SlideShare a Scribd company logo
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6
ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์
ความต่างศักย์ไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ า
และความต้านทานไฟฟ้ า
การใช้พลังงานไฟฟ้ า
การต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
การต่ออุปกรณ์
อิเล็กทรอนิกส์
ประโยชน์ของ
อิเล็กทรอนิกส์
ความต่างศักย์ไฟฟ้ า กระแสไฟฟ้ า
และความต้านทานไฟฟ้ า
• เป็นความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้ าระหว่างจุดสองจุด
ซึ่งทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า
• กระแสไฟฟ้ าไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้ าสูงไปยังจุดที่มี
ศักย์ไฟฟ้ าต่า และจะหยุดไหลเมื่อศักย์ไฟฟ้ าทั้งสองจุด
เท่ากัน
• เครื่องวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ า เรียกว่า โวลต์มิเตอร์ มี
หน่วยเป็น โวลต์ (Volt : V)
• การต่อโวลต์มิเตอร์ในวงจรไฟฟ้ าเพื่อใช้วัดค่าความต่าง
ศักย์ไฟฟ้าจะต้องต่อแบบขนาน
ความต่างศักย์ไฟฟ้ า
• กระแสไฟฟ้าเกิดขึ้นได้เมื่อมีความต่างศักย์ต่างกันสองบริเวณ
• กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่านวัตถุที่มีสมบัตินาไฟฟ้าได้ ซึ่งจะไหลผ่านมากหรือน้อยนั้น
ขึ้นอยู่กับลักษณะของตัวนาไฟฟ้า
• เครื่องมือที่ใช้วัดกระแสไฟฟ้า เรียกว่า แอมมิเตอร์ มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (ampere : A)
• การต่อแอมมิเตอร์ในวงจรไฟฟ้าเพื่อวัดความกระแสไฟฟ้าจะต่อแบบอนุกรม
กระแสไฟฟ้ า
ไฟฟ้ ากระแสสลับ
• กระแสไฟฟ้าที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของ
อิเล็กตรอน
• มีทิศทางกลับไปกลับมาตลอดเวลาด้วยความถี่
ค่าหนึ่ง
ไฟฟ้ ากระแสตรง
• กระแสไฟฟ้าที่ไหลในทิศทางเดียวตลอดเวลา
• ไหลจากจุดที่มีศักย์ไฟฟ้าสูงกว่าไปยังจุดที่มี
ศักย์ไฟฟ้าต่ากว่า หรือไหลจากขั้วบวกไปยัง
ขั้วลบ
• เป็นสมบัติของตัวนาไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ไปมากหรือน้อย
• ตัวนาไฟฟ้าที่มีความต้านทานต่าจะยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านได้มาก ส่วนตัวนาไฟฟ้าที่มีความต้านทานสูงจะ
ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้น้อย
• เครื่องมือวัดค่าความต้านทานไฟฟ้า เรียกว่า
มัลติมิเตอร์ มีหน่วยเป็น โอห์ม (ohm : Ω )
ความต้านทานไฟฟ้ า
ชนิดของตัวนาไฟฟ้ า
• ตัวนาไฟฟ้า คือ วัตถุที่ยอมให้กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านได้ดี ได้แก่ โลหะ เช่น เงิน
ทองแดง สังกะสี อะลูมิเนียม เป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อความต้านทานไฟฟ้ า
• ฉนวนไฟฟ้า คือ วัตถุที่ไม่ยอมให้
กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน หรือไหลผ่านได้น้อย
ได้แก่ อโลหะ เช่น พลาสติกไม้ผ้า เป็นต้น
ขนาดของตัวนาไฟฟ้ า
ตัวนาไฟฟ้าชนิดเดียวกันแต่มีขนาดต่างกัน
ตัวนาไฟฟ้าขนาดเล็กจะมีความต้านทานสูงกว่า
ตัวนาไฟฟ้าขนาดใหญ่
อุณหภูมิ
ตัวนาไฟฟ้าที่เป็นโลหะบริสุทธิ์และโลหะผสม เมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น ค่าความต้านทาน
ก็จะเพิ่มขึ้น
ความยาวของตัวนาไฟฟ้ า
ตัวนาไฟฟ้าชนิดเดียวกันแต่มีความยาว
ต่างกัน ตัวนาไฟฟ้าที่มีความยาวน้อยกว่าจะมี
ความต้านทานต่ากว่าตัวนาไฟฟ้าที่มีความยาว
มากกว่า
ความต้านทานสูง
ความต้านทานต่า
