SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศภัยพิบัติ
2.1 นิยามและคาเรียกเกี่ยวกับ ภัยพิบัติจากสภาพอากาศ
สาธารณภัยเชิงอุตุนิยมวิทยา (Meteorological disaster) เป็นคำที่ใช้เรียก ภัยที่เกิดขึ้น
ตำมกำรเปลี่ยนแปลงของฤดูกำล เช่น วำตภัย พำยุหมุน พำยุลูกเห็บ พำยุคลื่นซัดฝั่ง ควำมหนำวเย็น
คลื่นควำมร้อน ฝนแล้ง อุทกภัย ไฟไหม้ป่ำ
สำธำรณภัยเชิงอุตุนิยมวิทยำที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปัจจุบันส่วนหนึ่งเป็นผลกระทบมำจำก
ปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ่และลำนิญ่ำ โดยปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ่มำจำกกำรอุ่นขึ้นอย่ำงผิดปกติของน้ำทะเล
บริเวณตอนกลำงและตะวันออกของมหำสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน ทำให้เกิดควำมแห้งแล้ง ขณะที่ลำนิญ่ำ
เป็นปรำกฏกำรณ์ที่ก่อให้เกิดฝนหรือมรสุมที่แปรปรวนเกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง กำรติดตำมข้อมูลและ
ประมวลผลข้อมูลสภำพอำกำศในระดับเบื้องต้นได้จึงมีควำมสำคัญมำกในยุคนี้
ภาพที่ 1 ทิศทำงของกระแสน้ำอุ่นและน้ำเย็นในปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ่ปี 1997-1998
แหล่งข้อมูล : www.usda.gov/oce/ waob/jawf/enso/forum.htm
ซึ่งสิ่งที่มักจะมำควบคู่กันกับภัยทำงสภำพอำกำศก็คือ สาธารณภัยเชิงอุทกวิทยา
(Hydrological hazard ) คือ ภัยที่เกิดขึ้นตำมมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงของภูมิอำกำศที่เกี่ยวข้องกับน้ำ
เช่น น้ำท่วม น้ำหลำกรวมไปถึง ปรำกฏกำรณ์ดินถล่มที่เกิดขึ้นจำกกำรสะสมของน้ำฝนในชั้นดิน
ปรำกฏกำรณ์คลื่นยกตัวจำกพำยุซัดเข้ำชำยฝั่ง ขณะเดียวเหตุกำรณ์ที่เป็นสำธำรณภัยเชิงอุทกวิทยำยัง
รวมถึงเหตุกำรณ์สึนำมิคลื่นซัดฝั่งจำกกำรดีดตัวของเปลือกโลกอีกด้วย
ความรู้ที่จาเป็นต่อการประเมินสภาพอากาศ
การอ่านแผนที่อากาศ
แผนที่อำกำศ คือแผนที่แสดงองค์ประกอบทำงอุตุนิยมวิทยำ ณ เวลำใดเวลำหนึ่ง ข้อมูลต่ำงๆ
ในแผนที่อำกำศได้รับมำจำกเครือข่ำยสถำนีตรวจอำกำศผิวพื้นทั้งหลำย รวบรวมแล้วเขียนขึ้นเป็น
ตัวเลข รหัส และสัญลักษณ์ต่ำงๆ ทำงอุตุนิยมวิทยำ ข้อมูลที่อยู่ในแผนที่อำกำศจะนำไปใช้ในกำร
คำดหมำยกำรเปลี่ยนแปลงลักษณะอำกำศที่จะเกิดขึ้น ดังตัวอย่ำงในภำพที่ 2
ภาพที่ 2 แผนที่อำกำศ
ตัวอย่ำงสัญลักษณ์ทำงอุตุนิยมวิทยำบนแผนที่อำกำศ ได้แก่
 L ศูนย์กลำงของหย่อมควำมกดอำกำศต่ำ เป็นบริเวณที่อำกำศร้อนยกตัวทำให้เกิดเมฆ บ่งบอก
ถึงควำมร้อนและอำกำศชื้น
 H ศูนย์กลำงของหย่อมควำมกดอำกำศสูง เป็นบริเวณที่อำกำศเย็นแห้งแล้ว ฟ้ำใส ไม่มีเมฆปก
คลุม บ่งบอกถึงควำมหนำวเย็นและอำกำศแห้ง
 เส้นไอโซบาร์ (Isobar) เป็นเส้นโค้งที่ลำกเชื่อมต่อบริเวณที่มีควำมกดอำกำศเท่ำกัน มีตัวเลข
แสดงค่ำควำมกดอำกำศซึ่งมีหน่วยเป็น เฮคโตปำสคำล (hPa) กำกับไว้
 แนวปะทะอากาศ (Front) เส้นอำร์คหนำทึบสีแดงมีเครื่องหมำยวงกลม คือ แนวปะทะอำกำศ
ร้อน เส้นอำร์คหนำทึบสีน้ำเงินมีลิ่มสำมเหลี่ยม คือ แนวปะทะอำกำศเย็น เป็นบริเวณที่มวล
อำกำศ 2 มวลเคลื่อนตัวมำพบกันเข้ำ อำกำศของมวลทั้งสองจะไม่ปนกันทันที แต่จะก่อให้เกิด
แนวหรือขอบเขตระหว่ำงมวลอำกำศทั้งสอง มวลอำกำศเย็นซึ่งมีควำมแน่นมำกกว่ำ และหนัก
มำกกว่ำมวลอำกำศร้อนจะผลักดันอำกำศร้อนให้ลอยขึ้น แนวปะทะที่มวลอำกำศทั้งสองชนกัน
จะทำให้เกิดฝนตก เกิดเป็นเมฆ ต่ำง ๆ เกิดพำยุฝนฟ้ำคะนองตำมที่แนวหรือขอบเขตที่มวล
อำกำศทั้งสองมำพบกัน
ภาพที่ 3 แนวปะทะอำกำศ
ร่องความกดอากาศต่า (Intertropical Convergence Zone – ITCZ ) หรือ ร่องมรสุม
(Monsoon Trough) เป็นโซนหรือแนวแคบๆ ที่ลมเทรดหรือลมค้ำในเขตร้อนของทั้ง 2 ซีกโลกมำบรรจบ
กัน คือลมค้ำตะวันออกเฉียงเหนือของซีกโลกเหนือกับลมค้ำตะวันออกเฉียงใต้ของซีกโลกใต้
ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือร่องมรสม มีลักษณะเป็นแนวพำดขวำงในทิศตะวันออก-ตะวันตก ใน
ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือร่องมรสุมเป็นบริเวณที่มีควำมกดอำกำศต่ำ มีกระแสอำกำศไหลขึ้น-ลง
สลับกัน ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือร่องมรสุมจะอยู่ในเขตร้อนใกล้ๆ เส้นศูนย์สูตร เป็นบริเวณที่มีเมฆ
มำกและฝนตกอย่ำงหนำแน่น ฉะนั้น เมื่อร่องนี้ประจำอยู่ที่ใดหรือผ่ำนที่ใดก็จะทำให้ที่นั้นฝนตกอย่ำง
หนำแน่นได้
ภาพที่ 4 แนวปะทะอำกำศ
ภาพที่ 5 สัญลักษณ์แสดงข้อมูลที่สถำนีตรวจอำกำศผิวพื้น
ข้อมูลจากสถานีตรวจอากาศภาคพื้น แสดงโดยสัญลักษณ์ดังตัวอย่ำงในภำพที่ 5 ซึ่งอธิบำยได้ ดังนี้
- วงกลม แสดงปริมำณเมฆปกคลุมเหนือสถำนี สีขำว: ไม่มีเมฆ สีดำ: เมฆมำก
- ลูกศร แสดงทิศทำงลมที่พัดเข้ำหำสถำนี ขีดฉำกที่ปลำยลูกศรแสดงควำมเร็วลม ขีดยิ่งมำก ลม
ยิ่งแรง
- ควำมกดอำกำศที่ระดับน้ำทะเล แสดงด้วยตัวเลขขวำมือด้ำนบน เป็นตัวเลขสำมหลัก หมำยถึง
ตัวเลขท้ำยสองหลักและทศนิยมหนึ่งหลัก (107 หมำยถึง 1010.7 hPa)
- แนวโน้มของควำมกดอำกำศเปรียบเทียบกับ 3 ชั่วโมงที่แล้ว แสดงด้วยตัวเลขทำงด้ำนขวำมือมี
หน่วยเป็น hPa ค่ำ + หมำยถึงควำมกดอำกำศสูงขึ้น, ค่ำ - หมำยถึงควำมกดอำกำศต่ำลง
- อุณหภูมิจุดน้ำค้ำง แสดงด้วยตัวเลขขวำมือด้ำนล่ำง
- ลักษณะอำกำศ แสดงด้วยสัญลักษณ์อุตุนิยมวิทยำทำงด้ำนขวำมือ
- อุณหภูมิอำกำศ แสดงด้วยตัวเลขด้ำนซ้ำยบน
ภาพที่ 6 ภำพแผนที่อำกำศ
2.2 ภัยทางสภาพอากาศที่ควรจับตามอง
พำยุหมุนเขตร้อน หรือพำยุหมุนหรือพำยุไซโคลน (cyclone) ที่มีถิ่นกำเนิดเหนือมหำสมุทรใน
เขตร้อนแถบละติจูดต่ำ แต่อยู่นอกเขตบริเวณเส้นศูนย์สูตร เพรำะยังไม่เคยปรำกฏว่ำมีพำยุหมุนเขตร้อน
เกิดที่เส้นศูนย์สูตรพำยุนี้เกิดขึ้นในมหำสมุทร หรือทะเลที่มีอุณหภูมิสูงตั้งแต่ 26 องศำเซลเซียส หรือ 27
องศำเซลเซียสขึ้นไป และมีปริมำณไอน้ำสูง เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มักเคลื่อนตัวตำมกระแสลมส่วนใหญ่จำกทิศ
ตะวันออกมำทำงทิศตะวันตก และค่อยโค้งขึ้นไปทำงละติจูดสูง แล้วเวียนโค้งกลับไปทำงทิศตะวันออก
อีก พำยุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้หลำยแห่งในโลก และมีชื่อเรียกต่ำงกันไปตำมแหล่งกำเนิด บริเวณที่มี
พำยุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นเป็นประจำ ได้แก่
มหำสมุทรแปซิฟิกเหนือด้ำนตะวันตก ทำงตะวันตกของลองจิจูด 170 องศำตะวันออก เมื่อมี
กำลังแรงสูงสุด เรียกว่ำ "ไต้ฝุ่น" เกิดมำกที่สุดในเดือนกรกฎำคม สิงหำคม กันยำยน และตุลำคม
มหำสมุทรแอตแลนติกเหนือแถวทะเลแคริบเบียนและอ่ำวเม็กซิโก เรียกว่ำ "เฮอร์ริเคน" เกิด
มำกในเดือนสิงหำคม กันยำยน และตุลำคม
มหำสมุทรแปซิฟิกเหนือ ฝั่งตะวันตกของประเทศเม็กซิโก เรียกว่ำ "เฮอร์ริเคน"
บริเวณมหำสมุทรอินเดียเหนือ อ่ำวเบงกอล เรียกว่ำ "ไซโคลน"
บริเวณมหำสมุทรอินเดียเหนือ ทะเลอำระเบีย เรียกว่ำ "ไซโคลน"
มหำสมุทรอินเดียใต้ ตะวันตกของลองจิจูด 90 องศำตะวันออก เรียกว่ำ "ไซโคลน"
พำยุหมุนเขตร้อนเมื่ออยู่ในสภำวะที่เจริญเติบโตเต็มที่ จะเป็นพำยุที่มีควำมรุนแรงที่สุดชนิดหนึ่ง
ในบรรดำพำยุที่เกิดขึ้นในโลก มีเส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณตั้งแต่ 100 กิโลเมตรขึ้นไป และเกิดขึ้นพร้อม
กับลมที่พัดแรงมำก ระบบกำรหมุนเวียนของลมเป็นไป โดยพัดเวียนในทิศทำงทวนเข็มนำฬิกำเข้ำสู่
ศูนย์กลำงของพำยุในซีกโลกเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้พัดเวียนตำมเข็มนำฬิกำ ยิ่งใกล้ศูนย์กลำงลมจะ
หมุนเกือบเป็นวงกลมและมีควำมเร็วสูงที่สุด
ควำมเร็วลมสูงสุดที่บริเวณใกล้ศูนย์กลำงนำมำใช้เป็นเกณฑ์ในกำรพิจำรณำควำมรุนแรงของ
พำยุ ซึ่งในย่ำนมหำสมุทรแปซิฟิกเหนือด้ำนตะวันตก และทะเลจีนใต้มีกำรแบ่งตำมข้อตกลงระหว่ำง
ประเทศดังนี้
 สัญลักษณ์ = พำยุดีเปรสชันเขตร้อน (tropical depression) ควำมเร็วลมใกล้ศูนย์กลำงไม่
ถึง 34 นอต (63 กม./ชม.)
 สัญลักษณ์ = พำยุโซนร้อน (tropical storm) ควำมเร็วลมใกล้ศูนย์กลำง 34 นอต (63 กม./
ชม.) ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 64 นอต (118 กม./ชม.)
 สัญลักษณ์ = พำยุไต้ฝุ่น (typhoon) ควำมเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลำงตั้งแต่ 64 นอต (118
กม./ชม.) ขึ้นไป
เกณฑ์ความเร็วลมผิวพื้น ความเร็วลมที่ระดับสูงมาตรฐาน 10 เมตรเหนือพื้นดินในบริเวณที่โล่ง
ขนาดของลม สัญลักษณ์ที่แสดงบนบก Knots Km./hr
ลมสงบ CALM ลมเงียบ ควันลอยขึ้นตรงๆ น้อยกว่ำ 1 น้อยกว่ำ 1
ลมเบำ LIGHT AIR ควันลอยตำมลม แต่ศรลมไม่
ทันไปตำมทิศลม
1-มี.ค. 1-พ.ค.
ลมอ่อน LIGHT BREEZE รู้สึกลมพัดที่ใบหน้ำ ใบไม้แกว่ง
ไกว ศรลมหันไปตำมทิศลม
4-มิ.ย. 6-พ.ย.
ลมโชย GENTLE
BREEZE
ใบไม้และกิ่งไม้เล็ก ๆ กระดิก
ธงปลิว
7-ต.ค. ธ.ค.-19
ลมปำนกลำง MODERATE
BREEZE
มีฝุ่นตลบ กระดำษปลิว กิ่งไม้
เล็กขยับเขยื้อน
พ.ย.-16 20-28
ลมแรง FRESH
BREEZE
ต้นไม้เล็กแกว่งไกวไปมำ มี
ระลอกน้ำ
17-21 29-38
ลมจัด STRONG
BREEZE
กิ่งไม้ใหญ่ขยับเขยื้อน ได้ยิน
เสียงหวีดหวิว ใช้ร่มลำบำก
22-27 39-49
พำยุเกล อ่อน GALE ต้นไม้ใหญ่ทั้งต้นแกว่งไกว เดิน
ทวนลมไม่สะดวก
28-33 50-61
พำยุเกล แรง STRONG GALE อำคำรที่ไม่มั่นคงหักพัง หลังคำ
ปลิว
41-47 75-88
พำยุ STORM ต้นไม้ถอนรำกล้ม เกิดควำม
เสียหำยมำก (ไม่ปรำกฏบ่อย
นัก)
48-55 89-102
พำยุใหญ่ VIOLENT
STORM
เกิดควำมเสียหำยทั่วไป (ไม่
ค่อยปรำกฏ)
56-63 103-117
พำยุไต้ฝุ่นหรือ
เฮอร์ริเคน
TYPHOON or
HURRICANE มำกกว่ำ
63
มำกกว่ำ
พายุที่เหนือไปกว่านั้น สำหรับระดับควำมรุนแรงของพำยุหมุนเขตร้อนที่มี
ควำมเร็วลมเกิน 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สำมำรถแบ่งออกเป็น 5 ระดับ
ได้แก่
- ระดับที่ 1 มีควำมเร็วลม 119-153 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง
เล็กน้อย ไม่ส่งผลต่อสิ่งปลูกสร้ำง มีน้ำท่วมขังตำมชำยฝั่ง
- ระดับที่ 2 มีควำมเร็วลม 154-177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง
เล็กน้อย ทำให้หลังคำ ประตู หน้ำต่ำงบ้ำนเรือนเสียหำยบ้ำง ทำให้เกิดน้ำ
ท่วมขัง
- ระดับที่ 3 มีควำมเร็วลม 178-208 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง
ปำนกลำง ทำลำยโครงสร้ำงที่อยู่อำศัยขนำดเล็ก น้ำท่วมขังถึงพื้นบ้ำนชั้น
ล่ำง
- ระดับที่ 4 มีควำมเร็วลม 209-249 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง
สูง หลังคำบ้ำนเรือนบ้ำนเรือนบำงแห่งถูกทำลำย น้ำท่วมเข้ำมำถึงพื้นบ้ำน
- ระดับที่ 5 มีควำมเร็วลมมำกกว่ำ 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะ
ทำลำยล้ำงสูงมำก หลังคำบ้ำนเรือน ตึกและอำคำรต่ำงๆ ถูกทำลำย
พังทลำย น้ำท่วมขังปริมำณมำก ถึงขั้นทำลำยทรัพย์สินในบ้ำน อำจต้อง
ประกำศอพยพประชำชน
2.3 มรสุมของประเทศไทย
ประเทศไทยอยู่ภำยใต้อิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือ
- ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ระหว่ำงกลำงเดือนพฤษภำคมถึงกลำงเดือน
ตุลำคม โดยมีแหล่งกำเนิดจำกบริเวณควำมกดอำกำศสูง ในซีกโลกใต้บริเวณมหำสมุทรอินเดีย ซึ่งพัด
ออกจำกศูนย์กลำงเป็นลมตะวันออกเฉียงใต้ และเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้เมื่อพัดข้ำมเส้นศูนย์สูตร
มรสุมนี้จะนำมวลอำกำศชื้นจำกมหำสมุทรอินเดียมำสู่ประเทศไทย ทำให้มีเมฆมำกและฝนชุกทั่วไป
โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งตำมบริเวณชำยฝั่งทะเล และเทือกเขำด้ำนรับลมจะมีฝนมำกกว่ำบริเวณอื่น
- ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
หลังจำกหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แล้ว ประมำณกลำงเดือนตุลำคม จะมีมรสุม
ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย จนถึงกลำงเดือนกุมภำพันธ์ มรสุมนี้มีแหล่งกำเนิดจำก
บริเวณควำมกดอำกำศสูงบนซีกโลกเหนือ แถบประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพำเอำมวลอำกำศเย็น
และแห้งจำกแหล่งกำเนิดเข้ำมำปกคลุมประเทศไทย ทำให้ท้องฟ้ำโปร่ง อำกำศหนำวเย็นและแห้งแล้ง
ทั่วไป โดยเฉพำะภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภำคใต้จะมีฝนชุกโดยเฉพำะภำคใต้ฝั่ง
ตะวันออก เนื่องจำกมรสุมนี้นำควำมชุ่มชื้นจำกอ่ำวไทยเข้ำมำปกคลุม กำรเริ่มต้นและสิ้นสุดมรสุมทั้ง
สองชนิดอำจผันแปรไปจำกปกติได้ในแต่ละปี
ภาพที่ 7 ทิศทำงมรสุมของประเทศไทย
ภัยธรรมชำติที่เกิดขึ้นบ่อยกับประเทศไทยก็คือ น้ำท่วมหรือน้ำท่วมฉับพลัน เกิดจำกฝนตกหนัก
ต่อเนื่องกันเป็นเวลำนำน บำงครั้งทำให้เกิดแผ่นดินถล่ม อำจมีสำเหตุจำกพำยุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมี
กำลังแรง ร่องควำมกดอำกำศต่ำมีกำลังแรง น้ำทะเลหนุน ทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อชีวิต ทรัพย์สินและ
สิ่งแวดล้อมตำมธรรมชำติ รวมไปถึงควำมเสียหำยทำงด้ำนเศรษฐกิจ
ในช่วง 66 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยเคยเจอ พายุโซนร้อน มาแล้ว 14 ลูก
ไทยเคยโดยไต้ฝุ่นมำแล้ว 2 ลูก คือ
พำยุไต้ฝุ่นเกย์ กับ พำยุไต้ฝุ่นลินดำ
ภาพที่ 8 พำยุที่พัดผ่ำนประเทศไทยในปี 2554
2.3 การเตือนภัย
"การเตือนภัย" คือ กำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ หรือแจ้งสถำนกำรณ์ที่จำเป็นต่อกำรรับรู้
เกี่ยวกับภัยนั้นๆ แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือคำดว่ำจะได้รับผลกระทบ เพื่อให้เตรียมพร้อมรับ
สถำนกำรณ์ และสำมำรถอพยพเคลื่อนย้ำยไปสู่ที่ปลอดภัยได้ทันเวลำ
กระบวนการแจ้งเตือนภัย
ปัจจุบันกำรเตือนภัยของประเทศไทย มำจำกกำรทำงำนร่วมกันของหลำยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
กับกำรติดตำมสถำนกำรณ์ภัยแต่ละชนิด ตัวอย่ำงเช่น อุทกภัย ระบบเตือนภัยน้ำท่วมของประเทศไทยที่
ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีขั้นตอนคือ
กรมอุตุนิยมวิทยำ กรมชลประทำน กรมทรัพยำกรธรณี สถำบันสำรสนเทศทรัพยำกรน้ำและ
กำรเกษตร (สสนก.) จะทำให้หน้ำที่ให้ข้อมูลสภำพอำกำศกับหน่วยงำนและประชำชน กรมอุตุนิยมวิทยำ
จะมีเจ้ำหน้ำที่ทำงำนตรวจวัดสภำพอำกำศตลอด 24 ชั่วโมง หำกพบกลุ่มฝนหรือควำมผิดปกติจำกกำร
ติดตำมข้อมูลสภำพอำกำศล่วงหน้ำ แบบจำลองสภำพอำกำศ จะแจ้งข้อมูลไปยังหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
เช่น กรมทรัพยำกรธรณีที่ทำหน้ำที่เตือนภัยดินถล่ม ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติที่ทำหน้ำที่ประเมิน
ข้อมูล ที่ว่ำกำรกรุงเทพมหำนคร (สำนักกำรระบำยน้ำ) ที่ทำหน้ำที่เตรียมกำรระบำยน้ำ ข้อมูลที่ได้มำจะ
บอกได้แค่ว่ำกลุ่มฝนที่เคลื่อนผ่ำนมำเป็นกลุ่มฝนแบบไหน แต่บอกไม่ได้ว่ำจะมีฝนตกลงมำมำกเท่ำไร
และนำนแค่ไหน
ถัดมำศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ จะทำภำรกิจในกำรประมวลข้อมูลและประเมินควำมเสี่ยงจำก
ภัยที่ได้รับข้อมูลเข้ำมำ วิเครำะห์ควำมรุนแรงของภัยพิบัติเพื่อให้ข้อมูลแก่หน่วยป้องกันและบรรเทำสำ
ธำรณภัย และส่งข้อมูลสื่อมวลชนกระจำยข้อมูลต่อไป ดังตัวอย่ำงของขั้นตอนกำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อกำร
เตือนอุทกภัยในภำพที่ 9
นอกจำกภำรกิจระยะฉุกเฉินในกำรประเมินข้อมูลควำมเสี่ยงเพื่อแจ้งข้อมูลกำรเตือนภัยแก่
หน่วยงำนต่ำงๆแล้ว ในระยะยำวของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติยังมีภำรกิจคือ กำรให้ควำมรู้ต่อ
ประชำชนและเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินกำรฝึกซ้อมร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง
ภาพที่ 9 ขั้นตอนกำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อกำรเตือนอุทกภัย
แหล่งที่มำ : สไลด์จำกศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ
โดยสำกลนั้นกระบวนกำรเตือนภัยล่วงหน้ำ ตำมมำตรฐำนสำกล (International Strategy for
Disaster Reduction (ISDR) United Nations (UN), 2006) จะมีกำรทำงำนที่สอดคล้องกัน 5 ระบบ คือ
1) ระบบประเมินควำมเสี่ยง (Risk Assessment)
2) ระบบรับข้อมูล (Monitoring)
3) ระบบวิเครำะห์ข้อมูล (Predicting)
4) ระบบกระจำยข้อมูล (Disseminating Information)
5) ระบบสร้ำงควำมตระหนักรู้ภัยพิบัติ (Response)
สำหรับประเทศไทยในทำงปฏิบัตินั้น กระบวนกำรและช่องทำงกำรส่งผ่ำนข้อมูลในกำรเตือนภัย
มีกำรดำเนินงำนโดยสรุปได้เป็น 3 ส่วนดังภำพที่ 10
ภาพที่ 10 กระบวนกำรและช่องทำงกำรส่งผ่ำนข้อมูลในกำรเตือนภัยของประเทศไทย
แหล่งที่มำ : สไลด์จำกศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ
กระบวนกำรแจ้งเตือนภัยของประเทศไทยมีกำรดำเนินงำนตำมแผนป้องกันและบรรเทำสำธำรณ
ภัย พ.ศ. 2558 ที่กำหนดให้มีกำรดำเนินงำน 4 ขั้น คือ
1) แจ้งข่าว เป็นกำรติดตำมข้อมูลควำมเคลื่อนไหวของเหตุกำรณ์ที่มีแนวโน้มอำจส่งผลให้เกิด
ภัยพิบัติ และ ติดตำมสถำนกำรณ์ตลอด 24 ชั่วโมง
2) เฝ้าระวัง เป็นกำรติดตำมข้อมูลควำมเคลื่อนไหวของเหตุกำรณ์ที่อำจส่งผลให้เกิดสำธำรณ
ภัย รวมทั้งทำหน้ำที่เฝ้ำระวัง ให้ข้อมูลและข่ำวสำรประชำชน โดยมีส่วนรำชกำรและ
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องที่มีควำมรู้และเครื่องมือทำงเทคนิค ติดตำมสถำนกำรณ์ปฏิบัติงำน
ตลอด 24 ชั่วโมง
3) แจ้งเตือนล่วงหน้า เป็นกำรแจ้งข้อมูลข่ำวสำรที่บ่งชี้ว่ำมีแนวโน้มที่จะเกิดสำธำรณภัยขึ้นใน
พื้นที่ที่มีควำมเสี่ยงภัยไปยังส่วนรำชกำร หน่วยงำน กองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำ
ธำรณภัยแต่ละระดับ และประชำชน เพื่อให้ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรอย่ำงต่อเนื่อง ทั้งนี้
ระยะเวลำสำหรับกำรแจ้งเตือนล่วงหน้ำขึ้นอยู่กับสำธำรณภัยแต่ละประเภท โดยปกติควรมี
กำรแจ้งเตือนล่วงหน้ำก่อนเกิดสำธำรณภัยไม่ต่ำกว่ำ 120 ชั่วโมง (5 วัน ล่วงหน้ำ)
4) ภาวะเสี่ยง-ให้อพยพ เป็นกำรยืนยันข้อมูลว่ำมีโอกำสเกิดสำธำรณภัยมำกกว่ำร้อยละ 60
และเป็นกำรแจ้งแนวทำงปฏิบัติให้กับส่วนรำชกำร และประชำชนในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้
เตรียมควำมพร้อมรับมือสำธำรณภัยที่จะเกิดขึ้น โดยให้มีกำรแจ้งเตือนภัยไม่ต่ำกว่ำ 72
ชั่วโมง ก่อนเกิดภัย และมีข้อมูลกำรแจ้งเตือนภัย ได้แก่
1. คำดกำรณ์ระยะเวลำ และพื้นที่
2. ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นและระยะเวลำของภัย
3. แนวทำงปฏิบัติตนของส่วนรำชกำร หน่วยงำน และประชำชน
4. กำรเตรียมควำมพร้อมรับมือ
โดยกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยกลำง (กอปภ.) แต่ละระดับจะรำยงำนผลกำร
ปฏิบัติให้ กอปภ.ก. ทรำบภำยใน 24 ชั่วโมง ถือเป็นกำรยืนยันกำรสื่อสำรสองทำง (TWO way –
Communication)
ระดับการเตือนภัย
เพื่อให้กำรเตือนภัยมีระบบ มีกำรสื่อสำรที่ถูกต้องรวดเร็วไปยังส่วนรำชกำร หน่วยงำน และ
ประชำชน แผนกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแห่งชำติ พ.ศ. 2558 ได้กำหนดระดับและควำมหมำย
ของสีในกำรเตือนภัยเอำไว้ 5 ระดับคือ (ดังภำพที่ 11)
 สีแดง หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะอันตรำยสูงสุด ให้อำศัยอยู่แต่ในสถำนที่ปลอดภัยและ
ปฏิบัติตำมข้อสั่งกำร
 สีส้ม หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะเสี่ยงอันตรำยสูง เจ้ำหน้ำที่กำลังควบคุมสถำนกำรณ์ให้
อพยพไปยังสถำนที่ปลอดภัย และปฏิบัติตำมแนวทำงที่กำหนด
 สีเหลือง หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะเสี่ยงอันตรำย มีแนวโน้มที่สถำนกำรณ์ จะรุนแรงมำก
ขึ้น ให้จัดเตรียมควำมพร้อมรับสถำนกำรณ์ และปฏิบัติตำมคำแนะนำ
 สีน้าเงิน หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะเฝ้ำระวัง ให้ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรอย่ำงใกล้ชิดทุก ๆ
24 ชั่วโมง
 สีเขียว หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะปกติ ให้ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรเป็นประจำ
ภาพที่ 11 ระดับและควำมหมำยของสีในกำรเตือนภัย
ระบบการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า
1. ระบบการเฝ้าระวังภัยน้าท่วม
ระบบกำรเฝ้ำระวังภัยน้ำท่วม เป็นกำรติดตำม สังเกตหรือป้องกันไม่ให้ปริมำณน้ำมำก
จนส่งผลให้เกิดน้ำท่วมได้ ในประเทศไทยหน่วยงำนที่มีหน้ำที่เฝ้ำระวังภัยจำกน้ำท่วม คือ กรม
อุตุนิยมวิทยำ ซึ่งเป็นผู้เฝ้ำระวังและคอยให้ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับน้ำท่วมให้แก่ประชำชนได้รับทรำบ
นอกจำกนี้ยังมีหน่วยงำนที่ให้ข้อมูลกำรเตือนภัยน้ำท่วมในลุ่มน้ำ ได้แก่ สำนักอุทกวิยำ
และบริหำรน้ำ กรมชลประทำนและกรมทรัพยำกรน้ำ เป็นต้น ซึ่งหน่วยงำนเหล่ำนี้จะมีเครื่องมือวัดระดับ
น้ำซึ่งใช้ระบบสื่อสำรและระบบคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยในกำรประมวลผล เพื่อแจ้งเตือนภัยน้ำท่วมให้แก่
ประชำชนในพื้นที่ลุ่มน้ำ
