SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงชีวิต
ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี
พ.ศ. 2517เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4ธันวาคม
พ.ศ. 2540เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย
ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ
เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ
โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ศ.เสน่ห์
จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา
โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน
ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจานวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้
แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสา
ขาอื่น ๆ
มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9และได้จัดทาเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง"
และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม
พ.ศ. 2542โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่
เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ย
วข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ
ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ
และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน
โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน
บางสื่อได้มีการตั้งคาถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ
รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช
ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่
อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการดารงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง
สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล
โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์
และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย
ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ
เพื่อที่จะยืนหยัดในการไม่พึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สาคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดาริว่า
มันไม่ได้มีความจาเป็นที่เราจะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า
ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ
ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้
เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2อย่างคือ
1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค
2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง
ผลที่เกิดขึ้นคือ
■เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน
■ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม
■รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก
หลักปรัชญา
...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน
พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด
แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว
จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป
หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว
โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย
ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด...
—พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ
หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 18กรกฎาคม พ.ศ. 2517[1]
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง
ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง
และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ
และระมัดระวัง ในการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้
เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน
เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง
แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข
แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3ห่วง 2เงื่อนไข"
ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน
ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง
อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า
เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้
ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาต่างๆ ความพอประมาณ
หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น
การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ
โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี
หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว
ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้
หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดาเนินชีวิตและการประกอบการงาน
ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร
การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา
อภิชัย พันธเสน ผู้อานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น
"ข้อเสนอในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง"
ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดารัสหนึ่ง ได้ให้คาอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง
ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"[
ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน
และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงินของบุคคลนั้น
โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน ถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน
และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง
ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้
เพราะสภาพการดารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น
ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชีวิต เช่น
การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น
การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น
ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้
ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวิต ซึ่ง ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า "หลาย ๆ
คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ" และ "การลงมือทาด้วยความมีเหตุมีผล
เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง"
การนาไปใช้
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้
ถูกใช้เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน
เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์
หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช 2550 ในส่วนที่ 3แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) ความว่า:
"บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน
โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภ
าพรวมเป็นสาคัญ"
นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24พฤศจิกายน
พ.ศ. 2547ในการประชุมสุดยอด The Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่Burkina Faso ว่า
ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "การพัฒนาแบบยั่งยืน"
ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการแข่งขัน
ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของนานาชาติในประชาคมโลก
โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ
พ.ศ. 2540ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
ของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7
วิธีการปลูกผักสวนครัว
1. การปลูกผักในแปลงปลูก มีขั้นตอน คือ
1.1 การพรวนดิน ใช้จอบขุดดินลึกประมาณ 6 นิ้วเพื่อพรวนดินให้มีโครงสร้างดีขึ้น
กาจัดวัชพืชในดินกาจัดไข่แมลงหรือโรคพืชที่อยู่ในดิน โดยการพรวนดินและตากทิ้งไว้ประมาณ 7-
15 วัน
1.2 การยกแปลง ใช้จอบพรวนยกแปลงสูงประมาณ 4-5นิ้ว จากผิวดิน โดยมีความกว้างประมาณ 1-
1.20 เมตร ส่วนความยาวควรเป็นตามลักษณะของพื้นที่หรืออาจแบ่งเป็นแปลงย่อยๆ
ตามความเหมาะสม ความยาวของแปลงนั้นควรอยู่ในแนวทิศเหนือ - ใต้
ทั้งนี้เพื่อให้ผักได้รับแสงแดดทั่วทั้งแปลง
1.3การปรับปรุงเนื้อดินเนื้อดินที่ปลูกผักควรเป็นดินร่วนแต่สภาพ ดินเดิมนั้นอาจจะเป็นดิน
ทรายหรือดินเหนียว จาเป็นต้องปรับปรุงให้เนื้อดินดีขึ้นโดยการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก
อัตราประมาณ 2-3กิโลกรัม ต่อเนื้อที่ 1 ตารางเมตร คลุกเคล้าให้เข้ากัน
1.4การกาหนดหลุมปลูกจะกาหนดภายหลังจากเลือกชนิด ผักต่างๆ
แล้วเพราะว่าผักแต่ละชนิดจะใช้ระยะปลูกที่ต่างกัน เช่น พริก ควรใช้ระยะ 75*100 เซนติเมตร
ผักบุ้งจะเป็น 5*5 เซนติเมตร เป็นต้น
2.การปลูกผักในภาชนะการปลูกผักในภาชนะควรจะ พิจารณาถึงการหยั่งรากของพืชผักชนิดนั้นๆ
พืชผักที่หยั่งรากตื้นสามารถปลูกได้ดีในภาชนะปลูกชนิดต่างๆ
และภาชนะชนิดห้อยแขวนที่มีความลึก ไม่เกิน 10 เซนติเมตร คือ
ผักบุ้งจีน คะน้าจีน ผักกาดกวางตุ้ง (เขียวและขาว) ผักกาดฮ่องเต้ ผักกาดหอม ผักกาดขาวชนิดไม่ห่อ
(ขาวเล็ก ขาวใหญ่) ตั้งโอ๋ ปวยเล้ง หอมแบ่ง (ต้นหอม) ผักชี ขึ้นฉ่าย ผักโขมจีน กระเทียมใบ (Leek)
กุยช่าย กระเทียมหัว ผักชีฝรั่ง บัวบก สะระแหน่แมงลัก โหระพา (เพาะเมล็ด) กะเพรา (เพาะเมล็ด)
พริกขี้หนู ตะไคร้ ชะพลูหอมแดง หอมหัวใหญ่หัวผักกาดแดง (แรดิช)
วัสดุที่สามารถนามาทาเป็นภาชนะปลูกอาจดัดแปลงจากสิ่งที่ใช้แล้ว เช่น ยางรถยนต์เก่า กะละมัง
ปลอกซีเมนต์ เป็นต้น สาหรับภาชนะแขวนอาจใช้ กาบมะพร้าว กระถาง หรือเปลือกไม้
วิธีการปลูกผักในภาชนะแย่งออกได้เป็น 2วิธี
2.1
เพาะเมล็ดด้วยการหว่านแล้วถอนแยกหรือหยอดเป็นแถวแล้วถอนแยกซึ่งพืชที่ควรปลูกด้วยวิธีนี้
ได้แก่
- ผักบุ้งจีน - คะน้าจีน - ผักกาดขาวกวางตุ้ง
- ผักกาดเขียวกวางตุ้ง - ผักฮ่องเต้(กวางตุ้งไต้หวัน)
- ตั้งโอ๋ - ปวยเล้ง - ผักกาดหอม
- ผักโขมจีน - ผักชี - ขึ้นฉ่าย
- โหระพา - กระเทียมใบ - กุยฉ่าย
- หัวผักกาดแดง - กระเพรา- แมงลัก
- ผักชีฝรั่ง - หอมหัวใหญ่
2.2 ปักชาด้วยต้น และหัว ได้แก่
- หอมแบ่ง (หัว) - ผักชีฝรั่ง - กระเทียมหัว (ใช้หัวปลูก)
- หอมแดง (หัว) - บัวบก (ไหล) - ตะไคร้ (ต้น)
- สะระแหน่(ยอด) - ชะพลู(ต้น) - โหระพากิ่งอ่อน)
- แมงลัก (กิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน)
หมายเหตุ มีบางพืชที่ปลูกด้วยหัว หรือส่วนของต้นก็ได้ปลูกด้วยเมล็ดก็ได้
ดังนั้นจึงมีชื่อผักที่ซ้ากันทั้งข้อ1และ 2
ผักในภาชนะ
การปฏิบัติดูแลรักษา
การดูแลรักษาด้วยความเอาใจใส่ จะช่วยให้ผักเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์จนถึงระยะเก็บเกี่ยว
การดูแลรักษาดังกล่าว ได้แก่
1. การให้น้า การปลูกผักจาเป็นต้องให้น้าเพียงพอ การให้น้าผักควรรดน้าในช่วง เช้า- เย็น
ไม่ควรรดตอนแดดจัด และรดน้าแต่พอชุ่มอย่าให้โชก
2. การให้ปุ๋ย มี 2 ระยะคือ
2.1 ใส่รองพื้นคือการใส่เมื่อเวลาเตรียมดิน หรือรองก้นหลุมก่อนปลูก
ปุ๋ยที่ใส่ควรเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก
คลุกในดินให้ทั่วก่อนปลูกเพื่อปรับโครงสร้างดินให้โปร่งร่วนซุย
นอกจากนั้นยังช่วยในการอุ้มน้าและรักษาความชื้นของดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชด้
วย
2.2 การใส่ปุ๋ยบารุง ควรใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง
ครั้งแรกเมื่อย้ายกล้าไปปลูกจนกล้าตั้งตัวได้แล้ว และใส่ครั้งที่ 2 หลังจากใส่ครั้งแรกประมาณ 2-3
สัปดาห์ การใส่ให้โรยบางๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยอยู่ชิดต้น เพราะจะทาให้ผักตายได้
เมื่อใส่ปุ๋ยแล้วให้พรวนดินและรดน้าทันที สูตรปุ๋ยที่ใช้กับพืชผัก ได้แก่ยูเรีย หรือ
แอมโมเนียซัลเฟต สาหรับบารุงต้นและใบ และปุ๋ยสูตร 15-15-15และ 12-24-12
สาหรับเร่งการออกดอกและผล
3. การป้ องกันกาจัดศัตรูพืช ควรบารุงรักษาต้นพืชให้แข็งแรงโดยการกาจัดวัชพืช
ให้น้าอย่างเพียงพอและใส่ปุ๋ยตามจานวนที่กาหนดเพื่อให้ผักเจริญเติบโต แข็งแรง
ทนต่อโรคและแมลง หากมีโรคและแมลงระบาดมากควรใช้สารธรรมชาติ หรือใช้วิธีกลต่างๆ
ในการป้องกันกาจัด เช่น หนอนต่างๆ ใช้มือจับออก ใช้พริกไทยป่นผสมน้าฉีดพ่น
ใช้น้าคั้นจากใบหรือเมล็ดสะเดา ถ้าเป็นพวกเพลี้ย เช่นเพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย
และเพลี้ยจั๊กจั่น ให้ใช้น้ายาล้างจาน 15ซีซี ผสมน้า 20ลิตร ฉีดพ่นใต้ใบเวลาเย็น ถ้าเป็นพวกมด
หอย และทาก ให้ใช้ปูนขาวโรยบางๆ ลงบริเวณพื้นดิน
การเก็บเกี่ยว
การเก็บเกี่ยวผักควรเก็บในเวลาเช้าจะทาให้ได้ผักสดรสดี และหากยังไม่ได้ใช้ให้ล้างให้สะอาด
และนาเก็บไว้ในตู้เย็น สาหรับผักประเภทผลควรเก็บในขณะที่ผลไม่แก่จัด
จะได้ผลที่มีรสดีและจะทาให้ผลดก หากปล่อยให้ผลแก่คาต้น ต่อไปจะออกผลน้อยลง
สาหรับในผักใบหลายชนิด เช่นหอมแบ่ง ผักบุ้งจีน คะน้า กะหล่าปลี
การแบ่งเก็บผักที่สดอ่อนหรือโตได้ขนาดแล้ว โดยยังคงเหลือลาต้นและรากไว้ไม่ถอนออกทั้งต้น
รากหรือต้นที่เหลืออยู่จะสามารถงอกงามให้ผลได้อีกหลายครั้ง
ทั้งนี้จะต้องมีการดูแลรักษาให้น้าและปุ๋ ยอยู่
การปลูกพืชหมุนเวียนสลับชนิดหรือปลูกผักหลายชนิดในแปลงเดียวกัน
และปลูกผักที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้นบ้างยาวบ้างคละกันในแปลงเดียวกัน
หรือปลูกผักชนิดเดียวกันแต่ทยอยปลูกครั้งละ 3-5ต้น
หรือประมาณว่าพอรับประทานได้ในครอบครัวในแต่ละครั้งที่เก็บเกี่ยว
ก็จะทาให้ผู้ปลูกมีผักสดเก็บรับประทานได้ทุกวันตลอดปี
การบริโภคผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ
การปลูกผักไว้รับประทานเอง เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะทาให้ได้บริโภคผักที่ปลอดภัยจากสารพิษ
แต่ทุกครอบครัวคงไม่สามารถปลูกผักทุกชนิดไว้รับประทานเองได้