ลวดนิโครมที่มีขนาดเล็กและยาว
ทองแดงที่มีขนาดเล็กและยาว
ทองแดงที่มีขนาดใหญ่และยาว
ทองแดงที่มีขนาดใหญ่และสั้น
• ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า
เขียนเป็นสมการ ได้ดังนี้
V = IR
• กฎของโอห์ม กล่าวว่า “เมื่ออุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ากับ
กระแสไฟฟ้าของตัวนาไฟฟ้า จะมีค่าคงที่เท่ากับความต้านทานของตัวนาไฟฟ้านั้น”
ความสัมพันธ์ระหว่างความต่างศักย์ไฟฟ้ า
กระแสไฟฟ้ า และความต้านทานไฟฟ้ า
เมื่อ V แทนความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
I แทนกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
R แทนความต้านทานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
การใช้พลังงานไฟฟ้ า
ค่าของพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น วัตต์ (Watt : W) หรือ
จูลต่อวินาที (Joule : J/s) สามารถเขียนเป็นสมการแสดงความสัมพันธ์ได้ ดังนี้
เมื่อ P แทนกาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ (W)
W แทนพลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นจูล (J)
t แทนเวลา มีหน่วยเป็นวินาที (s)
กาลังไฟฟ้ า
กาลังไฟฟ้าจะมีค่ามากหรือน้อยขึ้นอยู่กับปริมาณกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านเครื่องใช้ไฟฟ้า
และความต่างศักย์ที่เครื่องใช้ไฟฟ้านั้นๆ ต่ออยู่โดยเขียนเป็นสมการแสดงความสัมพันธ์ได้
ดังนี้
เมื่อ P แทนกาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นวัตต์ (W)
V แทนความต่างศักย์ไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโวลต์ (V)
I แทนกระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็นแอมแปร์ (A)
R แทนความต้านไฟฟ้า มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω)
• การคิดค่าไฟฟ้า คือ การคิดราคาพลังงานไฟฟ้าที่ถูกใช้ไปตามอัตราที่การไฟฟ้ากาหนด
ซึ่งค่าไฟฟ้าจะคิดเป็นกิโลวัตต์ชั่วโมง หรือหน่วย
• ปริมาณพลังงานที่ใช้ขึ้นอยู่กับกาลังและเวลา เขียนเป็นสมการ ได้ดังนี้
W = Pt
เมื่อ W แทนพลังงานไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ชั่วโมง (kWh)
P แทนกาลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็นกิโลวัตต์ (kw)
t แทนเวลา มีหน่วยเป็นชั่วโมง (h)
การคานวณค่าไฟฟ้ า
ตัวอย่าง
ตัวอย่าง
ค่าไฟฟ้ าฐาน
จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลังงานไฟฟ้ า (บาท/หน่วย)
5 หน่วยแรก 1-5 0
10 หน่วยต่อไป 6-15 1.3576
10 หน่วยต่อไป 16-25 1.5445
10 หน่วยต่อไป 26-35 1.7968
65 หน่วยต่อไป 36-100 2.1800
50 หน่วยต่อไป 101-150 2.2734
• แบบจดทะเบียนเป็นผู้ใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน
อัตราค่าไฟฟ้าเมื่อมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน
• แบบจดทะเบียนเป็นผู้ใช้พลังงานไฟฟ้าเกิน 150 หน่วยต่อเดือน
จานวนหน่วย หน่วยที่ ค่าพลังงานไฟฟ้ า (บาท/หน่วย)
150 หน่วยแรก 1-150 1.8047
250 หน่วยต่อไป 151-400 2.7781
เกิน 400 หน่วยขึ้นไป 401 เป็นต้นไป 2.9780
อัตราค่าไฟฟ้าเมื่อมีปริมาณการใช้พลังงานไฟฟ้าเกินกว่า 150 หน่วยต่อเดือน
ค่าบริการรายเดือน
ประเภทที่อยู่อาศัย ถ้าหากใช้ไฟฟ้าไม่เกิน 150 หน่วยต่อเดือน จะเสีย
ค่าบริการ 8.19 บาทต่อเดือน ถ้าเกิน 150 หน่วย
ต่อเดือน จะเสียค่าบริการ 40.90 บาทต่อเดือน
ค่าไฟฟ้ าผันแปรหรืออัตราค่าไฟฟ้ า
โดยอัตโนมัติ (Ft)
