SlideShare a Scribd company logo
1 of 94
Download to read offline
โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ 
ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล 
สถาบันพระปกเกล้า 
www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท: การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทางาน
2 
“ คุณธรรมหมายถึงคุณลักษณะที่ทาให้ ปัจเจกบุคคลมุ่งไปสู่ความสาเร็จของชีวิต อัน เป็นจุดมุ่งหมายแห่งชีวิตของตน ทั้งที่เป็น จุดมุ่งหมายตามธรรมชาติ ”
3 
บริบทของปรัชญากรีก 
นิยามว่า “คุณธรรมเป็นสิ่งที่สาคัญสูงสุด” 
คุณธรรม ย่อมดาเนินไปเพื่อบรรลุหน้าที่อันเหมาะสม ของแต่ละสิ่ง 
ความดีหรือคุณธรรมของสิ่งต่างๆ จะแตกต่างกัน ออกไปตามสภาพความเป็นจริงของแต่ละสิ่งนั้น เพราะแต่ ละสิ่งย่อมมีจุดมุ่งหมายในตนเองทั้งสิ้น
4 
นักปรัชญาชาวกรีกให้คานิยาม“คุณธรรม”ว่า 
“คุณธรรมหมายถึงลักษณะที่ทาให้ปัจเจกบรรลุถึง หน้าที่ของตนในสังคม”
5 
การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์ 
๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth) 
๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty) 
๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty) 
๔. ความอดกลั้น (Patience) 
๕. ความเป็นธรรม(Fair play) 
๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others) 
๗. เมตตาธรรม(Kindness)
6 
Tony Blair นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ 
สนใจในการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ ได้ประชุม หารือกับรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ ในการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่ 
การปฏิบัตินั้นได้รับการยกย่องจากSteve Kelman อาจารย์มหาวิทยาลัยHarvard ว่า “สหราชอาณาจักร คือ ประเทศ ที่มีพลังความคิดของการปรับปรุงการปฏิบัติงานภาครัฐ”
7 
Integrity 
-การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม (ศ.ธานินทร์ กรัยวิเชียร) 
- Wholeness หรือ ความเป็นคนเต็มคน 
 ศาสตราจารย์สตีเฟ่น แอล. คาร์เตอร์ แห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกาเสนอว่า การที่บุคคลจะมี “Integrity” จะต้องมีการปฏิบัติ ครบ 3 ขั้นตอน 
„พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง 
„ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งรัด 
„ประกาศให้ผู้อื่นได้รับทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบัติเช่นนั้น
ฆราวาสธรรมมีข้อปฎิบัติ ๔ ประการ คือ 
 สัจจะ : ความซื่อสัตย์ต่อกัน 
 ทมะ : การรู้จักข่มใจ 
 ขันติ : ความอดทนทั้งกายและใจ 
 จาคะ : ความรู้จักเสียสละและบริจาคให้แก่บุคคลที่ ควรให้
มรรค ๘ แห่งการส่งเสริมคุณธรรม - จริยธรรม ประกอบด้วย 
•ผู้ปกครองทุกๆ ระดับต้องตั้งอยู่ในความถูกต้อง 
•ครอบครัวอบอุ่น 
•ชุมชนเข็มแข็ง 
•การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ 
•การมีสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัครเต็มแผ่นดิน 
•ส่งเสริมการพัมนาจิตให้เป็นวิถีชีวิต 
•การศึกษาที่เข้าถึงความดี 
•การสื่อสารความดี
10 
การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์ 
๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth) 
๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty) 
๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty) 
๔. ความอดกลั้น (Patience) 
๕. ความเป็นธรรม(Fair play) 
๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others) 
๗. เมตตาธรรม(Kindness)
11 
 ปี ค.ศ. 1990 จากผลการรายงานของธนาคารโลก (World Bank) ประธานาธิบดี Mitterandของฝรั่งเศส กล่าวกับผู้นาชาติ ต่างๆ ในแอฟริกาว่า “ภาวการณ์ด้อยพัฒนาของทวีป แอฟริกาเกิดจากการขาดธรรมาภิบาล” 
 ธนาคารโลกให้ความหมายธรรมาภิบาลว่า เป็นลักษณะและ วิถีทางในการใช้อานาจจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจและ ทางสังคมของประเทศเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
โดยการหล่อหลอม และปลูกฝังผ่านกระบวนการกล่อม 
เกลาทางสังคมโดย 
การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว 
กระบวนการศึกษา 
ค่านิยมที่สั่งสมมาจากสังคม มีสมาธิเกิดสติ 
ปัญญามาจากพันธุกรรม เกิดความเชื่อ มีความรู้สึก ด้วยการกระทาเป็นพฤติกรรมในส่วนดี
เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม 
เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ธรรมมาภิบาล Good Governance 
พระปฐมบรมราชโองการ 
ในพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ 
ในพระบรมมหาราชวัง (วันที่ 5 พฤษภาคม 2493)
ความเที่ยงธรรม(อวิโรธนะ) 
การไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา) 
ความอดทน(ขันติ) ทศพิธราชธรรม 
ศีล ความไม่โกรธ(อักโกธะ) ความอ่อนโยน(มัททวะ) 
ความซื่อตรง(อาชชวะ) ความเพียร(ตบะ) 
บริจาค(ปริจาคะ) 
ทาน
๑.ทาน ได้แก่ การให้ทาน 
๒.ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล 
๓.ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน 
๔.อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม 
๕.มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน 
๖.ตบะ ได้แก่ ความเพียร 
๗.อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ 
๘.อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน 
๙.ขันติ ได้แก่ ความอดทน 
๑๐.อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
สอดคล้อง สภาพธรรมชาติ ภูมิสังคม 
หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
17 
• เน้นการพัฒนาคน 
• ระเบิดจากข้างใน 
• ปลุกจิตสานึก 
• พึ่งตนเองได้ 
• ความพอเพียง 
• ขาดทุนคือกาไร 
• ทางานอย่างมีความสุข 
• คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน 
• บริการรวมที่จุดเดียว 
• ปลูกป่าในใจคน 
• การให้ 
• รู้ รัก สามัคคี 
