SlideShare a Scribd company logo
การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน
                           จัดทาโดย
1.   ด.ช. กริชรัตน์ เสธา         เลขที่ 1            ชั้น ม.3/1
2.   ด.ช. จักรพงษ์ นาผัด         เลขที่ 2            ชั้น ม.3/1
3.   ด.ช. ณัฐพงศ์     บัวเทศ      เลขที่ 3           ชั้น ม.3/1
4.   ด.ญ. กิตติยาภรณ์ พันธ์ปัญญา เลขที่ 15           ชั้น ม.3/1
5.   ด.ญ. นันทกานต์ ใจเย็น         เลขที่ 21          ชั้น ม.3/1
6.   ด.ญ. วนิดา       วิชัยโน      เลขที่ 31          ชั้น ม.3/1
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน

              เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
เป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาที่มี
ความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้นจะร้อนจนสามารถนาความร้อนออกไปใช้ประโยชน์
ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า
มากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน ฉะนั้นขณะ
ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ตัวอย่าง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้า
เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
เตารีดไฟฟ้า
วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน
    1.ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะเตารีด
     ยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก
     2.เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน
หลักการทางานของเตารีดไฟฟ้า
    โดย ทั่วไปเตารีดไฟฟ้าเมื่อใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน
ขดลวดให้ความร้อน คือแถบลวดนิโครม หรือขดลวดความร้อน และจะถ่ายเทความ
ร้อนให้กับแผ่นทับผ้า ทาให้แผ่นทับผ้าร้อน การตั้งอุณหภูมิให้มีความร้อนมากหรือ
น้อยเท่าไร ขึ้นอยู่ชนิดของผ้าที่จะรีด เช่นผ้าไนลอนหรือผ้าแพรต้องใช้อุณหภูมิไม่สูง
มากนัก แต่ถ้าเป็นผ้าหนาต้องใช้อุณหภูมิสูง การตั้งความร้อนมีปุ่มปรับความร้อน ซึ่ง
จะไปกดแผ่นโลหะคู่ให้ตัดไฟตามอุณหภูมิที่ต้องการ
คาแนะนาด้านความปลอดภัยของเตารีด
  1.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทาให้เปลือกสาย
  (ฉนวน) เสียหายได้
  2.สายปลั๊กของเตารีด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด
  3.ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาด
  ควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจ
  ชารุดและถูกไฟดูดได้
  4.ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย
  5.เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ – เต้ารับที่มี
  สายดินด้วย และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ
  6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
หม้อหุงข้าวไฟฟ้า
    หม้อหุงข้าวไฟฟ้าเป็นเครื่องใช้ที่สาคัญและจาเป็นในชีวิตประจาวันเนื่องจาก
หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีระบบการทางานอย่างอัตโนมัติจึงอานวยสะดวกแลประหยัดเวลา
ในการหุงต้มเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าปัจจุบันนี้จะมีบริษัทหม้อหุงข้าวเป็นจานวนมาก
ก็ตาม แต่หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีหลักการทางานเหมือนกัน




                      ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
1. แผ่นความร้อน เป็นแผ่นโลหะผสมให้ความร้อนแก่หม้อหุงข้าวชั้นใน อยู่ส่วนล่าง
   ของหม้อ มีขดลวดความร้อนแฝงอยู่ในโลหะผสมนี้ ขดลวดความร้อนก็คือ ขดลวด
   นิโครม เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านความร้อนจากลวดนิโครมส่งไปยังแผ่นความร้อน
   บริเวณส่วนกลางของแผ่นความร้อนจะมีลักษณะเป็นช่องวงกลม ซึ่งเป็นช่องว่าง
   ของเทอร์โมสตัท
2. หลอดไฟบอกสภาวะการทางาน โดยปกติมี 2 หลอดได้แก่ หลอดไฟที่ใช้กับวงจร
   การหุงข้าว และหลอดไฟที่ใช้กับวงจรอุ่นข้าว
3 . หม้อข้าวชั้นใน ส่วนนี้มีความสาคัญมากทาด้วยอลูมิเนียมหรือโลหะผสม และ
   ต้องไม่บุบเบี้ยวง่าย มิฉะนั้นแล้วจะทาให้บริเวณก้นหม้อสัมผัสกับความร้อนได้
4. หม้อข้าวชั้นนอก ส่วนนี้ทาด้วยโลหะที่พ่นสีให้มีลวดลายที่สวยงาม และมีหูจับ
   สองด้าน บริเวณด้านล่างติดกับแผ่นความร้อน
   มีสวิตซ์ติดอยู่และมีเต้าเสียบที่ใช้กับเต้ารับวงจรไฟฟ้าในบ้าน ม่ดี
5. เทอร์โมสตัท เป็นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิความร้อนอัตโนมัติ การทางานของ
   เทอร์โมสตัทหม้อหุงข้าวไฟฟ้าต่างจากอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ
   เพราะไม่สามารถใช้แผ่นโลหะคู่ได้




