SlideShare a Scribd company logo
ความสามารถในการคิดจาแนก
แจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของ
ข้อมูลหรือปัญหาต่างๆ ออกเป็น
ป ร ะ เ ด็ น ย่ อ ย ๆ ใ น ห ล า ย ๆ
แง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์
ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น แล้ว
นามาวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง
ของสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ
การคิดวิเคราะห์
(Analytical Thinking)
ทักษะการคิดวิเคราะห์เป็น
การคิดพื้นฐานที่จะช่วยต่อยอดสู่
การคิดในขั้นสูง และเป็น
กระบวนการเรียนรู้ที่ช่วย
ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความจาใน
ระยะยาว
ความหมาย
ความสาคัญ
คาถาม “5W1H”โดยการเปิด
โอกาสให้เด็กตั้งคาถามตามเทคนิค
ดังกล่าวบ่อย ๆ จนเป็นนิสัย เป็น
คนช่างคิด ช่างถามช่างสงสัย แล้ว
พฤติกรรมวิเคราะห์ก็จะเกิดขึ้นกับ
นักเรียน เพื่อนาไปสู่การค้นหา
ความจริงในเรื่องที่เกิดขึ้น
การนาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
การคิดอย่างมีวิจารณญาณ
critical thinking
การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์
สังเคราะห์ และประเมินผลในเนื้อหาหรือ
เหตุการณ์ที่เป็นปัญหาหรือข้อขัดแย้ง โดย
อาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์
ของตน เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจในการ
ปฏิบัติด้วยความเหมาะสม อันสอดคล้องกับ
หลักการและเหตุผล
ความหมาย
ในโลกแห่งสังคมดิจิทัลกระบวนการ
คิดอย่างมีวิจารณญาณ จะนาไปสู่การ
คิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ เพื่อให้เห็นว่า
เรื่องใดควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ สิ่งใดควร
ทาหรือไม่ควรทา
ความสาคัญ
1.การตั้งสมมติฐานหรือการตั้งคาถาม
-จากเพจดังกล่าวสามารถเชื่อถือได้เพียงใด
2.การรวบรวม และสืบหาข้อมูล
-ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
3.การจัดระเบียบหมวดหมู่ของข้อมูล
-คัดเลือกข้อมูลที่สาคัญไว้และจัดกลุ่มข้อมูล
เป็นหมวดๆ
4.การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ และการ
ทดสอบ
-การพิจารณา และวิเคราะห์สิ่งที่เราต้องการ
คาตอบด้วยการนาข้อมูลมาเปรียบเทียบ
เพื่อให้รู้ข้อเท็จจริง
5.การสังเคราะห์ข้อมูล
-คัดเลือกประเด็นที่สาคัญที่สุด
6.การสรุปผล
-นาประเด็นนั้น มาเป็นคาตอบ พร้อมกับ
อธิบายความสัมพันธ์อย่างมีเหตุ และผล
การนาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
ความคิดสร้างสรรค์
(Creative thinking)
กระบวนการคิดของสมองซึ่งมี
ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด ไ ด้
หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม
โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี
หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมี
ความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้น
และสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่
หรือรูปแบบความคิดใหม่
ความหมาย
1.การสอนให้แสดงความคิดเห็น
เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดความคิดใหม่ๆ
2. การใช้คาถามยั่วยุ
เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ
3. การสอนให้คิดเปลี่ยนแปลง
การสอนให้เกิดการคิดดัดแปลง
ปรับปรุง สิ่งต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปอื่น ๆที่คิดว่า
สร้างสรรค์
4. การดัดแปลงสิ่งใหม่จากสิ่งเดิม
การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสร้างสิ่งใหม่จาก
โครงสร้างหรือกฎเกณฑ์เดิม
5. ทักษะการค้นคว้าหาข้อมูล
การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักการหาข้อมูลหรือ
คาตอบด้วยตนเอง เพื่อตอบคาถามที่สนใจ
การนาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง
ทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆในการ
ดาเนินชีวิตและหนทางใหม่ๆในการ
แก้ปัญหาชีวิตและการทางาน
พัฒนาสมองของคนให้มีความ
ฉลาดเฉียบคม ในการคิดแก้ปัญหา
ต่างๆเพิ่มขึ้น
ความสาคัญ
$$
??......
การคิดแก้ปัญหา
problem solving thinking
ความสามารถทางสมองในการ
ขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น
โดยพยายาม ปรับตัวเองและ
สิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับ
เข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่เรา
คาดหวัง
ความหมาย
การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสาคัญต่อ