2. ระบบการแจ้งเตือนภัยน้าท่วมล่วงหน้า
กำรแจ้งเตือนภัยน้ำท่วมเป็นกำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนกำรณ์น้ำ หรือ แจ้งสถำนกำรณ
ที่จำเป็นต่อกำรรับรู้เกี่ยวกับภัยจำกน้ำท่วมแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือคำดว่ำจะได้รับผลกระทบ เพื่อให้
เตรียมพร้อมรับสถำนกำรณ์ และสำมำรถอพยพเคลื่อนย้ำยไปสู่ที่ปลอดภัยได้ทันเวลำ
3. วิธีการแจ้งเตือนภัยน้าท่วม มี 2 วิธี ได้แก่
3.1 แจ้งเตือนประชาชนโดยตรง โดยผ่ำนทำงสถำนีโทรทัศน์ สถำนีวิทยุ วิทยุสมัครเล่น
โทรสำร โทรศัพท์มือถือ หอกระจำยข่ำว เสียงตำมสำย ไซเรนเตือนภัยแบบมือหมุน และหอเตือนภัย
3.2 แจ้งเตือนผ่านหน่วยงาน โดยใช้กลไกระบบกำรบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำคและส่วน
ท้องถิ่นผ่ำนหน่วยงำนต่ำงๆ ๆ ดังนี้
 ส่วนภูมิภำค ได้แก่ จังหวัดและอำเภอ
 ส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล เมืองพัทยำ และองค์กำรบริหำร
ส่วนตำบล
4. ระดับการแจ้งเตือนภัยน้าท่วม
4.1 การแจ้งเตือนภัยระดับจังหวัด เป็นกำรแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำ ผ่ำนระบบเครือข่ำย
ระบบสื่อสำร และสื่อประชำสัมพันธ์ของทำงรำชกำรและเอกชน เช่น วิทยุกระจำยเสียง วิทยุสื่อสำร
โทรสำร ประชำสัมพันธ์จังหวัด โดยสำนักงำนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจังหวัดมีหน้ำที่ในกำรแจ้ง
เตือนภัยไปยังหน่วยงำนในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง และ หรือ กองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
จังหวัด อำเภอ และท้องถิ่นที่คำดว่ำจะเกิดภัย เพื่อแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำแก่ผู้ที่คำดว่ำจะได้รับผลกระทบ
ในพื้นที่เสี่ยงภัยให้เฝ้ำระวังและเตรียมพร้อมรับสถำนกำรณ์ และสำมำรถอพยพเคลื่อนย้ำยไปสู่ที่
ปลอดภัยได้
4.2 การแจ้งเตือนภัยระดับอาเภอ เป็นกำรแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำ ผ่ำนระบบเครือข่ำยและ
ระบบสื่อสำรและสื่อประชำสัมพันธ์ของทำงรำชกำรและเอกชน เช่น วิทยุชุมชน วิทยุสื่อสำร โทรสำร ผ่ำน
หน่วยงำน และเครือข่ำยที่เกี่ยวข้องต่ำงๆ ในระดับอำเภอ
ภาพที่ 12 ช่องทำงกำรเตือนภัยสู่ประชำชน
4.3 การแจ้งเตือนภัยระดับตาบล/ชุมชน เป็นกำรแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำให้แก่อำสำสมัคร
ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และเครือข่ำยเฝ้ำระวังและแจ้งเตือนภัยในระดับตำบลหรือชุมชน โดยใช้
ระบบสื่อสำรและสื่อประชำสัมพันธ์ในกำรแจ้งเตือนภัย เช่น เสียงตำมสำย วิทยุ หอกระจำยข่ำว ไซเรน
เตือนภัยแบบมือหมุน โทรโข่ง นกหวีด หรือสัญญำณเสียงที่กำหนดใช้เป็นสัญญำณเตือนภัยประจำ
ชุมชนหรือตำบล นอกจำกนี้ ยังมีกลไกกำรแจ้งเตือนภัยในท้องถิ่นอีกกลไกหนึ่งนั่นคือ “มิสเตอร์เตือน
ภัย” ซึ่งเป็นเครือข่ำยในกำรประสำนงำนในระดับท้องถิ่นที่สำคัญเพื่อเฝ้ำระวังและแจ้งเตือนภัยพิบัติใน
พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม ดิน โคลนถล่มให้กับประชำชนได้รับประโยชน์สูงสุด
4.4 การจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยชุมชน ในชุมชนที่เสี่ยงภัย
ควรมีกำรจัดทำแผนชุชนในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย พร้อมทั้งจัดตั้งคณะกรรมกำรป้องกัน
และบรรเทำสำธำรณภัยชุมชน และ คณะกรรมกำรฝ่ำยต่ำงๆ ขึ้น โดยกำหนดบทบำทหน้ำที่และ
ผู้รับผิดชอบของแต่ละฝ่ำย ช่วงก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัยให้ชัดเจน ดังนี้
1) คณะกรรมกำรฝ่ำยป้องกันและเตรียมควำมพร้อม
 จัดฝึกอบรมด้ำนกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรจัดกำรควำมเสี่ยงจำกภัยพิบัติให้แก่
ชุมชนเพื่อเสริมสร้ำงจิตสำนึกแก่ชุมชนในสิ่งที่ควรทำก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัยและหลัง
เกิดภัย
 จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมที่จะเผชิญกับเหตุกำรณ์ฉุกเฉิน
 จัดกำรฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย
2) คณะกรรมกำรฝ่ำยเฝ้ำระวังและแจ้งเตือนภัย
 เฝ้ำติดตำมสถำนกำรณ์สำธำรณภัยอย่ำงสม่ำเสมอ
 แจ้งเตือนเมื่อมีสำธำรณภัยในชุมชนให้ทุกคนได้รับทรำบ พร้อมแนวทำงปฏิบัติสำหรับ
กำรอพยพ
3) คณะกรรมกำรฝ่ำยอพยพ
 ประสำนงำนกับคณะกรรมกำรฝ่ำยเฝ้ำระวังเหตุ
 ดำเนินกำรอพยพประชำชนจำกจุดเสี่ยงไปยังจุดปลอดภัย
 ดำเนินกำรอพยพประชำชนกลับบ้ำนเรือนเมื่อเหตุกำรณ์คลี่คลำยแล้ว
4) คณะกรรมกำรฝ่ำยค้นหำ กู้ภัยและช่วยชีวิต
 กำรดำเนินกำรค้นหำ กู้ภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย
 ดำเนินกำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นและส่งต่อสถำนพยำบำล
5) คณะกรรมกำรฝ่ำยรักษำพยำบำล
 ดำเนินกำรรักษำพยำบำลแก่ผู้เจ็บป่วยหรือได้รับบำดเจ็บ
 ฟื้นฟูสภำพจิตใจ วิถีชีวิตของผู้ประสบภัย
6) คณะกรรมกำรฝ่ำยรักษำควำมสงบเรียนร้อย
 ดูแลรักษำควำมปลอดภัยบ้ำนเรือนและทรัพย์สินอื่นๆ ของผู้อพยพ
 อำนวยควำมสะดวกด้ำนกำรเดินทำงและกำรจรำจรขณะอพยพ
7) คณะกรรมกำรฝ่ำยประสำนงำน
 ประสำนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถำนีอนำมัย สถำนีตำรวจ ในกำรรำยงำน
เหตุกำรณ์เพื่อให้เข้ำมำช่วยเหลือสนับสนุนกำรบรรเทำสำธำรณภัยต่อไป
 ประสำนกับหน่วยกู้ชีพ กู้ภัยต่ำงๆ
การแจ้งเตือนภัย
เมื่อมีกำรยืนยันข้อมูลว่ำมีโอกำสเกิดสำธำรณภัยมำกกว่ำร้อยละ 60 จะมีกำรแจ้งแนวทำงปฏิบัติ
ให้กับส่วนรำชกำร หน่วยงำน กองอำำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแต่ละระดับและประชำชน
ในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้เตรียมควำมพร้อมรับมือกับสำธำรณภัยที่จะเกิดขึ้น โดยให้มีกำรแจ้งเตือนภัยไม่
ต่ำกว่ำ 72 ชั่วโมงก่อนเกิดภัย และมีข้อมูลกำรแจ้งเตือนภัย ได้แก่
- คำดกำรณ์ระยะเวลำ และบริเวณพื้นที่ที่จะเกิดสำธำรณภัย
- ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นและควำมยำวนำนของภัย (ระยะเวลำ)
- แนวทำงกำรปฏิบัติตนของส่วนรำชกำร หน่วยงำน และประชำชน
- กำรเตรียมควำมพร้อมรับมือ เช่น อำหำร น้ำดื่ม ยำรักษำโรค เป็นต้น
เมื่อมีกำรแจ้งเตือนภัยกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยกลำงจะส่งข้อมูลกำรแจ้ง
เตือนภัยไปยังช่องทำงต่ำงๆดังภำพที่ 13
ภาพที่ 13 ภำพรวมช่องทำงกำรแจ้งเตือนภัย
หน่วยงำนที่มีหน้ำที่ในกำรแจ้งเตือนภัยจะสั่งกำรไปยังกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำ
ธำรณภัยแต่ละระดับ ศูนย์ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยเขต พร้อมทั้งให้กรมประชำสัมพันธ์ ร่วมกับ
กรมกำรปกครอง กำหนดขั้นตอนวิธีปฏิบัติเพื่อเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ แจกจ่ำยข้อมูลข่ำวสำร และแจ้ง
เตือนภัยให้กับผู้ปกครองท้องที่และประชำชนเพื่อให้มั่นใจได้ว่ำประชำชนได้รับข้อมูล ข่ำวสำรที่ถูกต้อง
และรวดเร็ว โดยมีกำรปฏิบัติเพื่อเตรียมรับสถำนกำรณ์ เป็นไปตำมแนวทำงที่กำหนด ให้กองอำนวยกำร
ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแต่ละระดับรำยงำนผลกำรปฏิบัติ ให้กองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำ
สำธำรณภัยกลำงทรำบภำยใน 24 ชั่วโมงนับตั้งแต่ได้รับแจ้งกำรเตือนภัยเพื่อเป็นกำรยืนยันกำรสื่อสำร
สองทำง (Two - way Communication) ตำมโครงสร้ำงกำรแจ้งเตือนภัยแก่ประชำชนในภำพที่ 14
ภาพที่ 14 โครงสร้ำงแจ้งเตือนภัยจำกหน่วยงำนรำชกำรส่วนจังหวัดสู่ประชำชน
ยกตัวอย่ำงเช่น เมื่อมีกำรยืนยันข้อมูลว่ำมีโอกำสเกิดพำยุเข้ำมำกกว่ำร้อยละ 60 หน่วยงำนที่
เกี่ยวข้องกับกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจะเข้ำปฏิบัติกำรและประจำกำรในพื้นที่เสี่ยงภัย มีกำร
แจ้งเตือนประชำชนในพื้นที่เสี่ยงภัย ให้ติดตำมข่ำวสำรและประกำศเตือนภัยจำกภำครัฐอย่ำงใกล้ชิดและ
ต่อเนื่อง เพื่อสร้ำงกำรรับรู้ และเป็นข้อมูลประกอบกำรวำงแผนและตัดสินใจแก้ไขปัญหำ โดยใช้โทรสำร
ในรำชกำร วิทยุสื่อสำร สื่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
ใช้สื่อในพื้นที่ เช่น หอกระจำยข่ำว เสียงตำมสำย รถประชำสัมพันธ์เคลื่อนที่ วิทยุชุมชน เคเบิ้ล
ทีวี สำนักข่ำวท้องถิ่น รวมถึงเครือข่ำยอำสำสมัคร ทั้งกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
อำสำสมัคร มิสเตอร์เตือนภัย เครื่องมืออุปกรณ์เตือนภัยในระดับพื้นที่ เช่น ไซเรนมือหมุน โทรโข่ง สื่อ
สังคมออนไลน์ อำทิ เว็บไซต์แจ้งเตือนภัย Facebook Line เพื่อให้ข้อมูลกำรแจ้งเตือนภัยเข้ำถึง
ประชำชนระดับตำบล หมู่บ้ำนอย่ำงรวดเร็วและทั่วถึงทุกพื้นที่
ระบบเตือนภัยที่ติดตั้งไว้ในพื้นที่เสี่ยงจะถูกใช้เตือนภัยแก่ประชำชน และนักท่องเที่ยวในบริเวณ
พื้นที่เสี่ยงภัย โดยข้อควำมเตือนภัยที่บันทึกไว้ (Pre-recorded) จำก 15 ข้อควำมเตือนภัย เช่น ข้อควำม
เตือนภัยสึนำมิ, ข้อควำมเตือนภัยพำยุฤดูร้อน, ข้อควำมเตือนภัยฝนตกหนัก เป็นต้น โดยมีศูนย์ควบคุม
กำรเตือนภัย ณ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ (บำงนำ) เป็นหน่วยงำนในกำรพิจำรณำแจ้งกำรเตือนภัยแก่
ประชำชน ดังภำพที่ 15
ภาพที่ 15 โครงสร้ำงกำรแจ้งเตือนภัยแก่ประชำชน
ในระบบกำรแจ้งเตือนภัยผ่ำนระบบทีวีและวิทยุ ระบบแจ้งเตือนเหตุภัยพิบัติจะส่งสัญญำณกำร
แจ้งเตือนภัยในรูปแบบข้อควำมและเสียงไปยังสถำนีโทรทัศน์ และสถำนีวิทยุกระจำยเสียง เพื่อแจ้งเตือน
ประชำชนในพื้นที่เสี่ยงภัยให้ทรำบด้วยข้อควำมเตือนภัยซึ่งบันทึกไว้ล่วงหน้ำจะประกอบด้วย
2. กำรเตือนภัยแผ่นดินไหว
2. กำรเตือนภัยสึนำมิ (กรณีเตรียมพร้อมเฝ้ำระวัง)
3. กำรเตือนภัยสึนำมิ (กรณีเตือนภัย)
4. กำรเตือนภัยน้ำป่ำไหลหลำก
5. กำรเตือนภัยพำยุ
6. กำรเตือนภัยน้ำท่วมเกิดจำกเขื่อนชำรุด
7. กำรเตือนภัยคลื่นสูงจำกพำยุ
8. กำรทดสอบสัญญำณ
9. กำรยกเลิกสถำนกำรณ์
10. เพลงชำติไทย
12. คำเตือนเรื่องฝนตก
12. คำเตือนเรื่องฝนตกหนักมีปริมำณมำก
13. คำเตือนเรื่องฝนตกหนักจะเกิดน้ำท่วมฉับพลัน
14. คำเตือนพำยุฤดูร้อนและพำยุฝนฟ้ำคะนอง
15. แจ้งสถำนกำรณ์อยู่ในสภำวะปกติแล้ว
แหล่งข้อมูลต้นทางสาหรับติดตามสภาพอากาศ น้า และการเตือนภัยที่ควรใช้
ข้อมูลสภำพอำกำศและแผ่นดินไหว : www.tmd.go.th (กรมอุตุนิยมวิทยำ)
ข้อมูลน้ำ : http://www.thaiwater.net (สถำบันสำรสนเทศทรัพยำกรน้ำและกำรเกษตร)
Application and Website : www.windy.com (windy)