                       เทอร์โมสตัส
หลักการทางานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า

    .เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและน้าในหม้อชั้นในตามสัดส่วนที่กาหนดและวางหม้อ
ชั้นในลงในที่แล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทที่อยู่ตรงกลางของแผ่น
ความร้อน พร้อมที่จะทางานเมื่อเรากดสวิตซ์ ON แล้ว คันกระเดื่องจะดันให้แท่ง
แม่เหล็กเลื่อนขึ้นไปดูดกับแท่งแม่เหล็กอันบนที่อยู่ในทรงกระบอก ทาให้คันโยก
ปล่อยให้หน้าสัมผัสเตะกัน กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจุดสัมผัสผ่านลวดความร้อน ทา
ให้แผ่นความร้อนมีอุณหภูมิสูงขึ้น
เมื่อข้าวเดือดจะเกิดความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่น้าและ
ข้าวสัดส่วนที่บริษัทผู้ผลิตกาหนดไว้ เมื่อน้าเดือดกลายเป็นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมื่อน้า
ภายในหม้อหมดอุณหภูมิของหม้อชั้นในสูงเกิน 100 องศาเซลเซียสโดยสูงขึ้นอย่าง
รวดเร็ว เพราะไม่มีน้าคอยรักษาอุณหภูมิแล้ว ความร้อนภายในหม้อจะทาให้แท่ง
แม่เหล็กกลายสภาพเป็นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือน
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง




      หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า
เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป
มี 3 ชนิด คือ
 1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
 2. หลอดเรื่องแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp)
 3. หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน
หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
  หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2
แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้
    1. ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความ
ทานสูง เช่น ทังสเตน
    2. หลอดแก้วทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจน
หมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทาปฏิกิริยา
ยาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้
หลอดไม่ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้
หลอดขาดง่าย
หลอดไฟฟ้า




                    รูปส่วนประกอบของหลอดไฟฟ้า
( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com )
หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp)

     หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วยหลอดแก้ว
ที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง
หลอดเรืองแสงอาจทาเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้ ส่วนประกอบและการทางาน
ของหลอดเรืองแสง




    ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com )
ข้อดีของหลอดเรืองแสง

1. เมื่อให้พลังงานไฟฟ้าเท่ากันจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
ประมาณ 4 เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดาประมาณ 8 เท่า
2. อุณหภูมิของหลอดไม่สูงเท่ากับหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา
3. ถ้าต้องการแสงสว่างเท่ากับหลอดไฟฟ้าธรรมดา จะใช้วัตต์ที่ต่ากว่า จึงเสียค่า
ไฟฟ้าน้อยกว่า

                           ข้อเสียของหลอดเรืองแสง

1. เมื่อติดตั้งจะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา เพราะต้องใช้แบลลัสต์
และสตาร์ตเตอร์ เสมอ
2. หลอดเรืองแสงมักระพริบเล็กน้อยไม่เหมาะในการใช้อ่านหนังสือ
หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน

           หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้ว
ดัดให้เป็นรูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้า
ทาด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000
โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสี
ต่างๆออกมาเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม
ก๊าซฮีเลียมให้แสงสีชมพู ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ใน
หลอดเกิดการแตกตัวเป็นอิออน และนาไฟฟ้าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซ
เหล่านี้จะทาให้ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสีต่างๆได้
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
       เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับวิทยุ
เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ
              เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดย
รับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูป
ของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลาโพงจะทาให้ลาโพง
สั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง
               เสาอากาศ - ขยายสัญญาณ - ลาโพง - เสียง
             (รับคลื่นวิทยุ)
                   แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
เครื่องรับสัญญาณวิทยุ
เครื่องขยายเสียง(Amplifier) คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น
พลังงานเสียงโดยรับสัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจาก เครื่องกาเนิด
สัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมีกาลังมากพอจึงส่งออกสู่
ลาโพงเสียง

                    เครื่องขยายเสียงจะต้องมีส่วนประกอบดังนี้

   1. ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า
   2. เครื่องขยายสัญญาณไฟฟ้า ขยายสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้น
   3. ลาโพง เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเสียง
เครื่องขยายเสียงวิทยุ
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล

            เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
กล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร์ และ
เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่อง
ซักผ้า เครื่องปั่นน้าผลไม้ ฯลฯ
พัดลมไฟฟ้า
     พัดลมที่ใช้กันทั่วมีหลายประเภท สามารถแบ่งตามลัก ษ ะการใช้งานได้ดังนี้
พัดลมตั้งพื้น พัดลมตั้งโต๊ะ พัดลมติดเพดาน พัดลมติดผนัง และพัดลมดูดอากาศ
แม้ว่าพัดลมที่มีหลายประเภทแต่ก็มีหลักการทางานเหมือนกัน พัดลมโดยทั่วไปใช้
มอเตอร์ไฟฟ้า 3 ชนิด คือ
     1.ยูนเิ วอร์ซัลมอเตอร์ เป็นมอเตอร์ชนิดที่ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและ
กระแสสลับ
     2.มอเตอร์แบบบังขั้ว
     3.สปลิตเฟสมอเตอร์ มอเตอร์ทั้งสองชนิดเป็นมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่ใช้
กับกระแสสลับ
การดูแลรักษา
1. หมั่นทาความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบ
   ใบพัด
2. อย่า ให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และ ต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมออย่าให้แตกหักหรือ
   ชารุด หรือโค้งงอผิดส่วนจะทาให้ลมที่ออกมามีความแรงหรือความเร็วลดลง
3. หมั่น ทาความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็นช่องระบาย
   ความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ามันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทาให้
   ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
มอเตอร์

         มอเตอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน
กล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดย
เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวด
หมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับ
ทิศทางเดิม
          มอเตอร์ มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์
กระแสสลับ
มอเตอร์กระแสตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้กระแสตรงผ่านเข้าไปในขดลวดอาร์
เมเจอร์เพื่อทาให้เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด
มอเตอร์จึงหมุนได้
      มอเตอร์กระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยใช้หลักการดูดและ
ผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดมาทาให้เกิดการหมุนของมอเตอร์
         ข้อควรระวัง ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอรเป็นส่วนประกอบ คือ ห้ามใช้
เครื่องใช้ประเภทนี้ในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดันไฟฟ้าไม่ถึง 220 โวลต์ เนื่องจากมอเตอร์จะไม่
หมุนและทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าดันกลับ จะทาให้ขดลวดร้อนจัดจนเกิดไหม้เสียหายได้
        ขณะที่มอเตอร์กาลังหมุนจะเกิดการเหนี่ยวนาไฟฟ้าขึ้นทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าซ้อนขึ้น
ภายในขดลวด แต่มีทิศทางการไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าที่มาจากแหล่งกาเนิดพลังงาน
ไฟฟ้าเดิม ทาให้ขดลวดของมอเตอร์ไม่ร้อนจนเกิดไฟไหม้ได้
เครื่องปั่น
     เครื่องปั่น - บดอาหาร เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยให้ส่วนผสมของ
อาหารแหลกละเอียดด้วยตัวเครื่อง ประกอบด้วยสองส่วนคือ ส่วนที่เป็น
ฐานล่างกับส่วนที่เป็นโถใส่อาหาร ในส่วนของฐานล่างจะมีมอเตอร์
ชนิดยูนิเวอร์ซัลมอเตอร์ติดอยู่ เพราะให้กาลังหมุนเร็วมาก แกนมอเตอร์
ของมอเตอร์ตั้งขึ้น มีสวิตซ์ปิด-เปิดมอเตอร์ติดอยู่ที่ฐานล่างด้วย สาหรับ
ส่วนที่เป็นโถใส่อาหารนั้น ในโถตอนล่างจะมีใบมีดเป็นแฉกๆ
เหมือนกับมีใบมีดติดอยู่แกนใบมีดต่อออกไปด้านล่างของโถและที่ปลาย
แกนมีที่ สาหรับเดือยของ มอเตอร์ เมื่อต้องการใช้ให้สวมเดือยให้ติดกัน
เปิดสวิตซ์ มอเตอร์จะหมุนแกนใบมีด ทาให้ใบมีดหมุนอย่างรวดเร็วตัด
อาหารที่ต้องการปั่นให้ละเอียด อาหารที่มีชิ้นใหญ่และน้าหนักมากจะตก
ลงมาอยู่ในตาแหน่งที่ใบมีดตัดได้ทั่วถึง
วิธีใช้เครื่องปั่นผลไม้ - เครื่องผสมอาหารให้ประหยัดพลังงานและ
                                ปลอดภัย
 1. ควรเลือกขนาดให้พอเหมาะ และใช้เท่าที่จาเป็น
 2. ไม่ควรใช้ให้เกินกาลัง และไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน
 3. ควรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 มิฉะนั้นต้องมีสายดินมาด้วย
 4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องปั่น
เครื่องเป่าผม
วิธีใช้เครื่องเป่าผมให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย
    1.ควรเช็ดผมให้เกือบแห้งก่อนที่จะใช้เครื่องเป่าผม
    2.ระหว่างเป่าควรขยี้และสางผมด้วย ให้ใช้ลมร้อนเท่าที่จาเป็น
    3.ควรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 มิฉะนั้นต้องมีสายดินมาด้วย
    4.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
เครื่องสูบน้า
วิธีใช้เครื่องสูบน้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย
     1. เครื่องสูบน้าชนิดมีถังความดัน (pressure tank) ควรเลือกซื้อให้มีขนาด
     ใหญ่พอควร
     2. บ่อพักควรสร้างไว้ระดับพื้นดินหรือใต้ดิน
     3. ใช้สวิตช์อัตโนมัติช่วยการทางาน
     4. ประหยัดการใช้และลดการสูญเปล่าของน้า
     5. ควรตรวจสอบและบารุงรักษาอยู่เป็นประจา
     6. ต้องติดตั้งสายดินพร้อมทั้งมีเครื่องตัดไฟฟ้ารั่วด้วย
     7. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
หลักการทางานของเครื่องสูบน้าชนิดหอยโข่ง (โวลูท)
     หลักการเครื่องสูบน้าชนิด โวลูท คือเมื่อใบพัดในเครื่องสูบหมุน ความดันของ
 น้าจะเพิ่มมากขึ้น เพราะแรงหนีศูนย์กลางน้าจะถูกเหวี่ยงออกจากบริเวณศูนย์กลาง
 การหมุนอย่างต่อ เนื่อง
ภาคผนวก
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง
เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล
บรรณานุกรม
อ้างอิงข้อมูลจาก
 -http://www.mmv.ac.th/supphapong/sci%20920.htm
 -http://www.mea.or.th/apd/5/main.htm
อ้างอิงข้อมูลภาพจาก
  -http://www.sripiboon.com/shop/s/sripiboon/imglib/
spd_20100208184608_b.jpg