มีค่าไม่แน่นอน ขึ้นอยู่กับหลายปัจจัย
ภาษีมูลค่าเพิ่ม
คิดจากค่าไฟฟ้าฐานรวมกับค่าไฟฟ้าผันแปร
ในอัตราร้อยละ 7
ตัวอย่าง
• หลอดธรรมดาหรือหลอดแบบมีไส้:
มีลักษณะเป็นกระเปาะแก้วใส
ภายในมีไส้หลอดทาด้วยโลหะ
ทังสเตนกับออสเมียขดเป็นสปริง
• หลอดฟลูออเรสเซนต์หรือหลอด
นีออน: ภายในเป็นสุญญากาศ บรรจุ
ไอปรอทไว้เล็กน้อย ผิวด้านในฉาบ
ด้วยสารเรืองแสง
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานแสงสว่าง
การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้ าในบ้านอย่างประหยัดและปลอดภัย
ไส้หลอด
แก๊สไนโตรเจน และอาร์กอน
ก้านยึดไส้หลอด
ขั้วต่อไฟ
กระเปาะแก้ว
วิธีเลือกใช้หลอดไฟฟ้ าอย่างประหยัดและปลอดภัย
• เลือกหลอดไฟชนิดประหยัดไฟ และมีระยะเวลาใช้งานนาน
• เลือกหลอดไฟที่มีกาลังวัตต์เหมาะสมกับการใช้งาน
• ในบริเวณที่ต้องการความสว่างมาก ควรเลือกใช้หลอดฟลูออเรสเซนต์
• เปิดไฟเฉพาะบริเวณที่ต้องการ และปิดไฟทุกครั้งเมื่อเลิกใช้งาน
เตารีด
• ระมัดระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัส
กับสายไฟฟ้า
• หมั่นตรวจสอบที่หุ้มสายของเตารีด
• ควรรีดผ้าครั้งละมากๆ
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานความร้อน
กาต้มน้าไฟฟ้ า
• ควรใส่น้าให้พอเหมาะกับความต้องการ
• ไม่ควรวางใกล้วัตถุติดไฟ
• ตรวจสอบสายไฟอยู่เสมอ
• เมื่อเลิกใช้ควรถอดปลั๊กทันที
ตู้เย็น
• เลือกซื้อตู้เย็นที่มีสลากประหยัดไฟเบอร์ 5
• ไม่นาของร้อนใส่ในตู้เย็นเพราะทาให้กินไฟมาก
• ควรหมั่นทาละลายน้าแข็งออก
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานกล
เครื่องปรับอากาศ
• เลือกเครื่องปรับอากาศที่มีสลากประหยัดไฟเบอร์ 5
• ขณะเปิดใช้งานควรปิดประตูหรือหน้าต่างให้สนิท
• หมั่นตรวจสอบและทาความสะอาดแผ่นกรองอากาศ
• เลือกขนาดให้เหมาะสมกับห้อง
• ปรับอุณหภูมิที่ 25 องศาเซลเซียส
เครื่องซักผ้า
• เลือกขนาดให้เหมาะสมกับการใช้งาน
• ไม่ใส่ผ้าอัดแน่นเกินกาลังของเครื่อง
• ไม่ควรวางเครื่องซักผ้าในพื้นที่ที่เปียกง่าย
• ไม่ควรซักผ้าครั้งละจานวนน้อยเกินไป
• ดึงปลั๊กออกทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
วิทยุ
• ปิดวิทยุในช่วงที่สภาพอากาศแปรปรวน มีฝนฟ้าคะนอง
• เปิดเสียงให้ดังแต่พอควร หากเปิดดังเกินไปอาจทาให้ลาโพงเกิดความเสียหาย
• ไม่วางวิทยุในที่เปียกชื้น
• เมื่อเลิกใช้งานควรปิดวิทยุ และดึงปลั๊กออกทุกครั้ง
เครื่องใช้ไฟฟ้ าที่ให้พลังงานเสียง
การต่อวงจรไฟฟ้ าในบ้าน
การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบอนุกรม
• เป็นการต่ออุปกรณ์ต่างๆ ในวงจรเรียงกันเป็นสายเดียว
• กระแสไฟฟ้าจะไหลในทิศทางเดียวกันตลอด
• หากหลอดไฟฟ้าหลอดหนึ่งเสีย จะทาให้ไฟฟ้าทั้งวงจรดับทั้งหมด
การต่อวงจรไฟฟ้ า
ผลของการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบอนุกรม
• ความต้านทานรวมของหลอดไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นตามจานวนหลอดไฟฟ้าที่นามาต่อกัน
Rรวม = R1 + R2 + …
Iรวม = I1 = I2
Vรวม = V1 + V2 + …
• ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายของหลอดไฟฟ้าแต่ละอัน จะขึ้นอยู่กับความต้านทาน
หรือกาลังไฟฟ้าของหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอด ส่วนความต่างศักย์ไฟฟ้ารวมจะเท่ากับ
ความต่างศักย์ของแหล่งจ่ายพลังงานไฟฟ้า
• กระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านในวงจรจะมีค่าเท่ากันตลอดวงจร
