SlideShare a Scribd company logo
ร่างยุทธศาสตร์ที่  2   การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 30  มิถุนายน  2549
ประเด็นนำเสนอ ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สังคมที่มีความสุข   ยั่งยืน “ Green Society” แนวคิดพื้นฐาน   “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา”  “ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” กรอบแนวคิดของแผนฯ  10 ทางสายกลาง มีเหตุผล พอประมาณ เงื่อนไขความรู้  ( รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง )   เงื่อนไขคุณธรรม ( ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน ความเพียร แบ่งปัน ) มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี
[object Object],[object Object],ทิศทางการวางยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ ในระยะแผนฯ  10 เน้นการสร้างภูมิคุ้มกันให้ระบบเศรษฐกิจและสังคมไทย ทุนสังคม ทุนเศรษฐกิจ ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม บุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบัน ประเทศ วางแนวทาง เสริมสร้างทุนจาก
1. พัฒนาคุณภาพคน และสังคมไทย 5 เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลใน การบริหารจัดการ ประเทศ 4  การพัฒนาบนฐาน ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 3  ปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจให้ สมดุลและแข่งขัน ได้ 2   เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของ ชุมชนและสังคม 5 สังคมเป็นสุข พอเพียง เป็นธรรมและเป็นไทย
การสร้างภูมิคุ้มกัน .  ครอบครัวอบอุ่น .  หลักประกันในชีวิต .  บ - ว - ร / วัฒนธรรม / ศาสนา ฐานข้อมูลชุมชน จัดการองค์ความรู้เก่า + ใหม่ กระบวนการเรียนรู้ + เครือข่าย ต่อเนื่องสม่ำเสมอ ชุมชน เข้มแข็ง เศรษฐกิจชุมชน ( พอเพียง ) อนุรักษ์ทรัพยากร  ธรรมชาติและ พัฒนาสิ่งแวดล้อม ทุนทางสังคมยั่งยืน ชุมชนเป็นสุขอย่างยั่งยืน พึ่งตนเอง พึ่งพาอาศัยกัน ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],กรอบความคิดในการวางยุทธศาสตร์ชุมชน   ทุนเศรษฐกิจมั่นคง ทุนทรัพยากรธรรมชาติมั่นคงและสิ่งแวดล้อมดี + .  เข้าถึงสื่อสารสนเทศ
ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข  มีดุลยภาพภายใต้ศักยภาพชุมชน  สามารถพึ่งตนเอง มีภูมิคุ้มกัน  ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์ ร่างยุทธศาสตร์ที่ 2   การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
1.   เพื่อเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ด้วยกระบวนการ  เรียนรู้ร่วมกัน การจัดการองค์ความรู้และเชื่อมโยง เป็นเครือข่ายการเรียนรู้  2.   เพื่อใช้พลังที่เข้มแข็งของชุมชนไปสร้างสรรค์ ดุลยภาพการพัฒนาที่นำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกัน   และแก้ปัญหาความยากจน 3.   เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการใช้ทุนทาง เศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลและ เกื้อกูล  อยู่ร่วมกับระบบนิเวศได้อย่างสันติสุข วัตถุประสงค์
[object Object],เป้าหมาย
1.  เสริมสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชน 2. สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจ ชุมชน 3.  เสริมสร้าง ศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4.  พัฒนากลไก การขับเคลื่อน ดุลยภาพ การพัฒนา   แนวทาง การพัฒนา
เสริมสร้าง ความ เข้มแข็ง ของชุมชน แนวทางที่  1 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สศช . ทุนทางสุขภาพ มนุษย์ที่แข็งแรง ทุนที่เป็นเงิน ทุนสิ่งแวดล้อม ทุนทางสังคม ทุนความรู้ และ กระบวนการเรียนรู้ ทุนในชุมชน
สร้างความ มั่นคงของ เศรษฐกิจ ชุมชน แนวทางที่  2 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
สร้างศักยภาพ ชุมชนในการ อยู่ร่วมกับ ทรัพยากร ธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม แนวทางที่  3 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
พัฒนากลไก การขับเคลื่อน ดุลยภาพ การพัฒนา ชุมชน แนวทางที่  4 ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ECONOMIC INTEGRATION
บทบาทภาคีการพัฒนา ปลูกจิตสำนึก คุณธรรม จริยธรรม เป็นแกนกลาง ให้ข้อมูลข่าวสารที่มีสาระสร้างสรรค์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน  เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อ   วิจัยร่วมกับชุมชนโดยชุมชนเป็นนักวิจัยหลัก สร้างศักยภาพชุมชนในการจัดการความรู้ ต่อยอดภูมิปัญญานำไปสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ สถาบันการศึกษา สนับสนุนการวิจัย / ทรัพยากร / วิทยากร กิจกรรมอาสาสมัครเพื่อสังคม วิสาหกิจชุมชน รัฐ ประสานเชื่อมโยง การพัฒนาทุกระดับ ทุกมิติ ปรับระบบคิด / วิธีทำงาน /  พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ศก .  และ สค .  ที่เกินขีดความ สามารถชุมชน   จัดสรร งป . สนับสนุน ชุมชน แกนนำขับเคลื่อนการพัฒนาทุนทางสังคม เลี้ยงดู อบรม ดูแลครอบครัว มีบทบาทหลักในเวทีชุมชน ร่วมกับสถาบันศาสนา โรงเรียน อปท .  จัดการองค์ความรู้ ปลูกฝังค่านิยม จิตสำนึก ทัศนคติ ธรรมะปฏิบัติ ร่วมกับสถาบันการ ศึกษาชุมชน ครอบครัว สถาบันศาสนา จัดการ / ถ่ายทอดองค์ความรู้ เป็นพี่เลี้ยง และช่วยเหลือชุมชนขาดแคลน / ประสบปัญหา
ประชาชน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ รัฐ เอื้ออำนวย สนับสนุนทรัพยากร หุ้นส่วน  ตอบสนอง ธุรกิจเอกชน สนับสนุนทรัพยากร สร้างอาชีพ หุ้นส่วน  รับผิดชอบ สื่อ เครื่องมือกระจายความรู้ ขยายเครือข่าย สื่อสาร  2  ทาง องค์กรปกครองท้องถิ่น ประสาน ส่งเสริมการทำงานทุกมิติ สร้างสภาวะแวดล้อมสีขาว โครงข่ายคุ้มครอง สถาบันการศึกษา ถอดรหัส  ศูนย์ความรู้ / ภูมิปัญญา เชื่อมต่อภูมิปัญญาสู่สากล ประชาสังคม  ( CSO ) สร้างกระบวนการเรียนรู้  จัดการความรู้ พันธมิตร สถาบันศาสนา ศูนย์รวมใจ สายใย  แหล่งความรู้ เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต จุดมุ่งหมายการพัฒนา   “ ชุมชน”  และบทบาทภาคี เข้มแข็ง น่าอยู่ เครือข่าย กระบวนการ เรียนรู้
แนวทางดำรงชีวิตแบบพอเพียง แผนชุมชน + แผนท้องถิ่น แผนบริหารราชการแผ่นดิน + แผนองค์กร / สถาบัน การเชื่อมโยงกลไกการขับเคลื่อนและสนับสนุน บุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบัน ประเทศ
ประเด็นในการระดมสมอง    บทบาทภาคีการพัฒนา  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
www.nesdb.go.th