  -http://www.kitchenwaremarket.com/oscommerce/catalog/
images/mnx-AW9.jpg

More Related Content

What's hot

งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3orohimaro
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSarun Boonwong
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าaing_siripatra
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
Rattanapron Tacomdee
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์sugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้าSideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้าหัว' เห็ด.
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าPanatsaya
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอorohimaro
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf0841766393
 

What's hot (14)

งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
งานกลุ่ม 6 ม. 3/3
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้าเรื่อง  เครื่องใช้ไฟฟ้า
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
งานวิทย์
งานวิทย์งานวิทย์
งานวิทย์
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้าSideshare  เรื่องการใช้ไฟฟ้า
Sideshare เรื่องการใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
ประเภทของเครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 

Similar to งานนำเสนอ

เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าtwosoraya25
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าSiriporn Somkrue
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดยsugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์sugareyes
 
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3orohimaro
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11orohimaro
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอorohimaro
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.PdfKanoknat Kaosim
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.PdfPanatsaya
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong20155
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วjaturong2012
 

Similar to งานนำเสนอ (20)

งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
เครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้าเครื่องใช้ไฟฟ้า
เครื่องใช้ไฟฟ้า
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
จัดทำโดย
จัดทำโดยจัดทำโดย
จัดทำโดย
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์งานวิทยาศาสตร์
งานวิทยาศาสตร์
 
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
งาน กลุ่ม 6 ม. 3/3
 
งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11งานนำเสนอ 11
งานนำเสนอ 11
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdfเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
เครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้าน.Pdf
 
งานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdfงานคูแหวว.Pdf
งานคูแหวว.Pdf
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้วเรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
เรื่อง เครื่องใช้ไฟฟ้าเส็จแล้ว
 

