SlideShare a Scribd company logo
เรื่อง
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่
สมาชิกกลุ่ม
นายวีรภัทร อาสาเสนา 55070504218
นายพงศ์ราม พรมเกตุ 52292113
นายปฐมพงศ์ พันธุ์พวง 55070504209
นายวัชรพงศ์ โมกขันธ์ 55070504216
นายโสภณ ใจชื้น 55070504223
นายอดุล คาอินเหลา 55070504225
บทที่ 1
บทนา
1.1 ที่มาและความสาคัญ
เ ก ษ ต ร ก ร ร ม เ ป็ น ส า ข า อ า ชี พ ห นึ่ ง ข อ ง ค น ไ ท ย
เราสามารถเลี้ยงตนเองและส่งออกพืชผลทางการเกษตรเพื่อสร้างราย ได้ให้แก่ ประชากร
ทั้ง นี้ เนื่ อ ง จาก ป ระเท ศ ไท ย มีค ว าม อุด ม สม บู ร ณ์ ฝ น ต ก ต้อง ตา ม ฤดู ก าล ต่ อ ม า
ระบ บ นิเวศ น์เป ลี่ยนแป ลงไป เนื่ องจ าก มีก ารท าลายป่ าไม้เพื่อท าก ารเก ษ ตรและอื่นๆ
เมื่อระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลงไปทาให้พืชผลทางการเกษตรเกิดความเสียหายไปด้วยเนื่องจากภัยธรรมชาติ
ต่างๆ เกษตรกรต้องทาการกู้หนี้ยืมสินดิ้นรนทางานในเมือง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้เสด็จแปรพระราชฐานและเสด็จพระราชดาเนินไป
เยี่ยมพสกนิกรทั่วราชอาณาจักร พระองค์ได้ประสบกับสภาพดินฟ้าอากาศและภูมิประเทศในภูมิภาคต่างๆ
แล ะ ท อ ด พ ระ เน ต รค ว าม ทุ ก ข์ ย าก แ ร้น แ ค้ น ต ล อ ด จ น ปั ญ ห า อุ ป ส รรค ใน ก า ร
ดารงชีวิตของประชาชนทั่วประเทศด้วยพระองค์เอง ทรงตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้อย่างถ่องแท้
และได้ทรงมีพระราชดาริริเริ่มโครงการต่างๆ เพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาเหล่านี้โดยเฉพาะโครงการอนุรักษ์
ป่ าไม้ต้น น้ าล าธาร แ ละโค รง ก ารพัฒ น าแ ห ล่ ง น้ าข น าด ต่ าง ๆ จาน ว น ม าก มา ย
ร ว ม ทั้ ง ไ ด้ ท ร ง มี พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ พ ร ะ ร า ช ท า น
“ห ลัก ป รัช ญ าเ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง ”แ ก่ พ ส ก นิ ก ร ช า ว ไท ย นั บ ตั้ง แ ต่ ปี พ .ศ .2517
สาหรับในด้านการพัฒนาอาชีพของประชาชนในชนบทได้พระราชทานแนวทางครั้งสาคัญเมื่อปี พ.ศ.2532
ซึ่งต่อมาประชาราษฎร์ได้รู้จักกันอย่างดีในนามของเกษตร "ทฤษฎีใหม่" เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว
แม้จะมีการตื่นตัวของสังคมไทยที่ได้น้อมนาเอาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางเกษตรทฤษฎีให
ม่มาประยุกต์ใช้กันมากขึ้น แต่ก็ยังมีคนที่ไม่เข้าใจความหมายที่แท้จริงหรือเข้าใจความหมายคลาดเคลื่อนไป
ซึ่ ง ก็ ค ว ร ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง
เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว
ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒ นาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง อันหมายถึง
ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล
รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบ บภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระท บใด ๆ
อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ
แ ล ะ ค ว า ม ร ะ มั ด ร ะ วั ง อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ก า ร น า วิ ช า ก า ร ต่ า ง ๆ
มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน
ชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักท ฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม
ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา
และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง
ทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี
เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ใ น แ น ว ท า ง ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่
เพื่อแก้ไขปัญหาการเกษตรเป็นแนวทางหรือหลักการในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ใ น ก า ร ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ร ะ ดั บ ไ ร่ น า คื อ ที่ ดิ น แ ล ะ น้ า
เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการจัดสรรการใช้ประโยชน์ในที่ดินโดยให้มีการจั
ด ส ร้าง แ ห ล่ ง น้ าใน ที่ ดิน สา ห รับ ก าร ท าก า รเก ษ ต รแ บ บ ผ ส ม ผ สา น อ ย่ า ง ได้ผ ล
เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถเลี้ยงตัวเองได้ ให้มีรายได้ไว้ใช้จ่ายและมีอาหารไว้บริโภคตลอดปี
เป็นการพึ่งพาตนเองอย่างสมบูรณ์ จึงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
โดยการพัฒนาแบบองค์รวมที่ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและวิถีการพัฒนาอยู่บนพื้นฐานของ
“ดุลยภาพเชิงพลวัต” ที่เชื่อมโยงทุกมิติอย่างบูรณาการ ทั้งมิติตัวคน สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ
สิ่งแว ดล้อม และการเมืองรวมทั้งความสมดุลระห ว่างมิติท างวัตถุกับ จิตใจของคนในช าติ
ดังหลักการพึ่งตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5 ด้าน คือ
ด้านเทคโนโลยี (Technology: T), ด้านเศรษฐกิจ (Economic: E),
ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(Resource: R), ด้านจิตใจ (Mental: M), และด้านสังคมวัฒนธรรม
(Social: S) ซึ่ ง ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ ก า ร พั ฒ น า ดั ง ก ล่ า ว นี้
จะเป็นภูมิคุ้มกันป ระเท ศให้สามารถป รับตัวพร้อมรับต่อการเป ลี่ยนแปลงและผลกระท บ
จากความผันผวนของกระแสโลกาภิวัตน์ได้เป็นอย่างดี
1.2 วัตถุประสงค์ในการศึกษา
1) เพื่อศึกษา เรียนรู้ และทาความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษตรทฤษฏีใหม่
ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงข
องเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่
1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1) ทาให้ทราบและเกิดความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษตรทฤษฏีใหม่
ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
2) ทาให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษ
ตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่
1.4 ขอบเขตการวิจัย
ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย เ รื่ อ ง
การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครง
การเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่นี้ มุ่งประเด็นการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัย 5 ด้านดังนี้ 1.
ด้านเทคโนโลยี 2. ด้านเศรษฐกิจ 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ด้านจิตใจ 5. ด้านสังคม
บทที่ 2
กรอบแนวคิด ทฤษฎี และผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
2.1.1 แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ
ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ
ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน
หลักการพึ่งตนเองประกอบไปด้วย 5 ด้าน
1) ด้าน จิต ใจ ท า ต น ให้ เป็ น ที่ พึ่ ง ต น เอ ง มี จิต ส า นึ ก ที่ ดี ด้ าน สัง ค ม
แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
2) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมทั้ง
หาทางเพิ่มมูลค่า โดยให้ยึดอยู่บนหลักการของความยั่งยืน
3) ด้านเท ค โนโลยี ต้อง แย ก แย ะบ นพื้นฐานข องภูมิปัญ ญ าช าวบ้ านและ
เลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับ ความต้องการ และสภาพแวดล้อม
4) ด้านเศรษฐกิจ จะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อน เป็นสาคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน พอใช้
5) ด้าน สัง ค ม แ ต่ ล ะชุ ม ช น ต้ อ ง ช่ ว ย เห ลือ เ กื้ อ กู ล กั น เชื่ อ ม โย ง กั น
เป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรง เป็นอิสระ
นัยสาคัญของแนวความคิดระบบเศรษฐกิจพอเพียง
ประการแรก เป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการที่ว่า “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน”
โดยมุ่งเน้นการผลิตพืชผลให้เพียงพอ กับความต้องการบริโภคในครัวเรือนเป็นอันดับแรก
เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแล้ว จึงคานึงถึงการผลิตเพื่อการค้าเป็นอันดับรองลงมา
ประการที่สอง เศรษฐกิจแบบพอเพียงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้านทั้งนี้
กลุ่มชาวบ้านหรือองค์กรชาวบ้านจะทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
ให้หลากหลาย ครอบคลุมทั้งการเกษตรแบบผสมผสานหัตถกรรมการแปรรูปอาหาร
การทาธุรกิจค้าขาย และการท่องเที่ยวระดับชุมชน
ประการที่สาม เศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีความเมตตา
ความเอื้ออาทร และความสามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่วมแรงร่วมใจ
ความหมายเชิงทฤษฎี
สามารถจาแนกองค์ประกอบของหลักปรัชญาฯ เป็น 5 ส่วนได้แก่กรอบแนวคิด คุณลักษณะ
คานิยาม เงื่อนไข และแนวทางปฏิบัติรวมถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจาก การนาหลักปรัชญาฯ
ไปปฏิบัติ
2.1.2 ทฤษฎีใหม่
พระบ าท สมเด็จ พระเจ้าอยู่ หัว ท รงท ราบ สภ าพ ปัญ ห าก ารข าดแค ลนน้ า
เพื่ อ ก า รป ลูก ข้ าว แล ะเ กิ ด แ รง ด ลพ ระร าช ห ฤ ทั ย อัน เป็ น แ น ว คิด ขึ้ น ว่ า
ควรจะจัดการที่ดินและแหล่งน้า ในพื้นที่ของตน เกษตรกรไทยส่วนใหญ่มีพื้นที่ประมาณ 10-
15ไร่ ส าม าร ถ แ บ่ ง สัด ส่ ว น อ อ ก เป็ น 30-30-30-10 คื อ ส่ ว น แร ก : ร้อ ย ล ะ 30
ให้ ท าก ารขุ ด ส ระกั ก เก็ บ น้ าไว้ ใช้ ใน ก ารเพ า ะป ลู ก ส่ ว น ที่ สอ ง ร้อ ย ละ 60
เป็นพื้นที่ทาการเกษตรปลูกพืชผลต่าง ๆโดยแบ่งพื้นที่นี้ออกเป็น 2 ส่วน สาหรับทานา
และปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่สภาพของพื้นที่และภาวะตลาด ส่วนที่สาม: ร้อยละ 10
จัดเป็นที่อยู่อาศัย ถนนหนทาง คันคูดินหรือคูคลอง ตลอดจน ปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว์
2.1.3 ทฤษฎีการพึ่งตนเอง (Theory of Self - Reliance)
เป็นการพยามที่จะลดภาระการช่วยเหลือต่างๆจากนอกชุมชนการพึ่งตนเองจึงก่อให้เกิดคว
า ม เ ป็ น เ อ ก ร า ช ใ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ มื อ ง
และสังคมความเป็นอิสระในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประเทศหรือชุมชนแนวคิดของการพึ่งตนเอง
สถาบันวิจัยสังคม จุฬ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้ความหมายของการพึ่งตนเองว่า 1.
เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ เ ป็ น ตั ว ข อ ง ตั ว เ อ ง ใ น ท า ง ค ว า ม คิ ด 2.
ในการตัดสินใจดาเนินการโดยสถาบันของชุมชนหรือองค์กรชุมชนเพื่อประโยชน์ของชุมชนทั้งในด้
าน ก าร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ใน ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ข อ ง ชุ ม ช น 3.
เป็นการพึ่งตนเองที่ไม่นาไป สู่การพึ่งพาเป็ นการพึ่งพาอาศัย กันอย่างรู้เท่าทัน 4.