ดังนั้นการต้องซื้อหาผักจากตลาดจึงเป็นสิ่งที่จาเป็นอยู่ ทั้งนี้ผักต่าง ๆ
เหล่านี้อาจจะปลอดภัยหรือไม่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างก็ได้
ดังนั้นควรมีการล้างผักให้ถูกวิธีและให้ปลอดภัยจากสารพิษมากที่สุด
วิธีการล้างผักให้สะอาดเพื่อลดปริมาณสารพิษ สามารถเลือกใช้ได้ตามความสะดวกดังนี้
1. ลอกหรือปอกเปลือกแล้วแช่ในน้าสะอาด นาน 5-10นาที หลังจากนั้นล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง
จะช่วยลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 27-72
2. แช่น้าปูนใสนาน 10 นาที และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 34-
52
3. แช่โฮโดรเจนเพอร์ออกไซน์นาน 10 นาที (โฮโดรเจนเพอร์ออกไซน์ 1ช้อนชาผสมน้า 4 ลิตร)
และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 35-50
4. แช่น้าด่างทับทิมนาน 10 นาที (ด่างทับทิม 20-30เกล็ด ผสมน้า 4 ลิตร )
และล้างออกด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 35-43
5. ล้างด้วยน้าไหลจากก๊อกนาน 2 นาที ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 25-39
6. แช่น้าซาวข้าวนาน 10 นาที และล้างด้วยน้ะสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ
29-38
7. แช่น้าเกลือนาน 10นาที (เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้า 4ลิตร) และล้างด้วยน้าะสะอาดอีกครั้ง
ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 29-38
8. แช่น้าส้มสายชูนาน 10นาที (น้าส้มสายชู 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้า 4ลิตร)
และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 27-36
9. แช่น้ายาล้างผักนาน 10 นาที และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ
22-36
การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ เป็นอีกแนวทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรที่ต้องการให้มะนาวสามารถออกลูกน
อกฤดู และง่ายต่อการจัดการ
เนื่องจากการปลูกในบ่อซีเมนต์สามารถปลูกให้มีขนาดทรงพุ่มเท่ากับการปลูกใน แปลงดินได้
และง่ายต่อการงดน้าเพื่อบังคับให้ออกลูกนอกฤดู
พันธุ์มะนาวที่แนะนาให้ปลูก ได้แก่มะนาวแป้น มะนาวแป้นพันธุ์พิจิตร และพันธุ์อื่นๆ
ข้อดีการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์
1. สามารถบังคับให้มะนาวออกลูกนอกฤดูหรือตลอดทั้งปีได้ง่าย
2. ไม่เปลืองแรงงานหรือเกิดค่าใช้จ่ายในการเตรียมแปลงหรือปรับพื้นที่
3. ง่ายต่อการดูแล และการให้น้ามีประสิทธิภาพ
4. ป้องกันโรคบางชนิดได้ง่ายจากสภาพดินที่ไม่เหมาะสม
5. เหมาะสาหรับการปลูกไว้รับประทานเองหรือเพื่อส่งจาหน่าย
6. สามารถใช้เป็นไม้ประดับได้อีกทาง
ข้อเสีย
1. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในส่วนของบ่อซีเมนต์
2. อายุของต้นมะนาวสั้นกว่าการปลูกในแปลงดินแต่ไม่แตกต่างกันมาก
วัสดุอุปกรณ์
1. บ่อซีเมนต์
บ่อซีเมนต์ที่ขายในท้องตลาดมีหลายขนาด ตั้งแต่เส้นผ่าศูนย์กลาง 80-120 เซนติเมตร สูง 40-60เซนติเมตร
แต่ที่นิยมคือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80เซนติเมตร สูง 40-50เซนติเมตร พร้อมฝาปิดบ่อ ทั้งนี้
อาจไม่ต้องใช้ฝาปิดบ่อก็ได้หากพื้นที่มีสภาพหน้าดินแน่น และแห้ง สามารถระบายน้าดี
2. ดิน
เนื่องจากดินที่ใช้มีปริมาณมากกว่าการปลูกมะนาวในกระถาง
อัตราส่วนการผสมจึงอาจแตกต่างกันได้ตามงบประมาณการลงทุน
โดยใช้ดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายผสมกับมูลสัตว์ แกลบหรือผสมวัสดุอื่น เช่น ขี้เถ้า กากมะพร้าว เป็นต้น
ในอัตราส่วนดินต่อวัสดุอื่น 2:1 หรือ 3:1พร้อมผสมด้วยปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15ปริมาณ 10กิโลกรัม/ดิน 1 คิว
3. กิ่งพันธุ์มะนาวตอน
4. ไม้ไผ่ และเชือกฟาง
การปลูก
1. จัดวางฝาปิดบ่อซีเมนต์ในระยะห่างระหว่างแถว และระหว่างต้นในระยะ 2-4x 2-4เมตร
พร้อมนาบ่อซีเมนต์วางทับด้านบน 1ไร่จะได้ประมาณ 100-400 ต้น ตามระยะที่ใช้
2. นาดินที่ผสมแล้วใส่ในกระถาง ให้ระดับดินต่ากว่าขอบบ่อประมาณ 10เซนติเมตร ให้ใส่ดินประมาณ 2
ใน 3ของบ่อ แล้วนาต้นมะนาวลงบ่อ
แล้วจึงใส่ดินกลบทีหลังหรืออาจใส่ดินให้ได้ระดับก่อนค่อยขุดหลุมปลูกทีหลังก็ได้
โดยนาถุงพลาสติกหรือกระถางออกก่อนปลูกทุกครั้ง หลังจากนั้นกลบหน้าดินใหแน่นพอประมาณ
พร้อมนาวัสดุอินทรีย์โรยกลบปากบ่อ เช่น แกลบ ขี้เถ้า ขุยมะพร้าว เศษใบไม้ปุ๋ยหมัก และมูลโค เป็นต้น
ทั้งนี้ ให้หลีกเลี่ยงการใส่ขี้เถ้าจานวนมาก เนื่องจากขี้เถ้ามีสารอนินทรีย์ที่เป็นแร่มาก เมื่อละลายน้าจะให้กรด
อาจทาให้รากมะนาว และต้นมะนาวเหี่ยวตายได้ หรือดินมีสภาพเป็นกรดมาก
3. สาหรับต้นมะนาวขนาดเล็กให้ใช้ไม้ไผ่ปักข้างลาต้น พร้อมผูกเชือกรั้งให้ลาต้นตรง
ส่วนต้นมะนาวขนาดใหญ่ไม่ต้องรั้งต้นด้วยไม้ก็ได้ หากแต่ต้นมีกิ่งสาขาแผ่กว้างให้ใช้ไม้ไผ่ปักค้าทั้ง 4ด้าน
4. เมื่อปลูกเสร็จให้รดน้าให้ชุ่ม โดยสังเกตน้าที่ซึมออกบนฝารองด้านล่าง และนาฟางข้าว
แกลบหรือเศษใบไม้มากลบบริเวณโคนต้น และปากบ่อทั้งหมด เพื่อรักษาความชุ่มชื้นหน้าดิน
การดูแล
การให้น้า หากปลูกไม่กี่ต้นก็สามารถให้น้าด้วยการตักรดก็ได้
แต่หากปลูกหลายต้นหรือเพื่อการค้าอาจติดตั้งระบบน้าหยดเพื่อให้น้าง่าย และสะดวกกว่า
โดยระยะแรกจะให้ทุกวัน และเมื่อต้นมะนาวตั้งตัวได้แล้วจะให้วันเว้นวันก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพหน้าดิน
และสภาพอากาศ
นอกจากนั้น หากมีการให้น้าแบบสปริงเกอร์แล้ว
เกษตรกรมักนิยมปลูกผักแซมบริเวณรอบต้นมะนาวร่วมด้วย
การใส่ปุ๋ย ให้ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15ประมาณ 1-2กามือ ทุกๆ 3-4 เดือน/ครั้ง
หรืออาจผสมกับน้ารดบริเวณโคนต้นก็ได้ ทั้งนี้ แนะนาให้หลีกเลี่ยงการใส่ปุ๋ยเคมี
ให้ใส่เฉพาะในช่วงบังคับการออกดอกหรือระยะออกดอกติดผลเท่านั้น ส่วนปุ๋ยคอกให้ใส่ 1 ถังเล็ก ทุกๆ 3
เดือน และให้ดีควรรดน้าร่วมกับการละลายปุ๋ ยคอกร่วมด้วย
การตัดแต่งกิ่ง ควรตัดแต่งกิ่งให้มีทรงพุ่มเสมอกันในทุกด้าน
โดยให้ตัดแต่งกิ่งที่ยาวหรือยื่นออกนอกทรงพุ่มมากเกินไป หรือกิ่งที่เป็นโรคไม่เจริญเติบโตทิ้งเสีย
การเด็ดดอก
การเด็ดดอกทิ้งเป็นขั้นตอนเพื่อให้ต้นเติบโต และแตกกิ่งจนกว่าจะมีความพร้อมในการออกดอก
และติดผลมะนาว เพราะการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์จะใช้กิ่งพันธุ์ที่ได้จากการตอนกิ่ง หรือการติดตา
ซึ่งจะติดดอกต่อเนื่องหลังการปลูกเพียงไม่กี่เดือนหลังการปลูก แต่ช่วงแรกต้นจะััยังเล็ก และมีกิ่งน้อย
จึงไม่ควรให้ติดดอก และผลในระยะนี้
การ เด็ดดอกนั้น จะทาการเด็ดดอกทิ้งจนกว่าต้นจะมีอายุตั้งแต่ 6-8เดือน จนมีลาต้น
และจานวนกิ่งพร้อมก่อน และหลังจากนั้น ค่อยปล่อยให้มะนาวติดดอก
และผลสาหรับการเก็บผลผลิตครั้งแรก
การบังคับให้ออกลูกนอกฤดู
โดยปกติมะนาวจะติดดอกในช่วงเดือน มีนาคม-เมษายน
และจะเก็บผลผลิตในช่วงเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปจนถึงเดือนตุลาคม
ตามขนาดที่ต้องการในช่วงนี้จะทาให้มะนาวมีราคาถูกมาก แต่จะแพงมากในช่วงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน
ดังนั้น การบังคับให้มะนาวออกลูกในช่วงพฤศจิกายน-เมษายน จะขายมะนาวได้ในราคาที่สูงขึ้นมาก
สาหรับการทาให้มะนาวออกลูกนอกฤดู สามารถทาได้โดยงดการให้น้า และการตัดแต่งกิ่ง
โดยมะนาวจะออกดอกเมื่อมีการแดกกิ่งใหม่ และออกใบใหม่ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกต้นมะนาวที่มีอายุตั้งแต่ 8-12 เดือน (ต้นที่ปลูกจากต้นตอนอายุตั้งแต่ 1 ปี
และหลังจากปลูกในท่อซีเมนต์แล้ว 8 เดือนขึ้นไป)
2. ให้เลือกกิ่งแก่หรือกิ่งที่มีใบแก่แล้ว และทาการตัดแต่งกิ่ง
3. งดการให้น้ามะนาวเป็นเวลา 7-10วัน จนใบเหี่ยวหรือเริ่มร่วง
หากในช่วงดังกล่าวมีแนวโน้มที่ฝนจะตกให้ใช้ผ้าใบพลาสติกคลุมคอบปากท่อทั้ง หมด
4. หลังจากงดให้น้าประมาณ เวลา 7-10วัน จะสังเกตุใบแก่จะเริ่มเหี่ยวหรือมีใบร่วง ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับสภาพความชุ่มชื้นของดินด้วย
5. ทาการให้น้า ร่วมกับปุ๋ยสูตร 12-12-24ประมาณ 1-2กามือ/ต้น
6. มะนาวจะแตกกิ่ง และออกใบใหม่ประมาณ 15-20วัน พร้อมแตกดอก โดยในระยะแตกใบใหม่
และออกดอกให้ฉีดด้วยน้าหมักหรือน้าต้มสมุนไพรเพื่อป้องกันหนอนหรือแมลงกินใบ
อ่อนหรือฉีดพ่นด้วยยากาจัดแมลง
7. ให้น้าปกติ วันละครั้งหรือวันเว้นวันจนถึงการเก็บเกี่ยวผลิต
การปลูกมะนาวให้ลูกดกอย่างต่อเนื่องและมีอายุหลายปี
1. การคัดเลือกกิ่งพันธุ์
กิ่งพันธุ์มะนาวที่ใช้ปลูกในกระถาง
หากต้องการย่นระยะเวลาการเก็บผลให้เร็วขึ้นควรใช้กิ่งพันธุ์ขนาดใหญ่ที่มีการอนุบาลนาน 8 เดือน –1 ปี
ขึ้นไปแต่หากใช้กิ่งพันธุ์ที่ได้จากการตอนอาจต้องใช้ระยะเวลานานขึ้นกว่าจะให้ผลผลิต ทั้งนี้
กิ่งพันธุ์ที่เลือกควรเป็นกิ่งพันธุ์ที่มีความสมบุรณ์ ไม่มีรอยโรค กิ่ง และใบดก
ซึ่งการคัดเลือกกิ่งพันธุ์ที่ดีจะช่วยให้ต้นมะนาวเติบโตให้ผลอย่างต่อเนื่อง และมีอายุนานหลายปี
2. การผสมวัสดุปลูก
วัสดุสาหรับการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ควรมีการผสมระหว่างดินกับวัสดุทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยคอก
และมูลสัตว์ต่างๆ ปุ๋ยหมัก แกลบ ขี้เถ้า ขี้เลื่อย เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการเพิ่มอินทรีย์วัตถุในดิน ทาให้ดินร่วนซุย
ดินเก็บความชื้นได้ดี และเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ต้นมะนาวอย่างต่อเนื่อง
3. การคลุมหน้าดิน และการปล่อยไส้เดือนดิน
หลังจากปลูกมะนาวเสร็จจาเป็นต้องหาวัสดุสาหรับการคลุมหน้าดิน เช่น แกลบ ฟางข้าว เศษใบไม้ เป็นต้น
ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ความชื้นดินในบ่อซีเมนต์ไม่สูญเสียง่าย
ส่วนการปล่อยไส้เดือนดินถือเป็นการเพิ่มอัตราการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุจากการย่อยกินอินทรีย์วัตถุในดิน
ทั้งนี้ การที่ดินมีอินทรีย์วัตถุ และมีอัตราการปล่อยสารอาหารในดินที่เหมาะสมจะช่วยส่งเสริมการเติบโต
และยืดอายุของต้นมะนาวได้ดี
4. การให้น้า ให้ปุ๋ย และการดูแลอื่นๆ
การให้น้านิยมให้โดยระบบน้าหยด ความถี่ 1-2 ครั้ง/วัน ในปริมาณที่หน้าดินในระยะ 10-15 เซนติเมตร
มีความชุ่มชื้นเท่านั้น ส่วนการใส่ปุ๋ย แนะนาให้เลือกใช้ปุ๋ยคอกเป็นหลัก
และให้ปุ๋ยเคมีเฉพาะในระยะการเร่งออกผลนอกฤดูเท่านั้น
โดยกาให้ปุ๋ยคอกแนะนาให้โรยหน้าบ่อซีเมนต์ทุก 2-3เดือนในปริมาณที่ไม่ต้องมากนัก
ร่วมกับการนาปุ๋ยคอกแช่น้า และให้น้าแก่ต้นมะนาวอีกทางซึ่งเป็นการให้ปุ๋ย และน้าร่วมกันอีกครั้ง
5. การตัดแต่งกิ่ง
การตัดแต่งกิ่งถือเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญในการบังคับมะนาวให้ออกลูกนอกฤดู
และเป็นการจากัดขนาดจานวนกิ่ง และขนาดทรงพุ่มให้เหมาะสม
เพราะหากจานวนกิ่งมากจะมีผลต่อการขยายจานวนรากตามจานวนกิ่ง และขนาดของลาต้น
ทาให้ต้นมะนาวดึงธาตุอาหารจากดินไปใช้ในอัตราที่เร็วขึ้น ดินขาดธาตุอาหารเร็ว
ส่งผลต่ออายุของต้นมะนาวตามมา

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง Bunnaruenee
 
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ Manoonpong Srivirat
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นพจีกานต์ หว่านพืช
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์พัน พัน
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxssuser6a0d4f
 
Globalization1
Globalization1Globalization1
Globalization1Teeranan
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPhichit Kophon
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1วีระยศ เพชรภักดี
 
การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)
การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)
การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)werawat
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงNathpong Tanpan
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2Ponpirun Homsuwan
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1pagePrachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
โครงงานข้าวต้มมัดฝอยทอง
 
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
เรียนรู้หลักการทรงงานในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ฯ
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่นเศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
เศรษฐกิจพอเพียงกับการผลิตสินค้าและบริการในท้องถิ่น
 
ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
การสร้างสรรค์ภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยรัตนโกสินทร์
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docxแผนการจัดการเรียนรู้  ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
แผนการจัดการเรียนรู้ ม.5 รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม 4 ส32102.docx
 
Globalization1
Globalization1Globalization1
Globalization1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
สรุปเนื้อหา เศรษฐศาสตร์ ม.3 ชุดที่ 1
 
การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)
การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)
การบริหารการเงินส่วนบุคคล(เศรษฐกิจพอเพียง)
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2ชนิดประโยค ม.2
ชนิดประโยค ม.2
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยอยุธยา2+585+55t2his p05 f01-1page
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงVilaporn Khankasikam
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทpentanino
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงyeen_28175
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..Pornthip Tanamai
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาทปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง  ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผลสะท้อนจากหลักธรรมในพุทธศาสนาเถรวาท