หลักการทรงงาน 
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว 
ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ 
แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก 
คานึงภูมิสังคม 
พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร / บูรณาการ 
ไม่ติดตารา ทาให้ง่าย มีลาดับ ขั้นตอน 
มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก 
ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์ 
ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ 
การมีส่วนร่วม 
ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน 34
“..คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบัติ 
„การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่ง ที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม 
„การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์ ความดีนั้น 
„การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่พระพฤติล่วงความสัตย์ สุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด 
„การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วน น้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง...”
๑.ทาน ได้แก่ การให้ทาน 
๒.ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล 
๓.ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน 
๔.อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม 
๕.มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน 
๖.ตบะ ได้แก่ ความเพียร 
๗.อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ 
๘.อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน 
๙.ขันติ ได้แก่ ความอดทน 
๑๐.อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
 ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด 
 ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส 
 แนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง ในหลวงทรงแนะนาและ ปฏิบัติให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร 
 ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุข ไม่ใช่จะต้องเป็นสังคมที่มีเงิน มากๆ 
 ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงใน ชีวิตความเป็นอยู่
“..คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบัติ 
„การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่ สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม 
„การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความ สัตย์ความดีนั้น 
„การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่พระพฤติล่วงความสัตย์ สุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด 
„การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วน น้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง...”
ความเจริญของประเทศชาติ เป็นความเจริญส่วนรวม ซึ่งเกิดจากผลงานหรือผลของการกระทาของคนทั้ง ชาติ ถือได้ว่าทุกคนแบ่งหน้าที่กันทาประโยชน์ให้แก่ ชาติ ตามความถนัดและความสามารถ และเกื้อกูลกัน และกัน ไม่มีผู้ใดจะอยู่ได้และทางานให้แก่ประเทศชาติได้ โดยลาพังตนเอง 
(ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๑๓) 
<date/time> 
<footer>
บ้านเมืองของเรากาลังต้องการการปรับปรุงและการ พัฒนาที่มีประสิทธิภาพ ทางที่เราจะช่วยกันได้ก็คือ การที่ทาความคิดให้ถูกและแน่วแน่ ในอันที่จะยึดถือ ประโยชน์ของบ้านเมืองเป็นที่หมาย ต้องเพลาการ คิดถึงประโยชน์เฉพาะตัว และความขัดแย้งกันในสิ่งที่ มิใช่สาระลง (พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๔๓) 
<date/time> 
<footer>
 ถ้าทุกคนสนใจในความรักประเทศชาติ รักษาความดี เอาไว้ ไม่ต้องไปตามอย่างในสิ่งที่เราเห็น ว่าไม่น่าที่จะ เจริญไม่น่าจะพัฒนา เราต้องรักษาแนวทางความคิด ตามที่เรามีอยู่ แม้จะเป็นสิ่งที่ตกทอดมาแต่โบราณกาล จากปู่ย่าตายายของเรา แต่เป็นระเบียบการหรือเป็น วิธีการที่ดี จะไม่ล้าสมัย (โอกาสเสด็จฯ ทรงเยี่ยมวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ๑๓ มีนาคม ๒๕๑๔) 
<date/time> 
<footer>
 การมีเสรีภาพนั้น เป็นของที่ดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อจะใช้ จาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และมีความ รับผิดชอบ มิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่นที่เขามีอยู่ เท่าเทียมกัน ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและ ความเป็นปกติสุขของส่วนรวมด้วย (พระราชทานแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔) 
<date/time> 
<footer>
 ในการปฏิบัติราชการนั้น ขอให้ทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ อย่านึกถึงบาเหน็จรางวัลหรือผลประโยชน์ให้มาก ขอให้ถือว่าการทาหน้าที่ได้สมบูรณ์ เป็นทั้งรางวัลและ ประโยชน์อย่างประเสริฐ จะทาให้บ้านเมืองไทยของเรา อยู่เย็นเป็นสุขและมั่นคง (เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๓๓) 
<date/time><footer>
คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุก ประเทศมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความ ว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่ เป็นสุข (พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) 
<date/time><footer>
 การดาเนินชีวิตโดยใช้วิชาการอย่างเดียวยังไม่ เพียงพอ จะต้องอาศัยความรู้รอบตัวและหลัก ศีลธรรมประกอบด้วย 
 ผู้ที่มีความรู้ดีแต่ขาดความยั้งคิด นาความรู้ไปใช้ ในทางมิชอบ ก็เท่ากับเป็นบุคคลที่เป็นภัยแก่สังคมของ มนุษย์ 
(ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๑๘ กันยายน ๒๕๐๔) 
<date/time><footer>
ความคิดนั้นเป็นแม่บทใหญ่ของการพูดและการกระทา เพราะกิจที่จะทาคาที่จะพูดทุกอย่างล้วนสาเร็จมาจาก ความคิด การคิดก่อนพูดและก่อนทาจึงช่วยให้หบุคคล สามารถยับยั้งคาพูดที่ไม่สมควร หยุดยั้งการกระทาที่ ไม่ถูกต้อง 
(พิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม๒๕๔๐) 
<date/time><footer>
คนไม่มีความสุจริต คนไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มัก ง่าย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่สาคัญ อันใดได้ ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะ ทางานสาคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณประโยชน์แท้จริงได้ สาเร็จ (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๒) 
<date/time><footer>
การได้ อันใด ที่เป็นความทุกข์เดือดร้อนของประชาชน ทุกคน ทุก ฝ่าย จึงต้องถือเป็นหน้าที่ จะต้องร่วมมือกัน ปฏิบัติแก้ไขให้เต็มกาลัง โดยเฉพาะขณะนี้ ประชาชนกาลังเดือดร้อน ลาบากจากน้าท่วม จึงขอ จึงชอบ ที่จะร่วมมือกัน ปัดเป่าแก้ไขให้ผ่านพ้นไปโดยเร็ว และจัดทา โครงการบริหารจัดการน้าอย่างยั่งยืน 
อย่างเช่น โครงการต่างๆ ที่เคยพูดไปนั้น ก็เป็นการแนะนา ไม่ได้สั่ง การ แต่ถ้าเป็นการปรึกษากันแล้ว เห็นว่าเป็นประโยชน์ คุ้มค่า และทา ได้ ก็ทา ข้อสาคัญ จะต้องไม่ขัดแย้ง แตกแยกกัน หากจะต้องให้ กาลังใจ ซึ่งกันและกัน เพื่อให้งานที่ทา บรรลุผลที่มีประโยชน์ เพื่อ ความผาสุกของประชาชน และความมั่นคงปลอดภัย ของประเทศชาติ (เสด็จออกมหาสมาคม งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๔ ณ พระที่ นั่งอมรินทรวินิจฉัย วันจันทร์ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔) 
<date/time> 
<footer>
ข้าพเจ้าจึงปรารถนาอย่างยิ่ง ที่จะเห็นคนไทยมีความสุขถ้วน หน้ากัน ด้วยการให้ คือให้ความรักความเมตตากัน ให้น้าใจ ไมตรีกัน ให้อภัยกัน ให้การสงเคราะห์ อนุเคราะห์กัน โดยมุ่ง ดี มุ่งเจริญต่อกัน ด้วยความบริสุทธิ์ และจริงใจ ทุกคน ทุก ฝ่าย จะได้สามารถร่วมมือ ร่วมความคิดอ่านกัน สร้างสรรค์ ความสุข ความเจริญมั่นคง ให้แก่ตน แก่ประเทศชาติ อันเป็น สิ่งที่แต่ละคนต้องการให้สาเร็จผล ได้ดังที่ตั้งใจปรารถนา 
(พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๔ วันศุกร์ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓) 
<date/time> 
<footer>
การดารงชีวิตที่ดีจะต้องปรับปรุงตัวตลอดเวลา การ ปรับปรุงตัวจะต้องมีความเพียรและความอดทนเป็น ที่ตั้ง ถ้าคนเราไม่หมั่นเพียร ไม่มีความอดทน ก็อาจจะ ท้อใจไปโดยง่าย เมื่อท้อใจไปแล้ว ไม่มีทางที่จะมีชีวิต เจริญรุ่งเรืองแน่ๆ 
(พระราชทานแก่ครูและนักเรียน โรงเรียนจิตรลดา ๒๗ มีนาคม ๒๕๒๓) 
<date/time><footer>
 สัจจวาจา นั้นเป็นรากฐานของการทางาน หรือการ ดารงชีวิตที่ดีที่งามที่มีความก้าวหน้า มีความสาเร็จ “สัจ” เป็นการตั้งใจ ตั้งจิตใจ “วาจา” เป็นคาพูด ออกมา แสดงถึงคาพูดนั้นต้องออกมาจากใจ คือเป็น การตั้งใจที่จะทาอะไรเพื่อความสาเร็จในงานนั้น (ในโอกาสที่ผู้พิพากษาประจากระทรวงยุติธรรมเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับ หน้าที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๒๕) 
<date/time><footer>
ผู้หนักแน่นในสัจจะ พูดอย่างไรทาอย่างนั้น จึงจะได้รับ ความสาเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธา เชื่อถือ และความ ยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทา คือ พูดจริงทาจริง จึงเป็นปัจจัยสาคัญ ในการส่งเสริม เกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด (พิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐) 
<date/time> 
<footer>
สามัคคี คือการเป็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิธี ทาง เพื่อที่จะสร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง ด้วยการเห็น อกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทางานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต แย่งตรงไปตรงมา นึกถึงประโยชน์ส่วนรวมนั้นคือ ความมั่นคงของบ้านเมือง (ในพิธีประดับยศนายตารวจชั้นนายพล ๑๕ มกราคม ๒๕๑๙) 
<date/time><footer>
การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจาเป็นก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้วคนโดยมาก ไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระ กันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิด ทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะ เป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้ (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖6) 
<date/time><footer>
ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก พระองค์ทรงเป็นต้นแบบ ในด้านคุณธรรมจริยธรรมของประเทศไทยและของโลก ดังจะเห็นได้ จากพระจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของพระองค์ที่ทรงปฏิบัติมา อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ทรงประกาศปฐมบรมราชโองการ “เราจะครอง แผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” และทรงมี พระบรมราโชวาท และพระราชดารัสเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม จานวนมาก เพื่อให้พสกนิกรของพระองค์นาไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง กว่าหกสิบปี 
<date/time> 
<footer>
ข้าราชการทุกคนจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน้อมนาพระบรมราโชวาท และพระราชดารัสที่ทรง 
พระราชทานในวโรกาสต่าง ๆ มาปฏิบัติ และดาเนินรอยตามเบื้อง พระยุคลบาทในด้านคุณธรรมจริยธรรม 
อย่างจริงจัง ให้สมศักดิ์ศรีของการเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอย่างเต็มภาคภูมิ 
<date/time> 
<footer>
โดยเฉพาะข้าราชการพัฒนาชุมชนที่ได้รับการปลูกฝังและหล่อหลอม ให้มีจิตสานึก และอุดมการณ์พัฒนาชุมชน จะต้องเป็นแบบอย่างที่ ดีในด้านจริยธรรมให้กับข้าราชการอื่น ๆ ด้วยการสร้างจิตสานึก สร้างอุดมการณ์ และปฏิบัติตนให้มีจริยธรรม หลังจากนั้นจึงขยาย เครือข่ายไปยังเพื่อนร่วมงาน และทีมงานในหน่วยงานเพื่อให้ทุกคนมี จิตสานึก มีอุดมการณ์ และปฏิบัติตนให้มีจริยธรรมต่อไป 