กรอบการมองจะต้องไม่มุ่งแข่งขันกันหรือไม่มุ่งครอบงาเหนือกว่าแต่เป็นการสู่ความเป็นไทต่อกัน
ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
สถ าบั นวิท ย าศ าสตร์และเท ค โนโลยีแห่ ง ป ระเท ศ ไท ย (2538: (2) 4 – 5)
ได้ทาการกาหนดกรอบความคิดว่าชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้จะต้องประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5
ด้าน
1) ด้านเทคโนโลยี (Technology: T)
2) ด้านเศรษฐกิจ (Economic: E)
3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Resource: R)
4) ด้านจิตใจ (Mental: M)
5) ด้านสังคมวัฒนธรรม (Social: S)
ก ล่ าว ได้ว่ าก ารพึ่ ง ต น เอง ที่ ป ร ะ ก อบ ด้ว ย ปั จ จัย 5 ป ระเภ ท นั้น เป็ น
การพึ่งตนเองอย่างสมบูรณ์ แต่การพึ่งตนเองนี้ประกอบขึ้นมาด้วยการพึ่งตนเองบางส่วน
การพึ่งตนเองด้านใดด้านหนึ่งอย่าง สมบูรณ์นั้น จะต้องอาศัยปัจจัยอีก 4 ประการ นั่นคือ
การพึ่งตนเองท างเศ รษฐกิจข องสังค มไท ย จะต้องอาศัยการพึ่งตนเองท างจิตใจ
สังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติด้วย
2.1.4 แนวคิดการพัฒนาการพึ่งตนเอง
1) การพึ่งตนเองกับมาอยู่ในองค์ความรู้ในพุทธศาสนา
2) ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง ใ น แ น ว ที่ ป ร ะ ช า ช น เ ส น อ
เพิ่มหลักในการมองทางออกที่ไม่โถมตัวเข้าหาระบบเศรษฐกิจแบบบริโภคนิยม
หากเสนอให้เสริมแนวการลดละ
3) ช า ว บ้ าน เ ส น อ ให้ ส ร้าง เ งื่ อ น ไข ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง แ บ บ ค ร บ ว ง จ ร
คือเปลี่ยนฐานการผลิตจากข้าว ไปกระจายความเสี่ยงในเรื่องไร่นาสวนผสม
2.1.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม (Participation)
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานั้น คือการให้โอกาส ประชานเป็นฝ่ายตัดสินใจ
กาห นดปัญ ห าค วามต้องก ารข องตนเองอย่ างแท้จ ริงเป็ นก ารเสริมพลังอานาจ
ให้แก่ประชาชน/กลุ่ม/องค์กรชุมชนให้สามารถระดมขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากร
การตัดสินใจ และควบคุมดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน
2.1.6 แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Development)
การพัฒนาควรจะมีลักษณะที่สาคัญ 3 ประการคือ
1) เป็นโครงการขนาดเล็กที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น
2) มีความสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ท้องถิ่น
3) ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา
2.1.7 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน
ก า ร มี อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น อั น เ กิ ด จ า ก ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ช า ว บ้ า น
ทาให้ชาวบ้านมีศักยภาพในการท างานที่สูงขึ้น จะท าให้เกิดพลังในการแก้ปัญ ห า
ซึ่งถือเป็นทุนทางสังคม ไม่ให้ความสาคัญแก่บทบาทของ ภาครัฐ แต่เน้นการพึ่งตนเอง
และผสานการพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรม และอุดมการณ์/ความเชื่อสูงสุดของชุมชน
โด ย สาม ารถ สรุป ส าระสาคัญ เกี่ ย ว กั บ ยุ ท ธ ศ าสต ร์ชุ มช น ท้ อ ง ถิ่นพั ฒ น า
หรือการพัฒนาด้วยวัฒนธรรมชุมชนไว้ 6 ประการ คือ
1) เน้นการพึ่งตนเอง
2) การเปลี่ยนแบบแผนการผลิต จากการผลิตเชิงพาณิชย์ มาเป็นการผลิตเพื่อยังชีพ
3) การพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชน
4) การให้ความสาคัญแก่ภูมิปัญญาชาวบ้าน
5) ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ใ ห้ กั บ อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น
เพื่อให้ชาวบ้านมีพลังอานาจต่อรองกับภาคการเมือง และภาคธุรกิจได้
6) สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่น
2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
จ า ก ห ล า ย ๆ ง า น วิ จั ย เ กี่ ย ว กั บ เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฏี ใ ห ม่ ท า ให้ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า
เ ก ษ ต ร ก ร ส่ ว น ใ ห ญ่ นั้ น มี ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น
โดยดูได้จากผลกาไรก่อนที่จะทาเกษตรทฤษฏีใหม่เปรียบเทียบกับ หลังทาเกษตรทฤษฏีใหม่
มีผลผลิตที่หลากหลายมากขึ้น แต่ก็มีเกษตรกรบางส่วนที่ไม่เห็นด้วยหรือประสบปัญหา เช่น
ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฏี ใ ห ม่ ยั ง ไ ม่ ชั ด เ จ น
รวมไปถึงภูมิประเทศไม่เอื้ออานวยแก่การทาเกษตรทฤษฏีใหม่
2.3 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา
บทที่ 3
ระเบียบวิธีการวิจัย
3.1 วิธีการศึกษา
การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเอง
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงให ม่
มีประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่
สานั ก ง าน เก ษ ต รแล ะส ห ก รณ์ จัง ห วั ด เชี ย ง ให ม่ ได้เลือก ตัว อ ย่ าง ใน ก าร ท าวิ จัย
โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากเกษตรกรโครงการฯ จานวน 64 ราย และ
ทาการรวบรวมข้อมูลที่จะทาการศึกษาจากแหล่งข้อมูล 2 แหล่ง คือ
1) ป ฐม ภู มิ ( Primary Data) ใช้ แ บ บ ส อบ ถ าม แล ะสัม ภ าษ ณ์ เก ษ ต รก รโค รง ก า ร
ซึ่ง แ บ บ ส อ บ ถ าม จ ะเป็ น เ ค รื่อ ง มื อ ที่ ใช้ ใน ก าร วิจัย แ ล ะเ ป็ น ตัว ค ว บ คุ ม ทิ ศ ท า ง
เป้าหมายของการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นรูปธรรม เพื่อนามาวิเคราะห์ทางเชิงสถิติพรรณนา
(Descriptive statistics)
2) ทุติย ภูมิ (Secondary Data) ได้แก่ ข้อมูลท างวิช าการจากห น่ วย งานที่รับ ผิดชอบ
(สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่) งานวิจัยและวิทยานิพนธ์หนังสือ บทความ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง
ๆ และข้อมูลจากสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Sources)จากระบบ E-Theses และ E-Research
3.2 วิเคราะห์ข้อมูล
ในการศึกษาวิจัยนี้ได้แบ่งวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล เป็น 2 ขั้นตอน คือ
1) นาข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรโครงการฯ ประมวลผลเบื้องต้น โดยวิธีการวิเคราะห์แบบพรรณนา
( Descriptive Analysis) แ ล ะ ก า ร ใช้ ม า ต ร วั ด แ บ บ Rating Scale ต า ม วิ ธี ข อ ง Likert
โดยการแบ่งระดับความสาคัญออกเป็น 5 ระดับ คือ
ระดับความสาคัญมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 5
ระดับความสาคัญมาก มีค่าเท่ากับ 4
ระดับความสาคัญปานกลาง มีค่าเท่ากับ 3
ระดับความสาคัญน้อย มีค่าเท่ากับ 2
ระดับความสาคัญน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 1
แ ล ะ น า ผ ล ร ว ม ม า ห า ค่ า เ ฉ ลี่ ย
แล้วจึงนาเปรียบเทียบกับการแปลความหมายระดับคะแนนโดยใช้เป็นเกณฑ์ช่วงคะแนนเฉลี่ย ดังนี้
ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง มากที่สุด
ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง มาก
ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายถึง ปานกลาง
ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง น้อย
ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึง น้อยที่สุด
2) ทาการทดสอบสมมุติฐานของการศึกษาวิจัยโดยทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร
ได้แก่ เท ค โนโลยี เศ รษฐกิจ ท รัพย ากรธรรม ช าติและสิ่ง แว ดล้อม จิตใจ และสังค ม
แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ตั ว แ ป ร ต า ม คื อ
ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค
(Logistic Regression Analysis) เนื่องจากตัวแป รอิสระมีจานวนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จึงเรียกว่ า
ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ถ ด ถ อ ย โ ล จิ ส ติ ค พ หุ ( Multiple Logistic Regression)
และตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพที่มีค่าได้เพียง 2 ค่า คือ สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือ
ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ดังนั้น ตัวแปรจึงมีการแทนค่าเป็น 1 ในกรณีที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือเป็น
0 ในกรณีที่ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้
ดังนั้น รูปสมการที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ
P (Y) = f(TECHNOLOGY, ECONOMIC, RESOURCE, MENTAL, SOCIAL)
Xi’ß = ß0 + ß1TECHNOLOGY + ß2ECONOMIC + ß3RESOURCE +
ß4MENTAL + ß5SOCIAL
โดยจะใช้แบบจาลอง Logit model แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระเป็น
สมการดังนี้
P (Y) = P f(A)
EY = Ef (A1 ... A16)
Y = ß 0 + ß 1 A1 + ß 2 A2 +........... + ß n A16 + ui
โดยที่ A คือตัวแปรต่างๆเช่น T (เทคโนโลยี), E (เศรษฐกิจ) r (ทรัพยากร), M (จิตใจ), S (สังคม)
ตั ว แ ป ร ต่ า ง ๆ อ า จ มี ม า ก ก ว่ า 1อ ย่ า ง เ ช่ น T( เ ท ค โ น โ ล ยี ) T1 ห ม า ย ถึ ง
การรู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่,T2 หมายถึง ได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เช่น
วิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ ฯลฯ,T3 หมายถึง ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่,T4 หมายถึง
ได้ไปทัศนาศึกษา/ดูงาน ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น ตัวแปรอื่นๆก็เช่นเดียวกัน
เมื่อ
P (Y) เป็นตัวแป รตาม (Dependent Variable) และ Y หมายถึง โอกาสที่เกษตรกรโครงการฯ
จะสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ โดย
Y = 1 เมื่อ เกษตรกรโครงการฯ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้
= 0 เมื่อ เกษตรกรโครงการฯ ไม่มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้
ตัวแปรตาม Y มีค่าได้เพียง 2 ค่า คือ 0 หรือ 1 ดังนั้น ตัวแปรตาม Y จะมีการแจกแจงแบบเบอร์นูลี
(Bernoulli distribution) ที่มีความน่าจะเป็น P
ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ที่คาดว่าเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพา
ตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ได้แก่
X1 = TECHNOLOGY หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยี
ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยี
= 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยี
X2 = ECONOMIC หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเศรษฐกิจ
ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเศรษฐกิจ
= 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเศรษฐกิจ
X3 = RESOURCE หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติฯ
= 0
ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านทรัพยา
กรธรรมชาติ
X4 = MENTAL หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านจิตใจ
ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านจิตใจ
= 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านจิตใจ
X5 = SOCIAL หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านสังคม
ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านสังคม
= 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านสังคม
ก า ร ท ด ส อ บ ค่ า ß0 , ß1 …ß5 ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ค า น ว ณ ใน ตั ว แ ป ร อิ ส ร ะ
ต้องมีค่าไม่เท่ ากับ ศู นย์อย่ างมีนั ย สาคัญ ท าง สถิติ เนื่ องจาก ห ากค่า ß = 0 แสดง ว่ า
ตัว แป รอิสระไม่สามารถ อธิบ าย การมีผลต่อตัว แป รต าม ได้ ห าก ค่า ß ≠ 0 แสด งว่ า
ตัวแปรอิสระสามารถอธิบายการมีผลต่อตัวแปรตามได้ ในการทดสอบจะใช้แบบจาลองโลจิท (Logit Model)
มาทาการทดสอบ โดยมีสมมติฐานคือ
ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
H0: ปัจจัยความสามารถด้านเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
H1: ปัจจัยความสามารถด้านเทคโนโลยีไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
H0: ปัจจัยความสามารถด้านเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
