรมมากกว่าสิ่งแวดล้อม
~ 36 ~
2) พัฒนาการทางด้านสังคม อารมณ์และจริยธรรม รวมทั้งบุคลิกภาพโดยส่วนรวม พบว่า
อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมมีผลต่อพัฒนาการในด้านนี้มากกว่าพันธุกรรม โดยเฉพาะ
สภาพแวดล้อมภายในครอบครัวและการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่มีส่วนในการพัฒนา
บุคคลในด้านต่างๆมาก
บทที่ 2 การรับรู้
ทฤษฎีการรับรู้
ทฤษฎีการรับรู้ (Perception Theory) การรับรู้เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ที่สาคัญของบุคคล
เพราะการตอบสนองพฤติกรรมใดๆ จะขึ้นอยู่กับการรับรู้จากสภาพแวดล้อม ของตน และความสามารถใน
การแปลความหมายของสภาพนั้นๆ ดังนั้น การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยการรับรู้ และสิ่งเร้า
ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งปัจจัยการรับรู้ประกอบด้วยประสาทสัมผัส และปัจจัยทางจิต คือความรู้เดิม ความ
ต้องการ และเจตคติเป็นต้น การรับรู้จะประกอบด้วยกระบวนการสามด้าน คือการรับสัมผัสการแปล
ความหมายและอารมณ์
การรับรู้
การรับรู้ หมายถึง การรู้สึกสัมผัสที่ได้รับการตีความให้เกิดความหมายแล้ว เช่นในขณะนี้ เรา
อยู่ในภาวะการรู้สึก (Conscious) คือลืมตาตื่นอยู่ในทันใดนั้นเรารู้สึกได้ยินเสียงดังปังมาแต่ไกล (การรู้สึก
สัมผัส-Sensation) แต่เราไม่รู้ความหมายคือไม่รู้ว่าเป็นเสียงอะไร เราจึงยังไม่เกิดการรับรู้ แต่ครู่ต่อมามีคน
บอกว่าเป็นเสียงระเบิดของยางรถยนต์ เราจึงเกิดการรู้ความหมายของการรู้สึกสัมผัสนั้น ดังนี้เรียกว่าเราเกิด
การรับรู้
การรับรู้มาจากประสาทสัมผัสทั้ง 5
รูป แสดงการรับรู้จากระบบประสาทการรับรู้จากอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5
ที่มา : http://www.krui3.com/content/1340
~ 38 ~
การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพลหรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะ
ของผู้รับรู้ ลักษณะของสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าเป็นตัวกา หนดให้เกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดขึ้นก่อน
เพราะการรับรู้ เป็นหนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ซึ่งหมายถึง การรับรู้เป็นพื้นฐานของการ
เรียนรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้เกิดขึ้น การเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การรับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคั ญที่ทาให้เกิด
ความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์ อันเป็นส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอน
พฤติกรรมต่างๆน้าไปสู่การก้าหนดทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ
การจัดระบบการรับรู้
1. หลักแห่งความคล้ายคลึง (Principle of similarity)
สิ่งเร้าใดที่มีความคล้ายกันจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
2. หลักแห่งความใกล้ชิด (Principle of proximity )
สิ่งเร้าที่มีความใกล้กันจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน
3. หลักแห่งความสมบูรณ์ (Principle of closure)
เป็นการรับรู้สิ่งที่ไม่สมบูรณ์ให้สมบูรณ์ขึ้น
บรรณานุกรม
จันทิมา แทนบุญ . เอกสารประกอบการเรียน Pathology of Endocrine system
ภาณุวัฒน์ ศิวะสกุลราช. การพัฒนาคน. กรุงเทพฯ
อมรพันธุ์ เสรีมาศพันธุ์. เอกสารประกอบการเรียน Morphology of Major Endocrine Glands
ระบบประสาท. http://nervousmwit.blogspot.com
https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบประสาท
http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson5.php
http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Perception.htm

More Related Content

What's hot

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
sukanya petin
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
Nichakorn Sengsui
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
Wichai Likitponrak
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
สุรินทร์ ดีแก้วเกษ
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01korakate
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
Nattha Phutthaarun
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
Wichai Likitponrak
 

What's hot (10)

การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้
 
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
4.การทำงานระบบ อวัยวะรับรู้สึก
 
Nervous
NervousNervous
Nervous
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01Science2 110904044724-phpapp01
Science2 110904044724-phpapp01
 
Nervous system
Nervous systemNervous system
Nervous system
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท3.ศูนย์กลางประสาท
3.ศูนย์กลางประสาท
 

Viewers also liked

ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
Nichakorn Sengsui
 
ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011Natasha Zaverukha
 
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุLayers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
Nichakorn Sengsui
 
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยนการออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
Nichakorn Sengsui
 
หนังสือรุ่น
หนังสือรุ่นหนังสือรุ่น
หนังสือรุ่น
Nichakorn Sengsui
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
Nichakorn Sengsui
 
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Natasha Zaverukha
 
Шерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в УкраїніШерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в Україні
Natasha Zaverukha
 
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасностиМакс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Natasha Zaverukha
 
Система электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота DocsvisionСистема электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота Docsvision
Natasha Zaverukha
 
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиентаБеспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Natasha Zaverukha
 

Viewers also liked (15)

ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
ทัศนธาตุ นวัตกรรมเล่ม 2 ส่งเผยแพร่
 
ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011ПРОНЕТ чемпион 2011
ПРОНЕТ чемпион 2011
 
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุLayers และการจัดลำดับวัตถุ
Layers และการจัดลำดับวัตถุ
 
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยนการออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
การออกแบบวัตถุทรงตันและการปรับเปลี่ยน
 
หนังสือรุ่น
หนังสือรุ่นหนังสือรุ่น
หนังสือรุ่น
 
CSS
CSSCSS
CSS
 
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
ภาษาในการพัฒนาเว็บไซต์
 
Br directum pd
Br directum pdBr directum pd
Br directum pd
 
U1
U1U1
U1
 
U1 1
U1 1U1 1
U1 1
 
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...Pronet   bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
Pronet bmc pro activenet monitoring. Современная система мониторинга и упра...
 
Шерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в УкраїніШерінгова економіка і приклади в Україні
Шерінгова економіка і приклади в Україні
 
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасностиМакс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
Макс Патрол - Система комплексного мониторинга информационной безопасности
 
Система электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота DocsvisionСистема электронного документооборота Docsvision
Система электронного документооборота Docsvision
 
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиентаБеспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
Беспроводная система управления очередями Как получить лояльного клиента
 

Similar to พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน

บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการขวัญ ฤทัย
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพtassanee chaicharoen
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3korakate
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3korakate
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
Wichai Likitponrak
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4Kruthai Kidsdee
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4supap6259
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
Wan Ngamwongwan
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2korakate
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 

Similar to พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน (20)

ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 4
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 1 ชุดที่ 5
 
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 3 ชุดที่ 4
 
จุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพจุลสารโครงงานสุขภาพ
จุลสารโครงงานสุขภาพ
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม3
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.3
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 4
 
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.44.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
4.วิเคราะห์โครงสร้างการจัดการเรียนรู้สุขศึกษาม.4
 
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4สุขฯ ม.2 หน่วย 4
สุขฯ ม.2 หน่วย 4
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
โครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาทโครงสร้างของระบบประสาท
โครงสร้างของระบบประสาท
 
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
การวิเคราะห์ตัวชี้วัด Science ม.2
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
Des sciencebiology
Des sciencebiologyDes sciencebiology
Des sciencebiology
 
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
ศูนย์ที่ 2 ชุดที่ 5
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมและการรับรู้ ฉบับรายงาน