More Related Content

Similar to Ch 2 disaster informatics

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นfocuswirakarn
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองdnavaroj
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_
การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_
การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_Lam Phe
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjintana533
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำjirawat191
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำMonticha
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลมTaweesak Poochai
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศพัน พัน
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศsudchaleom
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงWannaporn Sukthawee
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)พัน พัน
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนpattamonhpgo
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentfreelance
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster educationfreelance
 

Similar to Ch 2 disaster informatics (19)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็นงานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
งานไอเอสที่ต้องใช้ส่งภายในอาทิตย์นี้สิ่งจำเป็น
 
พายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนองพายุฟ้าคะนอง
พายุฟ้าคะนอง
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_
การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_
การนำเร อในสภาพอากาศไม ปกต_
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
นักสืบสายลม
นักสืบสายลมนักสืบสายลม
นักสืบสายลม
 
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศการแบ่งเขตภูมิอากาศ
การแบ่งเขตภูมิอากาศ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศทวีปแอฟริกา  ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
ทวีปแอฟริกา ลงบล๊อคลักษณะภูมิอากาศ
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
โครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวงโครงการฝนหลวง
โครงการฝนหลวง
 
บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)บรรยากาศ (Atmosphere)
บรรยากาศ (Atmosphere)
 
ภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อนภาวะโลกร้อน
ภาวะโลกร้อน
 
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessmentWeek 3 meteorological hazard and risk assessment
Week 3 meteorological hazard and risk assessment
 
Ch 1 disaster education
Ch 1 disaster educationCh 1 disaster education
Ch 1 disaster education
 

More from freelance

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management freelance
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionfreelance
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsfreelance
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classfreelance
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education gamefreelance
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triagefreelance
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentfreelance
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentfreelance
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazardfreelance
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardfreelance
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survivalfreelance
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)freelance
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsfreelance
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reductionfreelance
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterfreelance
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปfreelance
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2freelance
 

More from freelance (20)

International disaster management
International disaster management  International disaster management
International disaster management
 
Policy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reductionPolicy and disaster risk reduction
Policy and disaster risk reduction
 
geo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systemsgeo hazard and Incident command systems
geo hazard and Incident command systems
 
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessmentsWeek 1 meteorological hazard and risk assessments
Week 1 meteorological hazard and risk assessments
 
Week14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education classWeek14 summarize disaster education class
Week14 summarize disaster education class
 
Disaster education game
Disaster education gameDisaster education game
Disaster education game
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
Ch 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessmentCh 3 disaster risk assessment
Ch 3 disaster risk assessment
 
Ch 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessmentCh 7 damange and need assessment
Ch 7 damange and need assessment
 
Ch 6 geological hazard
Ch 6  geological hazardCh 6  geological hazard
Ch 6 geological hazard
 
Ch 5 fire hazard
Ch 5 fire hazardCh 5 fire hazard
Ch 5 fire hazard
 
Ch 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reductionCh 4 disaster risk reduction
Ch 4 disaster risk reduction
 