งานนำเสนอ

  • 1. การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าภายในบ้าน จัดทาโดย 1. ด.ช. กริชรัตน์ เสธา เลขที่ 1 ชั้น ม.3/1 2. ด.ช. จักรพงษ์ นาผัด เลขที่ 2 ชั้น ม.3/1 3. ด.ช. ณัฐพงศ์ บัวเทศ เลขที่ 3 ชั้น ม.3/1 4. ด.ญ. กิตติยาภรณ์ พันธ์ปัญญา เลขที่ 15 ชั้น ม.3/1 5. ด.ญ. นันทกานต์ ใจเย็น เลขที่ 21 ชั้น ม.3/1 6. ด.ญ. วนิดา วิชัยโน เลขที่ 31 ชั้น ม.3/1
  • 2. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า เป็นพลังงานความร้อน โดยใช้หลักการคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนาที่มี ความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนานั้นจะร้อนจนสามารถนาความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ ได้ เนื่องจากเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า มากเมื่อเปรียบกับการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอื่นๆ เมื่อใช้ในเวลาที่เท่ากัน ฉะนั้นขณะ ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความระมัดระวัง ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มน้า เครื่องต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ
  • 3. เตารีดไฟฟ้า วิธีใช้เตารีดไฟฟ้าให้ประหยัดพลังงาน 1.ควรรีดผ้าคราวละมากๆ ติดต่อกันจนเสร็จ และควรเริ่มรีดผ้าบางๆ ก่อนในขณะเตารีด ยังไม่ร้อน และก่อนรีดเสร็จประมาณ 2-3 นาทีให้ถอดปลั๊กออก 2.เมื่อไม่ได้ใช้งานควรถอดปลั๊กออก และก่อนจะเก็บควรทิ้งให้เตารีดเย็นก่อน
  • 4. หลักการทางานของเตารีดไฟฟ้า โดย ทั่วไปเตารีดไฟฟ้าเมื่อใช้เต้าเสียบเสียบเต้ารับแล้ว กระแสไฟฟ้าจะไหลผ่าน ขดลวดให้ความร้อน คือแถบลวดนิโครม หรือขดลวดความร้อน และจะถ่ายเทความ ร้อนให้กับแผ่นทับผ้า ทาให้แผ่นทับผ้าร้อน การตั้งอุณหภูมิให้มีความร้อนมากหรือ น้อยเท่าไร ขึ้นอยู่ชนิดของผ้าที่จะรีด เช่นผ้าไนลอนหรือผ้าแพรต้องใช้อุณหภูมิไม่สูง มากนัก แต่ถ้าเป็นผ้าหนาต้องใช้อุณหภูมิสูง การตั้งความร้อนมีปุ่มปรับความร้อน ซึ่ง จะไปกดแผ่นโลหะคู่ให้ตัดไฟตามอุณหภูมิที่ต้องการ
  • 5. คาแนะนาด้านความปลอดภัยของเตารีด 1.ควรระวังไม่ให้ความร้อนจากเตารีดสัมผัสสายไฟฟ้าเพราะจะทาให้เปลือกสาย (ฉนวน) เสียหายได้ 2.สายปลั๊กของเตารีด เปลือกสาย (ฉนวน) ต้องไม่เสื่อมสภาพหรือฉีกขาด 3.ต้องคอยหมั่นตรวจสอบฉนวนยางที่หุ้มสายเข้าเตารีด หากพบว่าเปื่อยหรือฉีกขาด ควรรีบเปลี่ยนใหม่โดยช่างผู้มีความรู้ เพราะหากไม่รีบเปลี่ยนสายไฟบริเวณนั้นอาจ ชารุดและถูกไฟดูดได้ 4.ขณะใช้งาน เมื่อหยุดรีดต้องวางบนวัสดุที่ไม่ติดไฟง่าย 5.เตารีดที่ใช้ควรมีสายดินและต่อลงดินผ่านทางเต้าเสียบ – เต้ารับที่มี สายดินด้วย และหมั่นตรวจสอบไฟรั่วด้วยไขควงลองไฟเสมอ 6. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้า หรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 6. หม้อหุงข้าวไฟฟ้า หม้อหุงข้าวไฟฟ้าเป็นเครื่องใช้ที่สาคัญและจาเป็นในชีวิตประจาวันเนื่องจาก หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีระบบการทางานอย่างอัตโนมัติจึงอานวยสะดวกแลประหยัดเวลา ในการหุงต้มเป็นอย่างมาก ถึงแม้ว่าปัจจุบันนี้จะมีบริษัทหม้อหุงข้าวเป็นจานวนมาก ก็ตาม แต่หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามีหลักการทางานเหมือนกัน ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า
  • 7. ส่วนประกอบของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า 1. แผ่นความร้อน เป็นแผ่นโลหะผสมให้ความร้อนแก่หม้อหุงข้าวชั้นใน อยู่ส่วนล่าง ของหม้อ มีขดลวดความร้อนแฝงอยู่ในโลหะผสมนี้ ขดลวดความร้อนก็คือ ขดลวด นิโครม เมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่านความร้อนจากลวดนิโครมส่งไปยังแผ่นความร้อน บริเวณส่วนกลางของแผ่นความร้อนจะมีลักษณะเป็นช่องวงกลม ซึ่งเป็นช่องว่าง ของเทอร์โมสตัท 2. หลอดไฟบอกสภาวะการทางาน โดยปกติมี 2 หลอดได้แก่ หลอดไฟที่ใช้กับวงจร การหุงข้าว และหลอดไฟที่ใช้กับวงจรอุ่นข้าว