<date/time> 
<footer>
๑. ต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัดกระทาในสิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม 
๒. ต้องมีจิตสานึกที่ดีและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ 
๓. ต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตาแหน่งหน้าที่และยึดถือประโยชน์ส่วนรวม ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน 
๔. ต้องละเว้นจากการแสวงประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตาแหน่งหน้าที่และไม่ กระทาการอันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม 
๕. ต้องเคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา 
<date/time><footer>
(๖) ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็นกลางทางการเมือง ให้บริการแก่ประชาชนโดย มี 
อัธยาศัยที่ดีและไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม 
(๗) ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัดและรวดเร็ว ไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นช้าและใช้ข้อมูลข่าวสารที่ได้มาจากการดาเนินงานเพื่อการในหน้าที่ และให้ ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 
(๘) ต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานแห่งวิชาชีพโดยเคร่งครัด 
(๙) ต้องยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
(๑๐) ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการดารงตน รักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของราชการโดยรวม 
<date/time><footer>
๑. สร้างค่ายจริยธรรม ให้มีจิตสานึกในด้านจริยธรรมอย่างแท้จริง ด้วยการ 
๑.๑ คัดเลือกข้าราชการที่เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านจริยธรรม เป็นที่ ยอมรับของคนในองค์กร 
ชุมชน และสังคม มาเป็นเครือข่ายจริยธรรม และวิทยากรค่าย จริยธรรมของหน่วยงาน 
๑.๒ วางแผนและดาเนินการจัดค่ายจริยธรรมทุก ๓ เดือน เพื่อให้ ข้าราชการได้พัฒนาในด้านจริยธรรมอย่างเข้มข้น 
<date/time><footer>
๒. น้อมนาพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวในด้านจริยธรรมมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยเริ่มต้นที่ผู้บังคับ บัญชาสูงสุดของหน่วยงานก่อน หลังจากนั้น จึงขยายไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ทีมงาน ด้วยการ สร้างเครือข่ายจริยธรรม และขยายผลไปยังผู้นากลุ่ม องค์กรชุมชน และเครือข่ายองค์กรชุมชนต่าง ๆ 
๓. เผยแพร่ความคิดในด้านจริยธรรมในการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม และจัดการความรู้ เพื่อกระตุ้นให้ข้าราชการทุกคนตระหนักและเห็น ความสาคัญของการมีจริยธรรม มีการตั้งปณิธาน และปฏิบัติตาม จรรยาข้าราชการอย่างจริงจัง 
<date/time><footer>
๔. เผยแพร่คาขวัญด้านจริยธรรมในสถานที่ทางาน ห้องประชุม เว็บไซต์ เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสาคัญของการมีจริยธรรม 
๕ มอบรางวัลข้าราชการที่เป็นแบบอย่างในด้านจริยธรรมเดือนละ ๑ คน เพื่อเผยแพร่ทางสื่อมวลชน และเป็นต้นแบบในการพัฒนา จริยธรรม 
๖. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการที่นับถือพระพุทธศาสนาเข้าวัด ปฏิบัติธรรมทุกวันพระหรือวันอาทิตย์ สัปดาห์ละครั้ง 
๗. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการที่นับถือศาสนาต่าง ๆ ปฏิบัติ ศาสนกิจตามหลักธรรมคาสอนในศาสนาที่ตนนับถือ สัปดาห์ละครั้ง 
<date/time><footer>
๘. ส่งเสริมและสนับสนุนข้าราชการที่มีจริยธรรมและมีความรู้ ความสามารถ ให้มีความก้าวหน้าในอาชีพราชการเป็นลาดับต้น ๆ 
๙. สร้างภาพยนตร์สั้นเกี่ยวกับการพัฒนาจริยธรรมข้าราชการอย่าง ยั่งยืน เผยแพร่ทางโทรทัศน์เว็บไซต์ สัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้สังคม ตื่นตัวและสนับสนุนให้ข้าราชการมีจริยธรรมอย่างจริงจัง
การพัฒนาจริยธรรมข้าราชการอย่างยั่งยืนเป็นหน้าที่ของ ข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกคนที่จะต้องน้อมนา พระบรมราโชวาท และพระราชดารัสมาปฏิบัติ และดาเนินรอยตาม เบื้องพระยุคลบาทในด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างจริงจัง โดย ผู้บังคับบัญชาต้องประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ 
ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ควบคุมผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาให้มีจริยธรรม และ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน สนับสนุนส่งเสริม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีจริยธรรมและปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ข้าราชการพลเรือนอย่างจริงจัง 
<date/time><footer>
หากข้าราชการทุกคนมีจริยธรรม สังคมไทยจะเป็น สังคมที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกด้านเพราะ ข้าราชการที่มีจริยธรรมคือแบบอย่างที่ดีของ สังคมไทย และข้าราชการที่มีจริยธรรมคือรากฐาน สาคัญของการพัฒนา
ค่านิยมหลัก 
๑.การยึดมั่นและยืนหยัดในสิ่งที่ ถูกต้อง 
๒.ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ 
๓.การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส 
และตรวจสอบได้ 
๔.การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติ 
อย่างไม่เป็นธรรม 
๕.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 
๖.การเป็นพลเมืองดีของประเทศ 
๗.การดาเนินชีวิตโดยหลักเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
จิตลักษณะและพฤติกรรมที่ต้องพัฒนา 
๑.เหตุผลเชิงจริยธรรมและลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน 
๒.แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เหตุผลเชิงจริยธรรมการควบคุมตน และ 
พฤติกรรมซื่อสัตย์ในงาน 
๓.พฤติกรรมซื่อสัตย์ในงาน และการมุ่งอนาคตควบคุมตน 
๔.ลักษณะมุ่งอนาคต ควบคุมตน เหตุผลเชิงจริยธรรม และ 
แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ 
๕.แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และพฤติกรรมมุ่งผลสัมฤทธิ์ 
๖.เอกลักษณ์แห่งอีโก้ด้านชาตินิยม เหตุผลเชิง จริยธรรม 
พฤติกรรมประชาธิปไตย 
๗.เหตุผลเชิงจริยธรรม ลักษณะมุ่งอนาคต ควบคุมตน 
พฤติกรรมการคิดเชิงเหตุผล
ในประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน กาหนดให้มี คณะกรรมการจริยธรรมประจาส่วนราชการระดับกรมและจังหวัด ขึ้น ทาหน้าที่สอดส่องดูแลให้กลไกจริยธรรมในส่วนราชการ บรรลุผล
สานักงาน กพ. 
๑.ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ 
๒.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 
๓.การเคารพบุคคลและองค์กร 
๔.การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่าง 
ไม่เป็นธรรม 
๕.การยึดมั่นและยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง 
๖.การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ 
พอเพียง 
๗.การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและ 
สามารถตรวจสอบได้ 
สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน 
๑. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม 
๒. การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ 
๓. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน 
๔. การยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย 
๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ 
๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง 
๗. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ 
๘. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข 
๙. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ 
การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน 
การเคารพบุคคลและองค์กร 
การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม 
การยืดมั่นและยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง 
การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 
การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
 บทความชื่อ“Economic Initiation, Democracy and Development” 
 การให้ความสาคัญกับการปฏิรูปเพื่อให้เกิดเสรีภาพที่แท้จริง ทางเศรษฐกิจและตามมาด้วยเสรีภาพทางการเมือง 
 เป็นสิ่งที่ส่งเสริมการสร้างธรรมาภิบาลและการลดการทุจริต คอรัปชั่นเพราะกลุ่มคนและบุคคลที่อาศัยสายสัมพันธ์ส่วนตัว กับนักการเมืองและข้าราชการมีโอกาสใช้อิทธิพลเพื่อสร้างระบบ ผูกขาดน้อยลง
ความถูกต้อง (integrity) MinximPei พบว่า การเพิ่มขึ้นทางเสรีภาพทางการเมือง 1 หน่วย หรือ เสรีภาพทางเศรษฐกิจ 1 หน่วย มีผลโดยตรงที่ ทำให้เกิดธรรมำภิบำล ถึง 3 เท่ำ - ความสุจริต (honesty) 
- การไม่ยอมให้ผู้อื่นทาผิด
 จากบทความ“ The International Framework and Economic Development” 
 พบว่าประเทศที่มีลักษณะเปิดทางการเมืองสูงหรือ มีความเป็นประชาธิปไตยมากจะสามารถเพิ่มรายได้ ประชาชาติต่อปีสูงถึงปีละ๒.๕๓%ในขณะที่ประเทศมี ระบบการเมืองปิดจะเพิ่มรายได้ประชาชาติต่อปีได้ เพียง๑.๔๑%
56 
นักปรัชญาชาวกรีกให้คานิยาม“คุณธรรม” ว่า 
“คุณธรรมหมายถึงลักษณะที่ทาให้ปัจเจกบรรลุ ถึงหน้าที่ของตนในสังคม”
 เพิ่งมีการใช้ในรายงานธนาคารโลกเมื่อปีค.ศ.1989 
 หมายถึง“การใช้อานาจในการบริการจัดการทรัยา กรทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อการพัฒนาของประเทศ หนึ่งๆ” 
 โครงสร้างการบริหารจัดการเศรษฐกิจและสังคมของ แต่ละประเทศจะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต่างกัน
 ลักษณะการใช้อานาจในการบริหารจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อการพัฒนาประเทศ 
 หลักธรรมาภิบาลที่สาคัญประกอบด้วย ๔ ประการ 
•การบริหารจัดการภาครัฐ 
•การสร้างความรับผิดชอบ 
•การยึดหลักกฎหมายเป็นหลักในการพัฒนา 
•การแสดงถึงความโปร่งใส 
•การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
 อธิบายว่า ธรรมาภิบาลเป็นเรื่องของการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศในระดับมหภาค 
•จะต้องมีความโปร่งใส 
•มีความรับผิดชอบ 
•มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ 
•มีความชัดเจนแน่นอนในการกาหนดกติกา
หลักความมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง 
หลักนิติธรรม 
หลักความมีประสิทธิผล 
หลักความเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ 
หลักการตอบสนองที่เป็นธรรม 
หลักความโปร่งใส 
หลักความรับผิดชอบ 
หลักความสอดคล้องต่อส่วนรวม
•สร้างระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมทั้งในด้านการค้าและกล ราคา 
•สร้างระบบความรับผิดชอบที่ชัดเจน 
•ระบบการคลังและงบประมาณต้องมีความโปร่งใสตรวจสอบได้ มีระบบบัญชี การตรวจสอบและรายงานผลที่เป็นมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของสากล 
•ขจัดปัญหาทุจริตและคอรัปชั่น 
•เพิ่มโอกาสให้คนจน/ผู้ด้อยโอกาสเข้ามาร้องเรียนตรวจสอบ การทางานของรัฐ
62 
 1993: U.S.-The Government Performance and Results Act (1993) 
 1994: U.S.-Government Management and Reform Act (1994) 
 1999: Canada-Results for Canadians 
 2001: U.S.-The President’s Management Agenda 
 2001: Japan-Government Policy Evaluation Act 
 2002: U.S. Sarbane-Oxley Act (Good Governance) 
 2002: France-La LoiOrganiqueRelative Aux Lois de France 
 2002: U.S.-Program Assessment and Rating Tool 
 2003: Thailand-Principle and Practice of Good Governance 
 2003: Singapore Net Economic Value 
 2004: U.K. Public Service Agreement
ศ.ดร. ชัยอนันต์ สมุทวณิช ใช้ “ประชารัฐ” 
อ. อมรา พงษ์พิชญ์ ใช้ “ธรรมรัฐ” 
อนุกรรมการบัญญัติศัพท์ทางการบริหารของ ก.พ. 
ใช้ “สุประศาสนการ” 
มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) 