  • 3. คานา รายงานเรื่องพื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและการรับรู้ เป็นรายงานที่จัดทาขึ้นเพื่อ ประกอบการ นาเสนอในรายวิชาจิตวิทยาสาหรับครู ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความรู้ที่ลึกซึ้งใน พื้นฐานทางชีววิทยาที่ เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและการรับรู้ อันประกอบไปด้วยลั กษณะทางกายภาพ จนถึงประสาทสั มผัส ระบบ ประสาทในร่างกายของมนุษย์ ตลอดจนสารเคมีต่าง ๆ ที่มี ส่วนเกี่ยวข้องกับพฤติกรรมของมนุษย์ อันมี ส่วน เกี่ยวข้องกับกระบวนการรับรู้ อันจะนาไปสู่การเรียนรู้ ที่ทาให้มนุษย์แต่ละคนมีพัฒนาการ ทั้งนี้ ผู้เรียบเรียงหวังเป็นอย่างยิ่งว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ แก่ผู้ที่สนใจศึกษาข้อมูลของ พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับ พฤติกรรมและการรับรู้ หากมีสิ่งหนึ่งสิ่งใดผิดพลาดไปบ้างผู้เรียบเรียงต้อง ขออภัยไว้ ณ โอกาสนี้ด้วย
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า บทที่ 1 พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม 1 ระบบประสาท 1 ระบบกล้ามเนื้อ 12 ต่อมไร้ท่อ 18 พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม 30 บทที่ 2 การรับรู้ 36 อ้างอิง 38
  • 5. บทที่ 1 พื้นฐานทางชีววิทยาที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรม 1.1 ระบบประสาท ระบบประสาทมีหน้าที่ควบคุมและประสานการทางานของระบบต่าง ๆ ในร่างกาย เมื่อมีสิ่งเร้าจาก ภายนอกหรือความต้องการภายในกระตุ้นระบบประสาทก็จะวิเคราะห์สั่งการ ให้ร่างกายตอบสนอง 1) หน้าที่ของระบบประสาท 1. รวบรวมข้อมูล ทั้งภายในและภายนอกร่างกาย (Sensory fuynction) 2. นาส่งข้อมูลไปยังระบบประสาทเพื่อทาการวิเคราะห์ 3. วิเคราะห์ข้อมูล เพื่อให้มีการตอบสนองที่เหมาะสม (integrative function) 4. ส่งงานไปยังระบบต่าง ๆ เช่น กล้ามเนื้อ ต่อม หรืออวัยวะอื่น ๆ ให้มีการสนองที่เหมาะสม (motor function) 2) ระบบประสาทแบ่งเป็น 2 ส่วนได้แก่ 1. ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system - CNS) ประกอบไปด้วยสมองและไขสันหลัง 2. ระบบประสาทส่วนปลาย หรือระบบประสารทรอบนอก (Peripheral nervous system : PNS) เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่เก็บข้อมูลจากร่างกายและนาส่งไป ยังระบบประสาทส่วนกลาง  เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่นาส่งข้อมูลไปยังระบบ ประสาทส่วนกลางเรียกว่า afferent neuron  เซลล์ประสาทที่ทาหน้าที่นาส่งข้อมูลจากเซลล์ ประสาทส่วนกลางไปยังส่วนต่าง ๆ เรียกว่า efferent neuron รูปที่ 1 ระบบประสาทของมนุษย์ ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/ human/lesson/lesson5.php
  • 6. ~ 6 ~ 3) เซลล์ประสาท (Neurons) เป็นหน่วยพื้นฐานของระบบประสาท ประกอบไปด้วยส่วนต่าง ๆ 3 ส่วนได้แก่ body , dendrites และ axon ซึ่งข้อมูลที่ถูกส่งไปยังระบบประสารทจะเป็นสัญญาณไฟฟ้า (electrical signals) ซึ่งเรียกว่า impulse (กระแสประสาท) เซลล์ประสาทจะนาสัญญาณประสาทส่งไปในทิศทางเดียว รูปที่ 2 เซลล์ประสาท ที่มา : http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson5.php 1. ตัวเซลล์ (cell body) เป็นส่วนของไซโทพลาซึมและนิวเคลียส ตัวเซลล์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 - 25 ไมโครเมตร ภายในมีออร์แกเนลล์ที่สาคัญ คือ ไมโทคอนเดรีย เอนโดพลาสมิกเรติคูลัม และกอลจิคอม เพล็กซ์ 2. ใยประสาท (nerve fiber) แบ่งออกเป็น 2.1 เดนไดรต์ (dendrite) เป็นส่วนของเซลล์ประสาทที่ยื่นออกไป ส่วนใหญ่จะอยู่รอบๆตัวเซลล์ ทาหน้าที่รับกระแสประสาทเข้าสู่ตัวเซลล์ เซลล์ประสาทหนึ่งตัวจะมีเดนไดรต์ได้หลายแขนง บริเวณแอกซอน อาจมีเยื่อจาพวกลิพิดมาหุ้ม เรียกว่า เยื่อไมอีลิน (myelin sheath) ซึ่งติดต่อกันเซลล์ชวันน์ (Schwann cell) ซึ่งเป็นเซลล์ค้าจุนชนิดหนึ่ง 2.2 แอกซอน (axon) เป็นส่วนของใยประสาทที่ทาหน้าที่นากระแสประสาทออกจากบริเวณเดน ไดรต์ ไปสู่เซลล์อื่นๆเซลล์ประสาทตัว ในหนึ่งเซลล์จะมีแอกซอนเพียงหนึ่งแอกซอนเท่านั้น ส่วนของแอกซอนตรงบริเวณร่อยต่อระหว่างเซลล์ชวันน์แต่ละเซลล์เป็นบริเวณที่ไม่มีเยื่อไมอีลินหุ้ม เรียกว่า โนด ออฟแรนเวียร์ (node of Ranvier)
  • 7. ~ 7 ~ 4) ชนิดของเซลล์ประสาท 1. Sensory neurons (Reception afferent) เซลล์ประสาทรับความรู้สึก มีหน้าที่นาส่งกระแสประสาท(impulse) ไปยังระบบประสาทส่วนกลาง 2. Motor neurons (efferent) เซลล์ประสาทสั่งการ มีหน้าที่นาส่งกระแสประสาท (impulse) จาก กล้ามเนื้อและต่อมต่างๆ ไปยังระบบประสาทส่วนกลาง 3. Interneurons เซลล์ประสาทเชื่อมโยง เป็นตัวเชื่อมระหว่าง sensory และ motor ข้อมูลเมื่อผ่านระบบประสาทจากเซลล์ประสาทตัวหนึ่งไปยังเซลล์ประสาทอีกตัว หนึ่ง บริเวณรอยต่อของเซลล์ประสาท 2 เส้นเรียกว่า synapse เซลล์ประสาท นอกจากจะติดต่อกันเองแล้วยังสามารถติดต่อกับเซลล์กล้ามเนื้อและเซลล์ต่อมต่าง ๆ ได้ด้วย รูปที่ 3 แสดงบริเวณ synapse ที่มา : 5) สารสื่อประสาท (Neurotransmitter) เป็นสารเคมีที่หลั่งจากปลายประสาทตัวหนึ่ง มีผลต่อเซลล์ประสาท กล้ามเนื้อ และต่อม แบ่งตาม กลไกการออกฤทธิ์ดังนี้ 1. Excitatory transmitter ออกฤทธิ์กระตุ้นให้อีกเซลล์หนึ่งทางาน 2. Inhibitory transmitter ออกฤทธิ์ยับยั้งการทางานของอีกเซลล์หนึ่ง 3. สารเคมีทั้งที่เป็น Excitatory และ Inhibitory รูปที่ 4 แสดงการทางานของเซลล์ประสาท ที่มา : http://www.student.chula.ac.th/~56371019/Untitled-3.html
  • 8. ~ 8 ~ 6) ระบบประสาทส่วนกลาง (Central nervous system - CNS) คือศูนย์รวมของระบบประสาททั้งหมด มีหน้าที่ใน การสั่งงานกล้ามเนื้อที่อยู่ ใต้อานาจจิตใจ ทั้งหมดในร่างกาย และประมวลของสิ่งเร้าที่รับมาจากประสาทสัมผัสทั้งหมด ประกอบไปด้วยก้านสมองและไขสันหลัง ได้รับการปกป้องใน กระดูก ไม่ให้สัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายนอกโดยตรง ระบบประสาทส่วนกลางประกอบไปด้วยอวัยวะ สาคัญ 2 ส่วน คือ 1) สมอง 2) ไขสันหลัง 6.1 สมอง (Brain) หน้าที่ของสมอง เป็นอวัยวะที่ใช้ในการปรับและควบคุมการทางานของระบบประสาทและระบบอื่น ๆ ในร่างกาย โดย สมองจะรับข้อมูลที่ถูกส่งมายังระบบประสาทส่วนปลายและส่งต่อมายังไขสันหลังและสมอง สมองทาหน้าที่ แปลผล วิเคราะห์ข้อมูลและสั่งการให้ระบบอื่น ๆ และร่างกายตอบสนองที่เหมาะสม นอกจากนี้สมองยังมีระบบการทางานขั้นสูงที่สาคัญอีกหลายตัวเช่น ความรู้สึกตัว ความจา และมีส่วน ในการกาหนดพฤติกรรมของมนุษย์ รูปที่ 6 แสดงส่วนต่าง ๆ ของสมอง ที่มา : http://www.islam-guide.com/th/ch1-1-d.htm รูปที่ 5 แสดงระบบประสาทส่วนกลาง ที่มา : http://www.thaigoodview.com/library/contest1/ science04/46/2/nerve/content/central_nerve1.html