วิถีการดาเนินชีวิตในสังคมของมนุษย์
เป็นทักษะที่เกี่ยวข้องและมีประโยชน์
ต่อการดารงชีวิตที่วุ่นวายสับสนได้
เป็นอย่างดี ผู้ที่มีทักษะการคิด
แก้ปัญหาจะสามารถเผชิญกับภาวะ
สังคมที่เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง
ความสาคัญ
ให้ผู้เรียนทาความเข้าใจปัญหา
ที่พบในประเด็นต่างๆ โดยผู้สอน
ให้ผู้เรียนได้คิดแก้ปัญหาด้วย
ตนเองจากสถานการณ์ต่างๆ
เน้นทักษะการแสวงหาความรู้
การค้นพบ การสร้างองค์ความรู้
ด้วยตนเองจากแหล่งต่างๆ
การนาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
การคิดเชิงคานวณ
(COMPUTATIONAL THINKING)
คือกระบวนการแก้ปัญหาใน
หลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับ
เชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล
และการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไป
ทีละขั้นทีละตอน(หรือที่เรียกว่า
อัลกอทึ่ม)
วิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็นใน
การพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆ สาหรับ
คอมพิวเตอร์ แต่ในขณะเดียวกัน วิธี
คิดนี้ยังช่วยแก้ปัญหาในวิชาต่างๆ
ได้ด้วย
ความหมาย
วิธีคิดเชิงคานวณ ช่วยทา
ให้ปัญหาที่ซับซ้อนเข้าใจได้ง่าย
ขึ้น เป็นทักษะที่เป็นประโยชน์
อย่างยิ่งต่อทุกๆ สาขาวิชา และ
ทุกเรื่องในชีวิตประจาวัน
ความสาคัญ
1.Tinkering (สร้างความชานาญ)
เป็นการฝึกทักษะผ่านการเล่น การ
สารวจ
2.Collaborating (สร้างความสามัคคี ,
ทางานร่วมกัน)
3.Creating (สร้างความคิดสร้างสรรค์)
การสร้างเกม แอนนิเมชั่น หรือ
หุ่นยนต์ง่ายๆ
4.Debugging (สร้างวิธีการแก้ไข
จุดบกพร่อง)
เมื่อเจอจุดที่ผิดพลาด ต้องคิด
วิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล เพื่อแก้ไข
และไม่ให้เกิดสิ่งนั้นขึ้นอีก
5.Persevering (สร้างความอดทน ,
ความพยายาม)
การนาไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
นโยบายเกี่ยวกับการคิดเพื่อบูรณาการในการจัดการเรียนรู้คอมเพิวเตอร์
บรรณานุกรม
ศศิมา สุขสว่าง. (2562). การคิดเชิงวิเคราะห์ 5 ขั้นตอน(Analytical Thinking). สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก www.sasimasuk.com/15848561/
การคิดเชิงวิเคราะห์-5-ขั้นตอนanalytical-thinking
Prapatsorn_P. (2558). กระบวนการคิดวิเคราะห์เพื่อการเรียนรู้อย่างยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก
prapatsorn32.wordpress.com/2015/05/13/กระบวนการคิดวิเคราะห์เ/
มนตรี วงษ์สะพาน. (2556). การยกระดับการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ. 13(2). 125-139.
TISHAFAN. (2562). การจัดการเรียนเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก http://tishafan-
analysisthinking.blogspot.com/p/blog-page_4283.html
มปป. (2562). การคิดอย่างมีวิจารณญาณ. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก coggle.it/diagram/Wo5-mYZpVgABC6fq/t/การคิดอย่างมีวิจารณญาณ-
critical-thinking”
มปป. (2562). การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก
https://sites.google.com/site/nightbutterflyfor/home/kar-khid-xyang-mi-wicarnyan-laea-kar-kae-payha
บรรณานุกรม
Haihealthlife. (2562). วิจารณญาณ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก thaihealthlife.com/วิจารณญาณ/
Sitthichai Laisema. (2557). ความคิดสร้างสรรค์กับการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar-
reiyn-kar-sxn-cheing-srangsrrkh/khwamkhidsrangsrrkhkabkarreiynru
ครูประถม. (2561). กลวิธีการสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก www.krupatom.com/กลวิธีการสอนให้เกิดควา/1841/
มปป. (2555). การคิดแก้ปัญหา. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก http://thinkingekawit.blogspot.com/
สอนลูกเขียนโปรแกรม by Dek-D.com. (2560). การคิดเชิงคานวณ (COMPUTATIONAL THINKING) คืออะไร มาทาความรู้จักกัน. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม
2562. จาก school.dek-d.com/blog/featured/การคิดเชิงคานวณ/
จัดทาโดย
นางสาวลลิตา วงค์มลี รหัส 625050016-7
นักศึกษาปริญญาโท โครงการพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์
หลักสูตร 550504825161 : การศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
วิชาเอกการสอนคอมพิวเตอร์ แผน ก แบบ ก 2 (กลุ่มที่ 1)