H1: ปัจจัยความสามารถด้านเศรษฐกิจไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
H0 :
ปัจจัยความสามารถด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรก
รโครงการฯ
H1 :
ปัจจัยความสามารถด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษต
รกรโครงการฯ
ปัจจัยด้านจิตใจ
H0: ปัจจัยความสามารถด้านจิตใจมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
H1: ปัจจัยความสามารถด้านจิตใจไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
ปัจจัยด้านสังคม
H0: ปัจจัยความสามารถด้านสังคมมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
H1: ปัจจัยความสามารถด้านสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ
บทที่ 4
ผลการศึกษา
ก า ร ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง
ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่
มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เรียนรู้ และทาความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษตรทฤษฎีใหม่
ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
การรวบรวมข้อมูลได้มาจากการใช้แบบสอบถาม ประกอบการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จานวน
64 ราย และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยจาแนกผลการศึกษาออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้
ส่วนที่1 ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
เป็นการสารวจข้อมูลขึ้นพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 64 คน ที่จะแสดงให้เห็นกลุ่มของเพศ อายุ
ก า ร ศึ ก ษ า ส ถ า น ภ า พ ส ม ร ส จ า น ว น ส ม า ชิ ก ใน ค ร อ บ ค รัว จ า น ว น บุ ต ร
จาน ว น ส ม าชิ ก ใน ค ร อบ ค รัว ที่ เป็ น เก ษ ต รก ร อา ชี พ ก่ อน ท าเก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ให ม่
ปัญหาที่พอก่อนทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ภูมิลาเนาเดิม พื้นที่ถือครองที่ดิน เอกสารกรรมสิทธิ์ถือครองที่ดิน
พื้ น ที่ ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ปี ที่ เ ริ่ ม ท า เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่
บ้านพักอาศัยอยู่ ในพื้นที่เดียว กันกับ การทาเกษตรฯ มีการจัดสรรพื้นที่ตามห ลักเกษตรฯ
แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ต่ อ ไ ป
เมื่อได้ข้อมูลครบทั้งหมดนั้นจะนามาทาการแสดงด้วยตารางแจกแจงความถี่และร้อยละเปอร์เซ็นต์ของข้อมูล
เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล
ส่วนที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบจาลองโลจิก
โดยเทคนิควิธีการวิเคราะห์การประมาณภาวะความน่าจะเป็นสูงสุดเพื่ออธิบายโอกาสความน่าจะเป็
นของความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสามารถแยกวิธีการได้มาซึ่งผลคานวณ 5
ส่วนดังนี้
1) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี=X1
2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ=X2
3) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ=X3
4) ปัจจัยด้านจิตใจ=X4
5) ปัจจัยด้านสังคม=X5
ซึ่ ง ใ ช้ วิ ธี ก า ร ข อ ง Maximum likelihood estimate
วิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละด้านปัจจัยที่ได้ออกมาเป็นร้อยละเปอร์เซ็นต์โดยจะเป็นถึงนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับค
วามเชื่อถือของข้อมูล
ส่วนที่3 การทดสอบสมมุติฐานของการวิจัย
การใช้สมการฟังก์ชั่นในการวิเคราะห์ปัจจัยทั้ง5ด้านตามที่ได้เก็บข้อมูลจากส่วนที่2
เพื่อมาทาการวิเคราะห์สมมุติฐานทั้ง5ด้าน โดยใช้สมการฟังก์ชั้นต่อไปนี้
ถ้า H1:b0 =/ 0 คือ เกษตรกรโครงการฯมีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ถ้า H1:b0 = 0 คือ เกษตรกรโครงการฯไม่มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
PY = Pf(Xn)
H1 = Y-Ef(Xn2-Xnm)
ทาการหาค่าทั้งหมดโดยใช้ปัจจัยทั้ง5ด้านโดยการคานวณหาค่าในแต่ละด้านเพื่อดูความเป็นไปได้ว่า
เกษตรโครงการฯมีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้หรือไม่
จากการคานวณนั้นจะเห็นได้ว่าค่าของข้อมูลในปัจจัยทั้ง5ด้านนั้นมีค่าไม่เท่ากับศูนย์เลยสักด้าน
ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่าเกษตรกรโครงการฯมีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี
ปัจจัยทั้ง5ด้านที่เป็นสิ่งผลักดัน
ส่ ว น ที่ 4
สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯโดยการวิเคราะห์เปรี
ยบเทียบ
จ ะ ใ ช้ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า ก า ร ห า ค่ า เ ฉ ลี่ ย อ ย่ า ง ง่ า ย
เปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่างข้อมูลเชิงสถิติที่ใช้ในการอ้างอิงและข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและเปรียบเทียบ
กับเกณฑ์ช่วงคะแนนเฉลี่ยโดยนาปัจจัยทั้ง 5 ด้านมาทาการสรุปเปรียบเทียบ ดังนี้
1) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี
อธิบายได้ว่า เกษตรกรนั้นสามารถรับรู้ข่าวสารข้อมูลด้านเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นอย่างดี
ใช้ พื้น ที่ ท าก ารเ ก ษ ต รอ ย่ าง เห ม าะส ม เรีย น รู้ที่ จ ะใช้ เค รื่อ ง มือ ได้อ ย่ าง ถู ก ต้อ ง
มีเทคนิคใหม่ๆเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีการใช้ปุ๋ยทางธรรมชาติแทนปุ๋ยเคมี
2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ
มีผลผลิตที่เพีย งพอตลอดปี เสริมด้ว ย การป ลูก ไม้ผลเพิ่มราย ได้ข องค รัว เรือน
โดยมีหน่วยงานรัฐบาลสนับสนุนทางการเงินและจัดการระบบกู้ และมีการเปรียบเทียบรายได้ ค่าใช้จ่าย
และผลผลิตข้าวกับเมื่ออดีตจะพบว่าการใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียงให้ผลที่ดีขึ้นเรื่อยๆ
3) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
เ ก ษ ต ร ก ร มี ส ร ะ น้ า ใ น พื้ น ที่ ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ข อ ง ตั ว เ อ ง
ทาให้ไม่มีปัญหาในการหาแหล่งน้าและการปลูกไม้ผลเพื่อช่วยยืดขอบดินรอบสระน้าอีกด้วย
อีกทั้งฝังกลบขยะที่เป็นเศษวัสดุธรรมชาติเพื่อให้เป็นปุ๋ยแก่ดิน
4) ปัจจัยด้านจิตใจ
เกษตรกรมีการร่วมงานภายในชุมชนและครอบครัว มีการแบ่งปันซึ่งกันและกันภายในชุมชน
ทาให้เกษตรกรมีพื้นฐานที่ดี ส่งผลให้สภาวะทางด้านจิตใจดีขึ้นและปราศจากอบายมุขต่างๆ
5) ปัจจัยด้านสังคม
ทั้งตัวเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ได้มีการตั้งกลุ่มให้มีส่วนร่วมช่วยกันในการทาการเกษตร
เพื่อช่วยเพิ่มพลังการต่อรองด้านการตลาดได้มากขึ้น
บทที่ 5
สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ
5.1 สรุปผลการศึกษา
ปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจัง
หวัดเชียงใหม่ที่ตั้งเป็นสมมุติฐานและนามาคานวณจากแบบจาลองโลจิท (Logit Model) คือ
ปัจจัยด้านเทคโนโลยีมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05,
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.01,
ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ
ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านจิตใจมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ
ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 และปัจจัยด้านสังคมมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ
ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.10
5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป
การทาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่
จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 64 รายจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งหมด 303 ราย
จาก 8 อาเภ อในจัง ห วัดเชี ย ง ให ม่ ซึ่งถือว่ าเป็ น จาน ว นตัว อย่ าง ที่ ค่อนข้ างจะน้อ ย
แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก มี ค ว า ม จ า กั ด ด้ า น เ ว ล า แ ล ะ พื้ น ที่ ใน ก า ร เก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล
แต่ผู้วิจัยได้พยายามกระจายพื้นที่ในการเก็บข้อมูลในหลายอาเภอเพื่อการแจกแจงข้อมูลที่มีความแตกต่างใ
นด้านพื้นที่มากขึ้น หากมีผู้สนใจที่จะศึกษาเรื่องนี้ต่อไปควรมีระยะเวลาในการทาการศึกษาที่มากขึ้น
และควรเพิ่มจานวนตัวอย่างที่มีความแตกต่างและหลากหลายในด้านพื้นที่ให้มากขึ้น
ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเอง
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่กับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามทฤษฏีของในหลวง
เศรษฐกิจพอเพียง
เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์รมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ.
2517 เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540
เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540
ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ[ต้องการอ้างอิง]
โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ศ.เสน่ห์
จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน
ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรนอกภาครัฐจานวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520
และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจ
และสาขาอื่น ๆ
มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9และได้จัดทาเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"
และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ.
2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่
ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติ
ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ
และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืนโดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสต
ร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน
บางสื่อตั้งคาถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ
รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง
ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง
และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ
และระมัดระวัง ในการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข"
ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน
ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
3 ห่วง คือทางสายกลาง ประกอบไปด้วย
พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง
ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน
มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น
จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ
มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง
การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ
ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล
2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่
เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับ วิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน
ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน
และความระมัดระวังในขั้นตอนปฏิบัติ คุณธรรมประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม
มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน
และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงินของบุคคลนั้น
โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน
และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง
ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง
สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชีวิต
เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น
การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น
ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้
ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวิต
เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่
โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่
แนวพระราชดาริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่
ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น
เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม
ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ
แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความพอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว
โดยเฉพาะเกษตรกรเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง
พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน
และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30%
ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี
เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ
เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย
พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว
ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้าน
1. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
2. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่าย)
3. การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ)
4. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้)
5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา)
6. สังคมและศาสนา
ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร
หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน
หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้
ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
- เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา)
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า
(ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
- เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก
(เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง)
- ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ
ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น
ก่อนจะเกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่ทาการเกษตรกระแสหลักมาก่อน
ซึ่งประสบปัญหาดังนี้
- ราคาผลผลิตไม่แน่นอน ร้อยละ 89.06
- ปัญหาปัจจัยการผลิตราคาสูง ร้อยละ 68.75
- การขาดเงินทุนสนับสนุน ร้อยละ 60.94
- สภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน ร้อยละ 29.69
- ศัตรูพืช / โรคพืช ระบาด ร้อยละ 25.00
- ขาดความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตร ร้อยละ 23.44
- การขาดแคลนน้าในการเกษตร ร้อยละ 15.625
- ขาดแคลนแรงงาน ร้อยละ 15.625
ซึ่งหลังจากการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ส่วนใหญ่เริ่มตั้งแต่ พ.ศ.
2542 นั้นพบว่า มีอัตราผลผลิตข้าวที่ได้รับเฉลี่ย/ไร่ จะเห็นว่าเกษตรกรโครงการฯ มีผลผลิตข้าวเฉลี่ย/ไร่
ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วประเทศ ทาให้สามารถนามาบริโภคภายในครัวเรือนได้อย่างเพียงพอ
สอดคล้องกับผลของความสามารถในการผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี
ซึ่งอยู่ในระดับมาก การลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต และการปลูกไม้ผล
เพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน อยู่ในระดับดีมาก ซึ่ง 3
ประเด็นนี้ก็เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้เกิดโอกาสในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรได้เป็นอย่างดี
จากผลสารวจจะเห็นว่าเกษตรกร มีการใช้หลังการ 3 ห่วงสองเงือนไขในการดารงชีวิตดังนี้
การพอประมาณ
- เกษตรกรมีการคิดและประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้จากวัสดุเหลือใช้ทั่วไปด้วยตนเอง
ทาให้สามารถ
- ลดค่าใช่จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ในส่วนนั้น
ทาให้ต้นทุนในการผลิตลดลงมีกาไรที่ได้จากผลผลิตมากขึ้น
- แหล่งเงินทุนที่นามาใช้ในการทาเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นของตนเอง
เมื่อทาเกษตรทฤษฏีใหม่ไม่จาเป็นจะต้องมีการลงทุนที่สูงเนื่องจาก เครื่องมือเครื่องใช้
รวมไปถึง ปุ๋ย สามารถที่จะทาขึ้นเองได้ทาให้ไม่ต้องไป
กู้เงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกครัวเรือน
ทาให้มีกาไรมากขึ้นจากการที่ไม่ต้องเสียเงินค่าดอกเบี้ยให้กับแหล่งเงินทุนภายนอก
- ปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคในครัวเรือน
ทาให้สามารถที่จะลดรายจ่ายที่ใช้ในการดารงชีพลงไป
และยังสามารถหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดจากยาฆ่าแมลง
- ผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์
นามาบริโภคในครัวเรือนทาให้สามารถที่จะลดรายจ่ายที่ใช้ในการดารงชีพลงไป
- มีการทาลายขยะที่เป็นเศษวัสดุจากธรรมชาติ
โดยการฝังกลบเพื่อใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติทาให้สามรถลดขยะที่มีและยังสามารถลดต้นทุนในการเ
พาะปลูก เนื่องจากจะทาให้สามารถที่จะลดปริมาณของปุ๋ยที่จะต้องซื้อ
และยังเป็นการลดการใช้สารเคมีในการเพาะปลูก
- การสร้างผลผลิตจากพื้นๆที่มีอยู่ซึ่งเป็นทุนเดิมที่มี
โดยในพื้นที่ๆมีสามารถทาให้ดารงชีพอย่างพอเพียง ไม่มีการทาอะไรที่เกินตัว
ทาให้ไม่จาเป็นต้องไปกู้เงินจากภายนอกมาลงทุนในการซื้อวัตถุดิบ ที่ดิน
หรือการจ้างแรงงานทาให้ลดความเสี่ยงในการลงทุน
- การเพาะปลูก ในปริมาณที่เหมาะสม
โดยหากมีการเพาะปลูกที่เหมาะสมแล้วจะทาให้ไม่เกิดปัญหาในการ
บริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ เช่น การบริหารน้าให้สามารถใช้ได้ตลอดทั้งปี
จะทาให้ผลผลิตที่ได้ไม่เกิดความเสียหายจากการขาดน้าเป็นต้น
- การเลี้ยงสัตว์ในปริมาณที่เหมาะสม
โดยการเลี้ยงสัตว์ในปริมาณที่เหมาะสมนั้นจะทาให้ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากอาหารสัตว์มีน้อยหรืออา
จจะไม่มีเลยเนื่องจาก อาหารของสัตว์บางชนิดเกษตรกร สามารถที่จะหาได้จากธรรมชาติ หรือ
พืชที่เกษตรกรได้ทาการเพาะปลูกแล้วไม่สามารถนาไปบริโภคหรือนาไปขายได้
- การไม่ใช้สารเคมีในการเร่งการเจริญเติมโตของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร
การมีเหตุผล
- มีการหมุนเวียนเพาะปลูก พืชที่ให้ผลผลิตได้ตลอดทั้งปีเพื่อที่จะใช้สาหรับ
ดารงชีพให้ได้ตลอดทั้งปีโดยไม่จาเป็นต้องไปซื้อของกินจากแหล่งซื้อขายตามตลาดซึ่งจะเป็นกา
รลดต้นทุนในการดารงชีพ
- การเลือกเพาะปลูกพืชที่มีความแข็งแรงและให้ผลผลิตสูง
เพื่อที่จะลดภาระในการดูแลและประหยัดเวลา รวมไปถึงทรัพยากรคนที่ใช้ในการดูแล
- มีการเลือกพืชที่ทาการเพาะปลูกให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม
เพื่อที่จะให้พืชนั้นออกผลผลิตได้สูงสุด
- มีการวางแผนการจัดการระบบน้าที่ใช้สาหรับการเพาะปลูกรวมไปถึงการเลี้ยงสัตว์ให้มีความเห
มาะสมกับพืช และมีการสารองน้าในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการล้มตายของพืช
ที่ได้ทาการเพาะปลูกไว้จากการขาดน้า
- มีการเลี้ยงสัตว์ไว้ในพื้นที่ๆเหลือจากการเพาะปลูกหรือเลี้ยงปลา
โดยจะมีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเพิ่มผลผลิตอีกทางหนึ่ง
รวมไปถึงในแหล่งน้าที่ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการเกษตร
ก็สามารถที่จะเพิ่มผลผลิตด้วยการเลี้ยงปลา
หรือสัตว์น้าเพื่อที่จะทาให้มีผลผลิตที่หลากหลายและไม่เสียพื้นที่นั้นๆไปโดยเปล่าประโยชน์
ซึ่งผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์เป็นผลผลิตที่ค่อนข้างเป็นที่น่าพอใจและยังสามารถที่จะนาไปข
ายเข้าสู่ตลาดเพื่อสร้างกาไรได้อีกหนทางหนึ่ง
- มีการแปรรูปผลผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคในระยะยาวเพื่อที่จะจัดเก็บผลผ
ลิตที่ได้จากการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ทาให้สามารถเก็บถนอมอาหารไว้บริโภคและนาผลผลิต
ที่ได้จากการแปรรูปไปขายเข้าสู่ท้องตลาดเพื่อเพิ่มกาไรได้อีกทางหนึ่ง
(จัดอยู่ในหมาดการมีเหตุผลเนื่องจาก เลือกที่จะถนอมอาหาร ซึ่งถือเป็นตัดสินใจที่ดี
ทาให้ของเหลือไม่เสียไปอย่างเปล่าประโยชน์)
- เกษตรกรปลูกไม้ผล เพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน
ถือเป็นการมีเหตุผลเนื่องจากการใช้พื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดรายได้ เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น
รายจ่ายเท่าเดิม ก็จะทาให้มีเงินเหลือเก็บไว้ใช้ยามจาเป็นมากขึ้น
- การที่แบ่งพื้นที่เพาะปลูกทาให้สามารถปลูกพืชได้หลายชนิด
ทาให้สามารถที่จะมีบริโภคและเหลือจาหน่ายได้ตลอดทั้งปี
ซึ่งทาให้เกษตรกรมีรายได้ตลอดทั้งปี
- มีการจาหน่ายผลผลิตที่เหลือจากการอุปโภคบริโภคในครัวเรือน
เมื่อผลผลิตที่ได้นั้นมีมากกว่าความต้องการภายในครัวเรือน ก็สามารถที่จะนาเข้าสู่
ตลาดเพื่อสร้างกาไรเพื่อเก็บออมสาหรับใช้จ่ายและสร้างความมั่นคง ให้กับครัวเรือนให้มากขึ้น
- การงดใช้สารเคมีสาหรับการเพาะปลูก เนื่องจากมีต้นทุนสูง
และอาจส่งผลกระทบต่อหน้าดินและมีความเสี่ยงที่จะขาดทุนเนื่องจากต้นทุนสูงกว่ากาไร
การมีภูมิคุ้มกัน
- เกษตรกรรู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่
ทาให้มีแนวทางในการประกอบอาชีพ ในยามที่ข้าวของแพงก็ยังสามารถดารงชีพอยู่ได้
โดยการเพิ่งพาตนเอง และยังสามารถที่จะสร้างกาไร ในยามที่ข้าวของแพง
- ได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ ฯลฯ การที่รับข้อมูลข่าวสาร
จะทาให้เกิดการเรียนรู่ที่จะปรับตัวให้ทัน
โลกตลอดเวลาทาให้ทราบถึงช่องทางในการจะสร้างกาไร และ
ช่องทางที่จะใช้สาหรับหาความรู้เพื่อที่จะนามาปรับใช้ในการดารงชีพและสร้างผลผลิตให้ได้สูงสุ
ดโดยอยู่บนความพอเพียงของตนได้
- ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่
ทาให้สามารถที่จะนาไปใช้ได้จริงในการดารงชีพและประกอบ อาชีพ ซึ่งหาดูจากผลการสารวจ
เกษตรกรส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถที่จะสร้างกาไรได้มากขึ้น
- ได้ไปทัศนะศึกษา/ดูงาน ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่
ทาให้เกษตรการที่ได้ไปเข้าร่วมมีการพัฒนาความคิด
มีการปรับทัศนคติจากที่จะมุ่งหวังกาไรเป็นที่ตั้ง หันมาใช้ความคิดที่จะพึ่งพาตนเอง
เพื่อที่จะเป็นการลดต้นทุนในการดารงชีพ และยังมีโอกาสที่จะสร้างกาไรได้ โดย
การทาเกษตรวิธีเก่านั้น จากผลการสารวจจะเห็นได้ว่าเกษตรกรมีภาวะหนี้สินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ
เป็นการแสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวในการ ทาเกษตรวิธีเก่า
- มีการรณรงค์เรื่องการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน
ทาให้ชาวบ้านมีความเข้าใจถึงสาเหตุที่จะต้องรักษาธรรมชาติและหันมาช่วยกันดูแล
ทาให้สามารถที่จะดารงชีพร่วมกับธรรมชาติและวิ่งแวดล้อม และ ยังสามารถที่จะสร้างผลผลิต
ที่จะทากาไรให้กับตนเอง โดยที่ไม่เบียดเบียดธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
- มีการคาดการณ์เกี่ยวกับปริมาณน้าที่ต้องใช้ในการเกษตรให้เพียงพอตลอดปี
โดยเมื่อได้ทาการแบ่งพื้นที่สาหรับเพาะปลูกแล้วสามารถทาให้เรารู้ถึงปริมาณน้าที่ต้องใช้สาหรั
บการเกษตร
โดยเมื่อทราบว่าพืชแต่ละชนิดนั้นต้องการปริมาณน้าเท่าไหร่บ้างเราก็สามารถที่จะกักเก็บน้าไว้ใ
ห้เพียงพอต่อการเพาะปลูก
- เมื่อเรามีการคาดคะเนแล้ว เราก็สามารถที่จะสร้างแหล่งเก็บน้าในพื้นที่ของตัวเอง
เนื่องจากหากแต่ละครัวเรือนมีสระน้าประจาไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว เมื่อรวมปริมาณกันก็
ย่อมเท่ากับปริมาณในอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ แต่สิ้นค่าใช้จ่ายน้อยและเกิดประโยชน์สูงสุด
โดยตรงมากกว่า และยังสามารถเลี้ยงปลาในแหล่งเก็บน้าเพื่อจะสร้างผลผลิต อีกหนทางหนึ่ง
- เกษตรกรมีการพึ่งพาตัวเอง
สามารถที่จะลดภาระรายจ่ายออกไปได้โดยการทาเกษตรทฤษฏีใหม่
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด
บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
กนกพิชญ์ วังวร
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงpatcharapornfilmmii
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
Suttipong Pratumvee
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruemas Kerdpocha
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงUltraman Sure