การต่อวงจรไฟฟ้ าแบบขนาน
• เป็นการต่อวงจรไฟฟ้า โดยที่กระแสไฟฟ้ามีการแยกไหลออกได้หลายทาง และ
ช่วงสุดท้ายจะไหลมารวมกัน
• เมื่อหลอดไฟฟ้าหลอดใดหลอดหนึ่งเสีย จะไม่มีกระแสไฟฟ้าเฉพาะวงจรของหลอดไฟ
ที่เสียเท่านั้น
ผลของการต่อหลอดไฟฟ้ าแบบขนาน
• ความต้านทานรวมของหลอดไฟฟ้าจะน้อยลงและน้อยกว่าความต้านทานที่น้อยที่สุด
ในวงจรไฟฟ้า
Iรวม = I1 + I2 + …
Vรวม = V1 = V2
1/Rรวม = 1/R1 + 1/R2 + …
• ความต่างศักย์ไฟฟ้าระหว่างปลายทั้งสองของหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอดจะเท่ากัน
และเท่ากับความต่างศักย์ไฟฟ้ารวม
• กระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอดไม่เท่ากัน โดยกระแสไฟฟ้ารวมจะ
เท่ากับผลบวกของกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดไฟฟ้าแต่ละหลอด
สายไฟ
เป็นตัวนาไฟฟ้าที่
ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่าน
ไปได้ทาด้วยโลหะซึ่ง
ส่วนใหญ่เป็นทองแดง
และมีพลาสติกห่อหุ้มอยู่
ฟิวส์
ทาจากตะกั่วผสมดีบุก
และบิสมัทเล็กน้อย มีจุด
หลอมละลายต่า ซึ่งเมื่อเกิด
ไฟฟ้าลัดวงจร ฟิวส์จะขาด
ซึ่งช่วยตัดวงจรไฟฟ้าเพื่อ
ป้องกันไม่ให้เกิดอันตราย
สะพานไฟ
เป็นอุปกรณ์สาหรับ
ตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้า
ตัวสะพานทาด้วยโลหะ
มีฉนวนกระเบื้องหรือ
พลาสติกห่อหุ้ม และมี
คันจับใช้ยกขึ้นลงได้
อุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรไฟฟ้ า
สวิตช์
เป็นอุปกรณ์ตัดหรือต่อวงจรไฟฟ้าในส่วนที่ต้องการ
เต้ารับและเต้าเสียบ
เป็นอุปกรณ์ที่จะนากระแสไฟฟ้าเข้าสู่
เครื่องใช้ไฟฟ้าเพื่อให้สามารถทางานได้
เต้าเสียบมี 2 แบบ ได้แก่
• แบบ 2 ขา จะใช้กับเต้ารับ 2 ช่อง
• แบบ 3 ขา จะใช้กับเต้ารับ 3 ช่อง
(ขาที่ 3 จะต่อกับสายดิน ซึ่งช่วยป้องกัน
อันตรายกรณีมีกระแสไฟฟ้ารั่ว)
เครื่องมัลติมิเตอร์ ไขควงตรวจสอบไฟฟ้า
เครื่องมือตรวจสอบในวงจรไฟฟ้ า
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ทาหน้าที่ลดปริมาณกระแสไฟฟ้า
ตัวต้านทานชนิดค่าคงที่
ส่วนใหญ่จะมีลักษณะเป็นทรงกระบอก
บริเวณปลายทั้งสองข้างมีขาที่ทาด้วยโลหะ
ซึ่งเป็นสารผสมระหว่างดีบุกกับทองแดง
การวัดค่าความต้านทานสามารถวัดโดยใช้
โอห์มมิเตอร์ และการอ่านแถบสีที่ปรากฏบน
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
ค่าแถบสีของตัวต้านทาน
แถบสี ตัวเลขเทียบค่า ตัวคูณ ความคลาดเคลื่อน
ดา 0 100 = 1 -
น้าตาล 1 101 = 10 -
แดง 2 102 = 100 -
ส้ม 3 103 = 1,000 -
เหลือง 4 104 = 10,000 -
เขียว 5 105 = 100,000 -
น้าเงิน 6 106 = 1,000,000 -
ม่วง 7 107 = 10,000,0000 -
เทา 8 108 = 100,000,000 -
ขาว 9 109 = 1,000,000,000 -
ทอง - 0.1 ±5%
เงิน - 0.01 ±10%
ไม่มีสี - - ±20%
ตัวอย่าง
ตัวต้านทานชนิดปรับค่าได้ หรือรีโอสแตต
สามารถปรับค่าความต้านทานได้ตามต้องการ ซึ่งนิยม
ใช้ในเครื่องใช้ไฟฟ้าหลายชนิด เช่น ปุ่มปรับความดังของ
วิทยุ
ตัวต้านทานไวความร้อน
มีค่าความต้านทานเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิ นิยมใช้
เป็นตัวต้านทานในเครื่องเตือนอัคคีภัย ไมโครเวฟ
ตัวต้านทานไวแสง
• เปลี่ยนค่าความต้านทานเมื่อความเข้มแสงที่ตกกระทบเปลี่ยนไป โดยเมื่อมีแสงหรือ
ความเข้มแสงมากขึ้น ความต้านทานจะมีค่าเพิ่มขึ้น
• นิยมนามาใช้ในเครื่องวัดแสงของกล้องถ่ายรูป และเป็นตัวต้านทานในสวิตช์ปิด-เปิดไฟ
อัตโนมัติ
• เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านทางเดียว
• ทาจากสารกึ่งตัวนา 2 ชนิด คือ ชนิดพี (p หรือ +) และชนิดเอ็น (n หรือ -)
• ประกอบด้วยขั้ว 2 ขั้ว คือ ขั้วบวกซึ่งต่อกับสารกึ่งตัวนาชนิด p และขั้วลบซึ่งต่อกับ
สารกึ่งตัวนาชนิด n
• ไดโอดธรรมดา : เป็นตัวควบคุมให้กระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียว
• ไดโอดเปล่งแสง : เป็นไดโอดที่สามารถเปล่งแสงออกมาเมื่อได้รับกระแสไฟฟ้า
ไดโอด
• สามารถนาไปใช้ประโยชน์แทนหลอดสุญญากาศได้
• โครงสร้างประกอบด้วยสารกึ่งตัวนา 3 ชั้น คือ เบส
คอลเล็กเตอร์ และอิมิตเตอร์ จึงทาให้ทรานซิสเตอร์
มี 3 ขา
• เป็นการนาทรานซิสเตอร์มาบัดกรีไว้กับชิ้นส่วน
อิเล็กทรอนิกส์และส่วนประกอบทางไฟฟ้ าอื่นๆ
ซึ่งทาเป็นแผงวงจร
ทรานซิสเตอร์
ซิลิคอนชิป
การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
การต่อวงจรตัวต้านทาน
ต้องต่อแบบอนุกรม ซึ่งตัวต้านทานจะควบคุมปริมาณ
การไหลของกระแสไฟฟ้าในวงจร
การต่อวงจรไดโอดธรรมดา
ต้องต่อตามทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า
จึงจะทาให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านวงจรไดโอด
การต่อวงจรไดโอดเปล่งแสง
ต้องต่อตัวต้านทานไว้ในวงจรด้วย เพื่อลดปริมาณ
กระแสไฟฟ้าให้ไหลผ่านไดโอดในปริมาณที่พอเหมาะ
การต่อวงจรอิเล็กทรอนิกส์
การต่อวงจรทรานซิสเตอร์
เมื่อขาเบสไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
ทาให้ขาคอลเล็กเตอร์และขาอิมิตเตอร์
ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลออก หลอดไฟ
จึงไม่สว่าง
เมื่อขาเบสมีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน ทาให้ขา
คอลเล็กเตอร์และขาอิมิตเตอร์มีกระแสไฟฟ้า
ไหลออก หลอดไฟจึงสว่าง
ประโยชน์ของอิเล็กทรอนิกส์
• เป็นอุปกรณ์ในเครื่องเตือนภัย
• เป็นสวิตช์ปรับความดังหรือความเร็ว
• เป็นสวิตช์เปิด-ปิดไฟอัตโนมัติ
• ใช้เป็นอุปกรณ์ป้องกันชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์
• ใช้เป็นตัวแสดงผลของวงจรไฟฟ้า
ประโยชน์ของตัวต้านทาน
ประโยชน์ของไดโอด
• เป็นวงจรขยายในเครื่องรับวิทยุและเครื่องรับโทรทัศน์
• เป็นสวิตซ์เปิด-ปิด เพื่อควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า
- เป็นสวิตช์เปิด เมื่อมีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าที่ขาเบสของทรานซิสเตอร์
- เป็นสวิตช์ปิด เมื่อไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลเข้าที่ขาเบสของทรานซิสเตอร์
ประโยชน์ของทรานซิสเตอร์
• ความต่างศักย์ไฟฟ้า คือ ความแตกต่างของพลังงานไฟฟ้าระหว่างจุด 2 จุด
ซึ่งทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้น
• กระแสไฟฟ้า จะเกิดขึ้นเมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าต่างกัน 2 บริเวณ
• ความต้านทานไฟฟ้า หมายถึง สมบัติของตัวนาไฟฟ้าที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าผ่านไปได้
มากหรือน้อย
• กาลังไฟฟ้า คือ ค่าของพลังงานที่ถูกใช้ไปใน 1 วินาที มีหน่วยเป็นวัตต์
• ตัวต้านทาน เป็นอุปกรณ์ที่ช่วยลดปริมาณกระแสไฟฟ้า
• ไดโอด เป็นอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปทางเดียว
• ทรานซิสเตอร์ ใช้เป็นวงจรขยายในเครื่องรับวิทยุและโทรทัศน์และใช้เป็นสวิตซ์
เปิด-ปิดเพื่อควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าต่างๆ
สรุปทบทวนประจาหน่วยการเรียนรู้ที่ 6