Week 8 survival
Week 8 survivalWeek 8 survival
Week 8 survival
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
Week 7 geo hazard and damage and need assessment (DANA)
 
Week 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systemsWeek 6 geo hazard and Incident command systems
Week 6 geo hazard and Incident command systems
 
Week 4 disaster risk reduction
Week 4  disaster risk reductionWeek 4  disaster risk reduction
Week 4 disaster risk reduction
 
Week 1 intro to disaster
Week 1 intro to disasterWeek 1 intro to disaster
Week 1 intro to disaster
 
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขปกลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
กลุ่มรียากระดาษแอนเดอะแก๊งค์ --สรุปหนังสือปราชญาวิทยาศาสตร์โดยสังเขป
 
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
กลุ่มRobot มนุษย์ต้องเปลี่ยนแปลงตนเอง...ด่วน-2
 

Ch 2 disaster informatics

  • 1. บทที่ 2 ข้อมูลสารสนเทศภัยพิบัติ 2.1 นิยามและคาเรียกเกี่ยวกับ ภัยพิบัติจากสภาพอากาศ สาธารณภัยเชิงอุตุนิยมวิทยา (Meteorological disaster) เป็นคำที่ใช้เรียก ภัยที่เกิดขึ้น ตำมกำรเปลี่ยนแปลงของฤดูกำล เช่น วำตภัย พำยุหมุน พำยุลูกเห็บ พำยุคลื่นซัดฝั่ง ควำมหนำวเย็น คลื่นควำมร้อน ฝนแล้ง อุทกภัย ไฟไหม้ป่ำ สำธำรณภัยเชิงอุตุนิยมวิทยำที่เกิดขึ้นในประเทศไทยในปัจจุบันส่วนหนึ่งเป็นผลกระทบมำจำก ปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ่และลำนิญ่ำ โดยปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ่มำจำกกำรอุ่นขึ้นอย่ำงผิดปกติของน้ำทะเล บริเวณตอนกลำงและตะวันออกของมหำสมุทรแปซิฟิกเขตร้อน ทำให้เกิดควำมแห้งแล้ง ขณะที่ลำนิญ่ำ เป็นปรำกฏกำรณ์ที่ก่อให้เกิดฝนหรือมรสุมที่แปรปรวนเกิดขึ้นอย่ำงต่อเนื่อง กำรติดตำมข้อมูลและ ประมวลผลข้อมูลสภำพอำกำศในระดับเบื้องต้นได้จึงมีควำมสำคัญมำกในยุคนี้ ภาพที่ 1 ทิศทำงของกระแสน้ำอุ่นและน้ำเย็นในปรำกฏกำรณ์เอลนิโญ่ปี 1997-1998 แหล่งข้อมูล : www.usda.gov/oce/ waob/jawf/enso/forum.htm ซึ่งสิ่งที่มักจะมำควบคู่กันกับภัยทำงสภำพอำกำศก็คือ สาธารณภัยเชิงอุทกวิทยา (Hydrological hazard ) คือ ภัยที่เกิดขึ้นตำมมำจำกกำรเปลี่ยนแปลงของภูมิอำกำศที่เกี่ยวข้องกับน้ำ เช่น น้ำท่วม น้ำหลำกรวมไปถึง ปรำกฏกำรณ์ดินถล่มที่เกิดขึ้นจำกกำรสะสมของน้ำฝนในชั้นดิน ปรำกฏกำรณ์คลื่นยกตัวจำกพำยุซัดเข้ำชำยฝั่ง ขณะเดียวเหตุกำรณ์ที่เป็นสำธำรณภัยเชิงอุทกวิทยำยัง รวมถึงเหตุกำรณ์สึนำมิคลื่นซัดฝั่งจำกกำรดีดตัวของเปลือกโลกอีกด้วย
  • 2. ความรู้ที่จาเป็นต่อการประเมินสภาพอากาศ การอ่านแผนที่อากาศ แผนที่อำกำศ คือแผนที่แสดงองค์ประกอบทำงอุตุนิยมวิทยำ ณ เวลำใดเวลำหนึ่ง ข้อมูลต่ำงๆ ในแผนที่อำกำศได้รับมำจำกเครือข่ำยสถำนีตรวจอำกำศผิวพื้นทั้งหลำย รวบรวมแล้วเขียนขึ้นเป็น ตัวเลข รหัส และสัญลักษณ์ต่ำงๆ ทำงอุตุนิยมวิทยำ ข้อมูลที่อยู่ในแผนที่อำกำศจะนำไปใช้ในกำร คำดหมำยกำรเปลี่ยนแปลงลักษณะอำกำศที่จะเกิดขึ้น ดังตัวอย่ำงในภำพที่ 2 ภาพที่ 2 แผนที่อำกำศ ตัวอย่ำงสัญลักษณ์ทำงอุตุนิยมวิทยำบนแผนที่อำกำศ ได้แก่  L ศูนย์กลำงของหย่อมควำมกดอำกำศต่ำ เป็นบริเวณที่อำกำศร้อนยกตัวทำให้เกิดเมฆ บ่งบอก ถึงควำมร้อนและอำกำศชื้น  H ศูนย์กลำงของหย่อมควำมกดอำกำศสูง เป็นบริเวณที่อำกำศเย็นแห้งแล้ว ฟ้ำใส ไม่มีเมฆปก คลุม บ่งบอกถึงควำมหนำวเย็นและอำกำศแห้ง  เส้นไอโซบาร์ (Isobar) เป็นเส้นโค้งที่ลำกเชื่อมต่อบริเวณที่มีควำมกดอำกำศเท่ำกัน มีตัวเลข แสดงค่ำควำมกดอำกำศซึ่งมีหน่วยเป็น เฮคโตปำสคำล (hPa) กำกับไว้
  • 3.  แนวปะทะอากาศ (Front) เส้นอำร์คหนำทึบสีแดงมีเครื่องหมำยวงกลม คือ แนวปะทะอำกำศ ร้อน เส้นอำร์คหนำทึบสีน้ำเงินมีลิ่มสำมเหลี่ยม คือ แนวปะทะอำกำศเย็น เป็นบริเวณที่มวล อำกำศ 2 มวลเคลื่อนตัวมำพบกันเข้ำ อำกำศของมวลทั้งสองจะไม่ปนกันทันที แต่จะก่อให้เกิด แนวหรือขอบเขตระหว่ำงมวลอำกำศทั้งสอง มวลอำกำศเย็นซึ่งมีควำมแน่นมำกกว่ำ และหนัก มำกกว่ำมวลอำกำศร้อนจะผลักดันอำกำศร้อนให้ลอยขึ้น แนวปะทะที่มวลอำกำศทั้งสองชนกัน จะทำให้เกิดฝนตก เกิดเป็นเมฆ ต่ำง ๆ เกิดพำยุฝนฟ้ำคะนองตำมที่แนวหรือขอบเขตที่มวล อำกำศทั้งสองมำพบกัน ภาพที่ 3 แนวปะทะอำกำศ ร่องความกดอากาศต่า (Intertropical Convergence Zone – ITCZ ) หรือ ร่องมรสุม (Monsoon Trough) เป็นโซนหรือแนวแคบๆ ที่ลมเทรดหรือลมค้ำในเขตร้อนของทั้ง 2 ซีกโลกมำบรรจบ กัน คือลมค้ำตะวันออกเฉียงเหนือของซีกโลกเหนือกับลมค้ำตะวันออกเฉียงใต้ของซีกโลกใต้ ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือร่องมรสม มีลักษณะเป็นแนวพำดขวำงในทิศตะวันออก-ตะวันตก ใน ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือร่องมรสุมเป็นบริเวณที่มีควำมกดอำกำศต่ำ มีกระแสอำกำศไหลขึ้น-ลง สลับกัน ร่องควำมกดอำกำศต่ำหรือร่องมรสุมจะอยู่ในเขตร้อนใกล้ๆ เส้นศูนย์สูตร เป็นบริเวณที่มีเมฆ มำกและฝนตกอย่ำงหนำแน่น ฉะนั้น เมื่อร่องนี้ประจำอยู่ที่ใดหรือผ่ำนที่ใดก็จะทำให้ที่นั้นฝนตกอย่ำง หนำแน่นได้ ภาพที่ 4 แนวปะทะอำกำศ
  • 4. ภาพที่ 5 สัญลักษณ์แสดงข้อมูลที่สถำนีตรวจอำกำศผิวพื้น ข้อมูลจากสถานีตรวจอากาศภาคพื้น แสดงโดยสัญลักษณ์ดังตัวอย่ำงในภำพที่ 5 ซึ่งอธิบำยได้ ดังนี้ - วงกลม แสดงปริมำณเมฆปกคลุมเหนือสถำนี สีขำว: ไม่มีเมฆ สีดำ: เมฆมำก - ลูกศร แสดงทิศทำงลมที่พัดเข้ำหำสถำนี ขีดฉำกที่ปลำยลูกศรแสดงควำมเร็วลม ขีดยิ่งมำก ลม ยิ่งแรง - ควำมกดอำกำศที่ระดับน้ำทะเล แสดงด้วยตัวเลขขวำมือด้ำนบน เป็นตัวเลขสำมหลัก หมำยถึง ตัวเลขท้ำยสองหลักและทศนิยมหนึ่งหลัก (107 หมำยถึง 1010.7 hPa) - แนวโน้มของควำมกดอำกำศเปรียบเทียบกับ 3 ชั่วโมงที่แล้ว แสดงด้วยตัวเลขทำงด้ำนขวำมือมี หน่วยเป็น hPa ค่ำ + หมำยถึงควำมกดอำกำศสูงขึ้น, ค่ำ - หมำยถึงควำมกดอำกำศต่ำลง - อุณหภูมิจุดน้ำค้ำง แสดงด้วยตัวเลขขวำมือด้ำนล่ำง - ลักษณะอำกำศ แสดงด้วยสัญลักษณ์อุตุนิยมวิทยำทำงด้ำนขวำมือ - อุณหภูมิอำกำศ แสดงด้วยตัวเลขด้ำนซ้ำยบน ภาพที่ 6 ภำพแผนที่อำกำศ
  • 5. 2.2 ภัยทางสภาพอากาศที่ควรจับตามอง พำยุหมุนเขตร้อน หรือพำยุหมุนหรือพำยุไซโคลน (cyclone) ที่มีถิ่นกำเนิดเหนือมหำสมุทรใน เขตร้อนแถบละติจูดต่ำ แต่อยู่นอกเขตบริเวณเส้นศูนย์สูตร เพรำะยังไม่เคยปรำกฏว่ำมีพำยุหมุนเขตร้อน เกิดที่เส้นศูนย์สูตรพำยุนี้เกิดขึ้นในมหำสมุทร หรือทะเลที่มีอุณหภูมิสูงตั้งแต่ 26 องศำเซลเซียส หรือ 27 องศำเซลเซียสขึ้นไป และมีปริมำณไอน้ำสูง เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มักเคลื่อนตัวตำมกระแสลมส่วนใหญ่จำกทิศ ตะวันออกมำทำงทิศตะวันตก และค่อยโค้งขึ้นไปทำงละติจูดสูง แล้วเวียนโค้งกลับไปทำงทิศตะวันออก อีก พำยุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นได้หลำยแห่งในโลก และมีชื่อเรียกต่ำงกันไปตำมแหล่งกำเนิด บริเวณที่มี พำยุหมุนเขตร้อนเกิดขึ้นเป็นประจำ ได้แก่ มหำสมุทรแปซิฟิกเหนือด้ำนตะวันตก ทำงตะวันตกของลองจิจูด 170 องศำตะวันออก เมื่อมี กำลังแรงสูงสุด เรียกว่ำ "ไต้ฝุ่น" เกิดมำกที่สุดในเดือนกรกฎำคม สิงหำคม กันยำยน และตุลำคม มหำสมุทรแอตแลนติกเหนือแถวทะเลแคริบเบียนและอ่ำวเม็กซิโก เรียกว่ำ "เฮอร์ริเคน" เกิด มำกในเดือนสิงหำคม กันยำยน และตุลำคม มหำสมุทรแปซิฟิกเหนือ ฝั่งตะวันตกของประเทศเม็กซิโก เรียกว่ำ "เฮอร์ริเคน" บริเวณมหำสมุทรอินเดียเหนือ อ่ำวเบงกอล เรียกว่ำ "ไซโคลน" บริเวณมหำสมุทรอินเดียเหนือ ทะเลอำระเบีย เรียกว่ำ "ไซโคลน" มหำสมุทรอินเดียใต้ ตะวันตกของลองจิจูด 90 องศำตะวันออก เรียกว่ำ "ไซโคลน" พำยุหมุนเขตร้อนเมื่ออยู่ในสภำวะที่เจริญเติบโตเต็มที่ จะเป็นพำยุที่มีควำมรุนแรงที่สุดชนิดหนึ่ง ในบรรดำพำยุที่เกิดขึ้นในโลก มีเส้นผ่ำศูนย์กลำงประมำณตั้งแต่ 100 กิโลเมตรขึ้นไป และเกิดขึ้นพร้อม กับลมที่พัดแรงมำก ระบบกำรหมุนเวียนของลมเป็นไป โดยพัดเวียนในทิศทำงทวนเข็มนำฬิกำเข้ำสู่ ศูนย์กลำงของพำยุในซีกโลกเหนือ ส่วนในซีกโลกใต้พัดเวียนตำมเข็มนำฬิกำ ยิ่งใกล้ศูนย์กลำงลมจะ หมุนเกือบเป็นวงกลมและมีควำมเร็วสูงที่สุด ควำมเร็วลมสูงสุดที่บริเวณใกล้ศูนย์กลำงนำมำใช้เป็นเกณฑ์ในกำรพิจำรณำควำมรุนแรงของ พำยุ ซึ่งในย่ำนมหำสมุทรแปซิฟิกเหนือด้ำนตะวันตก และทะเลจีนใต้มีกำรแบ่งตำมข้อตกลงระหว่ำง ประเทศดังนี้  สัญลักษณ์ = พำยุดีเปรสชันเขตร้อน (tropical depression) ควำมเร็วลมใกล้ศูนย์กลำงไม่ ถึง 34 นอต (63 กม./ชม.)  สัญลักษณ์ = พำยุโซนร้อน (tropical storm) ควำมเร็วลมใกล้ศูนย์กลำง 34 นอต (63 กม./ ชม.) ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 64 นอต (118 กม./ชม.)  สัญลักษณ์ = พำยุไต้ฝุ่น (typhoon) ควำมเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลำงตั้งแต่ 64 นอต (118 กม./ชม.) ขึ้นไป