  • 9. ~ 9 ~ ส่วนประกอบของสมอง 1. Cerebrum เป็นสมองส่วนที่ใหญ่ที่สุด อยู่บริเวณหน้าผากถึงท้ายทอย มีรอยหยักเป็นร่องลึก แบ่งเป็นสมองซักซ้ายและขวา และแบ่งตามหน้าที่ได้ 4 ส่วน 1.1 Frontal Lope ควบคุมการเคลื่อนไหวของร่างกาย การพูด การคิด ฯลฯ 1.2 Parietal Lope รับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ของร่างกาย 1.3 Temporal Lope รับรส กลิ่น และเสียง 1.4 Occipital Lope ควบคุมการรับรู้ทางตาและภาพ รูปที่ 7 แสดงการทางานของสมองแต่ละซัก ที่มา : รูปที่ 8 แสดงส่วนประกอบของสมองส่วน Cerebrum ที่มา : http://www.dek-d.com/education/30449/
  • 10. ~ 10 ~ 2. Hypothalamus เป็นส่วนที่อยู่ใต้สมองส่วน thalamus และติดกับต่อมใต้สมอง (Pituitary Gland) ทาหน้าที่ควบคุมปริมาณน้้าในร่างกาย อุณหภูมิ การเต้นของหัวใจ ความหิว และอื่น ๆ และยังสามารถหลั่งฮอร์โมนประสาทบางชนิดได้ 3. Cerebellum เป็นสมองที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวและการทางตัว 4. Limbic System เป็นกลุ่มเซลล์ที่อยู่รอบ ๆ Hypothalamus มีหน้าที่ควบคุมพฤติกรรมที่ แสดงออกทางสัญชาตญาณต่าง ๆ 5. Midbrain หรือสมองส่วนกลางเป็นส่วนหนึ่งของก้านสมองทาหน้าที่เป็นศูนย์กลางของปฏิกิริยา ตอบสนอง (reflex) เกี่ยวข้องกับการได้ยินการมองเห็น เช่นการควบคุมการเคลื่อนไหวของ นัยน์ตา และการเปิดปิดของม่านตา 6. Pons เป็นส่วนหนึ่งของก้านสมอง สมองส่วนนี้อยู่ติดกับสมองส่วนกลาง มีหน้าที่ ควบคุมการ หายใจ การเคี้ยว การหลั่งน้าลาย การเคลื่อนไหวบริเวณใบหน้า และเป็นเส้นทางการสื่อสาร ระหว่างสมองส่วนหน้าและซีรีเบลลัม 7. Medulla oblongata เป็นสมองส่วนที่ติดกับสมองส่วน pons และไขสันหลัง ทาหน้าที่ควบคุม การทางานของระบบประสาทอัตโนมัต เช่น การเต้นของหัวใจ การหายใจ การกลืน การจาม การ สะอึก และอาเจียน ซ้ายังเป็นทางเดินของกระแสประสาทและไขสันหลังอีกด้วย 8. Reticular Formation เป็นส่วนประกอบโครงร่างตาข่ายที่อยู่ภายในก้านสมอง มีหน้าที่เกี่ยวกับ รับรู้ การสนใจ และการนอนหลับ 6.2 ไขสันหลัง (Spinal Cord) เป็นส่วนที่ลากยาวจากสมองลงมาตามกระดูกสันหลัง เนื้อเยื่อไขสันหลังประกอบด้วย เซลล์ประสาท (neuron) และเซลล์ที่ช่วยค้าจุนประสาม (Glia) ภายในไขสันหลังจะถูกปกป้องด้วยกระดูกสันหลังเพื่อไม่ให้ไข สันหลังได้รับอันตรายจากภายนอก ไขสันหลังมีหน้าที่หลักคือ ถ่ายทอดกระแสประสาทระหว่างสมองและส่วน ต่าง ๆ ของร่างกาย นอกจากนี้ไขสันหลังยังควบคุมการตอบสนองของ Reflex หรือการตอบสนองอัตโนมัติ ของร่างกาย หน้าที่ของไขสันหลัง 1) เป็นศูนย์กลางของ Spinal Reflex 2) ตาแหน่งแรกที่รับสัญญาณประสาทจากระบบความรู้สึกเพื่อส่งต่อไปยังสมอง 3) เป็นตาแหน่งสิ้นสุดของสัญญาณประสาทที่มาจากระบบประสาท motor เนื่องจากมี anterior motor neurons ที่จะเป็นเซลล์ประสาทที่รับคาสั่งจาก corticospinal tract และสั่งการไปยัง เซลล์กล้ามเนื้อ 4) ทางเดินของกระแสประสาทที่ติดต่อระหว่างไขสันหลังและสมอง 5) เป็นศูนย์กลางของระบบประสาทออโตโนมิก
  • 11. ~ 11 ~ รูปที่ 9 แสดงการทางานของไขสันหลัง ที่มา : https://blingbling123.wordpress.com/2010/09/ Reflex รีเฟล็กซ์ หรือ ปฏิกิริยารีเฟล็กซ์ เป็นการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยนอกการควบคุมของจิตใจ (involuntary) ที่เกิดขึ้นอย่างแทบฉับพลันทันที (instantaneous) เพื่อเป็นการตอบสนองต่อสิ่งกระตุ้น 7) ระบบประสาทส่วนปลาย (Peripheral nervous system : PNS) ระบบประสาทส่วนปลายประกอบด้วย 1. Sensory – somatic nervous system ประกอบไปด้วยเส้นประสาท 12 คู่และเส้นประสาทสันหลัง 31 คู่ 1.1 cranial nerve เส้นประสาทสมองทั้ง 12 คู่ ทาหน้าที่รับความรู้สึกและการเคลื่อนไหว ของกล้ามเนื้อใบหน้า ปาก ลาคอ 1.2 spinal nerves เส้นประสาทสันหลังประกอบไปด้วย sensory และ motor ซึ่งทางาน ภายใต้อานาจของจิตใจ 2. Autonomic nervous system เป็นการควบคุมการทางานของร่างกายภายนอกจิตใจ ประกอบ ไปด้วย sensory และ motor ซึ่งวิ่งระหว่างระบบประสาทส่วนกลางและอวัยวะภายในต่าง ๆ แบ่งเป็น 2 ระบบ คือ Sympathetic และ parasympathetic nervous system ซึ่งทั้งสองระบบนี้ จะสั่งงานตรงข้ามกันในแต่ละอวัยวะ 2.1 Sympathetic nervous system (ตื่นเต้น) ถูกกระตุ้นในกรณีฉุกเฉิน ผลจากการ กระตุ้นเช่นหัวใจเต้นเร็ว เลือดไปเลี้ยงหัวใจมากขึ้น การย่อยอาหารลดลง 2.2 parasympathetic nervous system (ผ่อนคลาย) ผลจากการกระตุ้นระบบนี้ออก ฤทธิ์ตรงกันข้ามกับการกระตุ้น หัวใจเต้นช้าลง ลาไส้ทางานมากขึ้น
  • 12. ~ 12 ~ ’ รูปที่ 10 แสดงการทางานของระบบประสาท Sympathetic และ Parasympathetic ที่มา : http://thenervous.weebly.com/36193632361036103611361936323626 36343607362936333605365036093623363336053636.html
  • 13. 1.2 ระบบกล้ามเนื้อ ร่างกายแบ่งกล้ามเนื้อออกเป็น 3 ชนิด คือ 1. กล้ามเนื้อยึดกระดูกหรือกล้ามเนื้อลาย 2. กล้ามเนื้อเรียบ 3. กล้ามเนื้อหัวใจ โดยที่กล้ามเนื้อลายนั้นถูกควบคุมอยู่ภายใต้อานาจจิตใจ หรือรีเฟล็กซ์ ส่วนกล้ามเนื้อเรียบและกล้ามเนื้อหัวใจทางานนอก อานาจจิตใจ 1. กล้ามเนื้อลายหรือกล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletonmuscle) เป็นกล้ามเนื้อที่เกาะติดกับโครงกระดูกหรือกล้ามเนื้อลาย เช่น กล้ามเนื้อแขน กล้าม เนื้อขา จึงทา หน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกายโดยตรง เมื่อนาเซลล์กล้ามเนื้อเหล่านี้มาศึกษาด้วย กล้องจุลทรรศน์จะมองเห็นเป็นแถบลาย เซลล์กล้ามเนื้อนี้ มีลักษณะเป็นทรงกระบอกยาว แต่ละเซลล์ มีหลายนิวเคลียสอยู่ที่ขอบของเซลล์ มีลายตามขวางสีเข้มและสี จางสลับกัน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนเมื่อย้อมด้วยสี ซึ่งคนที่ออกกาลังเสมอเส้นใยกล้ามเนื้อจะโตขึ้น และหนาขึ้น แต่ จานวนไม่เพิ่มขึ้นการทางานของกล้ามเนื้อยึดกระดูกถูกควบคุมโดยระบบประสาทโซมาติก การทางานของกล้ามเนื้อชนิดนี้ ร่างกายสามารถบังคับได้ ซึ่งถือว่าอยู่ในอานาจจิตใจ โดยกล้ ามเนื้อ ลายมีหน้าที่เคลื่อนไหวร่างกายที่ข้อต่อต่างๆเคลื่อนไหวลูกตา ช่วยในการเคี้ยวและการกลืน เคลื่อนไหวลิ้น เคลื่อนไหวใบหน้าแสดงอารมณ์ต่างๆ และยังประกอบเป็นผนังอก และผนังท้องตลอดจนการควบคุมการ ขับถ่ายปัสสาวะและอุจจาระ รูปที่ 12 แสดงตัวอย่างกล้ามเนื้อลาย ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/32442