โดย ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล ใช้ “ธรรมาภิบาล”
แนวคิดใหม่ใช้ในรายงานธนาคารโลกเมื่อปี ๑๙๘๙ 
ประเทศไทยนามาใช้หลังมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ 
หลังวิกฤตทางเศรษฐกิจและสังคมในปี ๒๕๔๐ 
กองทุนการเงินระหว่างประเทศให้รัฐบาลให้คามั่นว่าต้องสร้าง Good Governance ให้เกิดขึ้น
มีองค์ประกอบ๒ส่วน 
•ส่วนแรกเป็นการจัดสรรอานาจเพื่อสั่งการให้มีการใช้ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดผลตามที่ ต้องการ 
•ส่วนที่สองคือโครงสร้างทางวัฒนธรรมระบบคุณค่าของ สังคมที่เป็นเครื่องกาหนดพฤติกรรมของบุคคลทาง การเมืองเศรษฐกิจและสังคม
 ในปี 2529 ให้ความหมาย governance ว่า การกระทา หรือกระบวนการในการดาเนินการปกครอง ที่เน้นแนวทาง ในการใช้อานาจหน้าที่และการควบคุม
 ทางรัฐศาสตร์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า Kybernatas 
 ภาษาลาติน หมายถึง Gubernator การกากับทิศทาง การนา ทาง การสั่งการ เพื่อดาเนินการให้ถูกทิศทางอย่างราบรื่น เพื่อ ประโยชน์ของปัจเจกบุคคลหรือส่วนรวม
 เป็นลักษณะของการใช้อานาจทางการเมือง เพื่อจัดการทรัพยากร ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีธรรมาภิบาลในการฟื้นฟู เศรษฐกิจของประเทศ ให้รัฐบาลสามารถบริการอย่างมี ประสิทธิภาพ มีระบบที่ยุติธรรม ฝ่ายนิติบัญญัติและสื่อมวลชนที่มี ความโปร่งใส รับผิดชอบและตรวจสอบได้ 
 เป็นผลลัพธ์ที่บุคคลหรือสถาบันจัดกิจกรรม ทั้งรัฐและเอกชนมี ผลประโยชน์ร่วมกัน เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง นาไปสู่การ ผสมผสานประโยชน์ที่หลากหลาย มุ่งความดีงาม และเกิดประโยชน์ สูงสุดแก่รัฐ และประชนอย่างทั่วถึงและยุติธรรม
69 
 การมีส่วนร่วมของประชาชนและสังคมอย่างเท่าเทียมกัน และ มีคาตอบพร้อมเหตุผลที่สามารถชี้แจงได้ ธรรมาภิบาลจึงมี ความสาคัญต่อการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เพราะเป็นหลักการ พื้นฐานในการสร้างความเป็นอยู่ของคนในสังคมทุกประเทศ ให้มีการพัฒนาที่เท่าเทียมกันและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การ ดาเนินการนี้ต้องเกิดจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ เอกชน เพื่อกระจายอานาจให้เกิดความโปร่งใส
'ธรรมาภิบาล' เพื่อปวงชนของแผ่นดินที่มีในหลวงทรงเป็น ศูนย์รวมจิตใจคนไทย 
 พระจริยวัตรอันงดงาม และการครองพระองค์ในฐานะทรง เป็นพระประมุข 
 บริษัทเรียกว่า บรรษัทภิบาลในองค์กร 
 การเมือง เรียกว่า„รัฐาภิบาล‟
 การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะปฎิบัติแต่สิ่งที่เป็น ประโยชน์และเป็นธรรม 
 การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองไม่ให้ประพฤติล่วงความสุจริต ไม่ว่าจะ ด้วยเหตุประการใด 
 การอดทนอดกลั้นและอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสุจริตไม่ว่าจะ ด้วยเหตุประการใด 
 การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของ ตนเพื่อประโยชน์ส่วนใใหญ่ของบ้านเมือง
ในยามวิกฤตต้องคิดพึ่งตนเองก่อน เทวดาจะช่วยเฉพาะผู้ที่ช่วย ตนเองก่อนเท่านั้น 
การที่จะประสบความสาเร็จได้ ต้องมีความเพียรอันบริสุทธิ 
เศรษฐกิจที่มั่นคงมาจากการอนุรักษ์และเพิ่มพูนทรัพยากรเท่านั้น 
ประเทศจะพัฒนาได้ ต้องปฎิรูปการเรียนรู้ของมนุษย์ให้หลุดพ้นจาก อวิชชา
ทรง มีพระจริยธรรม เมตตาธรรม ทรงห่วงใย พสกนิกร แม้ 
ต้องทรงเผชิญกับความยากลาบากในถิ่น ทุรกันดาร 
โดยพระอิสริยยศแล้ว พระองค์ทรง มีอานาจมาก แต่สิ่ง 
หลอมรวมให้คนไทยทุกหมู่เหล่า จงรักภักดี เคารพเทิดทูน 
พระองค์ยิ่งชีวิตตัวเอง นั่นคือ พระบารมี 
สะท้อนถึงคุณลักษณะทางบุคคลของพระองค์ ซึ่งกอปรไป 
ด้วยพระปรีชาญาณและพระจริยวัตรอันงดงาม
 ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด 
 ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส 
 แนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง ในหลวงทรงแนะนาและ ปฏิบัติให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร 
 ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุข ไม่ใช่จะต้องเป็นสังคมที่มีเงิน มากๆ 
 ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงใน ชีวิตความเป็นอยู่
๑.ทาน ได้แก่ การให้ทาน 
๒.ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล 
๓.ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน 
๔.อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม 
๕.มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน 
๖.ตบะ ได้แก่ ความเพียร 
๗.อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ 
๘.อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน 
๙.ขันติ ได้แก่ ความอดทน 
๑๐.อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
 พระองค์ปรารถนาสิ่งใดก็ได้ แต่พระองค์กลับไม่ได้ใช้อภิสิทธิ์ตรง นั้น 
 ทรงมีพระจริยวัตรที่เรียบง่าย สมถะ ซึ่งถือเป็นการสอนพสกนิกร ของพระองค์อย่างดีที่สุด 
 ไม่เคยมีกฎหมายบัญญัติไว้ว่า เป็นพระมหากษัตริย์แล้วต้อง เสียสละพระองค์ ถึงเพียงนี้ 
เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาว สยาม” หรือการดารงพระองค์ปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมก็ ตาม ในฐานะพระประมุขประกาศออกมาแล้ว ถ้าไม่ทาตามสิ่ง เหล่านั้น พระองค์ก็สามารถทาได้ แต่สาหรับพระองค์ทรงเลือกที่จะ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์อย่างเข้มงวดเรื่อยมา
ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด 
พระองค์ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส 
ตัวอย่างเรื่องแนวคิด เศรษฐกิจแบบพอเพียง สิ่งที่ในหลวงทรง แนะนาและปฏิบัติพระองค์ให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุขนั้น ไม่ได้แปลว่า จะต้องเป็นสังคมที่มั่งคั่งที่สุด หรือมีเงินมากๆ 
ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงในชีวิตความ เป็นอยู่ 
พระองค์ทรงเตือนสติให้พวกเรารู้ว่า เงินทองไม่ใช่สิ่งสาคัญที่สุด 