  • 6. เกณฑ์ความเร็วลมผิวพื้น ความเร็วลมที่ระดับสูงมาตรฐาน 10 เมตรเหนือพื้นดินในบริเวณที่โล่ง ขนาดของลม สัญลักษณ์ที่แสดงบนบก Knots Km./hr ลมสงบ CALM ลมเงียบ ควันลอยขึ้นตรงๆ น้อยกว่ำ 1 น้อยกว่ำ 1 ลมเบำ LIGHT AIR ควันลอยตำมลม แต่ศรลมไม่ ทันไปตำมทิศลม 1-มี.ค. 1-พ.ค. ลมอ่อน LIGHT BREEZE รู้สึกลมพัดที่ใบหน้ำ ใบไม้แกว่ง ไกว ศรลมหันไปตำมทิศลม 4-มิ.ย. 6-พ.ย. ลมโชย GENTLE BREEZE ใบไม้และกิ่งไม้เล็ก ๆ กระดิก ธงปลิว 7-ต.ค. ธ.ค.-19 ลมปำนกลำง MODERATE BREEZE มีฝุ่นตลบ กระดำษปลิว กิ่งไม้ เล็กขยับเขยื้อน พ.ย.-16 20-28 ลมแรง FRESH BREEZE ต้นไม้เล็กแกว่งไกวไปมำ มี ระลอกน้ำ 17-21 29-38 ลมจัด STRONG BREEZE กิ่งไม้ใหญ่ขยับเขยื้อน ได้ยิน เสียงหวีดหวิว ใช้ร่มลำบำก 22-27 39-49 พำยุเกล อ่อน GALE ต้นไม้ใหญ่ทั้งต้นแกว่งไกว เดิน ทวนลมไม่สะดวก 28-33 50-61 พำยุเกล แรง STRONG GALE อำคำรที่ไม่มั่นคงหักพัง หลังคำ ปลิว 41-47 75-88 พำยุ STORM ต้นไม้ถอนรำกล้ม เกิดควำม เสียหำยมำก (ไม่ปรำกฏบ่อย นัก) 48-55 89-102 พำยุใหญ่ VIOLENT STORM เกิดควำมเสียหำยทั่วไป (ไม่ ค่อยปรำกฏ) 56-63 103-117 พำยุไต้ฝุ่นหรือ เฮอร์ริเคน TYPHOON or HURRICANE มำกกว่ำ 63 มำกกว่ำ
  • 7. พายุที่เหนือไปกว่านั้น สำหรับระดับควำมรุนแรงของพำยุหมุนเขตร้อนที่มี ควำมเร็วลมเกิน 118 กิโลเมตรต่อชั่วโมง สำมำรถแบ่งออกเป็น 5 ระดับ ได้แก่ - ระดับที่ 1 มีควำมเร็วลม 119-153 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง เล็กน้อย ไม่ส่งผลต่อสิ่งปลูกสร้ำง มีน้ำท่วมขังตำมชำยฝั่ง - ระดับที่ 2 มีควำมเร็วลม 154-177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง เล็กน้อย ทำให้หลังคำ ประตู หน้ำต่ำงบ้ำนเรือนเสียหำยบ้ำง ทำให้เกิดน้ำ ท่วมขัง - ระดับที่ 3 มีควำมเร็วลม 178-208 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง ปำนกลำง ทำลำยโครงสร้ำงที่อยู่อำศัยขนำดเล็ก น้ำท่วมขังถึงพื้นบ้ำนชั้น ล่ำง - ระดับที่ 4 มีควำมเร็วลม 209-249 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ทำลำยล้ำง สูง หลังคำบ้ำนเรือนบ้ำนเรือนบำงแห่งถูกทำลำย น้ำท่วมเข้ำมำถึงพื้นบ้ำน - ระดับที่ 5 มีควำมเร็วลมมำกกว่ำ 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะ ทำลำยล้ำงสูงมำก หลังคำบ้ำนเรือน ตึกและอำคำรต่ำงๆ ถูกทำลำย พังทลำย น้ำท่วมขังปริมำณมำก ถึงขั้นทำลำยทรัพย์สินในบ้ำน อำจต้อง ประกำศอพยพประชำชน 2.3 มรสุมของประเทศไทย ประเทศไทยอยู่ภำยใต้อิทธิพลของลมมรสุม 2 ชนิด คือ ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือ - ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดปกคลุมประเทศไทย ระหว่ำงกลำงเดือนพฤษภำคมถึงกลำงเดือน ตุลำคม โดยมีแหล่งกำเนิดจำกบริเวณควำมกดอำกำศสูง ในซีกโลกใต้บริเวณมหำสมุทรอินเดีย ซึ่งพัด ออกจำกศูนย์กลำงเป็นลมตะวันออกเฉียงใต้ และเปลี่ยนเป็นลมตะวันตกเฉียงใต้เมื่อพัดข้ำมเส้นศูนย์สูตร มรสุมนี้จะนำมวลอำกำศชื้นจำกมหำสมุทรอินเดียมำสู่ประเทศไทย ทำให้มีเมฆมำกและฝนชุกทั่วไป โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งตำมบริเวณชำยฝั่งทะเล และเทือกเขำด้ำนรับลมจะมีฝนมำกกว่ำบริเวณอื่น - ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ หลังจำกหมดอิทธิพลของมรสุมตะวันตกเฉียงใต้แล้ว ประมำณกลำงเดือนตุลำคม จะมีมรสุม ตะวันออกเฉียงเหนือพัดปกคลุมประเทศไทย จนถึงกลำงเดือนกุมภำพันธ์ มรสุมนี้มีแหล่งกำเนิดจำก บริเวณควำมกดอำกำศสูงบนซีกโลกเหนือ แถบประเทศมองโกเลียและจีน จึงพัดพำเอำมวลอำกำศเย็น และแห้งจำกแหล่งกำเนิดเข้ำมำปกคลุมประเทศไทย ทำให้ท้องฟ้ำโปร่ง อำกำศหนำวเย็นและแห้งแล้ง ทั่วไป โดยเฉพำะภำคเหนือและภำคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภำคใต้จะมีฝนชุกโดยเฉพำะภำคใต้ฝั่ง
  • 8. ตะวันออก เนื่องจำกมรสุมนี้นำควำมชุ่มชื้นจำกอ่ำวไทยเข้ำมำปกคลุม กำรเริ่มต้นและสิ้นสุดมรสุมทั้ง สองชนิดอำจผันแปรไปจำกปกติได้ในแต่ละปี ภาพที่ 7 ทิศทำงมรสุมของประเทศไทย ภัยธรรมชำติที่เกิดขึ้นบ่อยกับประเทศไทยก็คือ น้ำท่วมหรือน้ำท่วมฉับพลัน เกิดจำกฝนตกหนัก ต่อเนื่องกันเป็นเวลำนำน บำงครั้งทำให้เกิดแผ่นดินถล่ม อำจมีสำเหตุจำกพำยุหมุนเขตร้อนลมมรสุมมี กำลังแรง ร่องควำมกดอำกำศต่ำมีกำลังแรง น้ำทะเลหนุน ทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อชีวิต ทรัพย์สินและ สิ่งแวดล้อมตำมธรรมชำติ รวมไปถึงควำมเสียหำยทำงด้ำนเศรษฐกิจ ในช่วง 66 ปีที่ผ่านมา ประเทศไทยเคยเจอ พายุโซนร้อน มาแล้ว 14 ลูก ไทยเคยโดยไต้ฝุ่นมำแล้ว 2 ลูก คือ พำยุไต้ฝุ่นเกย์ กับ พำยุไต้ฝุ่นลินดำ
  • 9. ภาพที่ 8 พำยุที่พัดผ่ำนประเทศไทยในปี 2554 2.3 การเตือนภัย "การเตือนภัย" คือ กำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนกำรณ์ หรือแจ้งสถำนกำรณ์ที่จำเป็นต่อกำรรับรู้ เกี่ยวกับภัยนั้นๆ แก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือคำดว่ำจะได้รับผลกระทบ เพื่อให้เตรียมพร้อมรับ สถำนกำรณ์ และสำมำรถอพยพเคลื่อนย้ำยไปสู่ที่ปลอดภัยได้ทันเวลำ กระบวนการแจ้งเตือนภัย ปัจจุบันกำรเตือนภัยของประเทศไทย มำจำกกำรทำงำนร่วมกันของหลำยหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง กับกำรติดตำมสถำนกำรณ์ภัยแต่ละชนิด ตัวอย่ำงเช่น อุทกภัย ระบบเตือนภัยน้ำท่วมของประเทศไทยที่ ใช้อยู่ในปัจจุบัน มีขั้นตอนคือ กรมอุตุนิยมวิทยำ กรมชลประทำน กรมทรัพยำกรธรณี สถำบันสำรสนเทศทรัพยำกรน้ำและ กำรเกษตร (สสนก.) จะทำให้หน้ำที่ให้ข้อมูลสภำพอำกำศกับหน่วยงำนและประชำชน กรมอุตุนิยมวิทยำ จะมีเจ้ำหน้ำที่ทำงำนตรวจวัดสภำพอำกำศตลอด 24 ชั่วโมง หำกพบกลุ่มฝนหรือควำมผิดปกติจำกกำร ติดตำมข้อมูลสภำพอำกำศล่วงหน้ำ แบบจำลองสภำพอำกำศ จะแจ้งข้อมูลไปยังหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง เช่น กรมทรัพยำกรธรณีที่ทำหน้ำที่เตือนภัยดินถล่ม ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติที่ทำหน้ำที่ประเมิน ข้อมูล ที่ว่ำกำรกรุงเทพมหำนคร (สำนักกำรระบำยน้ำ) ที่ทำหน้ำที่เตรียมกำรระบำยน้ำ ข้อมูลที่ได้มำจะ