More Related Content

Viewers also liked

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
Green Greenz
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
Green Greenz
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
Green Greenz
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
Watcharin Chongkonsatit
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติSambushi Kritsada
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมJunjira Wuttiwitchai
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อkrupornpana55
 

Viewers also liked (9)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
3p
3p3p
3p
 
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมการพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
การพัฒนาที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติการวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
การวินิจฉัยชุมชน อ.สมเกียรติ
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมpowerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
powerpoint อุตสาหกรรมกับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อม
 
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อแบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
แบบทดสอบพร้อมเฉลยรายตัวชี้วัดร่วมสร้างสรรค์ ท.ศ..Docx 40 ข้อ
 

Similar to สิ่งแวดล้อม

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
juriporn chuchanakij
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคมjirapom
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
Dowroong Wittaya School
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
อับดลรอศักดิ์ มณีโส๊ะ
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์nang_phy29
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตAon Narinchoti
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
นางจำเรียง กอมพนม
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
gam030
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Piyapong Chaichana
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
nattawad147
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
Theerayut Ponman
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
poppai041507094142
 

Similar to สิ่งแวดล้อม (20)

เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
002
002002
002
 
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษาบริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
บริบทที่ส่งผลต่อการจัดการศึกษา
 
สังคม
สังคมสังคม
สังคม
 
5
55
5
 
กลไกสังคม
กลไกสังคมกลไกสังคม
กลไกสังคม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
นโยบาย กระทรวงศึกษา 58
 
วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์วิสัยทัศน์
วิสัยทัศน์
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
Best practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริตBest practice โรงเรียนสุจริต
Best practice โรงเรียนสุจริต
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
5 170819173404
5 1708191734045 170819173404
5 170819173404
 

More from jirapom

วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรืวิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรืjirapom
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหารjirapom
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยjirapom
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
jirapom
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
jirapom
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังjirapom
 

More from jirapom (6)

วิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรืวิทยาศาสตรื
วิทยาศาสตรื
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหาร
 
ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตยประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
 
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรังสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
สถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดตรัง
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 

Recently uploaded (6)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 