  • 14. ~ 14 ~ 2.กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiacmuscle) ประกอบเป็นกล้ามเนื้อหัวใจเพียงแห่งเดียวอยู่นอกอานาจจิตใจ โดยควบคุมโดยระบบประสาท อัตโนมัติมีลักษณะเป็นเซลล์รูปทรงกระบอกมีลายตามขวางเป็นแถบสีทึบสลับกับสีจาง เซลล์กล้ามเนื้อตอน ปลายของเซลล์มีการแตกแขนง ไปประสานกับแขนงของเซลล์ใกล้เคียง เซลล์ทั้งหมดจะหดตัวพร้อมกัน และ หดตัวเป็นจังหวะตลอดชีวิต รูปที่ 13 แสดงตัวอย่างกล้ามเนื้อหัวใจ ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/32442 3.กล้ามเนื้อเรียบ (smoothmuscle) เป็นกล้ามเนื้อที่พบอยู่ตามอวัยวะภายใน ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของอวัยวะย่อยอาหาร และ อวัยวะภายในต่างๆ เช่นผนังกระเพาะอาหาร ผนังลาไส้ ผนังหลอดเลือด และม่านตา เป็นต้น กล้ามเนื้อเหล่านี้ ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว หัวท้ายแหลม แต่ละเซลล์มี 1 นิวเคลียส ไม่มีลายพาดขวาง การทางานของ กล้ามเนื้อเรียบถูกควบคุมโดยระบบประสาทอิสระ มีลักษณะเป็นเซลล์รูปกระสวย มีนิวเคลียสรูปไข่อยู่ตรง กลาง รูปที่ 14 แสดงตัวอย่างกล้ามเนื้อเรียบ ที่มา : http://www.thaigoodview.com/node/32442
  • 15. ~ 15 ~ คุณสมบัติของกล้ามเนื้อ  มีความรู้สึกต่อสิ่งเร้า (Irritability) คือ สามารถรับ และตอบสนองต่อการหดตัวของ กล้ามเนื้อ เช่น กระแสประสาทที่กล้ามเนื้อเวลาที่จับโดนความร้อนหรือ กระแสไฟฟ้า เรามักมีการหนีหรือหลบเลี่ยง  มีความสามารถที่จะหดตัวได้ (Contractelity) คือ กล้ามเนื้อสามารถเปลี่ยนรูปร่างให้สั้นหนา และ แข็งได้  มีความสามารถที่จะหย่อนตัวหรือยืดตัวได้ (Extensibility) กล้ามเนื้อสามารถ ที่จะเปลี่ยน รูปร่างให้ ยาวขึ้นกว่าความยาวปกติของมันได้ เมื่อถูกดึง เช่น กระเพาะอาหาร กระเพาะปัสสาวะ มดลูก เป็นต้น  มีความยืดหยุ่นคล้ายยาง (Elasticity) คือ มีคุณสมบัติที่เตรียมพร้อมที่จะ กลับคืนสู่สภาพเดิมได้ ภายหลังการถูกยืดออกแล้ว  มีความสามารถที่จะดารงคงที่อยู่ได้ (Tonus) โดยกล้ามเนื้อมีการหดตัว บ้างเล็กน้อย เพื่อ เตรียมพร้อมที่จะทางานอยู่เสมอ การท้างานของกล้ามเนื้อ การทางานของกล้ามเนื้อนั้นจะต้องอาศัยปัจจัยต่างๆ ได้แก่ 1. แคลเซียมไอออน หากขาดแล้วจะเกิดอาการชัก 2. พลังงาน ได้จากกระบวนการสลายอาหารภายในเซลล์ 3. Myoglobin ทาหน้าที่นาออกซิเจนให้กล้ามเนื้อ กล้ามเนื้อในส่วนต่างๆของร่างกาย กล้ามเนื้อในร่างกายทั้งหมดมีอยู่ประมาณ 792 มัด เป็นกล้ามเนื้อชนิดที่อยู่ในอานาจจิตใจ 696 มัด ที่ เหลืออีก 96 มัด เป็นกล้ามเนื้อที่เราบังคับได้ไม่เต็มสมบูรณ์ ซึ่งได้แก่กล้ามเนื้อ ที่ทาหน้าที่ในการ หายใจ (Respiration) จาม (Sneezing) ไอ (Coughing) กล้ามเนื้อที่ช่วยในการหายใจ การขยายขนาดของทรวงอกและการลดขนาดของทรวงอก การขยายขนาดทรวงอก จะทาให้เกิด ช่องว่าง ซึ่งทาให้ความดันในปอดลดลง อากาศจากภายนอกจึงไหลเข้าสู่ปอดได้ ส่วนการลดขนาดก็เป็นการ เพิ่มความดัน ทาให้เกิดการหายใจออก อวัยวะที่ทาหน้าที่เพิ่มและลดขนาดของทรวงอก คือกล้ามเนื้อต่างๆ  กระบังลม (diaphragm) เป็นกล้ามเนื้อที่สาคัญที่สุดของการหายใจเข้าในขณะพักการหดตัวจะทาให้ เพิ่มขนาดของทรวงอกตามแนวตั้ง
  • 16. ~ 16 ~  กล้ามเนื้อระหว่างซี่โครง กล้ามเนื้อนี้เกาะจากขอบล่างของซี่โคลงซี่บนและวิ่งเป็นเส้นทะแยงมุมมา ทางด้านหน้ามาเกาะที่ขอบบนของซี่โครง ซี่ล่าง เวลาหดตัวจะช่วยยกซี่โครงและกระดูกหน้าอก(sternum) ขึ้นทาให้ทรวงอกขยายตัวโดยมาก จะเกิดเมื่อร่างกายจาเป็นต้องหายใจแรงๆเช่น ในขณะออกกาลังกาย  กล้ามเนื้อบริเวณคอ โดยเวลาหดตัวจะช่วยยกซี่โครง 2 ซี่บน และกระดูกหน้าอกขึ้นทาให้ทรวงอก เกิดช่องว่าง โดยมากจะเกิดขึ้นขณะร่างกายออกกาลังกาย  กล้ามเนื้อที่ช่วยเหยียดหลังและศีรษะให้ตั้งตรงเพื่อให้หายใจเข้าได้เต็มที่ในขณะออกกาลังกายอย่าง หนัก คือ กล้ามเนื้อหลังรูปสามเหลี่ยมใหญ่ รูปที่ 15 แสดงการทางานของกล้ามเนื้อในขณะหายใจเข้า และออก ที่มา : http://iyayaya.exteen.com/page-4 กล้ามเนื้อที่ช่วยเพิ่มขนาดทรวงอกเพื่อหายใจออก  กระบังลม เมื่อคลายตัวจะดันขึ้นสู่ด้านบนทาให้ขนาดของทรวงอกแคบลง แรงดันของอากาศในปอด เพิ่มสูงขึ้น จึงเกิดการหายใจออก  กล้ามเนื้อท้อง (abdominals) จะหดตัวทาให้ความดันในช่องท้องสูงขึ้น ความดันนี้จะไปดันกระบัง ลมซึ่งคลายตัวให้กลับขึ้นไปในทรวงอกได้มากขึ้น
  • 17. ~ 17 ~ กล้ามเนื้อของแขน กล้ามเนื้อของแขน แบ่งออกเป็นส่วน ๆ ดังนี้ (1) กล้ามเนื้อของไหล่ ที่สาคัญได้แก่ กล้ามเนื้อ deltoid เนื้อใหญ่หนา มีรูปเป็นสามเหลี่ยม คลุมอยู่ที่ข้อไหล่ ตั้งต้นจากปลายนอกของกระดูกไหปลาร้า และกระดูกสะบัก แล้วไปยึด เกาะที่พื้นนอกตอนกลางของกระดูกแขนท่อนบน ทาหน้าที่ยกต้นแขนขึ้นมาข้างบนให้ได้ ระดับกับไหล่เป็นมุมฉาก (2) กล้ามเนื้อของต้นแขน ที่สาคัญได้แก่ - ไบเซฟส์แบรคิไอ (biceps brachii) เป็นกล้ามเนื้อ ที่อยู่ด้านหน้าของต้นแขน มีรูปคล้ายกระสวย ทาหน้าที่งอข้อศอกและหงายมือ - ไตร เซฟส์แบรคิไอ (triceps brachii) เป็นกล้ามเนื้อมัดใหญ่อยู่ด้านหลังของต้นแขน ปลายบน แยกออกเป็น 3 หัว ช่วยทาหน้าที่เหยียดปลายแขนหรือข้อศอก (3) กล้ามเนื้อของปลายแขน มีอยู่หลายมัด จาแนกออกเป็นด้านหน้า และ ด้านหลัง ในแต่ละ ด้านยังแยกเป็น 2 ชั้น คือ ชั้นตื้น และชั้นลึก ทาหน้าที่เหยียดข้อศอก เหยียดและงอมือ เหยียดนิ้วมือ กระดกข้อมือ งอข้อมือ พลิกแขนและคว่าแขน ฯลฯ (4) กล้ามเนื้อของมือ เป็นกล้ามเนื้อสั้นๆ ทาหน้าที่เคลื่อนไหวนิ้วมือ โดยเมื่อสมองสั่งให้ร่างกายเคลื่อนไหว กล้ามเนื้อจะเกิดการหดตัวและคลายตัว ทางาน ประสานเป็นคู่ ๆ พร้อมกัน แต่ตรงข้ามกัน ในขณะที่กล้ามเนื้อมัดหนึ่งหดตัว กล้ามเนื้อ อีกมัดหนึ่งจะคลายตัว o การเหยียดและงอแขน โดยมีมัดกล้ามเนื้อไบเซพ (Biceps) อยู่ด้านบน และไตรเซพ (Triceps) อยู่ ด้านล่างของแขน o ไบเซพ คลายตัว ไตรเสพ หดตัว »» แขนเหยียดออก o ไบเซพ หดตัว ไตรเสพ คลายตัว »» แขนงอเข้า รูปที่ 15 แสดงกล้ามเนื้อแขน ที่มา : http://my.dek-d.com/bcgs/writer/viewlongc.php?id=827860&chapter=9
