SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
ใบความรู้ที่ ๕.๒
โวหารภาพพจน์
โวหารภาพพจน์คือถ้อยคำที่ทำให้เกิดภำพในใจเกิดจินตนำกำรมีควำมสำคั
ญคือช่วยเสริมให้สำนวนโวหำรดีขึ้นเกิดภำพในใจชัดเจนโดยเฉพำะสิ่งที่เป็นนำมธ
รรมจะเกิดรูปธรรมชัดเจน
ประเภทของโวหำรภำพพจน์มีหลำยชนิดแต่ที่นิยมมี๘ชนิดคืออุปมำอุปลัก
ษณ์สัญลักษณ์บุคลำธิษฐำนปฏิพำกย์สัจพจน์นำมนัย
อุปมา
อุปมา คือ
กำรเปรียบเทียบว่ำสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มีควำมหมำ
ยเช่นเดียวกับคำว่ำ “เหมือน”
เช่นดุจดั่งรำวรำวกับเปรียบประดุจเฉกเล่ห์ปำนประหนึ่งเพียงเพี้ยงพ่ำงปู
นฯลฯ
ตัวอย่าง
ปัญญำประดุจดังอำวุธ
ไพเรำะกังวำนปำนเสียงนกร้อง
ท่ำทำงหล่อนรำวกับนำงพญำ
อุปลักษณ์
อุ ป ลั ก ษ ณ์
คล้ำยกับอุปมำโวหำรคือเป็นกำรเปรียบเทียบเหมือนกันแต่เป็นกำรเปรี
ยบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งอุปลักษณ์จะไม่กล่ำวโดยตรงเหมือนอุ
ปมำแต่ใช้วิธีกล่ำวเป็นนัยให้เข้ำใจเอำเองที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเ
ชื่อมเหมือนอุปมำ
ตัวอย่าง
ขอเป็นเกือกทองรองบำทำไปจนกว่ำชีวันจะบรรลัย
ทหำรเป็นรั้วของชำติ
เธอคือดอกฟ้ำแต่ฉันนั้นคือหมำวัด
เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้ำแท้จริงมีค่ำกว่ำใครนิรันดร์
ชำวนำเป็นกระดูกสันหลังของชำติ
ครูคือแม่พิมพ์ของชำติ
สัญลักษณ์
สัญลักษณ์ เป็นกำรเรียกชื่อสิ่งๆ หนึ่งโดยใช้คำอื่นมำแทน ไม่เรียกตรงๆ
ส่วนใหญ่คำที่นำมำแทนจะเป็นคำที่เกิดจำกกำรเปรียบเทียบและตีควำมซึ่งใช้กันมำ
นำนจนเป็นที่เข้ำใจและรู้จักกันโดยทั่วไป
ตัวอย่าง
เมฆหมอก แทน อุปสรรค กุหลาบแดง แทน ความรัก
หงส์ แทน คนชั้นสูง สีดา แทน ความตาย ความชั่วร้าย
บุคลาธิษฐาน (บุคคลวัต)
บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือกำรกล่ำวถึงสิ่งต่ำงๆ ที่ไม่มีชีวิต
ไม่มีควำมคิด ไม่มีวิญญำณ เช่น โต๊ะ เก้ำอี้ อิฐ ปูน
หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์เช่น ต้นไม้สัตว์โดยให้สิ่งต่ำงๆ เหล่ำนี้
แสดงกิริยำอำกำรและควำมรู้สึกได้เหมือนมนุษย์
(บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง
อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล)
ตัวอย่าง
มองซิ...มองทะเล เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน
บำงครั้งมันบ้ำบิ่น กระแทกหินดังครืนครืน
ทะเลไม่เคยหลับใหล ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น
บำงครั้งยังสะอื้น ทะเลมันตื่นอยู่ร่ำไป
อติพจน์
อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือ โวหำรที่กล่ำวเกินควำมจริง
เพื่อเน้นควำมรู้สึก ทำให้ผู้ฟังเกิดควำมรู้สึกที่ลึกซึ้ง
ภำพพจน์ที่นิยมใช้กันมำกแม้ในภำษำพูด
เพรำะเป็นกำรกล่ำวที่ทำให้เห็นภำพได้ง่ำยและแสดงควำมรู้สึกของกวีได้อย่ำง
ชัดเจน
ตัวอย่าง
คิดถึงใจแทบขาด หนาวกระดูกจะหลุด
คอแห้งเป็นผง การบินไทยรักคุณเท่าฟ้ า
ร้อนตับจะแตก คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก
ปฏิพากย์
ปฏิพากย์ คือ กำรใช้ถ้อยคำที่มีควำมหมำยตรงกันข้ำม
หรือขัดแย้งกันมำกล่ำวอย่ำงกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มควำมหมำยให้มีน้ำหนักมำกยิ่งขึ้
น ตัวอย่ำงเช่น
เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า
สวยอย่างร้ายกาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน
สัทพจน์
สัทพจน์ หมำยถึง ภำพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชำติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์เสียงคลื่น
เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ
กำรใช้ภำพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริงๆ
ตัวอย่าง
เปรี้ยงๆ ดังเสียงฟ้ำฟำด
ตะแลกแต๊กแต๊ก ตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสำรวลสรวลสันต์
น้ำพุพุ่งซ่ำ ไหลมำฉำดฉำน เห็นตระกำร เสียงกังวำน
มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม
บัดเดี๋ยวดังหง่ำงเหง่งวังเวงแว่ว
นามนัย คือ กำรใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีก
สิ่ ง ห นึ่ ง ค ล้ ำ ย ๆ สั ญ ลั ก ษ ณ์ แ ต่ ต่ ำ ง กั น ต ร ง ที่
นำมนัยนั้นจะดึงเอำลักษณะบำงส่วนของสิ่งหนึ่งมำกล่ำว ให้หมำยถึงส่วนทั้งหมด
ตัวอย่าง เช่น
ทีมกังหันลม หมำยถึง ทีมเนเธอแลนด์
ทีมสิงโตคำรำม หมำยถึง อังกฤษ
ฉัตร หมำยถึง กษัตริย์
เก้ำอี้ หมำยถึง ตำแหน่ง
มือที่สำม หมำยถึง ผู้ก่อควำมเดือดร้อน
นามนัย

