SlideShare a Scribd company logo
ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ห ม า ย ถึ ง
ความสามารถในการมองเห็นรายละเอียดและจาแนกแยกแยะข้อมูลองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ
ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อย และจัดหมวดหมู่ เพื่อค้นหาความจริง
ความสาคัญ แก่นแท้ องค์ประกอบหรือหลักการเรื่องนั้นๆ สามารถอธิบายตีความสิ่งที่เห็น
ทั้ ง ที่ อ า จ แ ฝ ง ซ่ อ น อ ยู่ ภ า ย ใ น สิ่ ง ต่ า ง ๆ ห รื อ ป ร า ก ฏ ไ ด้ ชั ด เจ น
รวมทั้งหาความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ ว่าเกี่ยวพันกันอย่างไร อะไรเป็ นสาเหตุ
ส่งผลกระทบต่อกันอย่างไร อาศัยหลักการใด จนได้ความคิดเพื่อนาไปสู่การสรุป การประยุกต์ใช้
ทานายหรือคาดการณ์สิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
การที่เราสามารถจาแนกข้อมูล องค์ประกอบ หรือเรื่องราวของสิ่งต่างๆ ออกเป็นส่วนๆได้
จาเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีความรู้ และมีข้อมูลเพียงพอที่จะนามาใช้ ในการวิเคราะห์ ตัวอย่างง่ายๆ เช่น
แม่ครัวที่จะปรุงอาหาร จาเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับอาหารทุกชนิดที่จะนามาปรุง ทั้งผัก หมู เนื้อ
ไก่ ปลา และเครื่องปรุงชนิดต่างๆ ตลอดจะต้องมีความรู้ ในเรื่องการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปรุง
รวมทั้งวิธีการการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น นอกจากนั้นยังจะต้องมีความรู้เรื่องขั้นตอน วิธีการปรุงอาหารนั้นๆ
อีกด้วย อาหารที่ปรุงจึงจะเป็ นอาหารที่มีรสชาติที่เป็ นเลิศ ดังนั้นการที่จะคิดวิเคราะห์ได้ดี
จึงจะต้องมีความรู้เป็นพื้นฐานสาคัญ นักเรียนจึงต้องฝึกอ่าน ฝึกการฟังและแสวงหาข้อมูลความรู้ให้มากๆ
หลักการคิดวิเคราะห์
บ ลู ม ( Bloom , ๑ ๙ ๕ ๖ : ๒ ๐ ๑ – ๒ ๐ ๗ )
ได้กล่าวถึงทักษะการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วยทักษะสาคัญๆ ๓ ประการดังนี้
๑. การคิดวิเคราะห์ความสาคัญหรือเนื้อหาของสิ่งต่างๆ ( Analysis of Element)
เป็นความสามารถในการแยกแยะได้ว่า สิ่งใดจาเป็น สิ่งใดสาคัญ สิ่งใดที่มี
บทบาทมากที่สุด ประกอบด้วย
๑.๑ วิเคราะห์ชนิด เป็นการให้นักเรียนวินิจฉัยว่า สิ่งนั้น เหตุการณ์นั้นๆ
จัดเป็นชนิดใด ลักษณะใด เพราะเหตุใด เช่น ข้อความนี้ (ทาดีได้ดี
ทาชั่วได้ดี) เป็นข้อความชนิดใด ต้นผักชีเป็นพืชชนิดใด ม้าน้าเป็นพืช
หรือสัตว์
๑.๒ วิเคราะห์สิ่งสาคัญเป็นการวินิจฉัยว่าสิ่งใดสาคัญสิ่งใดไม่สาคัญ
เป็นการค้นหาสาระสาคัญ ข้อความหลัก ข้อสรุป จุดเด่น จุดด้อย
ของสิ่งต่างๆ เช่น
- สาระสาคัญของเรื่องคืออะไร
- ควรตั้งชื่อเรื่องนี้ว่าอะไร
- การปฏิบัติเช่นนั้น เพื่ออะไร
- สิ่งสาคัญที่สุด สิ่งใดมีบทบาทมากที่สุดจากสถานการณ์นี้
ทักษะการคิดวิเคราะห์
๑.
พลิกไปหน้าถัด
ไปค่ะ
๑.๓ วิเคราะห์เลศนัย เป็นการมุ่งค้นหาสิ่งที่แอบแฝงซ่อนเร้น หรืออยู่เบื้องหลัง
จากสิ่งที่เห็น ซึ่งมีบ่งบอกตรง ๆ แต่มีร่องรอยของความจริงซ่อนเร้นอยู่
เช่น สมทรงเป็นป้ าของฉัน (จึงหมายความว่า สมทรงเป็นผู้หญิง)
- ถ้าเห็นคนใส่เสื้อขะมุกขะมอม สกปรกจึงน่าจะเป็นคนยากจน
- ข้อความนี้หมายถึงใครหรือสถานการณ์
- สมชายกับสมศรีเป็นพี่น้องกัน สมชายบอกว่าฉันเป็นหลานเขา แต่สมศรีว่า
ฉันไม่ใช่หลานเธอ ทาไมคนที่สองจึงพูดไม่เหมือนกัน (เพราะฉันเป็นลูกของสมศรี)
- เรื่องนี้ให้ข้อคิดเรื่องอะไร ผู้เขียนมีความเชื่ออย่างไร มีจุดประสงค์คืออะไร
การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relationship) เป็นการค้นหาความสัมพันธ์