  • 18. ~ 18 ~ กล้ามเนื้อของขา กล้ามเนื้อของขาจาแนกออกเป็น (1) กล้ามเนื้อตะโพก กล้ามเนื้อมัดใหญ่ที่สุดของตะโพก ได้แก่ กลูเทียส แมกซิมัส (gluteus maximus) มีลักษณะหยาบ และอยู่ตื้น ช่วยทาหน้าที่เหยียดและกางต้นขา นอกจากนี้ยังมีมัดเล็กๆ อยู่ใต้ กล้ามเนื้อมัดใหญ่นี้ ช่วยกางและหมุนต้นขาเข้าข้างใน (2) กล้ามเนื้อของต้นขา ประกอบด้วย - กล้ามเนื้อด้านหน้าของต้นขา มีหน้าที่เหยียดปลายขา - กล้ามเนื้อด้านในของต้นขา มีหน้าที่หุบต้นขา - กล้ามเนื้อด้านหลังของต้นขา มีหน้าที่งอปลายขา (3) กล้ามเนื้อของปลายขา ประกอบด้วย - กล้ามเนื้อด้านหลังของปลายขา ทาหน้าที่งอเท้าขึ้นเหยียด นิ้วเท้า และหันเท้าออกข้างนอก - กล้ามเนื้อด้านนอกของปลายขา ช่วยทาหน้าที่เหยียดปลายเท้า เหมือนกล้ามเนื้อด้านหลังของ ปลายขา (4) กล้ามเนื้อของเท้า เป็นกล้ามเนื้อสั้นๆ เหมือนกับของมือ อยู่ที่หลังเท้า และฝ่าเท้า มีหน้าที่ช่วยยึด เท้าให้เป็นส่วนโค้ง และเคลื่อนไหวนิ้วเท้า
  • 19. 1.3 ระบบต่อมไร้ท่อ เป็นระบบการทางานหนึ่งที่สร้างสารชีวะโมเลกุล และสารดังกล่าวจะถูกหลั่งออกมาจากเซลล์ใน ร่างกายสู่กระแสเลือด เรียกว่า “ฮอร์โมน (Hormone)” ฮอร์โมน มีความสาคัญอย่างยิ่งในการควบคุมสมดุลของร่างกาย เป็นระบบการทางานที่ช่วยสื่อสารข้อมูล ระหว่างแหล่งสร้างฮอร์โมนต้นทางกับอวัยวะหรือเซลล์ปลายทางอย่างเหมาะสม ต่อมไร้ท่อที่ส้าคัญในร่างกาย 1. ต่อมใต้สมอง (Pituitary grand) 2. ต่อมไทรอยด์ (Thyroid gland) 3. ต่อมพาราไทรอย (Parathyroid gland) 4. ตับอ่อน (Pancrease) 5. ต่อมหมวกไต (Adrenal gland) 6. ต่อมเพศ (Gonad) 7. ฮอร์โมนจากรก 8. ต่อมเหนือสมอง (Pineal gland) 9. ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ รูปที่ 15 แสดงต่อมใต้สมองในระบบร่างกายของมนุษย์ ที่มา : http://tukaping.igetweb.com/index.php?mo=3&art=41993599
  • 20. ~ 20 ~ ต่อมไพเนียล (PINEAL GLAND) ต่อมไพเนียลอยู่ระหว่างเซรีบบัมซีกซ้ายและขวา ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน เมลาโทนิน (melatonin) ซึ่งมีหน้าที่ยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะสืบพันธ์ไม่ให้เจริญเติบโตเร็วมากเกินไป ความผิดปกติจากฮอร์โมนเมลาโทนิน มากเกินไป เป็นวัยรุ่นช้าเกินกว่าปกติ น้อยเกินไป เป็นวัยรุ่นเร็วกว่าปกติ รูปที่ 16 แสดงต่อมไพเนียล ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/Biology42042/ Hormone/Hormone/html/Website-endocrine-system/pineal.htm ต่อมใต้สมอง (PITUITARY GLAND) อยู่ติดกับส่วนล่างของสมองส่วนไฮโพทาลามัส แบ่ง ออกเป็น 3 ส่วนได้แก่ 1. ต่อมใต้สมองส่วนหน้า 2. ต่อมใต้สมองส่วนกลาง 3. ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า การหลั่งฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า ส่วนหนึ่งถูกควบคุมด้วย ฮอร์โมนประสาท จากไฮโปท ลามัส ต่อมใต้สมองส่วนหลัง ไม่ได้สร้างฮอร์โมน แต่มีปลาย แอกซอล ของ นิวโรซีครีทอรี เซลล์ (neurosecretory cell) รูปที่ 17 แสดงต่อมใต้สมอง ที่มา : http://www.pibul.ac.th/vichakan/sciweb/ Biology42042/Hormone/Hormone/html/Website- endocrine-system/pituitary.htm
  • 21. ~ 21 ~  โกรทฮอร์โมน (Growth hormone : GH) o มีหน้าที่สาคัญในการในการควบคุมการเจริญเติบโตทั่ว ๆ ไปของร่างกาย ความผิดปกติจากโกรทฮอร์โมน วัยเด็ก มากเกินไป ร่างกายสูงใหญ่ผิดปกติ น้อยเกินไป เตี้ยแคระ วัยผู้ใหญ่ มากเกินไป ส่วนที่เป็นกระดูกยังตอบสนองฮอร์โมน จะไม่สูงขึ้น แต่ส่วนที่เป็นกระดูกจะใหญ่ผิดปกติ น้อยเกินไป ไม่แสดงอาการ ทางกายภาพ แต่จะมีระดับน้าตาลในเลือดน้อยกว่าคนปกติ ทาให้ร่างกายไม่ทนต่อความเครียดต่าง ๆ สมองอาจจะได้รับอันตรายได้ง่าย เพราะได้รับสารอาหารไม่เพียงพอ ก. ในวัยเด็ก ข. วัยผู้ใหญ่ รูปที่ 18 ผู้ป่วยที่มีลักษณะของโกรทฮอร์โมนผิดปกติ ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
  • 22. ~ 22 ~  โกนาโดโทรฟิน (Gonodotrophin : Gn) o ประกอบด้วย  ฟอลลิเคิลสติมิวเลติงฮอร์โมน (Follicle stimulating hormone) เรียกว่า FSH  และลูทิไนซิงฮอร์โมน (Luteinizing hormone) เรียกว่า LH o เพศชาย  FSH กระตุ้นการเจริญของอัณฑะ และหลอดสร้างอสุจิ  LH กระตุ้นกลุ่มเซลล์อินเตอร์สติเชียล (Interstitial cell) ที่แทรกระหว่าง หลอดสร้างอสุจิในอัณฑะให้หลั่งฮอร์โมนเพศชาย คือ ฮอร์โมนเทสโทสเทอโรน (testosterone) o เพศหญิง  FSH กระตุ้นการสร้างการเจริญของ ฟอลลิเคิล (Follicle) ในรังไข่ ขณะฟอลิเคิล เจริญจะสร้าง ฮอร์โมนเอสโทรเจน (estrogen)  LH จะกระตุ้นการตกไข่และเกิดคอร์ปัสลูเทียม คอปัสลูเทียมจะสร้างฮอร์โมน โพรเจสเทอโรน (progesterone) ฮอร์โมนโพรเจสเทอโรน ทาหน้าที่รวมกับ ฮอร์โมนเอสโทรเจน ที่จะทาหน้าที่เปลี่ยนแปลงรังไข่และมดลูก เพื่อรองรับการฝังตัวของเซลล์ไข่ที่ถูกผสม  โพรแลกทิน (prolactin) o กระตุ้นให้ต่อมน้านมสร้างน้านมเพื่อเลี้ยงลูกอ่อน  อะดรีโนคอร์ติโคโทรฟิน (Adrenocorticotrophin) o เรียกย่อว่า ACTH ทาหน้าที่กระตุ้นต่อมหมวกไตส่วนนอกให้หลั่งฮอร์โมนตามปกติ  ไทรอยด์สติมิวเลติงฮอร์โมน (Thyroid stimulating hormone) o เรียกว่า TSH หน้าที่หลักคือ กระตุ้นต่อมไทรอยด์ให้หลั่งฮอร์โมนเป็นปกติ
  • 23. ~ 23 ~  เอนดอร์ฟิน (endorphin) o เป็นสารที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟิน พบว่ามีแหล่งสร้างจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าและอาจจะสร้าง จากเนื้อเยื่อส่วนอื่น ๆ ได้อีกด้วย เป็นสารที่มีฤทธิ์ระงับความเจ็บปวด หลั่งเมื่อออกกาลังกาย หรืออารมแจ่มใส เรียกว่าสารแห่งความสุข ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมองส่วนหน้า  วาโซเพรสซิน (Vasopressin) หรือ แอนติไดยูเรติก ฮอร์โมน o เรียกว่า ADH ทาหน้าที่ควบคุมการดูดกลับน้าของท่อหน่วยได และกระตุ้นให้หลอกเลือดแดง หดตัว  ออกซิโทซิน (Oxytocin) o ทาให้กล้ามเนื้อเรียบที่มดลูกบีบตัว จึงเป็นฮอร์โมนที่แพทย์ฉีดเพื่อช่วยให้การคลอดของ มารดาที่มีฮอร์โมนชนิดนี้น้อยกว่าปกติ นอกจากนี้ยังมีผลกระตุ้นให้กล้ามเนื้อรอบ ๆ ต่อม น้านมหดตัวเพื่อให้ขับน้านมออกมาเลี้ยงลูก ต่อมไทรอยด์ (THYROID GLAND) ต่อมไร้ท่อที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในร่างกาย อยู่ติดกับบริเวณกล่องเสียงมีลักษณะเป็น 2 พู และมีส่วน บาง ๆ ของเนื้อเยื่อของต่อมพาราไทรอยด์ติดต่ออยู่ด้วยข้างละ 2 ต่อม รูปที่ 19 ต่อมไทรอยด์ ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 ทาหน้าที่สร้างฮอร์โมน ไทรอกซิน (thyroxin) ซึ่งมีไอโอดีนเป็นส่วนประกอบ แล้วปล่อยเข้าสู่ กระแสเลือด มีหน้าที่ควบคุม ระบบเมตาบอลิซึมของร่างกาย