More Related Content

Viewers also liked

แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพRung Kru
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดกRung Kru
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1Rung Kru
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยRung Kru
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญRung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์Rung Kru
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2Rung Kru
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยSuriyawaranya Asatthasonthi
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองRung Kru
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายคุณานนต์ ทองกรด
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยtip036fur
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนKroo R WaraSri
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดKroo R WaraSri
 
Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)Sawitree Weerapong
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓Rung Kru
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑Rung Kru
 

Viewers also liked (20)

แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.2 เขียนเรื่องจากภาพ
 
นิทานชาดก
นิทานชาดกนิทานชาดก
นิทานชาดก
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ1
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
วิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญวิธีจับใจความสำคัญ
วิธีจับใจความสำคัญ
 
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเองแบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
แบบฝึกเสริมทักษะที่ 2.3 เขียนแนะนำตนเอง
 
หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์หลักการคิดวิเคราะห์
หลักการคิดวิเคราะห์
 
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
ตัวอย่างหลักการอ่านจับใจความสำคัญ2
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทยข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - ภาษาไทย
 
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเองหลักการเขียนแนะนำตนเอง
หลักการเขียนแนะนำตนเอง
 
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลายโวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
โวหารภาพพจน์สำหรับนักเรียนม.ปลาย
 
วรรณคดีไทย
วรรณคดีไทยวรรณคดีไทย
วรรณคดีไทย
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อนใบความรู้เรื่องคำซ้อน
ใบความรู้เรื่องคำซ้อน
 
มาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กดมาตราตัวสะกดแม่กด
มาตราตัวสะกดแม่กด
 
Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)Wireshark(ครั้งที่2)
Wireshark(ครั้งที่2)
 
ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3ใบความรู้ที่ 5.3
ใบความรู้ที่ 5.3
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๒
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๓
 
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
แบบฝึกเสริมทักษะชุดที่ ๓.๑
 

ใบความรู้ที่ 5.2

  • 1. ใบความรู้ที่ ๕.๒ โวหารภาพพจน์ โวหารภาพพจน์คือถ้อยคำที่ทำให้เกิดภำพในใจเกิดจินตนำกำรมีควำมสำคั ญคือช่วยเสริมให้สำนวนโวหำรดีขึ้นเกิดภำพในใจชัดเจนโดยเฉพำะสิ่งที่เป็นนำมธ รรมจะเกิดรูปธรรมชัดเจน ประเภทของโวหำรภำพพจน์มีหลำยชนิดแต่ที่นิยมมี๘ชนิดคืออุปมำอุปลัก ษณ์สัญลักษณ์บุคลำธิษฐำนปฏิพำกย์สัจพจน์นำมนัย อุปมา อุปมา คือ กำรเปรียบเทียบว่ำสิ่งหนึ่งเหมือนกับสิ่งหนึ่งโดยใช้คำเชื่อมที่มีควำมหมำ ยเช่นเดียวกับคำว่ำ “เหมือน” เช่นดุจดั่งรำวรำวกับเปรียบประดุจเฉกเล่ห์ปำนประหนึ่งเพียงเพี้ยงพ่ำงปู นฯลฯ ตัวอย่าง ปัญญำประดุจดังอำวุธ ไพเรำะกังวำนปำนเสียงนกร้อง ท่ำทำงหล่อนรำวกับนำงพญำ
  • 2. อุปลักษณ์ อุ ป ลั ก ษ ณ์ คล้ำยกับอุปมำโวหำรคือเป็นกำรเปรียบเทียบเหมือนกันแต่เป็นกำรเปรี ยบเทียบสิ่งหนึ่งเป็นอีกสิ่งหนึ่งอุปลักษณ์จะไม่กล่ำวโดยตรงเหมือนอุ ปมำแต่ใช้วิธีกล่ำวเป็นนัยให้เข้ำใจเอำเองที่สำคัญอุปลักษณ์จะไม่มีคำเ ชื่อมเหมือนอุปมำ ตัวอย่าง ขอเป็นเกือกทองรองบำทำไปจนกว่ำชีวันจะบรรลัย ทหำรเป็นรั้วของชำติ เธอคือดอกฟ้ำแต่ฉันนั้นคือหมำวัด เธอเป็นดินหรือเธอเป็นหญ้ำแท้จริงมีค่ำกว่ำใครนิรันดร์ ชำวนำเป็นกระดูกสันหลังของชำติ ครูคือแม่พิมพ์ของชำติ
  • 3. สัญลักษณ์ สัญลักษณ์ เป็นกำรเรียกชื่อสิ่งๆ หนึ่งโดยใช้คำอื่นมำแทน ไม่เรียกตรงๆ ส่วนใหญ่คำที่นำมำแทนจะเป็นคำที่เกิดจำกกำรเปรียบเทียบและตีควำมซึ่งใช้กันมำ นำนจนเป็นที่เข้ำใจและรู้จักกันโดยทั่วไป ตัวอย่าง เมฆหมอก แทน อุปสรรค กุหลาบแดง แทน ความรัก หงส์ แทน คนชั้นสูง สีดา แทน ความตาย ความชั่วร้าย บุคลาธิษฐาน (บุคคลวัต) บุคลาธิษฐาน หรือ บุคคลวัต คือกำรกล่ำวถึงสิ่งต่ำงๆ ที่ไม่มีชีวิต ไม่มีควำมคิด ไม่มีวิญญำณ เช่น โต๊ะ เก้ำอี้ อิฐ ปูน หรือสิ่งมีชีวิตที่ไม่ใช่มนุษย์เช่น ต้นไม้สัตว์โดยให้สิ่งต่ำงๆ เหล่ำนี้ แสดงกิริยำอำกำรและควำมรู้สึกได้เหมือนมนุษย์ (บุคลาธิษฐาน มาจากคาว่า บุคคล + อธิษฐาน หมายถึง อธิษฐานให้กลายเป็นบุคคล) ตัวอย่าง มองซิ...มองทะเล เห็นลมคลื่นเห่จูบหิน บำงครั้งมันบ้ำบิ่น กระแทกหินดังครืนครืน ทะเลไม่เคยหลับใหล ใครตอบได้ไหมไฉนจึงตื่น บำงครั้งยังสะอื้น ทะเลมันตื่นอยู่ร่ำไป
  • 4. อติพจน์ อติพจน์ หรือ อธิพจน์ คือ โวหำรที่กล่ำวเกินควำมจริง เพื่อเน้นควำมรู้สึก ทำให้ผู้ฟังเกิดควำมรู้สึกที่ลึกซึ้ง ภำพพจน์ที่นิยมใช้กันมำกแม้ในภำษำพูด เพรำะเป็นกำรกล่ำวที่ทำให้เห็นภำพได้ง่ำยและแสดงควำมรู้สึกของกวีได้อย่ำง ชัดเจน ตัวอย่าง คิดถึงใจแทบขาด หนาวกระดูกจะหลุด คอแห้งเป็นผง การบินไทยรักคุณเท่าฟ้ า ร้อนตับจะแตก คิดถึงเธอทุกลมหายใจเข้าออก ปฏิพากย์ ปฏิพากย์ คือ กำรใช้ถ้อยคำที่มีควำมหมำยตรงกันข้ำม หรือขัดแย้งกันมำกล่ำวอย่ำงกลมกลืนกันเพื่อเพิ่มควำมหมำยให้มีน้ำหนักมำกยิ่งขึ้ น ตัวอย่ำงเช่น เลวบริสุทธิ์ บาปบริสุทธิ์ สวยเป็นบ้า สวยอย่างร้ายกาจ สนุกฉิบหาย สวรรค์บนดิน
  • 5. สัทพจน์ สัทพจน์ หมำยถึง ภำพพจน์ที่เลียนเสียงธรรมชำติ เช่น เสียงดนตรี เสียงสัตว์เสียงคลื่น เสียงลม เสียงฝนตก เสียงน้ำไหล ฯลฯ กำรใช้ภำพพจน์ประเภทนี้จะทำให้เหมือนได้ยินเสียงนั้นจริงๆ ตัวอย่าง เปรี้ยงๆ ดังเสียงฟ้ำฟำด ตะแลกแต๊กแต๊ก ตะแลกแต๊กแต๊ก กระเดื่องดังแทรกสำรวลสรวลสันต์ น้ำพุพุ่งซ่ำ ไหลมำฉำดฉำน เห็นตระกำร เสียงกังวำน มันดังจอกโครม จอกโครม มันดังจอก จอก โครม โครม บัดเดี๋ยวดังหง่ำงเหง่งวังเวงแว่ว นามนัย คือ กำรใช้คำหรือวลีซึ่งบ่งลักษณะหรือคุณสมบัติของสิ่งใดสิ่งหนึ่งแทนอีก สิ่ ง ห นึ่ ง ค ล้ ำ ย ๆ สั ญ ลั ก ษ ณ์ แ ต่ ต่ ำ ง กั น ต ร ง ที่ นำมนัยนั้นจะดึงเอำลักษณะบำงส่วนของสิ่งหนึ่งมำกล่ำว ให้หมำยถึงส่วนทั้งหมด ตัวอย่าง เช่น ทีมกังหันลม หมำยถึง ทีมเนเธอแลนด์ ทีมสิงโตคำรำม หมำยถึง อังกฤษ ฉัตร หมำยถึง กษัตริย์ เก้ำอี้ หมำยถึง ตำแหน่ง มือที่สำม หมำยถึง ผู้ก่อควำมเดือดร้อน นามนัย