More Related Content

What's hot

Data type methods and tools
Data type methods and toolsData type methods and tools
Data type methods and tools
iamthesisTH
 
ความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิด
Aun Natthida
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Tong Bebow
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Tong Bebow
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
Naracha Nong
 

What's hot (11)

Data type methods and tools
Data type methods and toolsData type methods and tools
Data type methods and tools
 
ความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิดความสำคัญด้านความคิด
ความสำคัญด้านความคิด
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยมทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Similar to Thinking

งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
SudaratJanthathep
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
0819741995
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
0819741995
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
เชียร์ นะมาตย์
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมpimporn454
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมUraiwan Chankan
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนO-mu Aomaam
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
Korawan Sangkakorn
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...Sawittri Phaisal
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการSupattra Rakchat
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 

Similar to Thinking (20)

งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
ความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิดความสำคัญของการคิด
ความสำคัญของการคิด
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
Thinking
ThinkingThinking
Thinking
 
Thinking
 Thinking Thinking
Thinking
 
งานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinkingงานนำเสนอ Thinking
งานนำเสนอ Thinking
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
นวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอนนวัตกรรมคอน
นวัตกรรมคอน
 
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่นการจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
การจัดการความรู้ด้านการวิจัยเพื่อพัฒนาท้องถิ่น
 
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
กิจกรรมแนะแนวที่บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่...
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
บทความวิชาการ
บทความวิชาการบทความวิชาการ
บทความวิชาการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