  • 8. 3 . หม้อข้าวชั้นใน ส่วนนี้มีความสาคัญมากทาด้วยอลูมิเนียมหรือโลหะผสม และ ต้องไม่บุบเบี้ยวง่าย มิฉะนั้นแล้วจะทาให้บริเวณก้นหม้อสัมผัสกับความร้อนได้ 4. หม้อข้าวชั้นนอก ส่วนนี้ทาด้วยโลหะที่พ่นสีให้มีลวดลายที่สวยงาม และมีหูจับ สองด้าน บริเวณด้านล่างติดกับแผ่นความร้อน มีสวิตซ์ติดอยู่และมีเต้าเสียบที่ใช้กับเต้ารับวงจรไฟฟ้าในบ้าน ม่ดี 5. เทอร์โมสตัท เป็นอุปกรณ์ควบคุมอุณหภูมิความร้อนอัตโนมัติ การทางานของ เทอร์โมสตัทหม้อหุงข้าวไฟฟ้าต่างจากอุปกรณ์ชนิดอื่นๆ เพราะไม่สามารถใช้แผ่นโลหะคู่ได้ เทอร์โมสตัส
  • 9. หลักการทางานของหม้อหุงข้าวไฟฟ้า .เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและน้าในหม้อชั้นในตามสัดส่วนที่กาหนดและวางหม้อ ชั้นในลงในที่แล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทที่อยู่ตรงกลางของแผ่น ความร้อน พร้อมที่จะทางานเมื่อเรากดสวิตซ์ ON แล้ว คันกระเดื่องจะดันให้แท่ง แม่เหล็กเลื่อนขึ้นไปดูดกับแท่งแม่เหล็กอันบนที่อยู่ในทรงกระบอก ทาให้คันโยก ปล่อยให้หน้าสัมผัสเตะกัน กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจุดสัมผัสผ่านลวดความร้อน ทา ให้แผ่นความร้อนมีอุณหภูมิสูงขึ้น
  • 10. เมื่อข้าวเดือดจะเกิดความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่น้าและ ข้าวสัดส่วนที่บริษัทผู้ผลิตกาหนดไว้ เมื่อน้าเดือดกลายเป็นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมื่อน้า ภายในหม้อหมดอุณหภูมิของหม้อชั้นในสูงเกิน 100 องศาเซลเซียสโดยสูงขึ้นอย่าง รวดเร็ว เพราะไม่มีน้าคอยรักษาอุณหภูมิแล้ว ความร้อนภายในหม้อจะทาให้แท่ง แม่เหล็กกลายสภาพเป็นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือน
  • 11. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้แสงสว่าง หลอดไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีใช้ในทุกบ้านที่มีการใช้พลังงานไฟฟ้า เป็นเครื่องใช้ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้า ไปเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าที่ใช้ทั่วไป มี 3 ชนิด คือ 1. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา 2. หลอดเรื่องแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) 3. หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน
  • 12. หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา มีการเปลี่ยนรูปพลังงานจากพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานความร้อน แล้วจึงเปลี่ยนเป็นพลังงานแสง หลอดไฟฟ้าแบบธรรมดามี 2 แบบ คือแบบเกลียวและแบบเขี้ยว มีส่วนประกอบดังนี้ 1. ไส้หลอด ทาด้วยโลหะที่มีจุดหลอดเหลวสูง ทนความร้อนได้มาก มีความ ทานสูง เช่น ทังสเตน 2. หลอดแก้วทาจากแก้วที่ทนความร้อนได้ดี ไม่แตกง่าย สูบอากาศออกจน หมดภายในบรรจุก๊าซไนโตรเจนและอาร์กอนเล็กน้อย ก๊าซชนิดนี้ทาปฏิกิริยา ยาก ช่วยป้องกันไม่ให้ไส้หลอดระเหิดไปจับที่หลอดแก้ว และช่วยไม่ให้ไส้ หลอดไม่ขาดง่าย ถ้าบรรจุก๊าซออกซิเจนจะทาปฏิกิริยากับไส้หลอด ซึ่งทาให้ไส้ หลอดขาดง่าย
  • 13. หลอดไฟฟ้า รูปส่วนประกอบของหลอดไฟฟ้า ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com )
  • 14. หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์(Fluorescent Lamp) หลอดเรืองแสงหรือหลอดฟลูออเรสเซนต์ (Fluorescent Lamp) ทาด้วยหลอดแก้ว ที่สูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจุไอปรอทไว้เล็กน้อย มีไส้ที่ปลายหลอดทั้งสองข้าง หลอดเรืองแสงอาจทาเป็นหลอดตรง หรือครึ่งวงกลมก็ได้ ส่วนประกอบและการทางาน ของหลอดเรืองแสง ( ที่มา http://www.electron.rmutphysics.com/news/index.php?option=com )
  • 15. ข้อดีของหลอดเรืองแสง 1. เมื่อให้พลังงานไฟฟ้าเท่ากันจะให้แสงสว่างมากกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา ประมาณ 4 เท่า และมีอายุการใช้งานนานกว่าหลอดไฟฟ้าธรรมดาประมาณ 8 เท่า 2. อุณหภูมิของหลอดไม่สูงเท่ากับหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา 3. ถ้าต้องการแสงสว่างเท่ากับหลอดไฟฟ้าธรรมดา จะใช้วัตต์ที่ต่ากว่า จึงเสียค่า ไฟฟ้าน้อยกว่า ข้อเสียของหลอดเรืองแสง 1. เมื่อติดตั้งจะเสียค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลอดไฟฟ้าแบบธรรมดา เพราะต้องใช้แบลลัสต์ และสตาร์ตเตอร์ เสมอ 2. หลอดเรืองแสงมักระพริบเล็กน้อยไม่เหมาะในการใช้อ่านหนังสือ