การที่รวยล้นฟ้าก็ใช่ว่าเราจะไม่มีปัญหา
การมีส่วนร่วมของสังคม (participation) 
ความโปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ (transparency) 
ความรับผิดชอบที่ต้องตอบคาถาม(accountability) และถูก วิจารณ์ได้
79 
หลักธรรมาภิบาล8หลักการ 
การมีส่วนร่วม(participatory) 
นิติธรรม(ruleoflaw) 
ความโปร่งใส(transparency) 
การตอบสนองตรงเป้าหมาย(responsiveness) 
ความสอดคล้อง(consensusoriented) 
ความเสมอภาค(equityandinclusiveness) 
การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล(effectivenessandefficiency) 
ความรับผิดชอบ(accountability) 
(Whatisgoodgovernance:http://www.unescap.org/)
ธรรมมาภิบาลเป็นทั้งหลักการและเครื่องมือที่จะช่วยพัฒนาสังคมให้ มีคุณภาพและประสิทธิภาพโดยยึดหลัก ๖ ประการ 
เพื่อสร้างความเชื่อถือ เชื่อมั่นและให้เกิดการไว้วางใจ 
ธรรมรัฐ คือการจัดการที่ดี 
ธรรมะคือคุณความดี ความยุติธรรมและความถูกต้องตาม กฎเกณฑ์ของสังคม 
การอภิบาลคือการบารุงรักษา เป็นวิถีการปกป้องคุณความดีให้คง อยู่ในทุกๆส่วนหลักการนี้ใช้ทั้ง รัฐ เอกชน ชุมชนกระบวนการทา ให้เกิดคิดดี วางแผนดี ปฏิบัติดี ได้ผลดี มีระบบประเมินผลดี เป็น การดูแลรักษาความดี
81พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่าเสมอผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจาเป็น เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ม.๗ – ม.๘ 
ม.๒๐ – ม.๒๖ 
ม.๙ – ม.๑๙ 
ม.๒๗ – ม.๓๒ 
ม.๓๓ – ม.๓๖ 
ม.๓๗ – ม.๔๔ 
ม.๔๕ – ม.๔๙กพร.
1. การมีระบบการเมืองที่มีประสิทธิภาพในการจัดการที่ทาให้ระบบ เศรษฐกิจของประเทศมีความมั่นคง 
2. การมีประสิทธิผลในการดาเนินงานของภาครัฐ เพื่อผลประโยชน์ สาธารณะ(public interest) 
3. การมีความชอบธรรมทางการเมืองภายใต้กรอบของหลักนิติธรรม (rule of law) 
4. การมีประสิทธิผลของการบริหารภาครัฐ 
5. การมีความร่วมมือของภาครัฐกับภาคประชาสังคม
มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 
มีความโปร่งใส ไม่มีคอร์รัปชั่นหรือผลประโยชน์ ทับซ้อน 
มีความยุติธรรมอย่างทั่วถึง 
ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
84 
นาค่านิยมขององค์กรมาใช้ปฏิบัติ 
ผู้บริหารองค์กรประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดี 
ผู้บริหารตัดสินและวินิจฉัยอย่างโปร่งใสและเปิดเผย 
บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
ผู้บริหารทาตัวเป็นตัวอย่างในการให้บริการแก่ประชาชน ทุกชนชั้นอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
85 
การตัดสินใจทุกครั้ง ต้องกระทาอย่างโปร่งใสและยุติธรรม 
ใช้ข้อมูลที่ดี รวมทั้งคาแนะนาและการสนับสนุน 
ต้องมั่นใจว่ามีระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพอยู่ใน ระบบการทางาน 
ต้องมีระบบตรวจสอบการทางานทุกอย่าง เพื่อให้แน่ใจว่า ทุกอย่างดาเนินไปตามแผนการทางาน มีการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานบัญชีการเงิน รวมทั้งข้อมูลต่างๆ ที่ผลิตโดยองค์กร
86 
ต้องมั่นใจว่าผู้ที่ได้เลื่อนตาแหน่งขึ้นมาเป็นผู้บริหารจัดการนั้น มีทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ที่จาเป็นต้องใช้ในหน้าที่นั้นๆ 
พัฒนาความสามารถของผู้ที่ทาหน้าที่ในส่วนบริหาร รวมทั้งมีการ ประเมินผลงาน ไม่ว่าจะเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ 
มีความเชื่อมโยงในการทดแทนบุคลากรในสายบริหารจัดการ เพื่อความ ต่อเนื่องในการปฏิบัติงานขององค์กร ผู้บริหารจัดการจะต้องมีความรับผิดชอบในผลงาน โดยการประเมินผล งานเป็นระยะๆ ทั้งนี้รวมทั้งการประเมินความต้องการในการฝึกอบรม หรือการพัฒนาทักษะที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติหน้าที่
87 
ต้องมีความเข้าใจถึงขอบเขตของความรับผิดชอบ 
ริเริ่มการวางแผนที่จะติดต่อกับประชาชน เพื่อให้ทราบถึงหน้าที่และ ความรับผิดชอบในผลงานของตน 
ริเริ่มการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อบุคลากรภายในองค์กร 
ประสานงานกับหน่วยเหนือ หรือผู้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิด
ธรรมาภิบาล 
หลักความ รับผิดชอบ หลักความ คุ้มค่า 
หลักนิติธรรม หลักการมี ส่วนร่วม 
หลักคุณธรรม หลักความ โปร่งใส
กฎหมาย ระเบียบ ประมวลจริยธรรม 
การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบ ตอบสนองต่อความต้องการ มีความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม โครงสร้างและวิธีการ ความสมดุลและเป็นธรรมความ สุจริต ความมีประสิทธิภาพ/ผล สภาพแวดล้อม เป้าหมาย
เป็นหลักการพื้นฐานในการสร้างความเป็นธรรมในสังคม 
ถ้ามีธรรมาภิบาลในทุกระดับจะทาให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดย มีคนเป็นศูนย์กลางที่แท้จริง 
ธรรมาภิบาล ช่วยลด บรรเทา หรือแก้ปัญหาความขัดแย้งใน องค์กร 
ธรรมาภิบาลจะช่วยให้สังคมมีความเข้มแข็งในทุกด้านทั้งทาง คุณค่าและจิตสานึกทางสังคม 
ธรรมาภิบาลจะช่วยลดปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง 
เป็นแนวคิดที่เกื้อหนุนสังคมประชาธิปไตยจะทาให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจและมีการตรวจสอบการทางาน
หลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า 
หลักธรรมาภิบาล 
6 ประการ หลักคุณธรรม 
หลักความโปร่งใส่หลักความ รับผิดชอบ หลักความ มีส่วนร่วม
Company Logo 
www.themegallery.comเป้าหมายและแนวทางในการบริหารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล
Company Logowww.themegallery.com 
 การสรรหาและการแต่งตั้งคณะทางาน 
 การสร้างความเข้าใจร่วมกัน 
 จัดทาหลักสูตรฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาให้จัดการศึกษา ตาม หลักธรรมาภิบาล 
 เชิดชูเกียรติผู้ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล 
 ผู้บริหารใช้เทคนิคการบริหารองค์กรรูปแบบใหม่ในการพัฒนา 
สถานศึกษา 
 เน้นหลักปฏิบัติของผู้บริหารในฐานะต้นแบบ