Thinking

  • 1.
  • 2. ความสามารถในการคิดจาแนก แจกแจงองค์ประกอบต่างๆ ของ ข้อมูลหรือปัญหาต่างๆ ออกเป็น ป ร ะ เ ด็ น ย่ อ ย ๆ ใ น ห ล า ย ๆ แง่มุม รวมทั้งการหาความสัมพันธ์ ระหว่างองค์ประกอบเหล่านั้น แล้ว นามาวิเคราะห์เพื่อหาสาเหตุที่แท้จริง ของสิ่งที่เกิดขึ้นได้อย่างเป็นระบบ การคิดวิเคราะห์ (Analytical Thinking) ทักษะการคิดวิเคราะห์เป็น การคิดพื้นฐานที่จะช่วยต่อยอดสู่ การคิดในขั้นสูง และเป็น กระบวนการเรียนรู้ที่ช่วย ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความจาใน ระยะยาว ความหมาย ความสาคัญ คาถาม “5W1H”โดยการเปิด โอกาสให้เด็กตั้งคาถามตามเทคนิค ดังกล่าวบ่อย ๆ จนเป็นนิสัย เป็น คนช่างคิด ช่างถามช่างสงสัย แล้ว พฤติกรรมวิเคราะห์ก็จะเกิดขึ้นกับ นักเรียน เพื่อนาไปสู่การค้นหา ความจริงในเรื่องที่เกิดขึ้น การนาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
  • 3. การคิดอย่างมีวิจารณญาณ critical thinking การรู้จักใช้ความคิดพิจารณาวิเคราะห์ สังเคราะห์ และประเมินผลในเนื้อหาหรือ เหตุการณ์ที่เป็นปัญหาหรือข้อขัดแย้ง โดย อาศัยความรู้ ความคิด และประสบการณ์ ของตน เพื่อนาไปสู่การตัดสินใจในการ ปฏิบัติด้วยความเหมาะสม อันสอดคล้องกับ หลักการและเหตุผล ความหมาย ในโลกแห่งสังคมดิจิทัลกระบวนการ คิดอย่างมีวิจารณญาณ จะนาไปสู่การ คิดตัดสินใจอย่างรอบคอบ เพื่อให้เห็นว่า เรื่องใดควรเชื่อหรือไม่ควรเชื่อ สิ่งใดควร ทาหรือไม่ควรทา ความสาคัญ 1.การตั้งสมมติฐานหรือการตั้งคาถาม -จากเพจดังกล่าวสามารถเชื่อถือได้เพียงใด 2.การรวบรวม และสืบหาข้อมูล -ผู้เรียนสืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม 3.การจัดระเบียบหมวดหมู่ของข้อมูล -คัดเลือกข้อมูลที่สาคัญไว้และจัดกลุ่มข้อมูล เป็นหมวดๆ 4.การวิเคราะห์ การเปรียบเทียบ และการ ทดสอบ -การพิจารณา และวิเคราะห์สิ่งที่เราต้องการ คาตอบด้วยการนาข้อมูลมาเปรียบเทียบ เพื่อให้รู้ข้อเท็จจริง 5.การสังเคราะห์ข้อมูล -คัดเลือกประเด็นที่สาคัญที่สุด 6.การสรุปผล -นาประเด็นนั้น มาเป็นคาตอบ พร้อมกับ อธิบายความสัมพันธ์อย่างมีเหตุ และผล การนาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
  • 4. ความคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) กระบวนการคิดของสมองซึ่งมี ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด ไ ด้ หลากหลายและแปลกใหม่จากเดิม โดยสามารถนาไปประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการได้อย่างรอบคอบและมี ความถูกต้อง จนนาไปสู่การคิดค้น และสร้างสิ่งประดิษฐ์ที่แปลกใหม่ หรือรูปแบบความคิดใหม่ ความหมาย 1.การสอนให้แสดงความคิดเห็น เพื่อให้ผู้เรียนได้เกิดความคิดใหม่ๆ 2. การใช้คาถามยั่วยุ เพื่อกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจ 3. การสอนให้คิดเปลี่ยนแปลง การสอนให้เกิดการคิดดัดแปลง ปรับปรุง สิ่งต่าง ๆ ให้อยู่ในรูปอื่น ๆที่คิดว่า สร้างสรรค์ 4. การดัดแปลงสิ่งใหม่จากสิ่งเดิม การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักสร้างสิ่งใหม่จาก โครงสร้างหรือกฎเกณฑ์เดิม 5. ทักษะการค้นคว้าหาข้อมูล การฝึกให้ผู้เรียนรู้จักการหาข้อมูลหรือ คาตอบด้วยตนเอง เพื่อตอบคาถามที่สนใจ การนาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลง ทาให้เกิดแนวทางใหม่ๆในการ ดาเนินชีวิตและหนทางใหม่ๆในการ แก้ปัญหาชีวิตและการทางาน พัฒนาสมองของคนให้มีความ ฉลาดเฉียบคม ในการคิดแก้ปัญหา ต่างๆเพิ่มขึ้น ความสาคัญ $$ ??......
  • 5. การคิดแก้ปัญหา problem solving thinking ความสามารถทางสมองในการ ขจัดสภาวะความไม่สมดุลที่เกิดขึ้น โดยพยายาม ปรับตัวเองและ สิ่งแวดล้อมให้ผสมกลมกลืนกลับ เข้าสู่สภาวะสมดุลหรือสภาวะที่เรา คาดหวัง ความหมาย การคิดแก้ปัญหาเป็นสิ่งสาคัญต่อ วิถีการดาเนินชีวิตในสังคมของมนุษย์ เป็นทักษะที่เกี่ยวข้องและมีประโยชน์ ต่อการดารงชีวิตที่วุ่นวายสับสนได้ เป็นอย่างดี ผู้ที่มีทักษะการคิด แก้ปัญหาจะสามารถเผชิญกับภาวะ สังคมที่เคร่งเครียดได้อย่างเข้มแข็ง ความสาคัญ ให้ผู้เรียนทาความเข้าใจปัญหา ที่พบในประเด็นต่างๆ โดยผู้สอน ให้ผู้เรียนได้คิดแก้ปัญหาด้วย ตนเองจากสถานการณ์ต่างๆ เน้นทักษะการแสวงหาความรู้ การค้นพบ การสร้างองค์ความรู้ ด้วยตนเองจากแหล่งต่างๆ การนาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