  • 16. หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน หลอดไฟโฆษณาหรือหลอดนีออน เป็นหลอดแก้วที่ถูกลนไฟแล้ว ดัดให้เป็นรูปหรือตัวอักษร ไม่มีไส้หลอดแต่ที่ปลายทั้งสองข้างจะมีขั้วไฟฟ้า ทาด้วยโลหะ ต่อกับแหล่งกาเนิดไฟฟ้า ที่มีความต่างศักย์สูงประมาณ 10,000 โวลต์ ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วใส่ก๊าซบางชนิดที่ให้แสงสี ต่างๆออกมาเมื่อมีกระแสไฟฟ้าผ่าน เช่นก๊าซนีออนให้แสงสีแดงหรือส้ม ก๊าซฮีเลียมให้แสงสีชมพู ความต่างศักย์ที่สูงมากๆ จะทาให้ก๊าซที่บรรจุไว้ใน หลอดเกิดการแตกตัวเป็นอิออน และนาไฟฟ้าได้ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซ เหล่านี้จะทาให้ก๊าซร้อนติดไฟให้แสงสีต่างๆได้
  • 17. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานเสียง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง ได้แก่ เครื่องรับวิทยุ เครื่องขยายเสียง เครื่องบันทึกเสียง ฯลฯ เครื่องรับวิทยุ เป็นอุปกรณ์ที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียง โดย รับคลื่นวิทยุ จากสถานีส่งแล้วใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ขยายสัญญาณเสียงที่มีอยู่ในรูป ของสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้นเมื่อผ่านสัญญาณไฟฟ้านี้ไปยังลาโพงจะทาให้ลาโพง สั่นสะเทือนเปลี่ยนเป็นเสียงที่สามารถรับฟังได้ ดังแผนผัง เสาอากาศ - ขยายสัญญาณ - ลาโพง - เสียง (รับคลื่นวิทยุ) แผนผังการเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงานเสียงของเครื่องรับวิทยุ
  • 19. เครื่องขยายเสียง(Amplifier) คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็น พลังงานเสียงโดยรับสัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจาก เครื่องกาเนิด สัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมีกาลังมากพอจึงส่งออกสู่ ลาโพงเสียง เครื่องขยายเสียงจะต้องมีส่วนประกอบดังนี้ 1. ไมโครโฟน เปลี่ยนพลังงานเสียงให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า 2. เครื่องขยายสัญญาณไฟฟ้า ขยายสัญญาณไฟฟ้าให้แรงขึ้น 3. ลาโพง เปลี่ยนสัญญาณไฟฟ้าให้เป็นพลังงานเสียง
  • 21. เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล มีการเปลี่ยนรูปพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน กล โดยอาศัยหลักการเหนี่ยวนาแม่เหล็กไฟฟ้า ด้วยอุปกรณ์ ที่เรียกว่า มอเตอร์ และ เครื่องควบคุมความเร็ว ซึ่งเป็นอุปกรณ์หลักในเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล ตัวอย่าง เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ให้พลังงานกล เช่น เครื่องปรับอากาศ ตู้เย็น เครื่องดูดฝุ่น พัดลม เครื่อง ซักผ้า เครื่องปั่นน้าผลไม้ ฯลฯ
  • 22. พัดลมไฟฟ้า พัดลมที่ใช้กันทั่วมีหลายประเภท สามารถแบ่งตามลัก ษ ะการใช้งานได้ดังนี้ พัดลมตั้งพื้น พัดลมตั้งโต๊ะ พัดลมติดเพดาน พัดลมติดผนัง และพัดลมดูดอากาศ แม้ว่าพัดลมที่มีหลายประเภทแต่ก็มีหลักการทางานเหมือนกัน พัดลมโดยทั่วไปใช้ มอเตอร์ไฟฟ้า 3 ชนิด คือ 1.ยูนเิ วอร์ซัลมอเตอร์ เป็นมอเตอร์ชนิดที่ใช้ได้ทั้งไฟฟ้ากระแสตรงและ กระแสสลับ 2.มอเตอร์แบบบังขั้ว 3.สปลิตเฟสมอเตอร์ มอเตอร์ทั้งสองชนิดเป็นมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนาที่ใช้ กับกระแสสลับ
  • 23. การดูแลรักษา 1. หมั่นทาความสะอาดตามจุดต่าง ๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ใบพัด และตะแกรงครอบ ใบพัด 2. อย่า ให้ฝุ่นละอองเกาะจับ และ ต้องดูแลให้มีสภาพดีอยู่เสมออย่าให้แตกหักหรือ ชารุด หรือโค้งงอผิดส่วนจะทาให้ลมที่ออกมามีความแรงหรือความเร็วลดลง 3. หมั่น ทาความสะอาดช่องลมตรงฝาครอบมอเตอร์ของพัดลม ซึ่งเป็นช่องระบาย ความร้อนของมอเตอร์ อย่าให้มีคราบน้ามันหรือฝุ่นละอองเกาะจับ เพราะจะทาให้ ประสิทธิภาพของมอเตอร์ลดลง และสิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้ามากขึ้น
  • 24. มอเตอร์ มอเตอร์ เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าเป็นพลังงาน กล ประกอบด้วยขดลวดที่พันรอบแกนโลหะที่วางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก โดย เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดที่อยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก จะทาให้ขดลวด หมุนไปรอบแกน และเมื่อสลับขั้วไฟฟ้า การหมุนของขดลวดจะหมุนกลับ ทิศทางเดิม มอเตอร์ มี 2 ประเภท คือ มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์ กระแสสลับ