ของสิ่งต่างๆ ว่า มีอะไรสัมพันธ์กัน สัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างไรมีความสัมพันธ์กัน
มากน้อยเพียงใด สอดคล้องหรือขัดแย้งกัน ได้แก่
๒.๑ วิเคราะห์ชนิดความสัมพันธ์
- มุ่งให้คิดว่าเป็นความสัมพันธ์แบบใดมีสิ่งใดสอดคล้องกัน หรือไม่สอดคล้องกัน
มีสิ่งใดเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ และมีสิ่งใดไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ เช่น ลิง นก เป็ด เสือ
สัตว์ชนิดใดที่ไม่เข้าพวก
- มีข้อความใด มีสิ่งใดไม่สมเหตุสมผล เพราะอะไร
- คากล่าวใดสรุปผิด การตัดสินใจอย่างไร หรือการกระทาอะไรที่ไม่ถูกต้อง
- ภาพที่ ๑ คู่กับภาพที่ ๒ ภาพที่ ๓ คู่กับภาพใด
- สองสิ่งนี้เหมือนกันอย่างไร หรือแตกต่างกันอย่างไร
๒.
๒.๒ วิเคราะห์ขนาดความสัมพันธ์
- สิ่งใดเกี่ยวข้องมากที่สุด สิ่งใดเกี่ยวข้องน้อยที่สุด
- สิ่งใดสัมพันธ์กับสถานการณ์ หรือเรื่องราวมากที่สุด
- การเรียงลาดับมากน้อยของสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ลาดับความรุนแรง
จานวน ใกล้-ไกล มาก-น้อย หนัก-เบา ใหญ่-เล็ก ก่อน-หลัง
๒.๓ วิเคราะห์ขั้นตอนความสัมพันธ์
- เมื่อเกิดสิ่งนี้แล้ว เกิดผลลัพธ์อะไรตามมาบ้างตามลาดับ
- การเรียงลาดับขั้นของเหตุการณ์ วงจรของฝน ผีเสื้อ
- ผลสุดท้ายจะเป็นอย่างไร
๒.๔ วิเคราะห์จุดประสงค์และวิธีการ
- การกระทาแบบนี้เพื่ออะไร การทาบุญตักบาตร (สุขใจ)
- เมื่อทาอย่างนี้แล้วจะเกิดสัมฤทธิ์ผลอย่างไร ออกกาลังกายทุกวัน (แข็งแรง)
- ทาอย่างนี้มีเป้ าหมายอย่างไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร
๒.๕ วิเคราะห์สาเหตุและผล
- สิ่งใดเป็นสาเหตุเรื่องนี้
- หากทาอย่างนี้ ผลจะเป็นอย่างไร
๒.๖ วิเคราะห์แบบความสัมพันธ์ในรูปอุปมาอุปไมย เช่น
- บินเร็วเหมือนนก
- ช้อนคู่ซ่อม ตะปูจะคู่กับอะไร
อ่านเสร็จแล้ว
พลิกไปหน้าถัดไป
ค่ะ
๓. การคิดวิเคราะห์เชิงหลักการ (Analysis of Organizational Principles) หมายถึงการค้นหา
โครงสร้างระบบ เรื่องราว สิ่งของและการทางานต่าง ๆ ว่า สิ่งเหล่านั้นดารงอยู่ได้ในสภาพ
เช่นนั้น เนื่องจากอะไร มีอะไรเป็นแกนหลัก มีหลักการอย่างไร มีเทคนิคอะไรยึดถือคติใด
มีสิ่งใดเป็นตัวเชื่อมโยง การคิดวิเคราะห์หลักการเป็นการวิเคราะห์ที่ถือว่าสาคัญที่สุด
การที่จะวิเคราะห์หลักการได้ดีจะต้องมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์องค์ประกอบ
และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ได้ดีเสียก่อน เพราะผลจากความสามารถในการวิเคราะห์
องค์ประกอบและวิเคราะห์ความสัมพันธ์จะทาให้สามารถสรุปเป็นหลักการได้
ประกอบด้วย
๓.๑ วิเคราะห์โครงสร้าง เป็นการค้นหาโครงสร้างของสิ่งต่างๆ เช่น
- การทาวิจัยมีกระบวนการทางานอย่างไร
- สิ่งนี้บ่งบอกความคิดหรือเจตนาอะไร
- คากล่าวนี้ มีลักษณะอย่างไร (เชิญชวน โฆษณาชวนเชื่อ)
- ส่วนประกอบของสิ่งนี้มีอะไรบ้าง
๓.๒ วิเคราะห์หลักการ เป็นการแยกแยะเพื่อค้นหาความจริงของสิ่งต่างๆแล้วสรุปเป็น
คาตอบหลักได้
- หลักการของเรื่องนี้มีอย่างไร
- เหตุใดความรุนแรงใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้จึงไม่มีทีท่าว่าจะ ยุติลงลักษณะ
ของสิ่งต่าง ๆ ที่จะนามาใช้ในการคิดวิเคราะห์ เช่น วิเคราะห์วัตถุ วิเคราะห์
สถานการณ์ วิเคราะห์บุคคล วิเคราะห์ข้อความ วิเคราะห์ข่าว วิเคราะห์สารเคมี
๓.
สรุปได้ว่า ในการวิเคราะห์จะวิเคราะห์ทั้งข้อมูลเชิงกายภาพ
เชิงรูปธรรม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงนามธรรม
หลักการคิดวิเคราะห์