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้มโรงเรียนบ้านสวนส้ม
โรงเรียนบ้านสวนส้ม
 
183356
183356183356
183356
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 

เศรษฐกิจพอเพียง

  • 1. เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางการดารงชีวิต ที่พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชมีพระราชดารัสแก่ชาวไทยนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2517เป็นต้นมา และถูกพูดถึงอย่างชัดเจนในวันที่ 4ธันวาคม พ.ศ. 2540เพื่อเป็นแนวทางการแก้ไขปัญหาเศรษฐกิจของประเทศไทย ให้สามารถดารงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนในกระแสโลกาภิวัตน์และความเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ เศรษฐกิจพอเพียงมีบทบาทต่อการกาหนดอุดมการณ์การพัฒนาของประเทศ โดยปัญญาชนในสังคมไทยหลายท่านได้ร่วมแสดงความคิดเห็น อย่างเช่น ศ.นพ.ประเวศ วะสี, ศ.เสน่ห์ จามริก, ศ.อภิชัย พันธเสน, และศ.ฉัตรทิพย์ นาถสุภา โดยเชื่อมโยงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเข้ากับวัฒนธรรมชุมชน ซึ่งเคยถูกเสนอมาก่อนหน้าโดยองค์กรพัฒนาเอกชนจานวนหนึ่งนับตั้งแต่พุทธทศวรรษ 2520 และได้ช่วยให้ แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงเป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวางในสังคมไทย สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติได้เชิญผู้ทรงคุณวุฒิในทางเศรษฐกิจและสา ขาอื่น ๆ มาร่วมกันประมวลและกลั่นกรองพระราชดารัสเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อบรรจุในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9และได้จัดทาเป็นบทความเรื่อง "ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง" และได้นาความกราบบังคลทูลพระกรุณาขอพระราชทานพระบรมราชวินิจฉัย เมื่อวันที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2542โดยทรงพระกรุณาปรับปรุงแก้ไขพระราชทานและทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานพระบรมราชานุญาตให้นาบทความที่ทรงแก้ไขแล้วไปเผยแพร่ เพื่อเป็นแนวทางปฏิบัติของสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติและทุกฝ่ายที่เกี่ย วข้อง ตลอดจนประชาชนโดยทั่วไป เมื่อวันที่ 21 พฤศจิกายน พ.ศ. 2542 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ได้รับการเชิดชูเป็นอย่างสูงจากองค์การสหประชาชาติ ว่าเป็นปรัชญาที่มีประโยชน์ต่อประเทศไทยและนานาประเทศ และสนับสนุนให้ประเทศสมาชิกยึดเป็นแนวทางสู่การพัฒนาแบบยั่งยืน โดยมีนักวิชาการและนักเศรษฐศาสตร์หลายคนเห็นด้วยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง แต่ในขณะเดียวกัน บางสื่อได้มีการตั้งคาถามถึงการยกย่องขององค์การสหประชาชาติ รวมทั้งความน่าเชื่อถือของรายงานศึกษาและท่าทีขององค์การ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช ได้พัฒนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อที่จะให้พสกนิกรชาวไทยได้เข้าถึงทางสายกลางของชีวิตและเพื่
  • 2. อคงไว้ซึ่งทฤษฏีของการพัฒนาที่ยั่งยืน ทฤษฎีนี้เป็นพื้นฐานของการดารงชีวิตซึ่งอยู่ระหว่าง สังคมระดับท้องถิ่นและตลอดระดับสากล จุดเด่นของแนวปรัชญานี้คือ แนวทางที่สมดุล โดยชาติสามารถทันสมัย และก้าวสู่ความเป็นสากลได้ โดยปราศจากการต่อต้านกระแสโลกาภิวัตน์ และการอยู่รวมกันของทุกคนในสังคม หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาคัญในช่วงปี พ.ศ. 2540ซึ่งเป็นช่วงที่ประเทศไทย ต้องประสบปัญหาภาวะทางเศรษฐกิจ และ ต้องการรักษาความมั่นคงและเสถียรภาพ เพื่อที่จะยืนหยัดในการไม่พึ่งพาผู้อื่น และ พัฒนานโยบายที่สาคัญเพื่อการฟื้นฟูเศรษฐกิจของประเทศ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดาริว่า มันไม่ได้มีความจาเป็นที่เราจะกลายเป็นประเทศอุตสาหกรรมใหม่ พระองค์ได้ทรงอธิบายว่า ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะป้องกันการเปลี่ยนแปลงความไม่มั่นคงของประเทศได้ เศรษฐกิจพอเพียงเชื่อว่าจะสามารถปรับเปลี่ยนโครงสร้างทางสังคมของชมชุนให้ดีขึ้นโดยมีปัจจัย 2อย่างคือ 1.การผลิตจะต้องมีความสัมพันธ์กันระหว่าง ปริมาณผลผลิตและการบริโภค 2.ชุมชนจะต้องมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเอง ผลที่เกิดขึ้นคือ ■เศรษฐกิจพอเพียงสามารถที่จะคงไว้ซึ่งขนาดของประชากรที่ได้สัดส่วน ■ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม ■รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอก หลักปรัชญา ...การพัฒนาประเทศจาเป็นต้องทาตามลาดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐาน คือ ความพอมีพอกิน พอใช้ของประชาชนส่วนใหญ่เป็นเบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและใช้อุปกรณ์ที่ประหยัด แต่ถูกต้องตามหลักวิชา เมื่อได้พื้นฐานมั่นคงพร้อมพอควรและปฏิบัติได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลาดับต่อไป หากมุ่งแต่จะทุ่มเทสร้างความเจริญ ยกเศรษฐกิจขึ้นให้รวดเร็วแต่ประการเดียว
  • 3. โดยไม่ให้แผนปฏิบัติการสัมพันธ์กับสภาวะของประเทศและของประชาชนโดยสอดคล้องด้วย ก็จะเกิดความไม่สมดุลในเรื่องต่าง ๆ ขึ้น ซึ่งอาจกลายเป็นความยุ่งยากล้มเหลวได้ในที่สุด... —พระบรมราโชวาท ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ณ หอประชุมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วันพฤหัสบดีที่ 18กรกฎาคม พ.ศ. 2517[1] เศรษฐกิจพอเพียงเป็นปรัชญาที่ยึดหลักทางสายกลาง ที่ชี้แนวทางการดารงอยู่และปฏิบัติของประชาชนในทุกระดับให้ดาเนินไปในทางสายกลาง มีความพอเพียง และมีความพร้อมที่จะจัดการต่อผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลง ซึ่งจะต้องอาศัยความรอบรู้ รอบคอบ และระมัดระวัง ในการวางแผนและดาเนินการทุกขั้นตอน ทั้งนี้ เศรษฐกิจพอเพียงเป็นการดาเนินชีวิตอย่างสมดุลและยั่งยืน เพื่อให้สามารถอยู่ได้แม้ในโลกโลกาภิวัตน์ที่มีการแข่งขันสูง แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2เงื่อนไข ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ทรงปรับปรุงพระราชทานเป็นที่มาของนิยาม "3ห่วง 2เงื่อนไข" ที่คณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ นามาใช้ในการรณรงค์เผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงผ่านช่องทางสื่อต่าง ๆ อยู่ในปัจจุบัน ซึ่งประกอบด้วยความ "พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกัน" บนเงื่อนไข "ความรู้" และ "คุณธรรม"