  • 24. ~ 24 ~ ผลกระทบจากฮอร์โมนไทร๊อกซินมีปัญหา ขาดฮอร์โมน (เด็ก) พัฒนาการทางด้านร่างกายและสมองด้อยลงร่างกาย เตี้แคระ แขน ขาสั้น ผิวหยาบแห้ง ผมบาง เจริญเติบโตช้ากว่าปกติ ปัญญาอ่อน เรียกว่า กลุ่ม อาการ เครทินิซึท (cretinism) ขาดฮอร์โมน (ผู้ใหญ่) อาการเหนื่อยง่าย น้าหนักเพิ่ม ทนความหนาวไม่ได้ กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผม ผิวหนังแห้ง หัวใจโต ร่างกายอ่อนแอ ติดเชื้อง่าย ซึม เฉื่อยชา และความจาเสื่อม กลุ่ม อาการนี้เรียกว่า มิกซีดีมา (Myxedema) โรคคอพอก o เกิดจากการขาดธาตุไอโอดีน o เนื่องจากต่อมไทรอยด์ไม่สามารถสร้าง ไทรอกซิน ได้ อาการคล้าย ซีนีมา แต่จะมีคอโตด้วย o เนื่องจากต่อมใต้สมองส่วนหน้าหลั่ง TSH มากระตุ้นต่อมไทรอยด์ มากเกินไป ต่อมพาราไทรอยด์ (PARATHYROID GLAND) ฮอร์โมนที่ถูกสร้างขึ้นคือ พาราทอร์โมน (Parathormone) หรือพาราไทรอยด์ฮอร์โมน (Parathyroid hormone) เรียกย่อว่า PTH มีหน้าที่สาคัญคือควบคุมสมดุลของแคลเซียมในเลือดให้คงที่ โดยมี ผลต่ออวัยวะ สาคัญ 3 แห่งคือ 1. ผลต่อการดูดซึมแคลเซียมในลาไส้เล็ก 2. ผลต่อการสลายแคลเซียมและฟอสฟอรัสในกระดูกและฟัน 3. ผลต่อการดูดกลับแคลเซียมที่ ไต แต่กระตุ้นการขับฟอสฟอรัสออกมาทางปัสสาวะ ผลกระทบจากฮอร์โมน พาราทอโมน น้อยเกินไป การดูดกลับของแคลเซียมน้อยเกินไป แคลเซียมต่า เกิดการชักกระตุก ปอดไม่ทางานหายใจช้าลง อาจทาให้เสียชีวิตได้
  • 25. ~ 25 ~ มากเกินไป จะมีการสลายแคลเซียมจากฟันและกระดูดมายังกระแสเลือก ทาให้แคลเซียมใน เลือดสูง กระดูกบาง ฟันหัก และผุง่าย รูปที่ 20 ต่อมพาราไทรอยด์ และการรักษาสมดุลของแคลเซียม ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 ตับอ่อน (PANCREAS) ภายในตับอ่อน จะมีกลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า ไอส์เลดออฟแลงเกอร์ฮานส์ (Islats of langerhans) ทาหน้าที่ผลิตฮอร์โมนที่สาคัญ 2 ชนิด คือ อินซูลิน (insulin) และกลูคาคอน (Glucagon) ฮอร์โมนอินซูลิน o สร้างจากกลุ่มเซลล์เบต้าเซลล์ ที่บริเวณ ส่วนกลางของไอซ์เลนออฟแลงเกอร์ฮานส์ ทาหน้าที่ลด ระดับน้าตาลในเลือด ให้กลับสู่ภาวะปกติ o เมื่อร่างกายมีระดับน้าตาลมากขึ้น อินซูลินก็จะ ถูกหลั่งออกมาสู่เซลล์ตับและกล้ามเนื้อมากขึ้น และ เปลี่ยนกลูโคสให้เป็นไกรโคเจนเพื่อเก็บสะสมไว้ ทาให้ระดับน้าตาลลดลง รูปที่ 21 แสดงรูปตับอ่อน ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407
  • 26. ~ 26 ~ กลูคากอน o เป็นฮอร์โมนที่สร้างจาก แอลฟ่าเซลล์ o กลูคากอนจะไปกระตุ้นการสลายตัวของ ไกลโคเจนจากตับ และกล้ามเนื้อเป็นน้าตาล กลูโคส แล้ว ปล่อยออกมาทาให้ระดับน้าตาลในเลือดเพิ่มขึ้น รูปที่ 21 แสดงรูปการรักษาระดับน้าตาลในร่างกายด้วยฮอร์โมนจากตับอ่อน ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 ต่อมหมวดไต (ADRENAL GLAND) ต่อมนี้ประกอบด้วยสองส่วน คือ ต่อมหมวกไตส่วนนอก (Adrenal cortex) และเนื้อเยื่อชั้นในเรียกว่า ต่อมหมวกไตส่วนใน (Adrenal medulla) ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนนอก(adrenal cortex) ฮอโมนกลูโคคอร์ดิคอยด์ (glucocorticoids) ทาหน้าที่หลักในการควบคุมเมเทบอลิซึมของคาบอไฮเดรต ตัวอย่าง ฮอร์โมนกลุ่มนี้คือ คอร์ติซอล (cortisol) มีหน้าที่สาคัญคือ เพิ่มระดับน้าตาลใน เลือด โดยกระตุ้นตับให้เปลี่ยนเป็นกรดอมิโนและกรดไขมัน เป็น คาบอร์ไฮเดรต และสะสมในรูปไกรโคเจน
  • 27. ~ 27 ~ หากมีฮอร์โมนกลูโคคอร์ติคอยด์มากเกินไป ทาให้เกิด โรคคูชชิง (Cushing’s syndrome) มีความผิดปกติเกี่ยวกับเมตาบอลิซึม ของคาบอไฮเดรต ไขมันและโปรตีน ระดับน้าตาลในเลือดสูงขึ้น กล้ามเนื้ออ่อนแรงเนื่องจากมีการสลายโปรตีนและไขมัน บริเวณแขนขา แต่มีการสะสมไขมันบริเวณแกนกลาง ของลาตัว เช่น ใบหน้า ต้นคอ เป็นต้น รูปที่ 23 ตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นโรคคูชชิง ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 ฮอร์โมนมิเนราโลคอร์ดิคอยด์ (Mineralocorticoids) มีหน้าที่หลักในการควบคุมสมดุลของน้าและแร่ธาตุในร่างกาย ฮอร์โมนกลุ่มนี้คือ แอลโดสเตอโรน (aldosterone) ทาหน้าที่ควบคุมการทางานของไตในการดูดน้าและแคลเซียมกลับสู่หลอดเลือด และขับ โพแทสเซียมออกจากท่อหน่วยไตให้สมดุลกับความต้องการของร่างกาย ฮอร์โมนเพศ (sex hormone) ในภาวะปกติฮอร์โมนเพศสร้างจากต่อมหมวกไตส่วนนอกมีเพียงเล็กน้อยเท่านั้นเมื่อเทียบกับฮอร์ โมน ที่สร้างจากอวัยวะเพศ ถ้าต่อมนี้สร้างฮอโมนเพศมากเกินไปจะทาให้มีความผิดปกติทางเพศได้
  • 28. ~ 28 ~ โรคแอดดิสัน o เกิดจากต่อมหมวกไตถูกทาลาย จนไม่สามารถสร้างฮอร์โมนได้ o อาการ ซูบผอม ผิวหนังตกกระ ร่างกายไม่สามารถรักษาสมดุลของแร่ธาตุได้ อาจจะทาให้ถึงแก่ความ ตายได้ รูปที่ 23 ตัวอย่างผู้ป่วยที่เป็นโรคแอดดิสัน ที่มา : http://www.vcharkarn.com/lesson/1407 ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตส่วนใน(adrenal medulla) ประกอบด้วยฮอร์โมน 2 ชนิด 1. เอพิเนฟริน (epinephrine) หรืออะดรีนาลีน (adrenaline) 2. นอร์เอพิเนฟริน (norepinephine) หรือนออะดรีนาลีน (noradrenaline) อะดรีนาลีน o มีผลทาให้น้าตาลในเลือดเพิ่มมากขึ้น o กระตุ้นให้หัวใจเต้นเร็วขึ้น o ทาให้หลอดเลือดขนาดเล็กที่อวัยวะต่าง ๆ ขยายตัว o หลอดเลือดขนาดเล็กที่ผิวหนังและช่องท้องหดตัว นออดรีนาลีน o คล้ายกับอดรีนาลีน คือ ทาให้ความดันหลอดเลือดสูงขึ้น แต่ต่างกันตรงที่ นออดรีนาลีนส่งผลทา ให้หลอดเลือดขนาดเล็กที่ไปเลี้ยงอวัยวะต่าง ๆ บีบตัว
  • 29. ~ 29 ~ อวัยวะเพศ  อวัยวะเพศ ได้แก่ อัณฑะ (testis) และรังไข่ (ovary)  เมื่อย่างเข้าสู่วัยรุ่นต่อมใต้สมองจะหลั่ง FSH และ LH เพิ่มขึ่น เพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโต ของอัณฑะและรังไข่ ทาให้สามารถสร้างเซลล์สืบพันธ์และฮอร์โมนได้  เมื่อเข้าสู่วัยรุ่น เพศชาย o เซลล์เลย์ดิกได้รับการกระตุ้นจากฮอร์โมน LH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าให้สร้าง ฮอร์โมนเพศชายเรียกว่า แอนโดรเจน (Androgens) o ประกอบด้วยฮอร์โมนที่สาคัญคือ เทสโทสเทอโรน มีหน้าที่สาคัญที่ทาให้ผู้ชาย สามารถสืบพันธ์ได้ มีลักษณะของการแตกเนื้อหนุ่ม เพศหญิง o มีรังไข่ นอกจากจะมีหน้าที่ในการผลิตไข่แล้วรังไข่ยังสามารถผลิตฮอร์โมนเพศได้ o รังไข่มีแหล่งในการผลิตฮอร์โมน 2 แหล่งคือ ฟอลฮิเคิลและคอร์ปัสลูเทียม  เมื่อรังไข่ได้รับ FSH จากต่อมใต้สมองส่วนหน้าจะมีการสร้าง ฟอลฮิเคิล ร้ อมรอบโอโอไซต์หลายชั้น ในระยะไข่สุกก่อนที่จะหลุดออกจากรังไข่จะมี ช่องกลวงตรงกลาง  ในระยะตกไข่ฟอลฮิเคิ้ลจะสร้างฮอร์โมน อีสโทรเจน ซึ่งฮอร์โมนนี้จะทาให้ มีลักษณธของเพศหญิง  คอปัสลูเทียมจะสร้าง ฮอร์โมน โพรเจสเทอโรน ซึ่งจะทาหน้าที่ร่วมกับ อีส โทรเจน เพื่อช่วยกระตุ้นการเจริญเยื่อบุผนังมดลูกให้หนาขึ้น เพื่อรับไข่ที่ถูก ผสม รก หลังจากเอ็มบริโอฝังที่ผนังมดลูกแล้ว เซลล์ของรก จะเริ่มหลั่งฮอร์โมน ฮิวแมน คอริโอนิก โกนาโด โทรฟิน เพื่อกระตุ้นคอร์ปัสลูเทียในรังไข่ให้เจริญต่อไปและสร้างฮอร์โมนโปรเจสเทอโรนมากขึ้น