More Related Content

What's hot

ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์kunkrukularb
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56krupornpana55
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
Ritthinarongron School
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมNutsara Mukda
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
คุณครูพี่อั๋น
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
ใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตLittle Eye
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
KanlayaratKotaboot
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
Mpiizzysm
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาmagicgirl123
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
Looktan Kp
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารchaiedu
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจไพบููลย์ หัดรัดชัย
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
Totsaporn Inthanin
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 

What's hot (20)

ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์ฝึกอ่านคำศัพท์
ฝึกอ่านคำศัพท์
 
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
เครื่องมือแบบบันทึกการสังเกตพฤติกรรมเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 3 มี.ค.56
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรมแบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
แบบสังเกตพฤติกรรมความกระตือรือร้นในการเข้าร่วมกิจกรรม
 
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์แผนพอเพียง 01-ประพจน์
แผนพอเพียง 01-ประพจน์
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)การวางโครงเรื่อง (Plotting)
การวางโครงเรื่อง (Plotting)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
1
11
1
 
ใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิตใบงานรูปเรขาคณิต
ใบงานรูปเรขาคณิต
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 9 การคูณเศษส่วนมากกว่าสองจำนวน
 
ภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาไทย
ภูมิปัญญาไทย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆกำหนดการโครงการต่าง ๆ
กำหนดการโครงการต่าง ๆ
 
พระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสารพระเจ้าพิมพิสาร
พระเจ้าพิมพิสาร
 
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
แบบสอบถาม ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยว
 
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจใบงานที่ 1  เรื่อง  ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
ใบงานที่ 1 เรื่อง ตลาดในระบบเศรษฐกิจ
 
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงานแบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
แบบฟอร์มใบความรู้ใบงาน
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 

Viewers also liked

ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
Rung Kru
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
Fern's Phatchariwan
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
Rung Kru
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1
Rung Kru
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2
Rung Kru
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
Rung Kru
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7Nongkran Jarurnphong
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓Nongkran Jarurnphong
 

Viewers also liked (16)

ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้นวิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
วิธีสอนการแก้ปัญหาแบบ 5 ขั้น
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1แบบฝึก5.1
แบบฝึก5.1
 
แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2แบบฝึก5.2
แบบฝึก5.2
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.4
 
กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑กลุ่มที่ ๑
กลุ่มที่ ๑
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
งานนำเสนอ1ภาษาไทย(ประโยคความรวม) (2)
 
ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7ประโยคตามเจตนา 7
ประโยคตามเจตนา 7
 
Flickr
FlickrFlickr
Flickr
 
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓ประโยคความรวม กลุ่ม๓
ประโยคความรวม กลุ่ม๓
 
กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒กลุ่มที่ ๒
กลุ่มที่ ๒
 

Similar to หลักการคิดวิเคราะห์

การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdfการจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
ssusercbaf891
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
CUPress
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
kulwadee
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
Lalita Minmin
 
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
nongponthip10
 

Similar to หลักการคิดวิเคราะห์ (20)

การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdfการจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
การจัดการเรียนรู้แบบที่เน้นกระบวนการคิด.pdf
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
Uu
UuUu
Uu
 
Part3
Part3Part3
Part3
 
51105
5110551105
51105
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิตครั้งที่ 3(4ก ค 53)
 
บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)บทที่ ๔ (จริง)
บทที่ ๔ (จริง)
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญ เกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Original bandura
Original banduraOriginal bandura
Original bandura
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 

More from Rung Kru

ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2
Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1Rung Kru
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
Rung Kru
 
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
Rung Kru
 
คุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทานคุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทาน
Rung Kru
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
Rung Kru
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดก
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
Rung Kru
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
Rung Kru
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
Rung Kru
 

More from Rung Kru (19)

ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2ใบความรู้ที่ 5.2
ใบความรู้ที่ 5.2
 
ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1ใบความรู้ที่ 5.1
ใบความรู้ที่ 5.1
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
 
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
นิทานชาดก เรื่องที่ ๑ ช่วยมิตรแท้
 
คุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทานคุณค่าของนิทาน
คุณค่าของนิทาน
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดก
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1  เขียนเรื่องจากคำ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.1 เขียนเรื่องจากคำ
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.2
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 1.1
 
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญหลักการอ่านจับใจความสำคัญ
หลักการอ่านจับใจความสำคัญ
 

หลักการคิดวิเคราะห์

  • 1. ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ ห ม า ย ถึ ง ความสามารถในการมองเห็นรายละเอียดและจาแนกแยกแยะข้อมูลองค์ประกอบของสิ่งต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นวัตถุ เรื่องราวเหตุการณ์ต่างๆ ออกเป็นส่วนย่อย และจัดหมวดหมู่ เพื่อค้นหาความจริง ความสาคัญ แก่นแท้ องค์ประกอบหรือหลักการเรื่องนั้นๆ สามารถอธิบายตีความสิ่งที่เห็น ทั้ ง ที่ อ า จ แ ฝ ง ซ่ อ น อ ยู่ ภ า ย ใ น สิ่ ง ต่ า ง ๆ ห รื อ ป ร า ก ฏ ไ ด้ ชั ด เจ น รวมทั้งหาความสัมพันธ์และความเชื่อมโยงของสิ่งต่างๆ ว่าเกี่ยวพันกันอย่างไร อะไรเป็ นสาเหตุ ส่งผลกระทบต่อกันอย่างไร อาศัยหลักการใด จนได้ความคิดเพื่อนาไปสู่การสรุป การประยุกต์ใช้ ทานายหรือคาดการณ์สิ่งต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง การที่เราสามารถจาแนกข้อมูล องค์ประกอบ หรือเรื่องราวของสิ่งต่างๆ ออกเป็นส่วนๆได้ จาเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีความรู้ และมีข้อมูลเพียงพอที่จะนามาใช้ ในการวิเคราะห์ ตัวอย่างง่ายๆ เช่น แม่ครัวที่จะปรุงอาหาร จาเป็นอย่างยิ่งจะต้องมีความรู้เกี่ยวกับอาหารทุกชนิดที่จะนามาปรุง ทั้งผัก หมู เนื้อ ไก่ ปลา และเครื่องปรุงชนิดต่างๆ ตลอดจะต้องมีความรู้ ในเรื่องการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการปรุง รวมทั้งวิธีการการใช้อุปกรณ์เหล่านั้น นอกจากนั้นยังจะต้องมีความรู้เรื่องขั้นตอน วิธีการปรุงอาหารนั้นๆ อีกด้วย อาหารที่ปรุงจึงจะเป็ นอาหารที่มีรสชาติที่เป็ นเลิศ ดังนั้นการที่จะคิดวิเคราะห์ได้ดี จึงจะต้องมีความรู้เป็นพื้นฐานสาคัญ นักเรียนจึงต้องฝึกอ่าน ฝึกการฟังและแสวงหาข้อมูลความรู้ให้มากๆ หลักการคิดวิเคราะห์
  • 2. บ ลู ม ( Bloom , ๑ ๙ ๕ ๖ : ๒ ๐ ๑ – ๒ ๐ ๗ ) ได้กล่าวถึงทักษะการคิดวิเคราะห์ประกอบด้วยทักษะสาคัญๆ ๓ ประการดังนี้ ๑. การคิดวิเคราะห์ความสาคัญหรือเนื้อหาของสิ่งต่างๆ ( Analysis of Element) เป็นความสามารถในการแยกแยะได้ว่า สิ่งใดจาเป็น สิ่งใดสาคัญ สิ่งใดที่มี บทบาทมากที่สุด ประกอบด้วย ๑.๑ วิเคราะห์ชนิด เป็นการให้นักเรียนวินิจฉัยว่า สิ่งนั้น เหตุการณ์นั้นๆ จัดเป็นชนิดใด ลักษณะใด เพราะเหตุใด เช่น ข้อความนี้ (ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ดี) เป็นข้อความชนิดใด ต้นผักชีเป็นพืชชนิดใด ม้าน้าเป็นพืช หรือสัตว์ ๑.๒ วิเคราะห์สิ่งสาคัญเป็นการวินิจฉัยว่าสิ่งใดสาคัญสิ่งใดไม่สาคัญ เป็นการค้นหาสาระสาคัญ ข้อความหลัก ข้อสรุป จุดเด่น จุดด้อย ของสิ่งต่างๆ เช่น - สาระสาคัญของเรื่องคืออะไร - ควรตั้งชื่อเรื่องนี้ว่าอะไร - การปฏิบัติเช่นนั้น เพื่ออะไร - สิ่งสาคัญที่สุด สิ่งใดมีบทบาทมากที่สุดจากสถานการณ์นี้ ทักษะการคิดวิเคราะห์ ๑. พลิกไปหน้าถัด ไปค่ะ
  • 3. ๑.๓ วิเคราะห์เลศนัย เป็นการมุ่งค้นหาสิ่งที่แอบแฝงซ่อนเร้น หรืออยู่เบื้องหลัง จากสิ่งที่เห็น ซึ่งมีบ่งบอกตรง ๆ แต่มีร่องรอยของความจริงซ่อนเร้นอยู่ เช่น สมทรงเป็นป้ าของฉัน (จึงหมายความว่า สมทรงเป็นผู้หญิง) - ถ้าเห็นคนใส่เสื้อขะมุกขะมอม สกปรกจึงน่าจะเป็นคนยากจน - ข้อความนี้หมายถึงใครหรือสถานการณ์ - สมชายกับสมศรีเป็นพี่น้องกัน สมชายบอกว่าฉันเป็นหลานเขา แต่สมศรีว่า ฉันไม่ใช่หลานเธอ ทาไมคนที่สองจึงพูดไม่เหมือนกัน (เพราะฉันเป็นลูกของสมศรี) - เรื่องนี้ให้ข้อคิดเรื่องอะไร ผู้เขียนมีความเชื่ออย่างไร มีจุดประสงค์คืออะไร การคิดวิเคราะห์ความสัมพันธ์ (Analysis of Relationship) เป็นการค้นหาความสัมพันธ์ ของสิ่งต่างๆ ว่า มีอะไรสัมพันธ์กัน สัมพันธ์เชื่อมโยงกันอย่างไรมีความสัมพันธ์กัน มากน้อยเพียงใด สอดคล้องหรือขัดแย้งกัน ได้แก่ ๒.