  • 10. บอกได้แค่ว่ำกลุ่มฝนที่เคลื่อนผ่ำนมำเป็นกลุ่มฝนแบบไหน แต่บอกไม่ได้ว่ำจะมีฝนตกลงมำมำกเท่ำไร และนำนแค่ไหน ถัดมำศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ จะทำภำรกิจในกำรประมวลข้อมูลและประเมินควำมเสี่ยงจำก ภัยที่ได้รับข้อมูลเข้ำมำ วิเครำะห์ควำมรุนแรงของภัยพิบัติเพื่อให้ข้อมูลแก่หน่วยป้องกันและบรรเทำสำ ธำรณภัย และส่งข้อมูลสื่อมวลชนกระจำยข้อมูลต่อไป ดังตัวอย่ำงของขั้นตอนกำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อกำร เตือนอุทกภัยในภำพที่ 9 นอกจำกภำรกิจระยะฉุกเฉินในกำรประเมินข้อมูลควำมเสี่ยงเพื่อแจ้งข้อมูลกำรเตือนภัยแก่ หน่วยงำนต่ำงๆแล้ว ในระยะยำวของศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติยังมีภำรกิจคือ กำรให้ควำมรู้ต่อ ประชำชนและเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง ดำเนินกำรฝึกซ้อมร่วมกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง ภาพที่ 9 ขั้นตอนกำรวิเครำะห์ข้อมูลเพื่อกำรเตือนอุทกภัย แหล่งที่มำ : สไลด์จำกศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ โดยสำกลนั้นกระบวนกำรเตือนภัยล่วงหน้ำ ตำมมำตรฐำนสำกล (International Strategy for Disaster Reduction (ISDR) United Nations (UN), 2006) จะมีกำรทำงำนที่สอดคล้องกัน 5 ระบบ คือ
  • 11. 1) ระบบประเมินควำมเสี่ยง (Risk Assessment) 2) ระบบรับข้อมูล (Monitoring) 3) ระบบวิเครำะห์ข้อมูล (Predicting) 4) ระบบกระจำยข้อมูล (Disseminating Information) 5) ระบบสร้ำงควำมตระหนักรู้ภัยพิบัติ (Response) สำหรับประเทศไทยในทำงปฏิบัตินั้น กระบวนกำรและช่องทำงกำรส่งผ่ำนข้อมูลในกำรเตือนภัย มีกำรดำเนินงำนโดยสรุปได้เป็น 3 ส่วนดังภำพที่ 10 ภาพที่ 10 กระบวนกำรและช่องทำงกำรส่งผ่ำนข้อมูลในกำรเตือนภัยของประเทศไทย แหล่งที่มำ : สไลด์จำกศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ กระบวนกำรแจ้งเตือนภัยของประเทศไทยมีกำรดำเนินงำนตำมแผนป้องกันและบรรเทำสำธำรณ ภัย พ.ศ. 2558 ที่กำหนดให้มีกำรดำเนินงำน 4 ขั้น คือ 1) แจ้งข่าว เป็นกำรติดตำมข้อมูลควำมเคลื่อนไหวของเหตุกำรณ์ที่มีแนวโน้มอำจส่งผลให้เกิด ภัยพิบัติ และ ติดตำมสถำนกำรณ์ตลอด 24 ชั่วโมง 2) เฝ้าระวัง เป็นกำรติดตำมข้อมูลควำมเคลื่อนไหวของเหตุกำรณ์ที่อำจส่งผลให้เกิดสำธำรณ ภัย รวมทั้งทำหน้ำที่เฝ้ำระวัง ให้ข้อมูลและข่ำวสำรประชำชน โดยมีส่วนรำชกำรและ หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องที่มีควำมรู้และเครื่องมือทำงเทคนิค ติดตำมสถำนกำรณ์ปฏิบัติงำน ตลอด 24 ชั่วโมง
  • 12. 3) แจ้งเตือนล่วงหน้า เป็นกำรแจ้งข้อมูลข่ำวสำรที่บ่งชี้ว่ำมีแนวโน้มที่จะเกิดสำธำรณภัยขึ้นใน พื้นที่ที่มีควำมเสี่ยงภัยไปยังส่วนรำชกำร หน่วยงำน กองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำ ธำรณภัยแต่ละระดับ และประชำชน เพื่อให้ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรอย่ำงต่อเนื่อง ทั้งนี้ ระยะเวลำสำหรับกำรแจ้งเตือนล่วงหน้ำขึ้นอยู่กับสำธำรณภัยแต่ละประเภท โดยปกติควรมี กำรแจ้งเตือนล่วงหน้ำก่อนเกิดสำธำรณภัยไม่ต่ำกว่ำ 120 ชั่วโมง (5 วัน ล่วงหน้ำ) 4) ภาวะเสี่ยง-ให้อพยพ เป็นกำรยืนยันข้อมูลว่ำมีโอกำสเกิดสำธำรณภัยมำกกว่ำร้อยละ 60 และเป็นกำรแจ้งแนวทำงปฏิบัติให้กับส่วนรำชกำร และประชำชนในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้ เตรียมควำมพร้อมรับมือสำธำรณภัยที่จะเกิดขึ้น โดยให้มีกำรแจ้งเตือนภัยไม่ต่ำกว่ำ 72 ชั่วโมง ก่อนเกิดภัย และมีข้อมูลกำรแจ้งเตือนภัย ได้แก่ 1. คำดกำรณ์ระยะเวลำ และพื้นที่ 2. ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นและระยะเวลำของภัย 3. แนวทำงปฏิบัติตนของส่วนรำชกำร หน่วยงำน และประชำชน 4. กำรเตรียมควำมพร้อมรับมือ โดยกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยกลำง (กอปภ.) แต่ละระดับจะรำยงำนผลกำร ปฏิบัติให้ กอปภ.ก. ทรำบภำยใน 24 ชั่วโมง ถือเป็นกำรยืนยันกำรสื่อสำรสองทำง (TWO way – Communication) ระดับการเตือนภัย เพื่อให้กำรเตือนภัยมีระบบ มีกำรสื่อสำรที่ถูกต้องรวดเร็วไปยังส่วนรำชกำร หน่วยงำน และ ประชำชน แผนกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแห่งชำติ พ.ศ. 2558 ได้กำหนดระดับและควำมหมำย ของสีในกำรเตือนภัยเอำไว้ 5 ระดับคือ (ดังภำพที่ 11)  สีแดง หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะอันตรำยสูงสุด ให้อำศัยอยู่แต่ในสถำนที่ปลอดภัยและ ปฏิบัติตำมข้อสั่งกำร  สีส้ม หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะเสี่ยงอันตรำยสูง เจ้ำหน้ำที่กำลังควบคุมสถำนกำรณ์ให้ อพยพไปยังสถำนที่ปลอดภัย และปฏิบัติตำมแนวทำงที่กำหนด  สีเหลือง หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะเสี่ยงอันตรำย มีแนวโน้มที่สถำนกำรณ์ จะรุนแรงมำก ขึ้น ให้จัดเตรียมควำมพร้อมรับสถำนกำรณ์ และปฏิบัติตำมคำแนะนำ  สีน้าเงิน หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะเฝ้ำระวัง ให้ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรอย่ำงใกล้ชิดทุก ๆ 24 ชั่วโมง  สีเขียว หมำยถึง สถำนกำรณ์อยู่ในภำวะปกติ ให้ติดตำมข้อมูลข่ำวสำรเป็นประจำ
  • 13. ภาพที่ 11 ระดับและควำมหมำยของสีในกำรเตือนภัย ระบบการเฝ้าระวังและแจ้งเตือนภัยล่วงหน้า 1. ระบบการเฝ้าระวังภัยน้าท่วม ระบบกำรเฝ้ำระวังภัยน้ำท่วม เป็นกำรติดตำม สังเกตหรือป้องกันไม่ให้ปริมำณน้ำมำก จนส่งผลให้เกิดน้ำท่วมได้ ในประเทศไทยหน่วยงำนที่มีหน้ำที่เฝ้ำระวังภัยจำกน้ำท่วม คือ กรม อุตุนิยมวิทยำ ซึ่งเป็นผู้เฝ้ำระวังและคอยให้ข้อมูลข่ำวสำรเกี่ยวกับน้ำท่วมให้แก่ประชำชนได้รับทรำบ นอกจำกนี้ยังมีหน่วยงำนที่ให้ข้อมูลกำรเตือนภัยน้ำท่วมในลุ่มน้ำ ได้แก่ สำนักอุทกวิยำ และบริหำรน้ำ กรมชลประทำนและกรมทรัพยำกรน้ำ เป็นต้น ซึ่งหน่วยงำนเหล่ำนี้จะมีเครื่องมือวัดระดับ น้ำซึ่งใช้ระบบสื่อสำรและระบบคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัยในกำรประมวลผล เพื่อแจ้งเตือนภัยน้ำท่วมให้แก่ ประชำชนในพื้นที่ลุ่มน้ำ 2. ระบบการแจ้งเตือนภัยน้าท่วมล่วงหน้า กำรแจ้งเตือนภัยน้ำท่วมเป็นกำรให้ข้อมูลเกี่ยวกับสถำนกำรณ์น้ำ หรือ แจ้งสถำนกำรณ ที่จำเป็นต่อกำรรับรู้เกี่ยวกับภัยจำกน้ำท่วมแก่ผู้ที่ได้รับผลกระทบ หรือคำดว่ำจะได้รับผลกระทบ เพื่อให้ เตรียมพร้อมรับสถำนกำรณ์ และสำมำรถอพยพเคลื่อนย้ำยไปสู่ที่ปลอดภัยได้ทันเวลำ 3. วิธีการแจ้งเตือนภัยน้าท่วม มี 2 วิธี ได้แก่ 3.1 แจ้งเตือนประชาชนโดยตรง โดยผ่ำนทำงสถำนีโทรทัศน์ สถำนีวิทยุ วิทยุสมัครเล่น โทรสำร โทรศัพท์มือถือ หอกระจำยข่ำว เสียงตำมสำย ไซเรนเตือนภัยแบบมือหมุน และหอเตือนภัย 3.2 แจ้งเตือนผ่านหน่วยงาน โดยใช้กลไกระบบกำรบริหำรรำชกำรส่วนภูมิภำคและส่วน ท้องถิ่นผ่ำนหน่วยงำนต่ำงๆ ๆ ดังนี้  ส่วนภูมิภำค ได้แก่ จังหวัดและอำเภอ  ส่วนท้องถิ่น ได้แก่ องค์กำรบริหำรส่วนจังหวัด เทศบำล เมืองพัทยำ และองค์กำรบริหำร ส่วนตำบล 4. ระดับการแจ้งเตือนภัยน้าท่วม
  • 14. 4.1 การแจ้งเตือนภัยระดับจังหวัด เป็นกำรแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำ ผ่ำนระบบเครือข่ำย ระบบสื่อสำร และสื่อประชำสัมพันธ์ของทำงรำชกำรและเอกชน เช่น วิทยุกระจำยเสียง วิทยุสื่อสำร โทรสำร ประชำสัมพันธ์จังหวัด โดยสำนักงำนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจังหวัดมีหน้ำที่ในกำรแจ้ง เตือนภัยไปยังหน่วยงำนในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง และ หรือ กองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย จังหวัด อำเภอ และท้องถิ่นที่คำดว่ำจะเกิดภัย เพื่อแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำแก่ผู้ที่คำดว่ำจะได้รับผลกระทบ ในพื้นที่เสี่ยงภัยให้เฝ้ำระวังและเตรียมพร้อมรับสถำนกำรณ์ และสำมำรถอพยพเคลื่อนย้ำยไปสู่ที่ ปลอดภัยได้ 4.2 การแจ้งเตือนภัยระดับอาเภอ เป็นกำรแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำ ผ่ำนระบบเครือข่ำยและ ระบบสื่อสำรและสื่อประชำสัมพันธ์ของทำงรำชกำรและเอกชน เช่น วิทยุชุมชน วิทยุสื่อสำร โทรสำร ผ่ำน หน่วยงำน และเครือข่ำยที่เกี่ยวข้องต่ำงๆ ในระดับอำเภอ ภาพที่ 12 ช่องทำงกำรเตือนภัยสู่ประชำชน 4.3 การแจ้งเตือนภัยระดับตาบล/ชุมชน เป็นกำรแจ้งเตือนภัยล่วงหน้ำให้แก่อำสำสมัคร ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย และเครือข่ำยเฝ้ำระวังและแจ้งเตือนภัยในระดับตำบลหรือชุมชน โดยใช้ ระบบสื่อสำรและสื่อประชำสัมพันธ์ในกำรแจ้งเตือนภัย เช่น เสียงตำมสำย วิทยุ หอกระจำยข่ำว ไซเรน เตือนภัยแบบมือหมุน โทรโข่ง นกหวีด หรือสัญญำณเสียงที่กำหนดใช้เป็นสัญญำณเตือนภัยประจำ