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Vilaporn Khankasikam
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงENooilada
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
สุปราณี เขื่อนขันธ์
 

What's hot (16)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
183356
183356183356
183356
 
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพ้าเวอร์พ้อยโครงการปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
การประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
002
002002
002
 
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียงปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

Similar to บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
narudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
freelance
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงJiraprapa Suwannajak
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมjirapom
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 

Similar to บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงหมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
หมู่บ้านเดอะเกรียน -- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียงPowerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
Powerpoint เศรษฐกิจพอเพียง
 
1111
11111111
1111
 
สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
กลุ่ม4
กลุ่ม4กลุ่ม4
กลุ่ม4
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
freelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
freelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
freelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
freelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
freelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
freelance
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
freelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
freelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
freelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
freelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
freelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
freelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
freelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
freelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
freelance
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
freelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informaticsCh 2 disaster informatics
Ch 2 disaster informatics
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 2 disaster informatics
Week 2 disaster informaticsWeek 2 disaster informatics
Week 2 disaster informatics
 

บ้านแม่จ่อย --ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัด

  • 1. เรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่ สมาชิกกลุ่ม นายวีรภัทร อาสาเสนา 55070504218 นายพงศ์ราม พรมเกตุ 52292113 นายปฐมพงศ์ พันธุ์พวง 55070504209 นายวัชรพงศ์ โมกขันธ์ 55070504216 นายโสภณ ใจชื้น 55070504223 นายอดุล คาอินเหลา 55070504225
  • 2. บทที่ 1 บทนา 1.1 ที่มาและความสาคัญ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม เ ป็ น ส า ข า อ า ชี พ ห นึ่ ง ข อ ง ค น ไ ท ย เราสามารถเลี้ยงตนเองและส่งออกพืชผลทางการเกษตรเพื่อสร้างราย ได้ให้แก่ ประชากร ทั้ง นี้ เนื่ อ ง จาก ป ระเท ศ ไท ย มีค ว าม อุด ม สม บู ร ณ์ ฝ น ต ก ต้อง ตา ม ฤดู ก าล ต่ อ ม า ระบ บ นิเวศ น์เป ลี่ยนแป ลงไป เนื่ องจ าก มีก ารท าลายป่ าไม้เพื่อท าก ารเก ษ ตรและอื่นๆ เมื่อระบบนิเวศน์เปลี่ยนแปลงไปทาให้พืชผลทางการเกษตรเกิดความเสียหายไปด้วยเนื่องจากภัยธรรมชาติ ต่างๆ เกษตรกรต้องทาการกู้หนี้ยืมสินดิ้นรนทางานในเมือง พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ได้เสด็จแปรพระราชฐานและเสด็จพระราชดาเนินไป เยี่ยมพสกนิกรทั่วราชอาณาจักร พระองค์ได้ประสบกับสภาพดินฟ้าอากาศและภูมิประเทศในภูมิภาคต่างๆ แล ะ ท อ ด พ ระ เน ต รค ว าม ทุ ก ข์ ย าก แ ร้น แ ค้ น ต ล อ ด จ น ปั ญ ห า อุ ป ส รรค ใน ก า ร ดารงชีวิตของประชาชนทั่วประเทศด้วยพระองค์เอง ทรงตระหนักถึงปัญหาและอุปสรรคเหล่านี้อย่างถ่องแท้ และได้ทรงมีพระราชดาริริเริ่มโครงการต่างๆ เพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาเหล่านี้โดยเฉพาะโครงการอนุรักษ์ ป่ าไม้ต้น น้ าล าธาร แ ละโค รง ก ารพัฒ น าแ ห ล่ ง น้ าข น าด ต่ าง ๆ จาน ว น ม าก มา ย ร ว ม ทั้ ง ไ ด้ ท ร ง มี พ ร ะ ม ห า ก รุ ณ า ธิ คุ ณ พ ร ะ ร า ช ท า น “ห ลัก ป รัช ญ าเ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เพี ย ง ”แ ก่ พ ส ก นิ ก ร ช า ว ไท ย นั บ ตั้ง แ ต่ ปี พ .ศ .2517 สาหรับในด้านการพัฒนาอาชีพของประชาชนในชนบทได้พระราชทานแนวทางครั้งสาคัญเมื่อปี พ.ศ.2532 ซึ่งต่อมาประชาราษฎร์ได้รู้จักกันอย่างดีในนามของเกษตร "ทฤษฎีใหม่" เพื่อแก้ไขปัญหาดังกล่าว แม้จะมีการตื่นตัวของสังคมไทยที่ได้น้อมนาเอาแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและแนวทางเกษตรทฤษฎีให ม่มาประยุกต์ใช้กันมากขึ้น แต่ก็ยังมีคนที่ไม่เข้าใจความหมายที่แท้จริงหรือเข้าใจความหมายคลาดเคลื่อนไป ซึ่ ง ก็ ค ว ร ท า ค ว า ม เ ข้ า ใ จ ใ ห้ ถู ก ต้ อ ง ป รั ช ญ า ข อ ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง เป็นปรัชญาที่ชี้ถึงแนวการดารงอยู่และปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับตั้งแต่ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒ นาและบริหารประเทศให้ดาเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง อันหมายถึง ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ ค ว า ม มี เ ห ตุ ผ ล รวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบ บภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระท บใด ๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน ทั้งนี้จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ แ ล ะ ค ว า ม ร ะ มั ด ร ะ วั ง อ ย่ า ง ยิ่ ง ใ น ก า ร น า วิ ช า ก า ร ต่ า ง ๆ มาใช้ในการวางแผนและการดาเนินการทุกขั้นตอนและขณะเดียวกันจะต้องเสริมสร้างพื้นฐานจิตใจของคนใน ชาติโดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักท ฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต และให้มีความรอบรู้ที่เหมาะสม ดาเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา
  • 3. และความรอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคมสิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็นอย่างดี เ ศ ร ษ ฐ กิ จ พ อ เ พี ย ง ใ น แ น ว ท า ง ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ เพื่อแก้ไขปัญหาการเกษตรเป็นแนวทางหรือหลักการในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ก า ร บ ริ ห า ร ง า น ใ น ก า ร ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ร ะ ดั บ ไ ร่ น า คื อ ที่ ดิ น แ ล ะ น้ า เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุดด้วยการจัดสรรการใช้ประโยชน์ในที่ดินโดยให้มีการจั ด ส ร้าง แ ห ล่ ง น้ าใน ที่ ดิน สา ห รับ ก าร ท าก า รเก ษ ต รแ บ บ ผ ส ม ผ สา น อ ย่ า ง ได้ผ ล เพื่อให้เกษตรกรมีความสามารถเลี้ยงตัวเองได้ ให้มีรายได้ไว้ใช้จ่ายและมีอาหารไว้บริโภคตลอดปี เป็นการพึ่งพาตนเองอย่างสมบูรณ์ จึงเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันให้แก่ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยการพัฒนาแบบองค์รวมที่ยึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนาและวิถีการพัฒนาอยู่บนพื้นฐานของ “ดุลยภาพเชิงพลวัต” ที่เชื่อมโยงทุกมิติอย่างบูรณาการ ทั้งมิติตัวคน สังคมและวัฒนธรรม เศรษฐกิจ สิ่งแว ดล้อม และการเมืองรวมทั้งความสมดุลระห ว่างมิติท างวัตถุกับ จิตใจของคนในช าติ ดังหลักการพึ่งตนเองตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนั้น จะต้องประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5 ด้าน คือ ด้านเทคโนโลยี (Technology: T), ด้านเศรษฐกิจ (Economic: E), ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม(Resource: R), ด้านจิตใจ (Mental: M), และด้านสังคมวัฒนธรรม (Social: S) ซึ่ ง ก ร ะ บ ว น ทั ศ น์ ก า ร พั ฒ น า ดั ง ก ล่ า ว นี้ จะเป็นภูมิคุ้มกันป ระเท ศให้สามารถป รับตัวพร้อมรับต่อการเป ลี่ยนแปลงและผลกระท บ จากความผันผวนของกระแสโลกาภิวัตน์ได้เป็นอย่างดี 1.2 วัตถุประสงค์ในการศึกษา 1) เพื่อศึกษา เรียนรู้ และทาความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษตรทฤษฏีใหม่ ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงข องเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ 1.3 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1) ทาให้ทราบและเกิดความเข้าใจในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษตรทฤษฏีใหม่ ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 2) ทาให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษ ตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ 1.4 ขอบเขตการวิจัย
  • 4. ก า ร ศึ ก ษ า วิ จั ย เ รื่ อ ง การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครง การเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่นี้ มุ่งประเด็นการศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัย 5 ด้านดังนี้ 1. ด้านเทคโนโลยี 2. ด้านเศรษฐกิจ 3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. ด้านจิตใจ 5. ด้านสังคม บทที่ 2 กรอบแนวคิด ทฤษฎี และผลงานการวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1 แนวคิด และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 2.1.1 แนวคิดปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ค ว า ม พ อ เ พี ย ง ห ม า ย ถึ ง ค ว า ม พ อ ป ร ะ ม า ณ ความมีเหตุผลรวมถึงความจาเป็นที่จะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวที่ดีพอสมควรต่อการมีผลกระทบ ใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน หลักการพึ่งตนเองประกอบไปด้วย 5 ด้าน 1) ด้าน จิต ใจ ท า ต น ให้ เป็ น ที่ พึ่ ง ต น เอ ง มี จิต ส า นึ ก ที่ ดี ด้ าน สัง ค ม แต่ละชุมชนต้องช่วยเหลือเกื้อกูลกัน 2) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้ใช้และจัดการอย่างฉลาด พร้อมทั้ง หาทางเพิ่มมูลค่า โดยให้ยึดอยู่บนหลักการของความยั่งยืน 3) ด้านเท ค โนโลยี ต้อง แย ก แย ะบ นพื้นฐานข องภูมิปัญ ญ าช าวบ้ านและ เลือกใช้เฉพาะที่สอดคล้องกับ ความต้องการ และสภาพแวดล้อม 4) ด้านเศรษฐกิจ จะต้องมุ่งลดรายจ่ายก่อน เป็นสาคัญ และยึดหลักพออยู่ พอกิน พอใช้ 5) ด้าน สัง ค ม แ ต่ ล ะชุ ม ช น ต้ อ ง ช่ ว ย เห ลือ เ กื้ อ กู ล กั น เชื่ อ ม โย ง กั น เป็นเครือข่ายชุมชนที่แข็งแรง เป็นอิสระ นัยสาคัญของแนวความคิดระบบเศรษฐกิจพอเพียง ประการแรก เป็นระบบเศรษฐกิจที่ยึดถือหลักการที่ว่า “ตนเป็นที่พึ่งแห่งตน” โดยมุ่งเน้นการผลิตพืชผลให้เพียงพอ กับความต้องการบริโภคในครัวเรือนเป็นอันดับแรก เมื่อเหลือพอจากการบริโภคแล้ว จึงคานึงถึงการผลิตเพื่อการค้าเป็นอันดับรองลงมา ประการที่สอง เศรษฐกิจแบบพอเพียงให้ความสาคัญกับการรวมกลุ่มของชาวบ้านทั้งนี้ กลุ่มชาวบ้านหรือองค์กรชาวบ้านจะทาหน้าที่เป็นผู้ดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจต่าง ๆ