  • 4. ดร.จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคลื่อนเศรษฐกิจพอเพียง อธิบายถึงการพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง ว่า เป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่ประมาท โดยคานึงถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้ ความรอบคอบละคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาต่างๆ ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ที่ไม่มากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่น เช่น การผลิตและการบริโภคที่พอประมาณ ความมีเหตุผล หมายถึง การใช้หลักเหตุผลในการตัดสินใจเรื่องต่างๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นอย่างรอบคอบ การมีภูมิคุ้มกันที่ดี หมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงรอบตัว ปัจจัยเหล่านี้จะเกิดขึ้นได้นั้น จะต้องอาศัยความรู้ และคุณธรรม เป็นเงื่อนไขพื้นฐาน กล่าวคือ เงื่อนไขความรู้ หมายถึง ความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังในการดาเนินชีวิตและการประกอบการงาน ส่วนเงื่อนไขคุณธรรม คือ การยึดถือคุณธรรมต่างๆ อาทิ ความซื่อสัตย์สุจริต ความอดทน ความเพียร การมุ่งต่อประโยชน์ส่วนรวมและการแบ่งปัน ฯลฯ ตลอดเวลาที่ประยุกต์ใช้ปรัชญา อภิชัย พันธเสน ผู้อานวยการสถาบันการจัดการเพื่อชนบทและสังคม ได้จัดแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็น "ข้อเสนอในการดาเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจตามแนวทางของพุทธธรรมอย่างแท้จริง" ทั้งนี้เนื่องจากในพระราชดารัสหนึ่ง ได้ให้คาอธิบายถึง เศรษฐกิจพอเพียง ว่า "คือความพอประมาณ ซื่อตรง ไม่โลภมาก และต้องไม่เบียดเบียนผู้อื่น"[ ระบบเศรษฐกิจพอเพียงมุ่งเน้นให้บุคคลสามารถประกอบอาชีพได้อย่างยั่งยืน และใช้จ่ายเงินให้ได้มาอย่างพอเพียงและประหยัด ตามกาลังของเงินของบุคคลนั้น โดยปราศจากการกู้หนี้ยืมสิน ถ้ามีเงินเหลือ ก็แบ่งเก็บออมไว้บางส่วน ช่วยเหลือผู้อื่นบางส่วน และอาจจะใช้จ่ายมาเพื่อปัจจัยเสริมอีกบางส่วน สาเหตุที่แนวทางการดารงชีวิตอย่างพอเพียง ได้ถูกกล่าวถึงอย่างกว้างขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดารงชีวิตของสังคมทุนนิยมในปัจจุบันได้ถูกปลูกฝัง สร้าง หรือกระตุ้น ให้เกิดการใช้จ่ายอย่างเกินตัว ในเรื่องที่ไม่เกี่ยวข้องหรือเกินกว่าปัจจัยในการดารงชีวิต เช่น การบริโภคเกินตัว ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแต่งตัวตามแฟชั่น การพนันหรือเสี่ยงโชค เป็นต้น จนทาให้ไม่มีเงินเพียงพอเพื่อตอบสนองความต้องการเหล่านั้น ส่งผลให้เกิดการกู้หนี้ยืมสิน เกิดเป็นวัฏจักรที่บุคคลหนึ่งไม่สามารถหลุดออกมาได้ ถ้าไม่เปลี่ยนแนวทางในการดารงชีวิต ซึ่ง ดร. สุเมธ ตันติเวชกุล ได้กล่าวว่า "หลาย ๆ คนกลับมาใช้ชีวิตอย่างคนจน ซึ่งเป็นการปรับตัวเข้าสู่คุณภาพ" และ "การลงมือทาด้วยความมีเหตุมีผล เป็นคุณค่าของเศรษฐกิจพอเพียง"
  • 5. การนาไปใช้ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ถูกใช้เป็นกรอบแนวความคิดและทิศทางการพัฒนาระบบเศรษฐกิจมหภาคของไทย ซึ่งบรรจุอยู่ใน แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10เพื่อมุ่งสู่การพัฒนาที่สมดุล ยั่งยืน และมีภูมิคุ้มกัน เพื่อความอยู่ดีมีสุข มุ่งสู่สังคมที่มีความสุขอย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "สังคมสีเขียว" ด้วยหลักการดังกล่าว แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10นี้จะไม่เน้นเรื่องตัวเลขการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ แต่ยังคงให้ความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจแบบทวิลักษณ์ หรือระบบเศรษฐกิจที่มีความแตกต่างกันระหว่างเศรษฐกิจชุมชนเมืองและชนบท แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ยังถูกบรรจุในรัฐธรรมนูญของไทย เช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 ในส่วนที่ 3แนวนโยบายด้านการบริหารราชการแผ่นดิน มาตรา 78 (1) ความว่า: "บริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปเพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ และความมั่นคง ของประเทศอย่างยั่งยืน โดยต้องส่งเสริมการดาเนินการตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและคานึงถึงผลประโยชน์ของประเทศชาติในภ าพรวมเป็นสาคัญ" นายสุรเกียรติ เสถียรไทย ในฐานะรัฐมนตรีกระทรวงต่างประเทศ ได้กล่าวเมื่อวันที่ 24พฤศจิกายน พ.ศ. 2547ในการประชุมสุดยอด The Francophonie Ouagadougou ครั้งที่ 10 ที่Burkina Faso ว่า ประเทศไทยได้ยึดแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ควบคู่กับ "การพัฒนาแบบยั่งยืน" ในการพัฒนาประเทศทั้งทางด้านการเกษตรกรรม เศรษฐกิจ และการแข่งขัน ซึ่งเป็นการสอดคล้องเป้าหมายแนวทางของนานาชาติในประชาคมโลก โดยยกตัวอย่างการแก้ปัญหาวิกฤตเศรษฐกิจ พ.ศ. 2540ซึ่งเมื่อยึดหลักปรัชญาในการแก้ปัญหาสามารถทาให้ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ ของไทยเติบโตได้ถึงร้อยละ 6.7 วิธีการปลูกผักสวนครัว 1. การปลูกผักในแปลงปลูก มีขั้นตอน คือ 1.1 การพรวนดิน ใช้จอบขุดดินลึกประมาณ 6 นิ้วเพื่อพรวนดินให้มีโครงสร้างดีขึ้น กาจัดวัชพืชในดินกาจัดไข่แมลงหรือโรคพืชที่อยู่ในดิน โดยการพรวนดินและตากทิ้งไว้ประมาณ 7- 15 วัน 1.2 การยกแปลง ใช้จอบพรวนยกแปลงสูงประมาณ 4-5นิ้ว จากผิวดิน โดยมีความกว้างประมาณ 1- 1.20 เมตร ส่วนความยาวควรเป็นตามลักษณะของพื้นที่หรืออาจแบ่งเป็นแปลงย่อยๆ ตามความเหมาะสม ความยาวของแปลงนั้นควรอยู่ในแนวทิศเหนือ - ใต้ ทั้งนี้เพื่อให้ผักได้รับแสงแดดทั่วทั้งแปลง
  • 6. 1.3การปรับปรุงเนื้อดินเนื้อดินที่ปลูกผักควรเป็นดินร่วนแต่สภาพ ดินเดิมนั้นอาจจะเป็นดิน ทรายหรือดินเหนียว จาเป็นต้องปรับปรุงให้เนื้อดินดีขึ้นโดยการใส่ปุ๋ยหมักหรือปุ๋ยคอก อัตราประมาณ 2-3กิโลกรัม ต่อเนื้อที่ 1 ตารางเมตร คลุกเคล้าให้เข้ากัน 1.4การกาหนดหลุมปลูกจะกาหนดภายหลังจากเลือกชนิด ผักต่างๆ แล้วเพราะว่าผักแต่ละชนิดจะใช้ระยะปลูกที่ต่างกัน เช่น พริก ควรใช้ระยะ 75*100 เซนติเมตร ผักบุ้งจะเป็น 5*5 เซนติเมตร เป็นต้น 2.การปลูกผักในภาชนะการปลูกผักในภาชนะควรจะ พิจารณาถึงการหยั่งรากของพืชผักชนิดนั้นๆ พืชผักที่หยั่งรากตื้นสามารถปลูกได้ดีในภาชนะปลูกชนิดต่างๆ และภาชนะชนิดห้อยแขวนที่มีความลึก ไม่เกิน 10 เซนติเมตร คือ ผักบุ้งจีน คะน้าจีน ผักกาดกวางตุ้ง (เขียวและขาว) ผักกาดฮ่องเต้ ผักกาดหอม ผักกาดขาวชนิดไม่ห่อ (ขาวเล็ก ขาวใหญ่) ตั้งโอ๋ ปวยเล้ง หอมแบ่ง (ต้นหอม) ผักชี ขึ้นฉ่าย ผักโขมจีน กระเทียมใบ (Leek) กุยช่าย กระเทียมหัว ผักชีฝรั่ง บัวบก สะระแหน่แมงลัก โหระพา (เพาะเมล็ด) กะเพรา (เพาะเมล็ด) พริกขี้หนู ตะไคร้ ชะพลูหอมแดง หอมหัวใหญ่หัวผักกาดแดง (แรดิช) วัสดุที่สามารถนามาทาเป็นภาชนะปลูกอาจดัดแปลงจากสิ่งที่ใช้แล้ว เช่น ยางรถยนต์เก่า กะละมัง ปลอกซีเมนต์ เป็นต้น สาหรับภาชนะแขวนอาจใช้ กาบมะพร้าว กระถาง หรือเปลือกไม้ วิธีการปลูกผักในภาชนะแย่งออกได้เป็น 2วิธี 2.1 เพาะเมล็ดด้วยการหว่านแล้วถอนแยกหรือหยอดเป็นแถวแล้วถอนแยกซึ่งพืชที่ควรปลูกด้วยวิธีนี้ ได้แก่ - ผักบุ้งจีน - คะน้าจีน - ผักกาดขาวกวางตุ้ง - ผักกาดเขียวกวางตุ้ง - ผักฮ่องเต้(กวางตุ้งไต้หวัน) - ตั้งโอ๋ - ปวยเล้ง - ผักกาดหอม - ผักโขมจีน - ผักชี - ขึ้นฉ่าย - โหระพา - กระเทียมใบ - กุยฉ่าย - หัวผักกาดแดง - กระเพรา- แมงลัก - ผักชีฝรั่ง - หอมหัวใหญ่ 2.2 ปักชาด้วยต้น และหัว ได้แก่ - หอมแบ่ง (หัว) - ผักชีฝรั่ง - กระเทียมหัว (ใช้หัวปลูก) - หอมแดง (หัว) - บัวบก (ไหล) - ตะไคร้ (ต้น) - สะระแหน่(ยอด) - ชะพลู(ต้น) - โหระพากิ่งอ่อน) - แมงลัก (กิ่งกึ่งแก่กึ่งอ่อน)