  • 30. ~ 30 ~ ต่อมไทมีส (Thymus gland) มีลักษณะเป็นพู มีตาแหน่งตรงกลางกระดูกอกกับหลอดเลือดใหญ่ของหัวใจมีหน้าที่สร้างเม็ดเลือด ขาวลิมโฟไซต์ชนิต ที หรือ เซลล์ที การเจริญของเซลล์ที อาศัยฮอร์โมนไทโมซิน (thymosin) ซึ่งสร้างจาก ต่อมไทมัส ดังนั้นต่อมไทมัสจึงเกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันของร่างกาย กระเพาะอาหารและล้าไส้เล็ก กระเพาะอาหารสร้างฮอร์โมน แกสตริน (gastrin) มีหน้าที่กระตุ้นการหลั่งเอ็นไซน์และกรดไฮโดรคลอ ริก ส่วนลาไส้เล็กบริเวณดูโอดีนัมสร้าง ซีครีทีน (secretin) ทาหน้าที่กระตุ้นตับอ่อนให้หลั่งเอนไซม์ และ โซเดียมไฮโดรเจนคาบอเนต ตลอดจนกระตุ้นดารบีบตัวของท่อน้าดี
  • 31. ~ 31 ~ 1.4 พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม พันธุกรรม (Heredity) ลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่ถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นและสามารถสืบทอดไปยังรุ่นอื่น ๆ อาจจะสามารถเรียกได้ อึกอย่างว่า กรรมพันธุ์ พันธุกรรมนี้เป็นสิ่งที่ทาให้ลักษณะของคนเราแตกต่างกันออกไปโดยมีหน่วยควบคุมเรียกว่า ยีนส์ (Gene) พันธุกรรม(Heredity)ลักษณะหนึ่งๆไป โดยจะมีทั้งยีน(Gene)ที่ควบคุมลักษณะเด่น และยีน(Gene)ที่ ควบคุมลักษณะด้อย แต่ส่วนหนึ่งที่ทาให้ลักษณะเราแตกต่างออกไปนอกเหนือพันธุกรรม (Heredity) คือ สิ่งแวดล้อม หรือ สภาพแวดล้อม เช่น ความอ้วน อาจเกิดจากสภาพแวดล้อมมากกว่าพันธุกรรม(Heredity) รูปที่ 24 แสดงตัวอย่างของโครโมโซมและ DNA ที่มา : http://tumcrum3.blogspot.com/2014/01/blog-post_3270.html ยีน (GENE) คือ หน่วยพันธุกรรมที่อยู่บนโครโมโซม มีลักษณะเรียงกันเหมือนสร้อยลูกปัด ทาหน้าที่ควบคุม ลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมจากพ่อแม่โดยผ่ านเซลล์สืบพันธุ์ ไปยังลูกหลาน ซึ่งยีนแต่ละตัวจะควบคุม ลักษณะต่างๆ ทางพันธุกรรมเพียงลักษณะเดียว ยีนมีองค์ประกอบที่สาคัญเป็น กรดนิวคลีอิก ชนิดที่เรียกว่า ดีเอนเอ(deoxyribonucleic acid : DNA) อันเกิดจากการต่อกันเป็นเส้นของโมเลกุลย่อยที่เรียกว่านิวคลี โอไทด์ (nucleotide) Phenotype ลักษณะของยีนส์เด่น เช่นรูปร่างหน้าตา สีผม สีผิว สีตา ฯลฯ เป็นลักษณะที่ปรากฏให้ เห็นได้ภายนอก
  • 32. ~ 32 ~ Genotype ลักษณะด้อย เป็นลักษณะที่แฝงเร้นไว้โดยอาจจะไม่ปรากฏในรุ่นหนึ่งแต่ปรากฏในรุ่นลูก เช่น กลุ่มเลือด ตาบอดสี โรคลมบ้าหมู โรคเบาหวาน โรคปัญญาอ่อน โรคภูมิแพ้ และโรคบางชนิ ดที่ถ่านทอด โดยสายเลือด กระบวนการถ่ายทอดทางพันธุกรรม “กฎของเมนเดล” 1. ยีนเป็นหน่วยพันธุกรรมที่มีคุณสมบัติต่าง ๆ ที่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม ไม่ว่าจะถ่ายทอดไปกี่ ชั่วอายุคน 2. ยีนแบ่งเป็น 2 ประเภท 1 ยีนเด่น 2 ยีนด้อย 3. ยีนที่อยู่กันเป็นคู่จะแยกออกจากกันเมื่อเข้าสู่หน่วยสืบพันธ์ ซึ่งได้แก่ ไข่(egg) และเสปิร์ม(Sperm) ซึ่ง เป็นเซลล์สืบพันธ์ของเพศหญิงและชาย หลักในการถ่ายทอดพันธุกรรม ยีนจะถูกถ่ายทอดไปสู่ลูกหลานโดยผ่านทางโครโมโซม (Chomosome) ซึ่งมีอยู่ในร่างกายจานวน 46 โครโมโซม (23 คู่) โดยจะรับมาจากพ่อ 23 โครโมโซม แม่ 23 โครโมโซม โดยจะมีโครโมโซมเพศ 1 โครโมโซม และโครโมโซมกาหนดลักษณะทางชีวภาพอื่นๆ จานวน 22 โครโมโซม รูปที่ 25 แสดงโครใมโซมของมนุษย์ ที่มา : http://www.physicalagency.com/main/เทอร์เนอร์-ซินโดรม-โรคพันธุกรรมของเพศหญิง.html
  • 33. ~ 33 ~ โดยปกติโครโมโซม เพศชายคือ XY เพศหญิงคือ XX อิทธิพลของพันธุกรรมที่มีผลต่อบุคคล 1. ด้านร่างกาย โดยพันธุกรรมทางด้านร่างกายจะมีผลต่อบุคคลในด้านบุคลิกภาพ อารมณ์ และการรับรู้ตนเอง ซึ่ง พันธุกรรมจะมีอิทธิพลต่อร่างกายของบุคคลไม่ว่าจะเป็นในด้านรูปร่าง สีผิว สีผม และเครื่องประกอบของ ใบหน้า รวมทั้งโครงสร้างอื่น ๆ เช่น ความสูง น้าหนัก เป็นต้น 1.1 พันธุกรรมทางด้านร่างกายที่ส่งผลต่อบุคลิกภาพ เช่น บางคนมีโครโมโซม XXY เป็นโรค Klinefelter’s Syndrome จะทาให้เป็นชายที่มีลักษณะของเพศหญิง คือ มีหน้าอก ใหญ่ และอวัยวะเพศชายไม่ทางาน เนื่องจากต่อมเพศผลิตฮอร์โมนไม่เพียงพอ หรืออาจจะกลายเป็นโรคปัญญาอ่อนได้ 1.2 พันธุกรรมทางด้านร่างกายที่ส่งผลต่ออารมณ์ของบุคคล เช่น เซลดอน (Sheldon) ได้เสนอไว้ให้เห็นถึงบุคคลที่มีรูปร่างต่างกัน 3 ลักษณะ ได้แก่ คนที่มีรูปร่างอ้วนท้วนเจ้าเนื้อ (Endomorphy) มักจะมีอารมณ์ดี ร่าเริง โกรธง่ายหายเร็ว คนที่มีรูปร่างผอมเกร็ง (Ectomorphy) เป็นผู้ที่เก็บอารมณ์ไม่เก่ง โมโหยากแต่หายช้า ฯลฯ คนที่มีรูปร่างสมส่วน (Mesomorphy) เป็นผู้ที่มีอารมณ์มั่นคง มีน้าใจนักกีฬา ฯลฯ 1.3 พันธุกรรมทางด้านร่างกายที่ส่งผลต่อการรับรู้ตนเอง เช่น การรับรู้ตนเองนี้จะขึ้นอยู่กับการยอมรับและ ค่านิยมของสังคมแต่ละแห่งเป็นสาคัญ ในขณะที่บางสังคมคนอ้วนจะกลายเป็นคนมีปมด้อย แต่บางสังคมผู้ มีรูปร่างอ้วนท้วน กลับได้รับการยกย่องในสังคม ฯลฯ
  • 34. ~ 34 ~ 2. ด้านสติปัญญา การพัฒนาด้านสติปัญญาของมนุษย์ได้รับอิทธิพลมาจากพันธุ กรรมและสิ่งแวดล้อม โดยมี พันธุกรรมเป็นตัวปูพื้นฐานของสติปัญญาหรือเป็นขอบเขตของการพัฒนาการด้านสติปัญญา กล่าวคือบุคคลมี ระดับสติปัญญาสัมพันธ์กับบรรพบุรุษของตน แต่จะสามรุพัฒนาขึ้นได้ ถ้าได้รับการส่งเสริมและสนับสนุนจาก สภาพแวดล้อม อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่มีผลต่อบุคคล สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของบุคคลในด้านต่าง ๆ มากมายซึ่งเรา จะได้รับพัฒนาการด้านสิ่งแวดล้อมจากการเรียนรู้ทางสังคม เป็นตัวหล่อหลอมและถ่ายทอดคุณลักษณะที่ สังคมต้องการให้เกิดแก่บุคคล สิ่งแวดล้อมจะมีผลต่อบุคคลตั้งแต่เริ่มปฏิสนธิไปตลอดจนคลอดออกมาเป็นสมาชิกของสังคม โดยสิ่งแวดล้อมมีผลต่อบุคคล 3 ช่วง คือ สภาพแวดล้อมก่อนเกิด สภาพแวดล้อมขณะเกิด และสภาพแวดล้อม หลังเกิด สภาพแวดล้อมก่อนเกิด สิ่งแวดล้อมภายในครรภ์มารดาและการปฏิสนธิของแม่มีผลต่อตัวอ่อนในครรภ์มารดาเป็น อย่างมาก โดยเฉพาะในด้านของพัฒนาการทางสมองของบุคคล ซึ่งสภาพแวดล้อมก่อนเกิดมีดังนี้ สุขภาพของแม่ มีผลอย่างมากต่อทารกในครรภ์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งใน 3 เดือนแรกของการ ตั้งครรภ์ เป็นระยะที่ ตัวอ่อนไวต่อการขาดออกซิเจนและการติดเชื้อต่าง ๆ ซึ่งจะพบอาการผิดปกติอัน เนื่องมาจากสุขภาพของมารดา ดังนี้ - มารดามีความบกพร่องจากฮอร์โมนต่อมไทรอยด์ จะทาให้เด็กเกิดมาเป็นโรคกระดูก อ่อน ท้องใหญ่ ผิวหนังหยาบ ผมติดกันเป็นกระจุก และสติปัญญาต่ากว่าปกติ - มารดามีอาการขาดออกซิเจน จะทาให้เด็กคลอดออกมา จมูกแหว่ง ตาบอก แขนขา ไม่มี มีความผิดปกติที่อวัยวะรับสัมผัส เป็นมะเร็งเม็ดเลือด และอาจจะทาให้ สติปัญญาต่า - แม่ติดเชื้อหวัดเยอรมันในช่วง 3 เดือนแรกของการตั้งครรภ์ จะทาให้เด็กมีความ ผิดปกติทางด้านสติปัญญาอย่างมาก ดังนั้นแพทย์จึงให้มารดาทาแท้งทันที สุขภาพจิตของแม่ อารมณ์มีผลต่อลูกในครรภ์เป็นอย่างมาก หากแม่มีอารมณ์ไม่ปกติจะทา ให้ฮอร์โมนไม่สมดุล อันเป็นสาเหตุให้เด็กปัญญาอ่อนชนิด Mogolism