  • 5. ให้หลากหลาย ครอบคลุมทั้งการเกษตรแบบผสมผสานหัตถกรรมการแปรรูปอาหาร การทาธุรกิจค้าขาย และการท่องเที่ยวระดับชุมชน ประการที่สาม เศรษฐกิจแบบพอเพียงตั้งอยู่บนพื้นฐานของการมีความเมตตา ความเอื้ออาทร และความสามัคคีของสมาชิกในชุมชนในการร่วมแรงร่วมใจ ความหมายเชิงทฤษฎี สามารถจาแนกองค์ประกอบของหลักปรัชญาฯ เป็น 5 ส่วนได้แก่กรอบแนวคิด คุณลักษณะ คานิยาม เงื่อนไข และแนวทางปฏิบัติรวมถึงผลที่คาดว่าจะได้รับจาก การนาหลักปรัชญาฯ ไปปฏิบัติ 2.1.2 ทฤษฎีใหม่ พระบ าท สมเด็จ พระเจ้าอยู่ หัว ท รงท ราบ สภ าพ ปัญ ห าก ารข าดแค ลนน้ า เพื่ อ ก า รป ลูก ข้ าว แล ะเ กิ ด แ รง ด ลพ ระร าช ห ฤ ทั ย อัน เป็ น แ น ว คิด ขึ้ น ว่ า ควรจะจัดการที่ดินและแหล่งน้า ในพื้นที่ของตน เกษตรกรไทยส่วนใหญ่มีพื้นที่ประมาณ 10- 15ไร่ ส าม าร ถ แ บ่ ง สัด ส่ ว น อ อ ก เป็ น 30-30-30-10 คื อ ส่ ว น แร ก : ร้อ ย ล ะ 30 ให้ ท าก ารขุ ด ส ระกั ก เก็ บ น้ าไว้ ใช้ ใน ก ารเพ า ะป ลู ก ส่ ว น ที่ สอ ง ร้อ ย ละ 60 เป็นพื้นที่ทาการเกษตรปลูกพืชผลต่าง ๆโดยแบ่งพื้นที่นี้ออกเป็น 2 ส่วน สาหรับทานา และปลูกพืชไร่หรือพืชสวนตามแต่สภาพของพื้นที่และภาวะตลาด ส่วนที่สาม: ร้อยละ 10 จัดเป็นที่อยู่อาศัย ถนนหนทาง คันคูดินหรือคูคลอง ตลอดจน ปลูกพืชสวนครัวและเลี้ยงสัตว์ 2.1.3 ทฤษฎีการพึ่งตนเอง (Theory of Self - Reliance) เป็นการพยามที่จะลดภาระการช่วยเหลือต่างๆจากนอกชุมชนการพึ่งตนเองจึงก่อให้เกิดคว า ม เ ป็ น เ อ ก ร า ช ใ น ท า ง เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ก า ร เ มื อ ง และสังคมความเป็นอิสระในวิถีชีวิตและวัฒนธรรมของประเทศหรือชุมชนแนวคิดของการพึ่งตนเอง สถาบันวิจัยสังคม จุฬ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย ให้ความหมายของการพึ่งตนเองว่า 1. เ ป็ น ค ว า ม ส า ม า ร ถ ที่ เ ป็ น ตั ว ข อ ง ตั ว เ อ ง ใ น ท า ง ค ว า ม คิ ด 2. ในการตัดสินใจดาเนินการโดยสถาบันของชุมชนหรือองค์กรชุมชนเพื่อประโยชน์ของชุมชนทั้งในด้ าน ก าร แ ก้ ปั ญ ห า แ ล ะ ใน ด้ า น ก า ร พั ฒ น า ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ข อ ง ชุ ม ช น 3. เป็นการพึ่งตนเองที่ไม่นาไป สู่การพึ่งพาเป็ นการพึ่งพาอาศัย กันอย่างรู้เท่าทัน 4. กรอบการมองจะต้องไม่มุ่งแข่งขันกันหรือไม่มุ่งครอบงาเหนือกว่าแต่เป็นการสู่ความเป็นไทต่อกัน ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน
  • 6. สถ าบั นวิท ย าศ าสตร์และเท ค โนโลยีแห่ ง ป ระเท ศ ไท ย (2538: (2) 4 – 5) ได้ทาการกาหนดกรอบความคิดว่าชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้จะต้องประกอบด้วยการพึ่งตนเอง 5 ด้าน 1) ด้านเทคโนโลยี (Technology: T) 2) ด้านเศรษฐกิจ (Economic: E) 3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (Resource: R) 4) ด้านจิตใจ (Mental: M) 5) ด้านสังคมวัฒนธรรม (Social: S) ก ล่ าว ได้ว่ าก ารพึ่ ง ต น เอง ที่ ป ร ะ ก อบ ด้ว ย ปั จ จัย 5 ป ระเภ ท นั้น เป็ น การพึ่งตนเองอย่างสมบูรณ์ แต่การพึ่งตนเองนี้ประกอบขึ้นมาด้วยการพึ่งตนเองบางส่วน การพึ่งตนเองด้านใดด้านหนึ่งอย่าง สมบูรณ์นั้น จะต้องอาศัยปัจจัยอีก 4 ประการ นั่นคือ การพึ่งตนเองท างเศ รษฐกิจข องสังค มไท ย จะต้องอาศัยการพึ่งตนเองท างจิตใจ สังคมวัฒนธรรมเทคโนโลยี และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติด้วย 2.1.4 แนวคิดการพัฒนาการพึ่งตนเอง 1) การพึ่งตนเองกับมาอยู่ในองค์ความรู้ในพุทธศาสนา 2) ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง ใ น แ น ว ที่ ป ร ะ ช า ช น เ ส น อ เพิ่มหลักในการมองทางออกที่ไม่โถมตัวเข้าหาระบบเศรษฐกิจแบบบริโภคนิยม หากเสนอให้เสริมแนวการลดละ 3) ช า ว บ้ าน เ ส น อ ให้ ส ร้าง เ งื่ อ น ไข ก า ร พึ่ ง ต น เ อ ง แ บ บ ค ร บ ว ง จ ร คือเปลี่ยนฐานการผลิตจากข้าว ไปกระจายความเสี่ยงในเรื่องไร่นาสวนผสม 2.1.5 ทฤษฎีเกี่ยวกับการมีส่วนร่วม (Participation) การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนานั้น คือการให้โอกาส ประชานเป็นฝ่ายตัดสินใจ กาห นดปัญ ห าค วามต้องก ารข องตนเองอย่ างแท้จ ริงเป็ นก ารเสริมพลังอานาจ ให้แก่ประชาชน/กลุ่ม/องค์กรชุมชนให้สามารถระดมขีดความสามารถในการจัดการทรัพยากร การตัดสินใจ และควบคุมดูแลกิจกรรมต่าง ๆ ในชุมชน 2.1.6 แ น ว คิ ด ท ฤ ษ ฎี ก า ร พั ฒ น า ที่ ยั่ ง ยื น (Sustainable Development) การพัฒนาควรจะมีลักษณะที่สาคัญ 3 ประการคือ 1) เป็นโครงการขนาดเล็กที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของภูมิปัญญาท้องถิ่น
  • 7. 2) มีความสอดคล้องกับระบบนิเวศน์ท้องถิ่น 3) ประชาชนต้องมีส่วนร่วมในการพัฒนา 2.1.7 แนวคิดทฤษฎีการพัฒนาแนววัฒนธรรมชุมชน ก า ร มี อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น อั น เ กิ ด จ า ก ก า ร ร ว ม ตั ว ข อ ง ช า ว บ้ า น ทาให้ชาวบ้านมีศักยภาพในการท างานที่สูงขึ้น จะท าให้เกิดพลังในการแก้ปัญ ห า ซึ่งถือเป็นทุนทางสังคม ไม่ให้ความสาคัญแก่บทบาทของ ภาครัฐ แต่เน้นการพึ่งตนเอง และผสานการพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรม และอุดมการณ์/ความเชื่อสูงสุดของชุมชน โด ย สาม ารถ สรุป ส าระสาคัญ เกี่ ย ว กั บ ยุ ท ธ ศ าสต ร์ชุ มช น ท้ อ ง ถิ่นพั ฒ น า หรือการพัฒนาด้วยวัฒนธรรมชุมชนไว้ 6 ประการ คือ 1) เน้นการพึ่งตนเอง 2) การเปลี่ยนแบบแผนการผลิต จากการผลิตเชิงพาณิชย์ มาเป็นการผลิตเพื่อยังชีพ 3) การพัฒนาบนพื้นฐานของวัฒนธรรมที่ดีงามของชุมชน 4) การให้ความสาคัญแก่ภูมิปัญญาชาวบ้าน 5) ก า ร ส ร้ า ง ค ว า ม เ ข้ ม แ ข็ ง ใ ห้ กั บ อ ง ค์ ก ร ชุ ม ช น เพื่อให้ชาวบ้านมีพลังอานาจต่อรองกับภาคการเมือง และภาคธุรกิจได้ 6) สิทธิชุมชนในการจัดการทรัพยากรท้องถิ่น 2.2 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จ า ก ห ล า ย ๆ ง า น วิ จั ย เ กี่ ย ว กั บ เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฏี ใ ห ม่ ท า ให้ เ ห็ น ไ ด้ ว่ า เ ก ษ ต ร ก ร ส่ ว น ใ ห ญ่ นั้ น มี ค ว า ม เ ป็ น อ ยู่ ที่ ดี ขึ้ น โดยดูได้จากผลกาไรก่อนที่จะทาเกษตรทฤษฏีใหม่เปรียบเทียบกับ หลังทาเกษตรทฤษฏีใหม่ มีผลผลิตที่หลากหลายมากขึ้น แต่ก็มีเกษตรกรบางส่วนที่ไม่เห็นด้วยหรือประสบปัญหา เช่น ก า ร ใ ห้ ค ว า ม รู้ เ กี่ ย ว เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฏี ใ ห ม่ ยั ง ไ ม่ ชั ด เ จ น รวมไปถึงภูมิประเทศไม่เอื้ออานวยแก่การทาเกษตรทฤษฏีใหม่ 2.3 กรอบแนวคิดที่ใช้ในการศึกษา
  • 8. บทที่ 3 ระเบียบวิธีการวิจัย 3.1 วิธีการศึกษา การศึกษาค้นคว้าแบบอิสระ เรื่อง การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงให ม่ มีประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ สานั ก ง าน เก ษ ต รแล ะส ห ก รณ์ จัง ห วั ด เชี ย ง ให ม่ ได้เลือก ตัว อ ย่ าง ใน ก าร ท าวิ จัย โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง จากเกษตรกรโครงการฯ จานวน 64 ราย และ ทาการรวบรวมข้อมูลที่จะทาการศึกษาจากแหล่งข้อมูล 2 แหล่ง คือ 1) ป ฐม ภู มิ ( Primary Data) ใช้ แ บ บ ส อบ ถ าม แล ะสัม ภ าษ ณ์ เก ษ ต รก รโค รง ก า ร ซึ่ง แ บ บ ส อ บ ถ าม จ ะเป็ น เ ค รื่อ ง มื อ ที่ ใช้ ใน ก าร วิจัย แ ล ะเ ป็ น ตัว ค ว บ คุ ม ทิ ศ ท า ง เป้าหมายของการสัมภาษณ์เพื่อให้ได้มาซึ่งข้อมูลที่เป็นรูปธรรม เพื่อนามาวิเคราะห์ทางเชิงสถิติพรรณนา (Descriptive statistics) 2) ทุติย ภูมิ (Secondary Data) ได้แก่ ข้อมูลท างวิช าการจากห น่ วย งานที่รับ ผิดชอบ (สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงใหม่) งานวิจัยและวิทยานิพนธ์หนังสือ บทความ สื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ และข้อมูลจากสิ่งพิมพ์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Sources)จากระบบ E-Theses และ E-Research 3.2 วิเคราะห์ข้อมูล
  • 9. ในการศึกษาวิจัยนี้ได้แบ่งวิธีการวิเคราะห์ข้อมูล เป็น 2 ขั้นตอน คือ 1) นาข้อมูลทั่วไปของเกษตรกรโครงการฯ ประมวลผลเบื้องต้น โดยวิธีการวิเคราะห์แบบพรรณนา ( Descriptive Analysis) แ ล ะ ก า ร ใช้ ม า ต ร วั ด แ บ บ Rating Scale ต า ม วิ ธี ข อ ง Likert โดยการแบ่งระดับความสาคัญออกเป็น 5 ระดับ คือ ระดับความสาคัญมากที่สุด มีค่าเท่ากับ 5 ระดับความสาคัญมาก มีค่าเท่ากับ 4 ระดับความสาคัญปานกลาง มีค่าเท่ากับ 3 ระดับความสาคัญน้อย มีค่าเท่ากับ 2 ระดับความสาคัญน้อยที่สุด มีค่าเท่ากับ 1 แ ล ะ น า ผ ล ร ว ม ม า ห า ค่ า เ ฉ ลี่ ย แล้วจึงนาเปรียบเทียบกับการแปลความหมายระดับคะแนนโดยใช้เป็นเกณฑ์ช่วงคะแนนเฉลี่ย ดังนี้ ระดับคะแนนเฉลี่ย 4.21 – 5.00 หมายถึง มากที่สุด ระดับคะแนนเฉลี่ย 3.41 – 4.20 หมายถึง มาก ระดับคะแนนเฉลี่ย 2.61 – 3.40 หมายถึง ปานกลาง ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.81 – 2.60 หมายถึง น้อย ระดับคะแนนเฉลี่ย 1.00 – 1.80 หมายถึง น้อยที่สุด 2) ทาการทดสอบสมมุติฐานของการศึกษาวิจัยโดยทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรอิสระ 5 ตัวแปร ได้แก่ เท ค โนโลยี เศ รษฐกิจ ท รัพย ากรธรรม ช าติและสิ่ง แว ดล้อม จิตใจ และสังค ม แ ส ด ง ใ ห้ เ ห็ น ว่ า เ ป็ น ปั จ จั ย ที่ มี ผ ล ต่ อ ตั ว แ ป ร ต า ม คื อ ความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ โดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ความถดถอยโลจิสติค (Logistic Regression Analysis) เนื่องจากตัวแป รอิสระมีจานวนตั้งแต่ 2 ตัวขึ้นไป จึงเรียกว่ า ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ถ ด ถ อ ย โ ล จิ ส ติ ค พ หุ ( Multiple Logistic Regression) และตัวแปรตามเป็นตัวแปรเชิงคุณภาพที่มีค่าได้เพียง 2 ค่า คือ สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือ ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ดังนั้น ตัวแปรจึงมีการแทนค่าเป็น 1 ในกรณีที่สามารถพึ่งพาตนเองได้ หรือเป็น 0 ในกรณีที่ไม่สามารถพึ่งพาตนเองได้ ดังนั้น รูปสมการที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ P (Y) = f(TECHNOLOGY, ECONOMIC, RESOURCE, MENTAL, SOCIAL) Xi’ß = ß0 + ß1TECHNOLOGY + ß2ECONOMIC + ß3RESOURCE + ß4MENTAL + ß5SOCIAL โดยจะใช้แบบจาลอง Logit model แสดงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรตามและตัวแปรอิสระเป็น สมการดังนี้
  • 10. P (Y) = P f(A) EY = Ef (A1 ... A16) Y = ß 0 + ß 1 A1 + ß 2 A2 +........... + ß n A16 + ui โดยที่ A คือตัวแปรต่างๆเช่น T (เทคโนโลยี), E (เศรษฐกิจ) r (ทรัพยากร), M (จิตใจ), S (สังคม) ตั ว แ ป ร ต่ า ง ๆ อ า จ มี ม า ก ก ว่ า 1อ ย่ า ง เ ช่ น T( เ ท ค โ น โ ล ยี ) T1 ห ม า ย ถึ ง การรู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่,T2 หมายถึง ได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ ฯลฯ,T3 หมายถึง ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่,T4 หมายถึง ได้ไปทัศนาศึกษา/ดูงาน ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นต้น ตัวแปรอื่นๆก็เช่นเดียวกัน เมื่อ P (Y) เป็นตัวแป รตาม (Dependent Variable) และ Y หมายถึง โอกาสที่เกษตรกรโครงการฯ จะสามารถในการพึ่งพาตนเองได้ โดย Y = 1 เมื่อ เกษตรกรโครงการฯ มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ = 0 เมื่อ เกษตรกรโครงการฯ ไม่มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ ตัวแปรตาม Y มีค่าได้เพียง 2 ค่า คือ 0 หรือ 1 ดังนั้น ตัวแปรตาม Y จะมีการแจกแจงแบบเบอร์นูลี (Bernoulli distribution) ที่มีความน่าจะเป็น P ตัวแปรอิสระ (Independent Variable) ที่คาดว่าเป็นปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพา ตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ได้แก่ X1 = TECHNOLOGY หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยี ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยี = 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเทคโนโลยี X2 = ECONOMIC หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเศรษฐกิจ ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเศรษฐกิจ = 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านเศรษฐกิจ X3 = RESOURCE หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้าน ทรัพยากรธรรมชาติฯ