More Related Content

What's hot

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Thaweekoon Intharachai
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
Worrachet Boonyong
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
Katewaree Yosyingyong
 
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Attapon Phonkamchon
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1yasotornrit
 

What's hot (20)

การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ใบงานเรื่อง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสันแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง แบบจำลองอะตอมของดอลตันและทอมสัน
 
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
Pointสอนเรียนรู้วิทยาศาสตร์อย่างไร สอนออนไลน์
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1การต่อแอมมิเตอร์     โวลต์มิเตอร์1
การต่อแอมมิเตอร์ โวลต์มิเตอร์1
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 

Similar to ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6

อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxอจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
ssuser0c62991
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
Rattanapron Tacomdee
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์jee2002
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าkritsana08724
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
tearchersittikon
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า1560100453451
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)ying08932
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอBoyz Bill
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305parm305
 

Similar to ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 (20)

อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptxอจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
อจท.วิทยาศาสตร์ ม.3 เล่ม 2 หน่วยที่ 6.pptx
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้างานเครื่องใช้ไฟฟ้า
งานเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
ความรู้เบื้องต้นไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
ไฟฟ้า
ไฟฟ้าไฟฟ้า
ไฟฟ้า
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
เครื่องใช้ไฟฟ้า (2)
 
G8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahkG8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahk
 
G8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahkG8injv'.=hwaahk
G8injv'.=hwaahk
 
ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 
กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305กลุ่ม5 305
กลุ่ม5 305
 

More from Supaluk Juntap

แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
Supaluk Juntap
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Supaluk Juntap
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Supaluk Juntap
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
Supaluk Juntap
 
Prepositions of Place
Prepositions of PlacePrepositions of Place
Prepositions of Place
Supaluk Juntap
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
Supaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
Homophones
HomophonesHomophones
Homophones
Supaluk Juntap
 

More from Supaluk Juntap (12)

แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3 แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
แรงและการเคลื่อนที่ พลังงาน ม.3
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
Teachingreading Mattayomsuksa 5
Teachingreading  Mattayomsuksa 5Teachingreading  Mattayomsuksa 5
Teachingreading Mattayomsuksa 5
 
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
Interest/opinion  Matthayomsuksa 5Interest/opinion  Matthayomsuksa 5
Interest/opinion Matthayomsuksa 5
 
Interest/opinion
Interest/opinionInterest/opinion
Interest/opinion
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Prepositions of Place
Prepositions of PlacePrepositions of Place
Prepositions of Place
 
สารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบสสารละลายกรดเบส
สารละลายกรดเบส
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Homophones
HomophonesHomophones
Homophones
 

Recently uploaded

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 6