สิ่งแวดล้อม

  • 1. ร่างยุทธศาสตร์ที่ 2 การสร้างความเข้มแข็งของชุมชน และสังคมเป็นรากฐานที่มั่นคงของชาติ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ 30 มิถุนายน 2549
  • 2.
  • 3. สังคมที่มีความสุข ยั่งยืน “ Green Society” แนวคิดพื้นฐาน “คนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนา” “ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” กรอบแนวคิดของแผนฯ 10 ทางสายกลาง มีเหตุผล พอประมาณ เงื่อนไขความรู้ ( รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง ) เงื่อนไขคุณธรรม ( ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน ความเพียร แบ่งปัน ) มีภูมิคุ้มกัน ในตัวที่ดี
  • 4.
  • 5. 1. พัฒนาคุณภาพคน และสังคมไทย 5 เสริมสร้าง ธรรมาภิบาลใน การบริหารจัดการ ประเทศ 4 การพัฒนาบนฐาน ความหลากหลาย ทางชีวภาพ 3 ปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจให้ สมดุลและแข่งขัน ได้ 2 เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของ ชุมชนและสังคม 5 สังคมเป็นสุข พอเพียง เป็นธรรมและเป็นไทย
  • 6.
  • 7. ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข มีดุลยภาพภายใต้ศักยภาพชุมชน สามารถพึ่งตนเอง มีภูมิคุ้มกัน ทันต่อการเปลี่ยนแปลง เป้าประสงค์ ร่างยุทธศาสตร์ที่ 2 การเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและสังคม
  • 8. 1. เพื่อเสริมสร้างชุมชนให้เข้มแข็ง ด้วยกระบวนการ เรียนรู้ร่วมกัน การจัดการองค์ความรู้และเชื่อมโยง เป็นเครือข่ายการเรียนรู้ 2. เพื่อใช้พลังที่เข้มแข็งของชุมชนไปสร้างสรรค์ ดุลยภาพการพัฒนาที่นำไปสู่การสร้างภูมิคุ้มกัน และแก้ปัญหาความยากจน 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการใช้ทุนทาง เศรษฐกิจ ทุนทางสังคม และทุนทางทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้อย่างสมดุลและ เกื้อกูล อยู่ร่วมกับระบบนิเวศได้อย่างสันติสุข วัตถุประสงค์
  • 9.
  • 10. 1. เสริมสร้างความเข้มแข็ง ของชุมชน 2. สร้างความมั่นคงของเศรษฐกิจ ชุมชน 3. เสริมสร้าง ศักยภาพชุมชนในการอยู่ร่วมกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 4. พัฒนากลไก การขับเคลื่อน ดุลยภาพ การพัฒนา แนวทาง การพัฒนา
  • 11.
  • 12. สศช . ทุนทางสุขภาพ มนุษย์ที่แข็งแรง ทุนที่เป็นเงิน ทุนสิ่งแวดล้อม ทุนทางสังคม ทุนความรู้ และ กระบวนการเรียนรู้ ทุนในชุมชน
  • 13.
  • 14.
  • 15.
  • 16. บทบาทภาคีการพัฒนา ปลูกจิตสำนึก คุณธรรม จริยธรรม เป็นแกนกลาง ให้ข้อมูลข่าวสารที่มีสาระสร้างสรรค์เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน เอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน สื่อ วิจัยร่วมกับชุมชนโดยชุมชนเป็นนักวิจัยหลัก สร้างศักยภาพชุมชนในการจัดการความรู้ ต่อยอดภูมิปัญญานำไปสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ สถาบันการศึกษา สนับสนุนการวิจัย / ทรัพยากร / วิทยากร กิจกรรมอาสาสมัครเพื่อสังคม วิสาหกิจชุมชน รัฐ ประสานเชื่อมโยง การพัฒนาทุกระดับ ทุกมิติ ปรับระบบคิด / วิธีทำงาน / พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ศก . และ สค . ที่เกินขีดความ สามารถชุมชน จัดสรร งป . สนับสนุน ชุมชน แกนนำขับเคลื่อนการพัฒนาทุนทางสังคม เลี้ยงดู อบรม ดูแลครอบครัว มีบทบาทหลักในเวทีชุมชน ร่วมกับสถาบันศาสนา โรงเรียน อปท . จัดการองค์ความรู้ ปลูกฝังค่านิยม จิตสำนึก ทัศนคติ ธรรมะปฏิบัติ ร่วมกับสถาบันการ ศึกษาชุมชน ครอบครัว สถาบันศาสนา จัดการ / ถ่ายทอดองค์ความรู้ เป็นพี่เลี้ยง และช่วยเหลือชุมชนขาดแคลน / ประสบปัญหา
  • 17. ประชาชน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทำ ร่วมรับผิดชอบ รัฐ เอื้ออำนวย สนับสนุนทรัพยากร หุ้นส่วน ตอบสนอง ธุรกิจเอกชน สนับสนุนทรัพยากร สร้างอาชีพ หุ้นส่วน รับผิดชอบ สื่อ เครื่องมือกระจายความรู้ ขยายเครือข่าย สื่อสาร 2 ทาง องค์กรปกครองท้องถิ่น ประสาน ส่งเสริมการทำงานทุกมิติ สร้างสภาวะแวดล้อมสีขาว โครงข่ายคุ้มครอง สถาบันการศึกษา ถอดรหัส ศูนย์ความรู้ / ภูมิปัญญา เชื่อมต่อภูมิปัญญาสู่สากล ประชาสังคม ( CSO ) สร้างกระบวนการเรียนรู้ จัดการความรู้ พันธมิตร สถาบันศาสนา ศูนย์รวมใจ สายใย แหล่งความรู้ เป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิต จุดมุ่งหมายการพัฒนา “ ชุมชน” และบทบาทภาคี เข้มแข็ง น่าอยู่ เครือข่าย กระบวนการ เรียนรู้
  • 18. แนวทางดำรงชีวิตแบบพอเพียง แผนชุมชน + แผนท้องถิ่น แผนบริหารราชการแผ่นดิน + แผนองค์กร / สถาบัน การเชื่อมโยงกลไกการขับเคลื่อนและสนับสนุน บุคคล ครอบครัว ชุมชน สถาบัน ประเทศ
  • 19.