  • 7. หมายเหตุ มีบางพืชที่ปลูกด้วยหัว หรือส่วนของต้นก็ได้ปลูกด้วยเมล็ดก็ได้ ดังนั้นจึงมีชื่อผักที่ซ้ากันทั้งข้อ1และ 2 ผักในภาชนะ การปฏิบัติดูแลรักษา การดูแลรักษาด้วยความเอาใจใส่ จะช่วยให้ผักเจริญเติบโตอย่างสมบูรณ์จนถึงระยะเก็บเกี่ยว การดูแลรักษาดังกล่าว ได้แก่ 1. การให้น้า การปลูกผักจาเป็นต้องให้น้าเพียงพอ การให้น้าผักควรรดน้าในช่วง เช้า- เย็น ไม่ควรรดตอนแดดจัด และรดน้าแต่พอชุ่มอย่าให้โชก 2. การให้ปุ๋ย มี 2 ระยะคือ 2.1 ใส่รองพื้นคือการใส่เมื่อเวลาเตรียมดิน หรือรองก้นหลุมก่อนปลูก ปุ๋ยที่ใส่ควรเป็นปุ๋ยคอกหรือปุ๋ ยหมัก คลุกในดินให้ทั่วก่อนปลูกเพื่อปรับโครงสร้างดินให้โปร่งร่วนซุย นอกจากนั้นยังช่วยในการอุ้มน้าและรักษาความชื้นของดินให้เหมาะสมกับการเจริญเติบโตของพืชด้ วย 2.2 การใส่ปุ๋ยบารุง ควรใส่ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อย้ายกล้าไปปลูกจนกล้าตั้งตัวได้แล้ว และใส่ครั้งที่ 2 หลังจากใส่ครั้งแรกประมาณ 2-3 สัปดาห์ การใส่ให้โรยบางๆ ระหว่างแถว ระวังอย่าให้ปุ๋ยอยู่ชิดต้น เพราะจะทาให้ผักตายได้ เมื่อใส่ปุ๋ยแล้วให้พรวนดินและรดน้าทันที สูตรปุ๋ยที่ใช้กับพืชผัก ได้แก่ยูเรีย หรือ แอมโมเนียซัลเฟต สาหรับบารุงต้นและใบ และปุ๋ยสูตร 15-15-15และ 12-24-12 สาหรับเร่งการออกดอกและผล 3. การป้ องกันกาจัดศัตรูพืช ควรบารุงรักษาต้นพืชให้แข็งแรงโดยการกาจัดวัชพืช ให้น้าอย่างเพียงพอและใส่ปุ๋ยตามจานวนที่กาหนดเพื่อให้ผักเจริญเติบโต แข็งแรง ทนต่อโรคและแมลง หากมีโรคและแมลงระบาดมากควรใช้สารธรรมชาติ หรือใช้วิธีกลต่างๆ ในการป้องกันกาจัด เช่น หนอนต่างๆ ใช้มือจับออก ใช้พริกไทยป่นผสมน้าฉีดพ่น
  • 8. ใช้น้าคั้นจากใบหรือเมล็ดสะเดา ถ้าเป็นพวกเพลี้ย เช่นเพลี้ยอ่อน เพลี้ยแป้ง เพลี้ยหอย และเพลี้ยจั๊กจั่น ให้ใช้น้ายาล้างจาน 15ซีซี ผสมน้า 20ลิตร ฉีดพ่นใต้ใบเวลาเย็น ถ้าเป็นพวกมด หอย และทาก ให้ใช้ปูนขาวโรยบางๆ ลงบริเวณพื้นดิน การเก็บเกี่ยว การเก็บเกี่ยวผักควรเก็บในเวลาเช้าจะทาให้ได้ผักสดรสดี และหากยังไม่ได้ใช้ให้ล้างให้สะอาด และนาเก็บไว้ในตู้เย็น สาหรับผักประเภทผลควรเก็บในขณะที่ผลไม่แก่จัด จะได้ผลที่มีรสดีและจะทาให้ผลดก หากปล่อยให้ผลแก่คาต้น ต่อไปจะออกผลน้อยลง สาหรับในผักใบหลายชนิด เช่นหอมแบ่ง ผักบุ้งจีน คะน้า กะหล่าปลี การแบ่งเก็บผักที่สดอ่อนหรือโตได้ขนาดแล้ว โดยยังคงเหลือลาต้นและรากไว้ไม่ถอนออกทั้งต้น รากหรือต้นที่เหลืออยู่จะสามารถงอกงามให้ผลได้อีกหลายครั้ง ทั้งนี้จะต้องมีการดูแลรักษาให้น้าและปุ๋ ยอยู่ การปลูกพืชหมุนเวียนสลับชนิดหรือปลูกผักหลายชนิดในแปลงเดียวกัน และปลูกผักที่มีอายุการเก็บเกี่ยวสั้นบ้างยาวบ้างคละกันในแปลงเดียวกัน หรือปลูกผักชนิดเดียวกันแต่ทยอยปลูกครั้งละ 3-5ต้น หรือประมาณว่าพอรับประทานได้ในครอบครัวในแต่ละครั้งที่เก็บเกี่ยว ก็จะทาให้ผู้ปลูกมีผักสดเก็บรับประทานได้ทุกวันตลอดปี การบริโภคผักให้ปลอดภัยจากสารพิษ การปลูกผักไว้รับประทานเอง เป็นวิธีที่ดีที่สุดที่จะทาให้ได้บริโภคผักที่ปลอดภัยจากสารพิษ แต่ทุกครอบครัวคงไม่สามารถปลูกผักทุกชนิดไว้รับประทานเองได้ ดังนั้นการต้องซื้อหาผักจากตลาดจึงเป็นสิ่งที่จาเป็นอยู่ ทั้งนี้ผักต่าง ๆ เหล่านี้อาจจะปลอดภัยหรือไม่ปลอดภัยจากสารพิษตกค้างก็ได้ ดังนั้นควรมีการล้างผักให้ถูกวิธีและให้ปลอดภัยจากสารพิษมากที่สุด วิธีการล้างผักให้สะอาดเพื่อลดปริมาณสารพิษ สามารถเลือกใช้ได้ตามความสะดวกดังนี้ 1. ลอกหรือปอกเปลือกแล้วแช่ในน้าสะอาด นาน 5-10นาที หลังจากนั้นล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง จะช่วยลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 27-72
  • 9. 2. แช่น้าปูนใสนาน 10 นาที และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 34- 52 3. แช่โฮโดรเจนเพอร์ออกไซน์นาน 10 นาที (โฮโดรเจนเพอร์ออกไซน์ 1ช้อนชาผสมน้า 4 ลิตร) และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 35-50 4. แช่น้าด่างทับทิมนาน 10 นาที (ด่างทับทิม 20-30เกล็ด ผสมน้า 4 ลิตร ) และล้างออกด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 35-43 5. ล้างด้วยน้าไหลจากก๊อกนาน 2 นาที ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 25-39 6. แช่น้าซาวข้าวนาน 10 นาที และล้างด้วยน้ะสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 29-38 7. แช่น้าเกลือนาน 10นาที (เกลือป่น 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้า 4ลิตร) และล้างด้วยน้าะสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 29-38 8. แช่น้าส้มสายชูนาน 10นาที (น้าส้มสายชู 1 ช้อนโต๊ะ ผสมน้า 4ลิตร) และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 27-36 9. แช่น้ายาล้างผักนาน 10 นาที และล้างด้วยน้าสะอาดอีกครั้ง ลดปริมาณสารพิษตกค้างได้ร้อยละ 22-36 การปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ เป็นอีกแนวทางเลือกหนึ่งของเกษตรกรที่ต้องการให้มะนาวสามารถออกลูกน อกฤดู และง่ายต่อการจัดการ เนื่องจากการปลูกในบ่อซีเมนต์สามารถปลูกให้มีขนาดทรงพุ่มเท่ากับการปลูกใน แปลงดินได้ และง่ายต่อการงดน้าเพื่อบังคับให้ออกลูกนอกฤดู พันธุ์มะนาวที่แนะนาให้ปลูก ได้แก่มะนาวแป้น มะนาวแป้นพันธุ์พิจิตร และพันธุ์อื่นๆ ข้อดีการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ 1. สามารถบังคับให้มะนาวออกลูกนอกฤดูหรือตลอดทั้งปีได้ง่าย 2. ไม่เปลืองแรงงานหรือเกิดค่าใช้จ่ายในการเตรียมแปลงหรือปรับพื้นที่ 3. ง่ายต่อการดูแล และการให้น้ามีประสิทธิภาพ
  • 10. 4. ป้องกันโรคบางชนิดได้ง่ายจากสภาพดินที่ไม่เหมาะสม 5. เหมาะสาหรับการปลูกไว้รับประทานเองหรือเพื่อส่งจาหน่าย 6. สามารถใช้เป็นไม้ประดับได้อีกทาง ข้อเสีย 1. มีค่าใช้จ่ายเพิ่มขึ้นในส่วนของบ่อซีเมนต์ 2. อายุของต้นมะนาวสั้นกว่าการปลูกในแปลงดินแต่ไม่แตกต่างกันมาก วัสดุอุปกรณ์ 1. บ่อซีเมนต์ บ่อซีเมนต์ที่ขายในท้องตลาดมีหลายขนาด ตั้งแต่เส้นผ่าศูนย์กลาง 80-120 เซนติเมตร สูง 40-60เซนติเมตร แต่ที่นิยมคือ ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 80เซนติเมตร สูง 40-50เซนติเมตร พร้อมฝาปิดบ่อ ทั้งนี้ อาจไม่ต้องใช้ฝาปิดบ่อก็ได้หากพื้นที่มีสภาพหน้าดินแน่น และแห้ง สามารถระบายน้าดี