๑ วิเคราะห์ชนิดความสัมพันธ์ - มุ่งให้คิดว่าเป็นความสัมพันธ์แบบใดมีสิ่งใดสอดคล้องกัน หรือไม่สอดคล้องกัน มีสิ่งใดเกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ และมีสิ่งใดไม่เกี่ยวข้องกับเรื่องนี้ เช่น ลิง นก เป็ด เสือ สัตว์ชนิดใดที่ไม่เข้าพวก - มีข้อความใด มีสิ่งใดไม่สมเหตุสมผล เพราะอะไร - คากล่าวใดสรุปผิด การตัดสินใจอย่างไร หรือการกระทาอะไรที่ไม่ถูกต้อง - ภาพที่ ๑ คู่กับภาพที่ ๒ ภาพที่ ๓ คู่กับภาพใด - สองสิ่งนี้เหมือนกันอย่างไร หรือแตกต่างกันอย่างไร ๒.
  • 4. ๒.๒ วิเคราะห์ขนาดความสัมพันธ์ - สิ่งใดเกี่ยวข้องมากที่สุด สิ่งใดเกี่ยวข้องน้อยที่สุด - สิ่งใดสัมพันธ์กับสถานการณ์ หรือเรื่องราวมากที่สุด - การเรียงลาดับมากน้อยของสิ่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ลาดับความรุนแรง จานวน ใกล้-ไกล มาก-น้อย หนัก-เบา ใหญ่-เล็ก ก่อน-หลัง ๒.๓ วิเคราะห์ขั้นตอนความสัมพันธ์ - เมื่อเกิดสิ่งนี้แล้ว เกิดผลลัพธ์อะไรตามมาบ้างตามลาดับ - การเรียงลาดับขั้นของเหตุการณ์ วงจรของฝน ผีเสื้อ - ผลสุดท้ายจะเป็นอย่างไร ๒.๔ วิเคราะห์จุดประสงค์และวิธีการ - การกระทาแบบนี้เพื่ออะไร การทาบุญตักบาตร (สุขใจ) - เมื่อทาอย่างนี้แล้วจะเกิดสัมฤทธิ์ผลอย่างไร ออกกาลังกายทุกวัน (แข็งแรง) - ทาอย่างนี้มีเป้ าหมายอย่างไร มีจุดมุ่งหมายอย่างไร ๒.๕ วิเคราะห์สาเหตุและผล - สิ่งใดเป็นสาเหตุเรื่องนี้ - หากทาอย่างนี้ ผลจะเป็นอย่างไร ๒.๖ วิเคราะห์แบบความสัมพันธ์ในรูปอุปมาอุปไมย เช่น - บินเร็วเหมือนนก - ช้อนคู่ซ่อม ตะปูจะคู่กับอะไร อ่านเสร็จแล้ว พลิกไปหน้าถัดไป ค่ะ
  • 5. ๓. การคิดวิเคราะห์เชิงหลักการ (Analysis of Organizational Principles) หมายถึงการค้นหา โครงสร้างระบบ เรื่องราว สิ่งของและการทางานต่าง ๆ ว่า สิ่งเหล่านั้นดารงอยู่ได้ในสภาพ เช่นนั้น เนื่องจากอะไร มีอะไรเป็นแกนหลัก มีหลักการอย่างไร มีเทคนิคอะไรยึดถือคติใด มีสิ่งใดเป็นตัวเชื่อมโยง การคิดวิเคราะห์หลักการเป็นการวิเคราะห์ที่ถือว่าสาคัญที่สุด การที่จะวิเคราะห์หลักการได้ดีจะต้องมีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์องค์ประกอบ และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ได้ดีเสียก่อน เพราะผลจากความสามารถในการวิเคราะห์ องค์ประกอบและวิเคราะห์ความสัมพันธ์จะทาให้สามารถสรุปเป็นหลักการได้ ประกอบด้วย ๓.๑ วิเคราะห์โครงสร้าง เป็นการค้นหาโครงสร้างของสิ่งต่างๆ เช่น - การทาวิจัยมีกระบวนการทางานอย่างไร - สิ่งนี้บ่งบอกความคิดหรือเจตนาอะไร - คากล่าวนี้ มีลักษณะอย่างไร (เชิญชวน โฆษณาชวนเชื่อ) - ส่วนประกอบของสิ่งนี้มีอะไรบ้าง ๓.๒ วิเคราะห์หลักการ เป็นการแยกแยะเพื่อค้นหาความจริงของสิ่งต่างๆแล้วสรุปเป็น คาตอบหลักได้ - หลักการของเรื่องนี้มีอย่างไร - เหตุใดความรุนแรงใน ๓ จังหวัดชายแดนภาคใต้จึงไม่มีทีท่าว่าจะ ยุติลงลักษณะ ของสิ่งต่าง ๆ ที่จะนามาใช้ในการคิดวิเคราะห์ เช่น วิเคราะห์วัตถุ วิเคราะห์ สถานการณ์ วิเคราะห์บุคคล วิเคราะห์ข้อความ วิเคราะห์ข่าว วิเคราะห์สารเคมี ๓. สรุปได้ว่า ในการวิเคราะห์จะวิเคราะห์ทั้งข้อมูลเชิงกายภาพ เชิงรูปธรรม วิเคราะห์ข้อมูลเชิงนามธรรม