Editor's Notes

  1. เครือข่ายปราชญ์ชาวบ้านได้ให้ความหมายของทุนต่าง ๆ ที่ใช้ในการพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ไปสู่ความอยู่ดีมีสุข ได้แก่ - ทุนทางสุขภาพ ได้แก่ แรงงานที่แข็งแรงในครัวเรือนทั้งทางร่างกายและจิตใจ - ทุนทางสังคม ได้แก่ ญาติสนิทมิตรสหายที่จะมารวมตัวอย่างต่อเนื่อง เพื่อร่วมคิด ร่วมเรียนรู้ และร่วมทำ - ทุนที่เป็นเงิน - ทุนสิ่งแวดล้อม ที่ดิน น้ำ ต้นไม้ สัตว์ต่าง ๆ ทั้งที่เลี้ยงและธรรมชาติ ( สะท้อน คน ภูมิปัญญา การเรียนรู้ )
  2. การพัฒนาต่อยอดองค์ความรู้และภูมิปัญญา ที่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จัดการองค์ความรู้ในระดับชุมชนที่ทำให้เกิดระบบความรู้ที่ชุมชนเป็นเจ้าของ และการนำภูมิปัญญามาผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ 2) ผลักดันให้มีการจดลิขสิทธิ์ที่เกิดจากภูมิปัญญาท้องถิ่น เป็นการคุ้มครองทรัพย์สินทางปัญญากรณีหากมีการนำไปใช้ในเชิงพาณิชย์ทั้งในและนอกประเทศ พัฒนาและต่อยอดภูมิปัญญาและความเป็นไทยที่สอดคล้องกับความต้องการสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ เช่น ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย วัฒนธรรมด้านอาหาร การนวดแผนไทย และสมุนไพร เป็นต้น