  • 11. 2. ดิน เนื่องจากดินที่ใช้มีปริมาณมากกว่าการปลูกมะนาวในกระถาง อัตราส่วนการผสมจึงอาจแตกต่างกันได้ตามงบประมาณการลงทุน โดยใช้ดินร่วนหรือดินร่วนปนทรายผสมกับมูลสัตว์ แกลบหรือผสมวัสดุอื่น เช่น ขี้เถ้า กากมะพร้าว เป็นต้น ในอัตราส่วนดินต่อวัสดุอื่น 2:1 หรือ 3:1พร้อมผสมด้วยปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15ปริมาณ 10กิโลกรัม/ดิน 1 คิว 3. กิ่งพันธุ์มะนาวตอน 4. ไม้ไผ่ และเชือกฟาง การปลูก 1. จัดวางฝาปิดบ่อซีเมนต์ในระยะห่างระหว่างแถว และระหว่างต้นในระยะ 2-4x 2-4เมตร พร้อมนาบ่อซีเมนต์วางทับด้านบน 1ไร่จะได้ประมาณ 100-400 ต้น ตามระยะที่ใช้ 2. นาดินที่ผสมแล้วใส่ในกระถาง ให้ระดับดินต่ากว่าขอบบ่อประมาณ 10เซนติเมตร ให้ใส่ดินประมาณ 2 ใน 3ของบ่อ แล้วนาต้นมะนาวลงบ่อ แล้วจึงใส่ดินกลบทีหลังหรืออาจใส่ดินให้ได้ระดับก่อนค่อยขุดหลุมปลูกทีหลังก็ได้ โดยนาถุงพลาสติกหรือกระถางออกก่อนปลูกทุกครั้ง หลังจากนั้นกลบหน้าดินใหแน่นพอประมาณ พร้อมนาวัสดุอินทรีย์โรยกลบปากบ่อ เช่น แกลบ ขี้เถ้า ขุยมะพร้าว เศษใบไม้ปุ๋ยหมัก และมูลโค เป็นต้น ทั้งนี้ ให้หลีกเลี่ยงการใส่ขี้เถ้าจานวนมาก เนื่องจากขี้เถ้ามีสารอนินทรีย์ที่เป็นแร่มาก เมื่อละลายน้าจะให้กรด
  • 12. อาจทาให้รากมะนาว และต้นมะนาวเหี่ยวตายได้ หรือดินมีสภาพเป็นกรดมาก 3. สาหรับต้นมะนาวขนาดเล็กให้ใช้ไม้ไผ่ปักข้างลาต้น พร้อมผูกเชือกรั้งให้ลาต้นตรง ส่วนต้นมะนาวขนาดใหญ่ไม่ต้องรั้งต้นด้วยไม้ก็ได้ หากแต่ต้นมีกิ่งสาขาแผ่กว้างให้ใช้ไม้ไผ่ปักค้าทั้ง 4ด้าน 4. เมื่อปลูกเสร็จให้รดน้าให้ชุ่ม โดยสังเกตน้าที่ซึมออกบนฝารองด้านล่าง และนาฟางข้าว แกลบหรือเศษใบไม้มากลบบริเวณโคนต้น และปากบ่อทั้งหมด เพื่อรักษาความชุ่มชื้นหน้าดิน การดูแล การให้น้า หากปลูกไม่กี่ต้นก็สามารถให้น้าด้วยการตักรดก็ได้ แต่หากปลูกหลายต้นหรือเพื่อการค้าอาจติดตั้งระบบน้าหยดเพื่อให้น้าง่าย และสะดวกกว่า โดยระยะแรกจะให้ทุกวัน และเมื่อต้นมะนาวตั้งตัวได้แล้วจะให้วันเว้นวันก็ได้ขึ้นอยู่กับสภาพหน้าดิน และสภาพอากาศ นอกจากนั้น หากมีการให้น้าแบบสปริงเกอร์แล้ว เกษตรกรมักนิยมปลูกผักแซมบริเวณรอบต้นมะนาวร่วมด้วย การใส่ปุ๋ย ให้ใส่ปุ๋ยสูตร 15-15-15ประมาณ 1-2กามือ ทุกๆ 3-4 เดือน/ครั้ง หรืออาจผสมกับน้ารดบริเวณโคนต้นก็ได้ ทั้งนี้ แนะนาให้หลีกเลี่ยงการใส่ปุ๋ยเคมี ให้ใส่เฉพาะในช่วงบังคับการออกดอกหรือระยะออกดอกติดผลเท่านั้น ส่วนปุ๋ยคอกให้ใส่ 1 ถังเล็ก ทุกๆ 3 เดือน และให้ดีควรรดน้าร่วมกับการละลายปุ๋ ยคอกร่วมด้วย
  • 13. การตัดแต่งกิ่ง ควรตัดแต่งกิ่งให้มีทรงพุ่มเสมอกันในทุกด้าน โดยให้ตัดแต่งกิ่งที่ยาวหรือยื่นออกนอกทรงพุ่มมากเกินไป หรือกิ่งที่เป็นโรคไม่เจริญเติบโตทิ้งเสีย การเด็ดดอก การเด็ดดอกทิ้งเป็นขั้นตอนเพื่อให้ต้นเติบโต และแตกกิ่งจนกว่าจะมีความพร้อมในการออกดอก และติดผลมะนาว เพราะการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์จะใช้กิ่งพันธุ์ที่ได้จากการตอนกิ่ง หรือการติดตา ซึ่งจะติดดอกต่อเนื่องหลังการปลูกเพียงไม่กี่เดือนหลังการปลูก แต่ช่วงแรกต้นจะััยังเล็ก และมีกิ่งน้อย จึงไม่ควรให้ติดดอก และผลในระยะนี้ การ เด็ดดอกนั้น จะทาการเด็ดดอกทิ้งจนกว่าต้นจะมีอายุตั้งแต่ 6-8เดือน จนมีลาต้น และจานวนกิ่งพร้อมก่อน และหลังจากนั้น ค่อยปล่อยให้มะนาวติดดอก และผลสาหรับการเก็บผลผลิตครั้งแรก การบังคับให้ออกลูกนอกฤดู โดยปกติมะนาวจะติดดอกในช่วงเดือน มีนาคม-เมษายน และจะเก็บผลผลิตในช่วงเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไปจนถึงเดือนตุลาคม ตามขนาดที่ต้องการในช่วงนี้จะทาให้มะนาวมีราคาถูกมาก แต่จะแพงมากในช่วงเดือนพฤศจิกายน-เมษายน ดังนั้น การบังคับให้มะนาวออกลูกในช่วงพฤศจิกายน-เมษายน จะขายมะนาวได้ในราคาที่สูงขึ้นมาก สาหรับการทาให้มะนาวออกลูกนอกฤดู สามารถทาได้โดยงดการให้น้า และการตัดแต่งกิ่ง โดยมะนาวจะออกดอกเมื่อมีการแดกกิ่งใหม่ และออกใบใหม่ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกต้นมะนาวที่มีอายุตั้งแต่ 8-12 เดือน (ต้นที่ปลูกจากต้นตอนอายุตั้งแต่ 1 ปี และหลังจากปลูกในท่อซีเมนต์แล้ว 8 เดือนขึ้นไป) 2. ให้เลือกกิ่งแก่หรือกิ่งที่มีใบแก่แล้ว และทาการตัดแต่งกิ่ง 3. งดการให้น้ามะนาวเป็นเวลา 7-10วัน จนใบเหี่ยวหรือเริ่มร่วง หากในช่วงดังกล่าวมีแนวโน้มที่ฝนจะตกให้ใช้ผ้าใบพลาสติกคลุมคอบปากท่อทั้ง หมด 4. หลังจากงดให้น้าประมาณ เวลา 7-10วัน จะสังเกตุใบแก่จะเริ่มเหี่ยวหรือมีใบร่วง ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับสภาพความชุ่มชื้นของดินด้วย 5. ทาการให้น้า ร่วมกับปุ๋ยสูตร 12-12-24ประมาณ 1-2กามือ/ต้น 6. มะนาวจะแตกกิ่ง และออกใบใหม่ประมาณ 15-20วัน พร้อมแตกดอก โดยในระยะแตกใบใหม่ และออกดอกให้ฉีดด้วยน้าหมักหรือน้าต้มสมุนไพรเพื่อป้องกันหนอนหรือแมลงกินใบ อ่อนหรือฉีดพ่นด้วยยากาจัดแมลง 7. ให้น้าปกติ วันละครั้งหรือวันเว้นวันจนถึงการเก็บเกี่ยวผลิต
  • 14. การปลูกมะนาวให้ลูกดกอย่างต่อเนื่องและมีอายุหลายปี 1. การคัดเลือกกิ่งพันธุ์ กิ่งพันธุ์มะนาวที่ใช้ปลูกในกระถาง หากต้องการย่นระยะเวลาการเก็บผลให้เร็วขึ้นควรใช้กิ่งพันธุ์ขนาดใหญ่ที่มีการอนุบาลนาน 8 เดือน –1 ปี ขึ้นไปแต่หากใช้กิ่งพันธุ์ที่ได้จากการตอนอาจต้องใช้ระยะเวลานานขึ้นกว่าจะให้ผลผลิต ทั้งนี้ กิ่งพันธุ์ที่เลือกควรเป็นกิ่งพันธุ์ที่มีความสมบุรณ์ ไม่มีรอยโรค กิ่ง และใบดก ซึ่งการคัดเลือกกิ่งพันธุ์ที่ดีจะช่วยให้ต้นมะนาวเติบโตให้ผลอย่างต่อเนื่อง และมีอายุนานหลายปี 2. การผสมวัสดุปลูก วัสดุสาหรับการปลูกมะนาวในบ่อซีเมนต์ควรมีการผสมระหว่างดินกับวัสดุทางการเกษตร เช่น ปุ๋ยคอก และมูลสัตว์ต่างๆ ปุ๋ยหมัก แกลบ ขี้เถ้า ขี้เลื่อย เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการเพิ่มอินทรีย์วัตถุในดิน ทาให้ดินร่วนซุย ดินเก็บความชื้นได้ดี และเป็นการเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ต้นมะนาวอย่างต่อเนื่อง 3. การคลุมหน้าดิน และการปล่อยไส้เดือนดิน หลังจากปลูกมะนาวเสร็จจาเป็นต้องหาวัสดุสาหรับการคลุมหน้าดิน เช่น แกลบ ฟางข้าว เศษใบไม้ เป็นต้น ซึ่งจะเป็นการช่วยให้ความชื้นดินในบ่อซีเมนต์ไม่สูญเสียง่าย ส่วนการปล่อยไส้เดือนดินถือเป็นการเพิ่มอัตราการย่อยสลายอินทรีย์วัตถุจากการย่อยกินอินทรีย์วัตถุในดิน ทั้งนี้ การที่ดินมีอินทรีย์วัตถุ และมีอัตราการปล่อยสารอาหารในดินที่เหมาะสมจะช่วยส่งเสริมการเติบโต และยืดอายุของต้นมะนาวได้ดี
  • 15. 4. การให้น้า ให้ปุ๋ย และการดูแลอื่นๆ การให้น้านิยมให้โดยระบบน้าหยด ความถี่ 1-2 ครั้ง/วัน ในปริมาณที่หน้าดินในระยะ 10-15 เซนติเมตร มีความชุ่มชื้นเท่านั้น ส่วนการใส่ปุ๋ย แนะนาให้เลือกใช้ปุ๋ยคอกเป็นหลัก และให้ปุ๋ยเคมีเฉพาะในระยะการเร่งออกผลนอกฤดูเท่านั้น โดยกาให้ปุ๋ยคอกแนะนาให้โรยหน้าบ่อซีเมนต์ทุก 2-3เดือนในปริมาณที่ไม่ต้องมากนัก ร่วมกับการนาปุ๋ยคอกแช่น้า และให้น้าแก่ต้นมะนาวอีกทางซึ่งเป็นการให้ปุ๋ย และน้าร่วมกันอีกครั้ง 5. การตัดแต่งกิ่ง การตัดแต่งกิ่งถือเป็นขั้นตอนหนึ่งที่สาคัญในการบังคับมะนาวให้ออกลูกนอกฤดู และเป็นการจากัดขนาดจานวนกิ่ง และขนาดทรงพุ่มให้เหมาะสม เพราะหากจานวนกิ่งมากจะมีผลต่อการขยายจานวนรากตามจานวนกิ่ง และขนาดของลาต้น ทาให้ต้นมะนาวดึงธาตุอาหารจากดินไปใช้ในอัตราที่เร็วขึ้น ดินขาดธาตุอาหารเร็ว ส่งผลต่ออายุของต้นมะนาวตามมา