  • 25. มอเตอร์กระแสตรง เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้ไฟฟ้กระแสตรงผ่านเข้าไปในขดลวดอาร์ เมเจอร์เพื่อทาให้เกิดการดูดและผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวด มอเตอร์จึงหมุนได้ มอเตอร์กระแสสลับ เป็นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ โดยใช้หลักการดูดและ ผลักกันของแม่เหล็กถาวรกับแม่เหล็กไฟฟ้าจากขดลวดมาทาให้เกิดการหมุนของมอเตอร์ ข้อควรระวัง ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีมอเตอรเป็นส่วนประกอบ คือ ห้ามใช้ เครื่องใช้ประเภทนี้ในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดันไฟฟ้าไม่ถึง 220 โวลต์ เนื่องจากมอเตอร์จะไม่ หมุนและทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าดันกลับ จะทาให้ขดลวดร้อนจัดจนเกิดไหม้เสียหายได้ ขณะที่มอเตอร์กาลังหมุนจะเกิดการเหนี่ยวนาไฟฟ้าขึ้นทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าซ้อนขึ้น ภายในขดลวด แต่มีทิศทางการไหลสวนทางกับกระแสไฟฟ้าที่มาจากแหล่งกาเนิดพลังงาน ไฟฟ้าเดิม ทาให้ขดลวดของมอเตอร์ไม่ร้อนจนเกิดไฟไหม้ได้
  • 26. เครื่องปั่น เครื่องปั่น - บดอาหาร เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยให้ส่วนผสมของ อาหารแหลกละเอียดด้วยตัวเครื่อง ประกอบด้วยสองส่วนคือ ส่วนที่เป็น ฐานล่างกับส่วนที่เป็นโถใส่อาหาร ในส่วนของฐานล่างจะมีมอเตอร์ ชนิดยูนิเวอร์ซัลมอเตอร์ติดอยู่ เพราะให้กาลังหมุนเร็วมาก แกนมอเตอร์ ของมอเตอร์ตั้งขึ้น มีสวิตซ์ปิด-เปิดมอเตอร์ติดอยู่ที่ฐานล่างด้วย สาหรับ ส่วนที่เป็นโถใส่อาหารนั้น ในโถตอนล่างจะมีใบมีดเป็นแฉกๆ เหมือนกับมีใบมีดติดอยู่แกนใบมีดต่อออกไปด้านล่างของโถและที่ปลาย แกนมีที่ สาหรับเดือยของ มอเตอร์ เมื่อต้องการใช้ให้สวมเดือยให้ติดกัน เปิดสวิตซ์ มอเตอร์จะหมุนแกนใบมีด ทาให้ใบมีดหมุนอย่างรวดเร็วตัด อาหารที่ต้องการปั่นให้ละเอียด อาหารที่มีชิ้นใหญ่และน้าหนักมากจะตก ลงมาอยู่ในตาแหน่งที่ใบมีดตัดได้ทั่วถึง
  • 27. วิธีใช้เครื่องปั่นผลไม้ - เครื่องผสมอาหารให้ประหยัดพลังงานและ ปลอดภัย 1. ควรเลือกขนาดให้พอเหมาะ และใช้เท่าที่จาเป็น 2. ไม่ควรใช้ให้เกินกาลัง และไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน 3. ควรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 มิฉะนั้นต้องมีสายดินมาด้วย 4. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 29. เครื่องเป่าผม วิธีใช้เครื่องเป่าผมให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1.ควรเช็ดผมให้เกือบแห้งก่อนที่จะใช้เครื่องเป่าผม 2.ระหว่างเป่าควรขยี้และสางผมด้วย ให้ใช้ลมร้อนเท่าที่จาเป็น 3.ควรเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าประเภท 2 มิฉะนั้นต้องมีสายดินมาด้วย 4.ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 30. เครื่องสูบน้า วิธีใช้เครื่องสูบน้าให้ประหยัดพลังงานและปลอดภัย 1. เครื่องสูบน้าชนิดมีถังความดัน (pressure tank) ควรเลือกซื้อให้มีขนาด ใหญ่พอควร 2. บ่อพักควรสร้างไว้ระดับพื้นดินหรือใต้ดิน 3. ใช้สวิตช์อัตโนมัติช่วยการทางาน 4. ประหยัดการใช้และลดการสูญเปล่าของน้า 5. ควรตรวจสอบและบารุงรักษาอยู่เป็นประจา 6. ต้องติดตั้งสายดินพร้อมทั้งมีเครื่องตัดไฟฟ้ารั่วด้วย 7. ดูข้อควรปฏิบัติในการใช้ไฟฟ้าหรือเครื่องใช้ไฟฟ้าอย่างปลอดภัย
  • 31. หลักการทางานของเครื่องสูบน้าชนิดหอยโข่ง (โวลูท) หลักการเครื่องสูบน้าชนิด โวลูท คือเมื่อใบพัดในเครื่องสูบหมุน ความดันของ น้าจะเพิ่มมากขึ้น เพราะแรงหนีศูนย์กลางน้าจะถูกเหวี่ยงออกจากบริเวณศูนย์กลาง การหมุนอย่างต่อ เนื่อง
  • 37. บรรณานุกรม อ้างอิงข้อมูลจาก -http://www.mmv.ac.th/supphapong/sci%20920.htm -http://www.mea.or.th/apd/5/main.htm อ้างอิงข้อมูลภาพจาก -http://www.sripiboon.com/shop/s/sripiboon/imglib/ spd_20100208184608_b.jpg -http://www.kitchenwaremarket.com/oscommerce/catalog/ images/mnx-AW9.jpg