  • 6. การคิดเชิงคานวณ (COMPUTATIONAL THINKING) คือกระบวนการแก้ปัญหาใน หลากหลายลักษณะ เช่น การจัดลาดับ เชิงตรรกศาสตร์ การวิเคราะห์ข้อมูล และการสร้างสรรค์วิธีแก้ปัญหาไป ทีละขั้นทีละตอน(หรือที่เรียกว่า อัลกอทึ่ม) วิธีคิดเชิงคานวณมีความจาเป็นใน การพัฒนาแอพพลิเคชั่นต่างๆ สาหรับ คอมพิวเตอร์ แต่ในขณะเดียวกัน วิธี คิดนี้ยังช่วยแก้ปัญหาในวิชาต่างๆ ได้ด้วย ความหมาย วิธีคิดเชิงคานวณ ช่วยทา ให้ปัญหาที่ซับซ้อนเข้าใจได้ง่าย ขึ้น เป็นทักษะที่เป็นประโยชน์ อย่างยิ่งต่อทุกๆ สาขาวิชา และ ทุกเรื่องในชีวิตประจาวัน ความสาคัญ 1.Tinkering (สร้างความชานาญ) เป็นการฝึกทักษะผ่านการเล่น การ สารวจ 2.Collaborating (สร้างความสามัคคี , ทางานร่วมกัน) 3.Creating (สร้างความคิดสร้างสรรค์) การสร้างเกม แอนนิเมชั่น หรือ หุ่นยนต์ง่ายๆ 4.Debugging (สร้างวิธีการแก้ไข จุดบกพร่อง) เมื่อเจอจุดที่ผิดพลาด ต้องคิด วิเคราะห์อย่างเป็นเหตุเป็นผล เพื่อแก้ไข และไม่ให้เกิดสิ่งนั้นขึ้นอีก 5.Persevering (สร้างความอดทน , ความพยายาม) การนาไปใช้ในการจัดการ เรียนรู้วิชาคอมพิวเตอร์
  • 8. บรรณานุกรม ศศิมา สุขสว่าง. (2562). การคิดเชิงวิเคราะห์ 5 ขั้นตอน(Analytical Thinking). สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก www.sasimasuk.com/15848561/ การคิดเชิงวิเคราะห์-5-ขั้นตอนanalytical-thinking Prapatsorn_P. (2558). กระบวนการคิดวิเคราะห์เพื่อการเรียนรู้อย่างยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก prapatsorn32.wordpress.com/2015/05/13/กระบวนการคิดวิเคราะห์เ/ มนตรี วงษ์สะพาน. (2556). การยกระดับการเรียนรู้ของนักเรียนด้วยกระบวนการคิดวิเคราะห์. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยทักษิณ. 13(2). 125-139. TISHAFAN. (2562). การจัดการเรียนเรียนรู้เพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก http://tishafan- analysisthinking.blogspot.com/p/blog-page_4283.html มปป. (2562). การคิดอย่างมีวิจารณญาณ. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก coggle.it/diagram/Wo5-mYZpVgABC6fq/t/การคิดอย่างมีวิจารณญาณ- critical-thinking” มปป. (2562). การคิดอย่างมีวิจารณญาณและการแก้ปัญหา. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก https://sites.google.com/site/nightbutterflyfor/home/kar-khid-xyang-mi-wicarnyan-laea-kar-kae-payha
  • 9. บรรณานุกรม Haihealthlife. (2562). วิจารณญาณ และการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก thaihealthlife.com/วิจารณญาณ/ Sitthichai Laisema. (2557). ความคิดสร้างสรรค์กับการเรียนรู้. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก sites.google.com/site/edtechsukm/kar-cadkar- reiyn-kar-sxn-cheing-srangsrrkh/khwamkhidsrangsrrkhkabkarreiynru ครูประถม. (2561). กลวิธีการสอนให้เกิดความคิดสร้างสรรค์. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก www.krupatom.com/กลวิธีการสอนให้เกิดควา/1841/ มปป. (2555). การคิดแก้ปัญหา. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก http://thinkingekawit.blogspot.com/ สอนลูกเขียนโปรแกรม by Dek-D.com. (2560). การคิดเชิงคานวณ (COMPUTATIONAL THINKING) คืออะไร มาทาความรู้จักกัน. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2562. จาก school.dek-d.com/blog/featured/การคิดเชิงคานวณ/
  • 10. จัดทาโดย นางสาวลลิตา วงค์มลี รหัส 625050016-7 นักศึกษาปริญญาโท โครงการพิเศษ คณะศึกษาศาสตร์ หลักสูตร 550504825161 : การศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี วิชาเอกการสอนคอมพิวเตอร์ แผน ก แบบ ก 2 (กลุ่มที่ 1)