  • 11. = 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านทรัพยา กรธรรมชาติ X4 = MENTAL หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านจิตใจ ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านจิตใจ = 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านจิตใจ X5 = SOCIAL หมายถึง ความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านสังคม ถ้า = 1 มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านสังคม = 0 ไม่มีความสามารถในการพึ่งพาตนเองด้านสังคม ก า ร ท ด ส อ บ ค่ า ß0 , ß1 …ß5 ที่ ไ ด้ จ า ก ก า ร ค า น ว ณ ใน ตั ว แ ป ร อิ ส ร ะ ต้องมีค่าไม่เท่ ากับ ศู นย์อย่ างมีนั ย สาคัญ ท าง สถิติ เนื่ องจาก ห ากค่า ß = 0 แสดง ว่ า ตัว แป รอิสระไม่สามารถ อธิบ าย การมีผลต่อตัว แป รต าม ได้ ห าก ค่า ß ≠ 0 แสด งว่ า ตัวแปรอิสระสามารถอธิบายการมีผลต่อตัวแปรตามได้ ในการทดสอบจะใช้แบบจาลองโลจิท (Logit Model) มาทาการทดสอบ โดยมีสมมติฐานคือ ปัจจัยด้านเทคโนโลยี H0: ปัจจัยความสามารถด้านเทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ H1: ปัจจัยความสามารถด้านเทคโนโลยีไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ H0: ปัจจัยความสามารถด้านเศรษฐกิจมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ H1: ปัจจัยความสามารถด้านเศรษฐกิจไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม H0 : ปัจจัยความสามารถด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรก รโครงการฯ
  • 12. H1 : ปัจจัยความสามารถด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษต รกรโครงการฯ ปัจจัยด้านจิตใจ H0: ปัจจัยความสามารถด้านจิตใจมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ H1: ปัจจัยความสามารถด้านจิตใจไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ปัจจัยด้านสังคม H0: ปัจจัยความสามารถด้านสังคมมีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ H1: ปัจจัยความสามารถด้านสังคมไม่มีความสัมพันธ์กับการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ บทที่ 4 ผลการศึกษา ก า ร ศึ ก ษ า เ รื่ อ ง ปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา เรียนรู้ และทาความเข้าใจ ในหลักเศรษฐกิจพอเพียงและการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ตามแนวพระราชดาริของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว การรวบรวมข้อมูลได้มาจากการใช้แบบสอบถาม ประกอบการสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่าง จานวน 64 ราย และนาข้อมูลมาวิเคราะห์ โดยจาแนกผลการศึกษาออกเป็น 4 ส่วน ดังนี้ ส่วนที่1 ข้อมูลพื้นฐานส่วนบุคคลของกลุ่มตัวอย่าง
  • 13. เป็นการสารวจข้อมูลขึ้นพื้นฐานของกลุ่มตัวอย่างทั้ง 64 คน ที่จะแสดงให้เห็นกลุ่มของเพศ อายุ ก า ร ศึ ก ษ า ส ถ า น ภ า พ ส ม ร ส จ า น ว น ส ม า ชิ ก ใน ค ร อ บ ค รัว จ า น ว น บุ ต ร จาน ว น ส ม าชิ ก ใน ค ร อบ ค รัว ที่ เป็ น เก ษ ต รก ร อา ชี พ ก่ อน ท าเก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ให ม่ ปัญหาที่พอก่อนทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ภูมิลาเนาเดิม พื้นที่ถือครองที่ดิน เอกสารกรรมสิทธิ์ถือครองที่ดิน พื้ น ที่ ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ปี ที่ เ ริ่ ม ท า เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ บ้านพักอาศัยอยู่ ในพื้นที่เดียว กันกับ การทาเกษตรฯ มีการจัดสรรพื้นที่ตามห ลักเกษตรฯ แ ล ะ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ท า เ ก ษ ต ร ท ฤ ษ ฎี ใ ห ม่ ต่ อ ไ ป เมื่อได้ข้อมูลครบทั้งหมดนั้นจะนามาทาการแสดงด้วยตารางแจกแจงความถี่และร้อยละเปอร์เซ็นต์ของข้อมูล เพื่อวิเคราะห์ข้อมูล ส่วนที่2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูลแบบจาลองโลจิก โดยเทคนิควิธีการวิเคราะห์การประมาณภาวะความน่าจะเป็นสูงสุดเพื่ออธิบายโอกาสความน่าจะเป็ นของความสามารถในการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงสามารถแยกวิธีการได้มาซึ่งผลคานวณ 5 ส่วนดังนี้ 1) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี=X1 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ=X2 3) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติ=X3 4) ปัจจัยด้านจิตใจ=X4 5) ปัจจัยด้านสังคม=X5 ซึ่ ง ใ ช้ วิ ธี ก า ร ข อ ง Maximum likelihood estimate วิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละด้านปัจจัยที่ได้ออกมาเป็นร้อยละเปอร์เซ็นต์โดยจะเป็นถึงนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับค วามเชื่อถือของข้อมูล ส่วนที่3 การทดสอบสมมุติฐานของการวิจัย การใช้สมการฟังก์ชั่นในการวิเคราะห์ปัจจัยทั้ง5ด้านตามที่ได้เก็บข้อมูลจากส่วนที่2 เพื่อมาทาการวิเคราะห์สมมุติฐานทั้ง5ด้าน โดยใช้สมการฟังก์ชั้นต่อไปนี้ ถ้า H1:b0 =/ 0 คือ เกษตรกรโครงการฯมีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ถ้า H1:b0 = 0 คือ เกษตรกรโครงการฯไม่มีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองได้ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง PY = Pf(Xn)
  • 14. H1 = Y-Ef(Xn2-Xnm) ทาการหาค่าทั้งหมดโดยใช้ปัจจัยทั้ง5ด้านโดยการคานวณหาค่าในแต่ละด้านเพื่อดูความเป็นไปได้ว่า เกษตรโครงการฯมีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงได้หรือไม่ จากการคานวณนั้นจะเห็นได้ว่าค่าของข้อมูลในปัจจัยทั้ง5ด้านนั้นมีค่าไม่เท่ากับศูนย์เลยสักด้าน ซึ่งจะแสดงให้เห็นว่าเกษตรกรโครงการฯมีโอกาสที่จะสามารถพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงโดยมี ปัจจัยทั้ง5ด้านที่เป็นสิ่งผลักดัน ส่ ว น ที่ 4 สรุปปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯโดยการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบ จ ะ ใ ช้ ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ เ ชิ ง พ ร ร ณ น า ก า ร ห า ค่ า เ ฉ ลี่ ย อ ย่ า ง ง่ า ย เปรียบเทียบอัตราส่วนระหว่างข้อมูลเชิงสถิติที่ใช้ในการอ้างอิงและข้อมูลที่ได้จากการศึกษาและเปรียบเทียบ กับเกณฑ์ช่วงคะแนนเฉลี่ยโดยนาปัจจัยทั้ง 5 ด้านมาทาการสรุปเปรียบเทียบ ดังนี้ 1) ปัจจัยด้านเทคโนโลยี อธิบายได้ว่า เกษตรกรนั้นสามารถรับรู้ข่าวสารข้อมูลด้านเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นอย่างดี ใช้ พื้น ที่ ท าก ารเ ก ษ ต รอ ย่ าง เห ม าะส ม เรีย น รู้ที่ จ ะใช้ เค รื่อ ง มือ ได้อ ย่ าง ถู ก ต้อ ง มีเทคนิคใหม่ๆเพื่อให้ได้ผลผลิตที่ดีขึ้น มีการใช้ปุ๋ยทางธรรมชาติแทนปุ๋ยเคมี 2) ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ มีผลผลิตที่เพีย งพอตลอดปี เสริมด้ว ย การป ลูก ไม้ผลเพิ่มราย ได้ข องค รัว เรือน โดยมีหน่วยงานรัฐบาลสนับสนุนทางการเงินและจัดการระบบกู้ และมีการเปรียบเทียบรายได้ ค่าใช้จ่าย และผลผลิตข้าวกับเมื่ออดีตจะพบว่าการใช้หลักการเศรษฐกิจพอเพียงให้ผลที่ดีขึ้นเรื่อยๆ 3) ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เ ก ษ ต ร ก ร มี ส ร ะ น้ า ใ น พื้ น ที่ ท า ก า ร เ ก ษ ต ร ก ร ร ม ข อ ง ตั ว เ อ ง ทาให้ไม่มีปัญหาในการหาแหล่งน้าและการปลูกไม้ผลเพื่อช่วยยืดขอบดินรอบสระน้าอีกด้วย อีกทั้งฝังกลบขยะที่เป็นเศษวัสดุธรรมชาติเพื่อให้เป็นปุ๋ยแก่ดิน 4) ปัจจัยด้านจิตใจ
  • 15. เกษตรกรมีการร่วมงานภายในชุมชนและครอบครัว มีการแบ่งปันซึ่งกันและกันภายในชุมชน ทาให้เกษตรกรมีพื้นฐานที่ดี ส่งผลให้สภาวะทางด้านจิตใจดีขึ้นและปราศจากอบายมุขต่างๆ 5) ปัจจัยด้านสังคม ทั้งตัวเกษตรกรและเจ้าหน้าที่ได้มีการตั้งกลุ่มให้มีส่วนร่วมช่วยกันในการทาการเกษตร เพื่อช่วยเพิ่มพลังการต่อรองด้านการตลาดได้มากขึ้น บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาและข้อเสนอแนะ 5.1 สรุปผลการศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการพึ่งพาตนเองตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงของเกษตรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจัง หวัดเชียงใหม่ที่ตั้งเป็นสมมุติฐานและนามาคานวณจากแบบจาลองโลจิท (Logit Model) คือ
  • 16. ปัจจัยด้านเทคโนโลยีมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านเศรษฐกิจมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.01, ปัจจัยด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05, ปัจจัยด้านจิตใจมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.05 และปัจจัยด้านสังคมมีผลต่อการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรโครงการฯ ณ ระดับนัยสาคัญ เท่ากับ 0.10 5.2 ข้อเสนอแนะสาหรับการศึกษาครั้งต่อไป การทาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาข้อมูลจากกลุ่มเกษตรกรโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ในจังหวัดเชียงใหม่ จากกลุ่มตัวอย่างจานวน 64 รายจากเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการฯ ในจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งหมด 303 ราย จาก 8 อาเภ อในจัง ห วัดเชี ย ง ให ม่ ซึ่งถือว่ าเป็ น จาน ว นตัว อย่ าง ที่ ค่อนข้ างจะน้อ ย แ ต่ เ นื่ อ ง จ า ก มี ค ว า ม จ า กั ด ด้ า น เ ว ล า แ ล ะ พื้ น ที่ ใน ก า ร เก็ บ ร ว บ ร ว ม ข้ อ มู ล แต่ผู้วิจัยได้พยายามกระจายพื้นที่ในการเก็บข้อมูลในหลายอาเภอเพื่อการแจกแจงข้อมูลที่มีความแตกต่างใ นด้านพื้นที่มากขึ้น หากมีผู้สนใจที่จะศึกษาเรื่องนี้ต่อไปควรมีระยะเวลาในการทาการศึกษาที่มากขึ้น และควรเพิ่มจานวนตัวอย่างที่มีความแตกต่างและหลากหลายในด้านพื้นที่ให้มากขึ้น ความเชื่อมโยงระหว่างสาระสาคัญของการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสามารถในการพึ่งพาตนเอง ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดเชียงใหม่กับแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงตามทฤษฏีของในหลวง
  • 17. เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทร์รมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ พ.ศ. 2517 เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2540 เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขวิกฤตการณ์ทางการเงินในเอเชีย พ.ศ. 2540 ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ[ต้องการอ้างอิง] โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรนอกภาครัฐจานวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจ และสาขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9และได้จัดทาเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542 โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ ยวข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืนโดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสต ร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อตั้งคาถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
  • 18. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3 ห่วง 2 เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม" 3 ห่วง คือทางสายกลาง ประกอบไปด้วย พอประมาณ หมายถึง พอประมาณในทุกอย่าง ความพอดีไม่มากหรือว่าน้อยจนเกินไปโดยต้องไม่เบียดเบียนตนเอง หรือผู้อื่นให้เดือดร้อน มีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็นไปอย่างมีเหตุผลโดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทานั้นๆ อย่างรอบคอบ มีภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวเอง หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านการต่างๆ ที่จะเกิดขึ้นโดยคานึงถึงความเป็นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้และไกล 2 เงื่อนไข ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ได้แก่ เงื่อนไขที่ 1 เงื่อนไขความรู้ คือ มีความรอบรู้เกี่ยวกับ วิชาการต่างๆที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่จะนาความรู้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการ วางแผน และความระมัดระวังในขั้นตอนปฏิบัติ คุณธรรมประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริต และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต เงื่อนไขที่ 2 เงื่อนไขคุณธรรม คือ มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน และถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวิต
  • 19. เศรษฐกิจพอเพียงความหมายกว้างกว่าทฤษฎีใหม่ โดยที่เศรษฐกิจพอเพียงเป็นกรอบแนวคิดที่ชี้บอกหลักการ และแนวทางปฏิบัติของทฤษฎีใหม่ ในขณะที่ แนวพระราชดาริเกี่ยวกับทฤษฎีใหม่ หรือเกษตรทฤษฎีใหม่ ซึ่งเป็นแนวทางการพัฒนาการเกษตรอย่างเป็นขั้นตอนนั้น เป็นตัวอย่างการใช้หลักเศรษฐกิจพอเพียงในทางปฏิบัติ ที่เป็นรูปธรรม เฉพาะในพื้นที่ที่เหมาะสม ทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ อาจเปรียบเทียบกับหลักเศรษฐกิจพอเพียง ซึ่งมีอยู่ 2 แบบ คือ แบบพื้นฐาน กับ แบบก้าวหน้า ได้ดังนี้ความพอเพียงในระดับบุคคล และครอบครัว โดยเฉพาะเกษตรกรเป็นเศรษฐกิจพอเพียงแบบพื้นฐาน เทียบได้กับทฤษฎีใหม่ ทฤษฎีใหม่ขั้นต้น ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็น 4 ส่วน ตามอัตราส่วน 30:30:30:10 ซึ่งหมายถึง พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ 30% ให้ขุดสระเก็บกักน้าเพื่อใช้เก็บกักน้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริมการปลูกพืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชน้าต่างๆ พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ 30% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็นอาหารประจาวันสาหรับครอบครัวให้เพียงพอตลอดปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้ พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ 30% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยืนต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็นอาหารประจาวัน หากเหลือบริโภคก็นาไปจาหน่าย พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ 10% เป็นที่อยู่อาศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรือนอื่นๆ ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สอง เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบัติในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ต้องเริ่มขั้นที่สอง คือให้เกษตรกรรวมพลังกันในรูป กลุ่ม หรือ สหกรณ์ ร่วมแรงร่วมใจกันดาเนินการในด้าน 1. การผลิต (พันธุ์พืช เตรียมดิน ชลประทาน ฯลฯ) 2. การตลาด (ลานตากข้าว ยุ้ง เครื่องสีข้าว การจาหน่าย) 3. การเป็นอยู่ (กะปิ น้าปลา อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ฯลฯ) 4. สวัสดิการ (สาธารณสุข เงินกู้) 5. การศึกษา (โรงเรียน ทุนการศึกษา) 6. สังคมและศาสนา ทฤษฎีใหม่ขั้นที่สาม เมื่อดาเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรือกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ขั้นที่สามต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรือแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรือบริษัท ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ ทั้งฝ่ายเกษตรกรและฝ่ายธนาคาร หรือบริษัทเอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ - เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสูง (ไม่ถูกกดราคา) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชนสามารถซื้อข้าวบริโภคในราคาต่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกรและมาสีเอง)
  • 20. - เกษตรกรซื้อเครื่องอุปโภคบริโภคได้ในราคาต่า เพราะรวมกันซื้อเป็นจานวนมาก (เป็นร้านสหกรณ์ราคาขายส่ง) - ธนาคารหรือบริษัทเอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดาเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้เกิดผลดียิ่งขึ้น ก่อนจะเกิดการรวมกลุ่มของเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม่ส่วนใหญ่ทาการเกษตรกระแสหลักมาก่อน ซึ่งประสบปัญหาดังนี้ - ราคาผลผลิตไม่แน่นอน ร้อยละ 89.06 - ปัญหาปัจจัยการผลิตราคาสูง ร้อยละ 68.75 - การขาดเงินทุนสนับสนุน ร้อยละ 60.94 - สภาพดินฟ้าอากาศแปรปรวน ร้อยละ 29.69 - ศัตรูพืช / โรคพืช ระบาด ร้อยละ 25.00 - ขาดความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตร ร้อยละ 23.44 - การขาดแคลนน้าในการเกษตร ร้อยละ 15.625 - ขาดแคลนแรงงาน ร้อยละ 15.625 ซึ่งหลังจากการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ส่วนใหญ่เริ่มตั้งแต่ พ.ศ. 2542 นั้นพบว่า มีอัตราผลผลิตข้าวที่ได้รับเฉลี่ย/ไร่ จะเห็นว่าเกษตรกรโครงการฯ มีผลผลิตข้าวเฉลี่ย/ไร่ ในอัตราที่สูงกว่าค่าเฉลี่ยทั่วประเทศ ทาให้สามารถนามาบริโภคภายในครัวเรือนได้อย่างเพียงพอ สอดคล้องกับผลของความสามารถในการผลิตข้าวที่ได้เพียงพอต่อการบริโภคในครัวเรือนตลอดปี ซึ่งอยู่ในระดับมาก การลดรายจ่ายที่ไม่จาเป็นต่อการดาเนินชีวิต และการปลูกไม้ผล เพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน อยู่ในระดับดีมาก ซึ่ง 3 ประเด็นนี้ก็เป็นสิ่งที่สนับสนุนให้เกิดโอกาสในการพึ่งพาตนเองของเกษตรกรได้เป็นอย่างดี จากผลสารวจจะเห็นว่าเกษตรกร มีการใช้หลังการ 3 ห่วงสองเงือนไขในการดารงชีวิตดังนี้ การพอประมาณ - เกษตรกรมีการคิดและประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้จากวัสดุเหลือใช้ทั่วไปด้วยตนเอง ทาให้สามารถ - ลดค่าใช่จ่ายในการซื้ออุปกรณ์ในส่วนนั้น ทาให้ต้นทุนในการผลิตลดลงมีกาไรที่ได้จากผลผลิตมากขึ้น
  • 21. - แหล่งเงินทุนที่นามาใช้ในการทาเกษตรทฤษฎีใหม่เป็นของตนเอง เมื่อทาเกษตรทฤษฏีใหม่ไม่จาเป็นจะต้องมีการลงทุนที่สูงเนื่องจาก เครื่องมือเครื่องใช้ รวมไปถึง ปุ๋ย สามารถที่จะทาขึ้นเองได้ทาให้ไม่ต้องไป กู้เงินจากแหล่งเงินทุนภายนอกครัวเรือน ทาให้มีกาไรมากขึ้นจากการที่ไม่ต้องเสียเงินค่าดอกเบี้ยให้กับแหล่งเงินทุนภายนอก - ปลูกพืชผักสวนครัวเพื่อบริโภคในครัวเรือน ทาให้สามารถที่จะลดรายจ่ายที่ใช้ในการดารงชีพลงไป และยังสามารถหลีกเลี่ยงอันตรายที่เกิดจากยาฆ่าแมลง - ผลผลิตจากการเลี้ยงสัตว์ นามาบริโภคในครัวเรือนทาให้สามารถที่จะลดรายจ่ายที่ใช้ในการดารงชีพลงไป - มีการทาลายขยะที่เป็นเศษวัสดุจากธรรมชาติ โดยการฝังกลบเพื่อใช้เป็นปุ๋ยธรรมชาติทาให้สามรถลดขยะที่มีและยังสามารถลดต้นทุนในการเ พาะปลูก เนื่องจากจะทาให้สามารถที่จะลดปริมาณของปุ๋ยที่จะต้องซื้อ และยังเป็นการลดการใช้สารเคมีในการเพาะปลูก - การสร้างผลผลิตจากพื้นๆที่มีอยู่ซึ่งเป็นทุนเดิมที่มี โดยในพื้นที่ๆมีสามารถทาให้ดารงชีพอย่างพอเพียง ไม่มีการทาอะไรที่เกินตัว ทาให้ไม่จาเป็นต้องไปกู้เงินจากภายนอกมาลงทุนในการซื้อวัตถุดิบ ที่ดิน หรือการจ้างแรงงานทาให้ลดความเสี่ยงในการลงทุน - การเพาะปลูก ในปริมาณที่เหมาะสม โดยหากมีการเพาะปลูกที่เหมาะสมแล้วจะทาให้ไม่เกิดปัญหาในการ บริหารจัดการทรัพยากรต่างๆ เช่น การบริหารน้าให้สามารถใช้ได้ตลอดทั้งปี จะทาให้ผลผลิตที่ได้ไม่เกิดความเสียหายจากการขาดน้าเป็นต้น - การเลี้ยงสัตว์ในปริมาณที่เหมาะสม โดยการเลี้ยงสัตว์ในปริมาณที่เหมาะสมนั้นจะทาให้ต้นทุนที่เกิดขึ้นจากอาหารสัตว์มีน้อยหรืออา จจะไม่มีเลยเนื่องจาก อาหารของสัตว์บางชนิดเกษตรกร สามารถที่จะหาได้จากธรรมชาติ หรือ พืชที่เกษตรกรได้ทาการเพาะปลูกแล้วไม่สามารถนาไปบริโภคหรือนาไปขายได้ - การไม่ใช้สารเคมีในการเร่งการเจริญเติมโตของพืชเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร การมีเหตุผล - มีการหมุนเวียนเพาะปลูก พืชที่ให้ผลผลิตได้ตลอดทั้งปีเพื่อที่จะใช้สาหรับ ดารงชีพให้ได้ตลอดทั้งปีโดยไม่จาเป็นต้องไปซื้อของกินจากแหล่งซื้อขายตามตลาดซึ่งจะเป็นกา รลดต้นทุนในการดารงชีพ
  • 22. - การเลือกเพาะปลูกพืชที่มีความแข็งแรงและให้ผลผลิตสูง เพื่อที่จะลดภาระในการดูแลและประหยัดเวลา รวมไปถึงทรัพยากรคนที่ใช้ในการดูแล - มีการเลือกพืชที่ทาการเพาะปลูกให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม เพื่อที่จะให้พืชนั้นออกผลผลิตได้สูงสุด - มีการวางแผนการจัดการระบบน้าที่ใช้สาหรับการเพาะปลูกรวมไปถึงการเลี้ยงสัตว์ให้มีความเห มาะสมกับพืช และมีการสารองน้าในปริมาณที่เหมาะสมเพื่อป้องกันการล้มตายของพืช ที่ได้ทาการเพาะปลูกไว้จากการขาดน้า - มีการเลี้ยงสัตว์ไว้ในพื้นที่ๆเหลือจากการเพาะปลูกหรือเลี้ยงปลา โดยจะมีการเลี้ยงสัตว์เพื่อเพิ่มผลผลิตอีกทางหนึ่ง รวมไปถึงในแหล่งน้าที่ได้จัดทาขึ้นเพื่อใช้ในการเกษตร ก็สามารถที่จะเพิ่มผลผลิตด้วยการเลี้ยงปลา หรือสัตว์น้าเพื่อที่จะทาให้มีผลผลิตที่หลากหลายและไม่เสียพื้นที่นั้นๆไปโดยเปล่าประโยชน์ ซึ่งผลผลิตที่ได้จากการเลี้ยงสัตว์เป็นผลผลิตที่ค่อนข้างเป็นที่น่าพอใจและยังสามารถที่จะนาไปข ายเข้าสู่ตลาดเพื่อสร้างกาไรได้อีกหนทางหนึ่ง - มีการแปรรูปผลผลิตจากธรรมชาติเพื่อให้สามารถเก็บไว้บริโภคในระยะยาวเพื่อที่จะจัดเก็บผลผ ลิตที่ได้จากการเพาะปลูกหรือเลี้ยงสัตว์ทาให้สามารถเก็บถนอมอาหารไว้บริโภคและนาผลผลิต ที่ได้จากการแปรรูปไปขายเข้าสู่ท้องตลาดเพื่อเพิ่มกาไรได้อีกทางหนึ่ง (จัดอยู่ในหมาดการมีเหตุผลเนื่องจาก เลือกที่จะถนอมอาหาร ซึ่งถือเป็นตัดสินใจที่ดี ทาให้ของเหลือไม่เสียไปอย่างเปล่าประโยชน์) - เกษตรกรปลูกไม้ผล เพื่อเพิ่มรายได้ของครัวเรือน ถือเป็นการมีเหตุผลเนื่องจากการใช้พื้นที่ที่มีอยู่ให้เกิดรายได้ เมื่อรายได้เพิ่มขึ้น รายจ่ายเท่าเดิม ก็จะทาให้มีเงินเหลือเก็บไว้ใช้ยามจาเป็นมากขึ้น - การที่แบ่งพื้นที่เพาะปลูกทาให้สามารถปลูกพืชได้หลายชนิด ทาให้สามารถที่จะมีบริโภคและเหลือจาหน่ายได้ตลอดทั้งปี ซึ่งทาให้เกษตรกรมีรายได้ตลอดทั้งปี - มีการจาหน่ายผลผลิตที่เหลือจากการอุปโภคบริโภคในครัวเรือน เมื่อผลผลิตที่ได้นั้นมีมากกว่าความต้องการภายในครัวเรือน ก็สามารถที่จะนาเข้าสู่ ตลาดเพื่อสร้างกาไรเพื่อเก็บออมสาหรับใช้จ่ายและสร้างความมั่นคง ให้กับครัวเรือนให้มากขึ้น - การงดใช้สารเคมีสาหรับการเพาะปลูก เนื่องจากมีต้นทุนสูง และอาจส่งผลกระทบต่อหน้าดินและมีความเสี่ยงที่จะขาดทุนเนื่องจากต้นทุนสูงกว่ากาไร การมีภูมิคุ้มกัน
  • 23. - เกษตรกรรู้จักและมีความรู้เกี่ยวกับการทาเกษตรทฤษฎีใหม่ ทาให้มีแนวทางในการประกอบอาชีพ ในยามที่ข้าวของแพงก็ยังสามารถดารงชีพอยู่ได้ โดยการเพิ่งพาตนเอง และยังสามารถที่จะสร้างกาไร ในยามที่ข้าวของแพง - ได้รับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่าง ๆ เช่น วิทยุ โทรทัศน์หนังสือพิมพ์ ฯลฯ การที่รับข้อมูลข่าวสาร จะทาให้เกิดการเรียนรู่ที่จะปรับตัวให้ทัน โลกตลอดเวลาทาให้ทราบถึงช่องทางในการจะสร้างกาไร และ ช่องทางที่จะใช้สาหรับหาความรู้เพื่อที่จะนามาปรับใช้ในการดารงชีพและสร้างผลผลิตให้ได้สูงสุ ดโดยอยู่บนความพอเพียงของตนได้ - ได้รับการฝึกอบรมเกี่ยวกับเกษตรทฤษฎีใหม่ ทาให้สามารถที่จะนาไปใช้ได้จริงในการดารงชีพและประกอบ อาชีพ ซึ่งหาดูจากผลการสารวจ เกษตรกรส่วนใหญ่มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น สามารถที่จะสร้างกาไรได้มากขึ้น - ได้ไปทัศนะศึกษา/ดูงาน ในพื้นที่เกษตรทฤษฎีใหม่ ทาให้เกษตรการที่ได้ไปเข้าร่วมมีการพัฒนาความคิด มีการปรับทัศนคติจากที่จะมุ่งหวังกาไรเป็นที่ตั้ง หันมาใช้ความคิดที่จะพึ่งพาตนเอง เพื่อที่จะเป็นการลดต้นทุนในการดารงชีพ และยังมีโอกาสที่จะสร้างกาไรได้ โดย การทาเกษตรวิธีเก่านั้น จากผลการสารวจจะเห็นได้ว่าเกษตรกรมีภาวะหนี้สินเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นการแสดงให้เห็นถึงความล้มเหลวในการ ทาเกษตรวิธีเก่า - มีการรณรงค์เรื่องการรักษาธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ทาให้ชาวบ้านมีความเข้าใจถึงสาเหตุที่จะต้องรักษาธรรมชาติและหันมาช่วยกันดูแล ทาให้สามารถที่จะดารงชีพร่วมกับธรรมชาติและวิ่งแวดล้อม และ ยังสามารถที่จะสร้างผลผลิต ที่จะทากาไรให้กับตนเอง โดยที่ไม่เบียดเบียดธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม - มีการคาดการณ์เกี่ยวกับปริมาณน้าที่ต้องใช้ในการเกษตรให้เพียงพอตลอดปี โดยเมื่อได้ทาการแบ่งพื้นที่สาหรับเพาะปลูกแล้วสามารถทาให้เรารู้ถึงปริมาณน้าที่ต้องใช้สาหรั บการเกษตร โดยเมื่อทราบว่าพืชแต่ละชนิดนั้นต้องการปริมาณน้าเท่าไหร่บ้างเราก็สามารถที่จะกักเก็บน้าไว้ใ ห้เพียงพอต่อการเพาะปลูก - เมื่อเรามีการคาดคะเนแล้ว เราก็สามารถที่จะสร้างแหล่งเก็บน้าในพื้นที่ของตัวเอง เนื่องจากหากแต่ละครัวเรือนมีสระน้าประจาไร่นาทุกครัวเรือนแล้ว เมื่อรวมปริมาณกันก็ ย่อมเท่ากับปริมาณในอ่างเก็บน้าขนาดใหญ่ แต่สิ้นค่าใช้จ่ายน้อยและเกิดประโยชน์สูงสุด โดยตรงมากกว่า และยังสามารถเลี้ยงปลาในแหล่งเก็บน้าเพื่อจะสร้างผลผลิต อีกหนทางหนึ่ง - เกษตรกรมีการพึ่งพาตัวเอง สามารถที่จะลดภาระรายจ่ายออกไปได้โดยการทาเกษตรทฤษฏีใหม่