  • 35. ~ 35 ~ การบริโภคของแม่ สิ่งที่แม่บริโภคเข้าไปในร่างกายทุกชนิดจะถูกส่งไปยังทารกในครรภ์ผ่าน ทางกระแสเลือด ดังนั้นหากแม่ทานอาหารที่เป็นประโยชน์ทารกก็จะมีสุขภาพดี หากแม่ขาดสารอาหาร ทารกก็ จะมีความบกพร่องทางสมองและร่างกายผิดปกติ การรับรังสี การที่แม่ได้รับรังสีเอ็กซ์หรือเรเดียม จะมีผลทาลายทารกในครรภ์และรังสี บางอย่างอาจจะเข้าไปทาให้ยีนเกิดการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีผลต่อพันธุกรรมรุ่นต่อไป การได้รับเชื้อ HIV การที่แม่ได้รับเชื้อ HIV เชื้อจะผ่านจากแม่เข้าสู่ทารก ทาให้มีภูมิคุ้มกัน บกพร่องหรืออาจเสียชีวิตได้ สภาวะของ Rh Factor หมายถึง การที่ระบบเลือดของแม่มีสารบางอย่างเข้าไปก่อ ปฏิกิริยาทาลายเม็ดเลือดแดง ของตัวอ่อนในครรภ์ ทาให้เกิดอาการแท้งหรือทารกตายหลังคลอด สภาพแวดล้อมหลังเกิด 1) สิ่งแวดล้อมภายในครอบครัว เป็นสังคมกลุ่มแรกที่ มีอิทธิพลต่อบุคลิกภาพ อารมณ์ ความเชื่อ ค่านิยม และทัศนคติของบุคคลเป็นอย่างมาก ได้แก่ ทัศนคติของพ่อแม่ที่มีต่อ ลูก การอบรม เลี้ยงดู และบรรยากาศในครอบครัว การเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ลูก จานวน พี่น้องและลาดับการเกิด การให้โภชนาการในครอบครัว ระดับ การศึกษาของพ่อแม่ และฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัว 2) สิ่งแวดล้อมภายในสถานศึกษา เป็นกลุ่มสังคมที่อบรมสั่งสอนบุคคลโดยการให้การ เรียนรู้และอบรมบุคคลโดยตรง ซึ่งได้แก่ กฎระเบียบการปกครอง ทัศนคติและ บุคลิกภาพ ของครู และกลุ่มเพื่อนโรงเรียนหรือสถาบันการศึกษา 3) สิ่งแวดล้อมในสังคม เป็นกลุ่มสังคมที่มีอิทธิพลหล่อห ลอมบุคคลในทางอ้อม ให้บุคคล เกิดการเลียนแบบสังคม โดยกลุ่มสังคมที่มีอิทธิพลต่อบุคคลในสังคมมากที่สุด คือ สื่อมวลชนทุกประเภท ความเกี่ยวข้องระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อม พันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมร่วมมีบทบาทในพัฒนาการด้านต่างๆ ของบุคคล ไม่ อาจจะบอก ได้ว่า ระหว่างพันธุกรรมและสิ่งแวดล้อมสิ่งใดจะมีความสาคัญมากกว่ากัน เพราะ ทั้งสองสิ่งล้วนแต่ส่งเสริมซึ่ง กันและกัน โดยพัฒนาการด้านหนึ่งพันธุกรรมอาจมีผลมากกว่าและ ได้รับการส่งเสริมต่อจากอิทธิพลของ สิ่งแวดล้อม แต่พัฒนาการอีกด้านหนึ่งอาจมีอิทธิพล มากกว่าก็ได้ 1) พัฒนาการด้านสติปัญญา พบว่า พันธุกรรมจะมีอิทธิพลต่อระดับสติปัญญา ของบุคคล มากกว่าสิ่งแวดล้อม ซึ่งจาก การศึกษาของ โลวิงเจอร์ พบว่า พันธุกรรมมีอิทธิพลต่อ พัฒนาการทาง สติปัญญา 75% และสิ่งแวดล้อมมีอิทธิพล 25% นอกจากนี้ พัฒนาการ ทางด้านร่างกายก็มีผลมา จากพันธุกรรมมากกว่าสิ่งแวดล้อม
  • 36. ~ 36 ~ 2) พัฒนาการทางด้านสังคม อารมณ์และจริยธรรม รวมทั้งบุคลิกภาพโดยส่วนรวม พบว่า อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมมีผลต่อพัฒนาการในด้านนี้มากกว่าพันธุกรรม โดยเฉพาะ สภาพแวดล้อมภายในครอบครัวและการอบรมเลี้ยงดูของพ่อแม่มีส่วนในการพัฒนา บุคคลในด้านต่างๆมาก
  • 37. บทที่ 2 การรับรู้ ทฤษฎีการรับรู้ ทฤษฎีการรับรู้ (Perception Theory) การรับรู้เป็นพื้นฐานการเรียนรู้ที่สาคัญของบุคคล เพราะการตอบสนองพฤติกรรมใดๆ จะขึ้นอยู่กับการรับรู้จากสภาพแวดล้อม ของตน และความสามารถใน การแปลความหมายของสภาพนั้นๆ ดังนั้น การเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพจึงขึ้นอยู่กับปัจจัยการรับรู้ และสิ่งเร้า ที่มีประสิทธิภาพ ซึ่งปัจจัยการรับรู้ประกอบด้วยประสาทสัมผัส และปัจจัยทางจิต คือความรู้เดิม ความ ต้องการ และเจตคติเป็นต้น การรับรู้จะประกอบด้วยกระบวนการสามด้าน คือการรับสัมผัสการแปล ความหมายและอารมณ์ การรับรู้ การรับรู้ หมายถึง การรู้สึกสัมผัสที่ได้รับการตีความให้เกิดความหมายแล้ว เช่นในขณะนี้ เรา อยู่ในภาวะการรู้สึก (Conscious) คือลืมตาตื่นอยู่ในทันใดนั้นเรารู้สึกได้ยินเสียงดังปังมาแต่ไกล (การรู้สึก สัมผัส-Sensation) แต่เราไม่รู้ความหมายคือไม่รู้ว่าเป็นเสียงอะไร เราจึงยังไม่เกิดการรับรู้ แต่ครู่ต่อมามีคน บอกว่าเป็นเสียงระเบิดของยางรถยนต์ เราจึงเกิดการรู้ความหมายของการรู้สึกสัมผัสนั้น ดังนี้เรียกว่าเราเกิด การรับรู้ การรับรู้มาจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 รูป แสดงการรับรู้จากระบบประสาทการรับรู้จากอวัยวะรับสัมผัสทั้ง 5 ที่มา : http://www.krui3.com/content/1340
  • 38. ~ 38 ~ การรับรู้จะเกิดขึ้นมากน้อยเพียงใดขึ้นอยู่กับสิ่งที่มีอิทธิพลหรือปัจจัยในการรับรู้ ได้แก่ ลักษณะ ของผู้รับรู้ ลักษณะของสิ่งเร้า เมื่อมีสิ่งเร้าเป็นตัวกา หนดให้เกิดการเรียนรู้ได้นั้นจะต้องมีการรับรู้เกิดขึ้นก่อน เพราะการรับรู้ เป็นหนทางที่นาไปสู่การแปลความหมายที่เข้าใจกันได้ซึ่งหมายถึง การรับรู้เป็นพื้นฐานของการ เรียนรู้ ถ้าไม่มีการรับรู้เกิดขึ้น การเรียนรู้ย่อมเกิดขึ้นไม่ได้ การรับรู้จึงเป็นองค์ประกอบสาคั ญที่ทาให้เกิด ความคิดรวบยอด ทัศนคติของมนุษย์ อันเป็นส่วนสาคัญยิ่งในกระบวนการเรียนการสอน พฤติกรรมต่างๆน้าไปสู่การก้าหนดทฤษฎีการเรียนรู้ต่างๆ การจัดระบบการรับรู้ 1. หลักแห่งความคล้ายคลึง (Principle of similarity) สิ่งเร้าใดที่มีความคล้ายกันจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน 2. หลักแห่งความใกล้ชิด (Principle of proximity ) สิ่งเร้าที่มีความใกล้กันจะรับรู้ว่าเป็นพวกเดียวกัน 3. หลักแห่งความสมบูรณ์ (Principle of closure) เป็นการรับรู้สิ่งที่ไม่สมบูรณ์ให้สมบูรณ์ขึ้น
  • 39. บรรณานุกรม จันทิมา แทนบุญ . เอกสารประกอบการเรียน Pathology of Endocrine system ภาณุวัฒน์ ศิวะสกุลราช. การพัฒนาคน. กรุงเทพฯ อมรพันธุ์ เสรีมาศพันธุ์. เอกสารประกอบการเรียน Morphology of Major Endocrine Glands ระบบประสาท. http://nervousmwit.blogspot.com https://th.wikipedia.org/wiki/ระบบประสาท http://www.med.cmu.ac.th/dept/vascular/human/lesson/lesson5.php http://www.novabizz.com/NovaAce/Behavior/Perception.htm