  • 15. ชุมชนหรือตำบล นอกจำกนี้ ยังมีกลไกกำรแจ้งเตือนภัยในท้องถิ่นอีกกลไกหนึ่งนั่นคือ “มิสเตอร์เตือน ภัย” ซึ่งเป็นเครือข่ำยในกำรประสำนงำนในระดับท้องถิ่นที่สำคัญเพื่อเฝ้ำระวังและแจ้งเตือนภัยพิบัติใน พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม ดิน โคลนถล่มให้กับประชำชนได้รับประโยชน์สูงสุด 4.4 การจัดตั้งคณะกรรมการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยชุมชน ในชุมชนที่เสี่ยงภัย ควรมีกำรจัดทำแผนชุชนในกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย พร้อมทั้งจัดตั้งคณะกรรมกำรป้องกัน และบรรเทำสำธำรณภัยชุมชน และ คณะกรรมกำรฝ่ำยต่ำงๆ ขึ้น โดยกำหนดบทบำทหน้ำที่และ ผู้รับผิดชอบของแต่ละฝ่ำย ช่วงก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัย และหลังเกิดภัยให้ชัดเจน ดังนี้ 1) คณะกรรมกำรฝ่ำยป้องกันและเตรียมควำมพร้อม  จัดฝึกอบรมด้ำนกำรเตรียมควำมพร้อมในกำรจัดกำรควำมเสี่ยงจำกภัยพิบัติให้แก่ ชุมชนเพื่อเสริมสร้ำงจิตสำนึกแก่ชุมชนในสิ่งที่ควรทำก่อนเกิดภัย ขณะเกิดภัยและหลัง เกิดภัย  จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ให้พร้อมที่จะเผชิญกับเหตุกำรณ์ฉุกเฉิน  จัดกำรฝึกซ้อมแผนป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัย 2) คณะกรรมกำรฝ่ำยเฝ้ำระวังและแจ้งเตือนภัย  เฝ้ำติดตำมสถำนกำรณ์สำธำรณภัยอย่ำงสม่ำเสมอ  แจ้งเตือนเมื่อมีสำธำรณภัยในชุมชนให้ทุกคนได้รับทรำบ พร้อมแนวทำงปฏิบัติสำหรับ กำรอพยพ 3) คณะกรรมกำรฝ่ำยอพยพ  ประสำนงำนกับคณะกรรมกำรฝ่ำยเฝ้ำระวังเหตุ  ดำเนินกำรอพยพประชำชนจำกจุดเสี่ยงไปยังจุดปลอดภัย  ดำเนินกำรอพยพประชำชนกลับบ้ำนเรือนเมื่อเหตุกำรณ์คลี่คลำยแล้ว 4) คณะกรรมกำรฝ่ำยค้นหำ กู้ภัยและช่วยชีวิต  กำรดำเนินกำรค้นหำ กู้ภัยและช่วยเหลือผู้ประสบภัย  ดำเนินกำรปฐมพยำบำลเบื้องต้นและส่งต่อสถำนพยำบำล 5) คณะกรรมกำรฝ่ำยรักษำพยำบำล  ดำเนินกำรรักษำพยำบำลแก่ผู้เจ็บป่วยหรือได้รับบำดเจ็บ  ฟื้นฟูสภำพจิตใจ วิถีชีวิตของผู้ประสบภัย 6) คณะกรรมกำรฝ่ำยรักษำควำมสงบเรียนร้อย  ดูแลรักษำควำมปลอดภัยบ้ำนเรือนและทรัพย์สินอื่นๆ ของผู้อพยพ  อำนวยควำมสะดวกด้ำนกำรเดินทำงและกำรจรำจรขณะอพยพ 7) คณะกรรมกำรฝ่ำยประสำนงำน  ประสำนกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น สถำนีอนำมัย สถำนีตำรวจ ในกำรรำยงำน เหตุกำรณ์เพื่อให้เข้ำมำช่วยเหลือสนับสนุนกำรบรรเทำสำธำรณภัยต่อไป  ประสำนกับหน่วยกู้ชีพ กู้ภัยต่ำงๆ
  • 16. การแจ้งเตือนภัย เมื่อมีกำรยืนยันข้อมูลว่ำมีโอกำสเกิดสำธำรณภัยมำกกว่ำร้อยละ 60 จะมีกำรแจ้งแนวทำงปฏิบัติ ให้กับส่วนรำชกำร หน่วยงำน กองอำำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแต่ละระดับและประชำชน ในพื้นที่เสี่ยงภัย เพื่อให้เตรียมควำมพร้อมรับมือกับสำธำรณภัยที่จะเกิดขึ้น โดยให้มีกำรแจ้งเตือนภัยไม่ ต่ำกว่ำ 72 ชั่วโมงก่อนเกิดภัย และมีข้อมูลกำรแจ้งเตือนภัย ได้แก่ - คำดกำรณ์ระยะเวลำ และบริเวณพื้นที่ที่จะเกิดสำธำรณภัย - ผลกระทบที่อำจเกิดขึ้นและควำมยำวนำนของภัย (ระยะเวลำ) - แนวทำงกำรปฏิบัติตนของส่วนรำชกำร หน่วยงำน และประชำชน - กำรเตรียมควำมพร้อมรับมือ เช่น อำหำร น้ำดื่ม ยำรักษำโรค เป็นต้น เมื่อมีกำรแจ้งเตือนภัยกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยกลำงจะส่งข้อมูลกำรแจ้ง เตือนภัยไปยังช่องทำงต่ำงๆดังภำพที่ 13 ภาพที่ 13 ภำพรวมช่องทำงกำรแจ้งเตือนภัย หน่วยงำนที่มีหน้ำที่ในกำรแจ้งเตือนภัยจะสั่งกำรไปยังกองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำสำ ธำรณภัยแต่ละระดับ ศูนย์ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยเขต พร้อมทั้งให้กรมประชำสัมพันธ์ ร่วมกับ กรมกำรปกครอง กำหนดขั้นตอนวิธีปฏิบัติเพื่อเผยแพร่ ประชำสัมพันธ์ แจกจ่ำยข้อมูลข่ำวสำร และแจ้ง
  • 17. เตือนภัยให้กับผู้ปกครองท้องที่และประชำชนเพื่อให้มั่นใจได้ว่ำประชำชนได้รับข้อมูล ข่ำวสำรที่ถูกต้อง และรวดเร็ว โดยมีกำรปฏิบัติเพื่อเตรียมรับสถำนกำรณ์ เป็นไปตำมแนวทำงที่กำหนด ให้กองอำนวยกำร ป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยแต่ละระดับรำยงำนผลกำรปฏิบัติ ให้กองอำนวยกำรป้องกันและบรรเทำ สำธำรณภัยกลำงทรำบภำยใน 24 ชั่วโมงนับตั้งแต่ได้รับแจ้งกำรเตือนภัยเพื่อเป็นกำรยืนยันกำรสื่อสำร สองทำง (Two - way Communication) ตำมโครงสร้ำงกำรแจ้งเตือนภัยแก่ประชำชนในภำพที่ 14 ภาพที่ 14 โครงสร้ำงแจ้งเตือนภัยจำกหน่วยงำนรำชกำรส่วนจังหวัดสู่ประชำชน ยกตัวอย่ำงเช่น เมื่อมีกำรยืนยันข้อมูลว่ำมีโอกำสเกิดพำยุเข้ำมำกกว่ำร้อยละ 60 หน่วยงำนที่ เกี่ยวข้องกับกำรป้องกันและบรรเทำสำธำรณภัยจะเข้ำปฏิบัติกำรและประจำกำรในพื้นที่เสี่ยงภัย มีกำร แจ้งเตือนประชำชนในพื้นที่เสี่ยงภัย ให้ติดตำมข่ำวสำรและประกำศเตือนภัยจำกภำครัฐอย่ำงใกล้ชิดและ ต่อเนื่อง เพื่อสร้ำงกำรรับรู้ และเป็นข้อมูลประกอบกำรวำงแผนและตัดสินใจแก้ไขปัญหำ โดยใช้โทรสำร ในรำชกำร วิทยุสื่อสำร สื่อมวลชน เช่น วิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์ ใช้สื่อในพื้นที่ เช่น หอกระจำยข่ำว เสียงตำมสำย รถประชำสัมพันธ์เคลื่อนที่ วิทยุชุมชน เคเบิ้ล ทีวี สำนักข่ำวท้องถิ่น รวมถึงเครือข่ำยอำสำสมัคร ทั้งกำนัน ผู้ใหญ่บ้ำน ผู้นำองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำสำสมัคร มิสเตอร์เตือนภัย เครื่องมืออุปกรณ์เตือนภัยในระดับพื้นที่ เช่น ไซเรนมือหมุน โทรโข่ง สื่อ
  • 18. สังคมออนไลน์ อำทิ เว็บไซต์แจ้งเตือนภัย Facebook Line เพื่อให้ข้อมูลกำรแจ้งเตือนภัยเข้ำถึง ประชำชนระดับตำบล หมู่บ้ำนอย่ำงรวดเร็วและทั่วถึงทุกพื้นที่ ระบบเตือนภัยที่ติดตั้งไว้ในพื้นที่เสี่ยงจะถูกใช้เตือนภัยแก่ประชำชน และนักท่องเที่ยวในบริเวณ พื้นที่เสี่ยงภัย โดยข้อควำมเตือนภัยที่บันทึกไว้ (Pre-recorded) จำก 15 ข้อควำมเตือนภัย เช่น ข้อควำม เตือนภัยสึนำมิ, ข้อควำมเตือนภัยพำยุฤดูร้อน, ข้อควำมเตือนภัยฝนตกหนัก เป็นต้น โดยมีศูนย์ควบคุม กำรเตือนภัย ณ ศูนย์เตือนภัยพิบัติแห่งชำติ (บำงนำ) เป็นหน่วยงำนในกำรพิจำรณำแจ้งกำรเตือนภัยแก่ ประชำชน ดังภำพที่ 15 ภาพที่ 15 โครงสร้ำงกำรแจ้งเตือนภัยแก่ประชำชน ในระบบกำรแจ้งเตือนภัยผ่ำนระบบทีวีและวิทยุ ระบบแจ้งเตือนเหตุภัยพิบัติจะส่งสัญญำณกำร แจ้งเตือนภัยในรูปแบบข้อควำมและเสียงไปยังสถำนีโทรทัศน์ และสถำนีวิทยุกระจำยเสียง เพื่อแจ้งเตือน ประชำชนในพื้นที่เสี่ยงภัยให้ทรำบด้วยข้อควำมเตือนภัยซึ่งบันทึกไว้ล่วงหน้ำจะประกอบด้วย 2. กำรเตือนภัยแผ่นดินไหว 2. กำรเตือนภัยสึนำมิ (กรณีเตรียมพร้อมเฝ้ำระวัง) 3. กำรเตือนภัยสึนำมิ (กรณีเตือนภัย) 4. กำรเตือนภัยน้ำป่ำไหลหลำก
  • 19. 5. กำรเตือนภัยพำยุ 6. กำรเตือนภัยน้ำท่วมเกิดจำกเขื่อนชำรุด 7. กำรเตือนภัยคลื่นสูงจำกพำยุ 8. กำรทดสอบสัญญำณ 9. กำรยกเลิกสถำนกำรณ์ 10. เพลงชำติไทย 12. คำเตือนเรื่องฝนตก 12. คำเตือนเรื่องฝนตกหนักมีปริมำณมำก 13. คำเตือนเรื่องฝนตกหนักจะเกิดน้ำท่วมฉับพลัน 14. คำเตือนพำยุฤดูร้อนและพำยุฝนฟ้ำคะนอง 15. แจ้งสถำนกำรณ์อยู่ในสภำวะปกติแล้ว แหล่งข้อมูลต้นทางสาหรับติดตามสภาพอากาศ น้า และการเตือนภัยที่ควรใช้ ข้อมูลสภำพอำกำศและแผ่นดินไหว : www.tmd.go.th (กรมอุตุนิยมวิทยำ) ข้อมูลน้ำ : http://www.thaiwater.net (สถำบันสำรสนเทศทรัพยำกรน้ำและกำรเกษตร) Application and Website : www.windy.com (windy)