More Related Content

What's hot

การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์Nakhon Phanom University
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธNopporn Thepsithar
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาธนกร ทองแก้ว
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์จตุรพล ชานันโท
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์Khwanruthai Kongpol
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)Hinkong Sc
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 sudchaleom
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาpentanino
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นKunlaya Kamwut
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3Sukanda Panpetch
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandfirstnarak
 

What's hot (20)

การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
การบริหารเชิงสถานการณ์ ดร.ชาญวิทย์ หาญรินทร์
 
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
2014-07-04 การบริหารงานแนวพุทธ
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์คัมภีร์ฉันทศาสตร์
คัมภีร์ฉันทศาสตร์
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
คู่มือการปฏิบัตงานข้าราชการครู สพฐ (1)
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3 วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
วิธีการทางประวัติศาสตร์ ม.3
 
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนาศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
ศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามแนวพระพุทธศาสนา
 
ความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียดความเครียดและการจัดการความเครียด
ความเครียดและการจัดการความเครียด
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1Ans n6-w1-1
Ans n6-w1-1
 
สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3สอนเด็ก ม3
สอนเด็ก ม3
 
ความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemandความถนัดเเพทย์ ondemand
ความถนัดเเพทย์ ondemand
 

Similar to คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร

ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระTaraya Srivilas
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมJinwara Sriwichai
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษาChalinee Tonsing
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานTaraya Srivilas
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลbankkokku
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
M3social+science2553
M3social+science2553M3social+science2553
M3social+science2553Nanapawan Jan
 
ข้อสอบ 2553
ข้อสอบ 2553ข้อสอบ 2553
ข้อสอบ 2553KNuengnit Swn
 

Similar to คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร (20)

คุณธรรม
คุณธรรมคุณธรรม
คุณธรรม
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
ธรรมาภิบาลในการปฏิบัติงาน วชิระ
 
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
การบริหารงานตามหลักสังคหวัตถุในพระพุทธศาสนา ๓
 
12 life
12 life12 life
12 life
 
แนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคมแนวข้อสอบ Onet สังคม
แนวข้อสอบ Onet สังคม
 
โควตา มช สังคมศึกษา
โควตา มช  สังคมศึกษาโควตา มช  สังคมศึกษา
โควตา มช สังคมศึกษา
 
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงานการเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทำงาน
 
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาลรศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
รศ.วุฒิสาร ตันไชย - การบริหารงานภาครัฐกับการสร้างธรรมาภิบาล
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
โครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคมโครงสร้างสังคม
โครงสร้างสังคม
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
M3social+science2553
M3social+science2553M3social+science2553
M3social+science2553
 
ข้อสอบ 2553
ข้อสอบ 2553ข้อสอบ 2553
ข้อสอบ 2553
 

More from Taraya Srivilas

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกTaraya Srivilas
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกTaraya Srivilas
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมTaraya Srivilas
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6Taraya Srivilas
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนTaraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69Taraya Srivilas
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webTaraya Srivilas
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 Taraya Srivilas
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้Taraya Srivilas
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตTaraya Srivilas
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่Taraya Srivilas
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าTaraya Srivilas
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชTaraya Srivilas
 

More from Taraya Srivilas (20)

การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจกการบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
การบริหารความขัดแย้ง บยส แจก
 
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจกนโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
นโยบายการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี วทอ แจก
 
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคมโปสเตอร์สัญญาประชาคม
โปสเตอร์สัญญาประชาคม
 
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
จริยธรรมทางการแพทย์ 75 ปธพ.6
 
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชนแนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
แนวทางในการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อลดความขัดแย้งในการจัดการป่าม้ระดับชุมชน
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
ค้นหาตัวเอง อุซะ usa 69
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง วิทยาลัยตำรวจ
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 webสถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 web
 
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8 สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
สถานการณ์ความขัดแย้งจากสังคมโลกสู่รากหญ้า สสสส8
 
American first muslim
American first muslimAmerican first muslim
American first muslim
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิงสถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
สถิติเกี่ยวกับผู้หญิง
 
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
บทบาทสตรีสันติภาพชายแดนใต้
 
บทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคตบทบาทสตรีในอนาคต
บทบาทสตรีในอนาคต
 
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุขบทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
บทบาทสตรีกับการสร้างสรรค์สังคมสันติสุข
 
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้าการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ สถาบันพระปกเกล้า
 
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสชเอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
เอกสารการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ ผลงาน คสช
 

คุณธรรมและจริยธรรมของผู้บริหาร

  • 1. โดย พลเอก เอกชัย ศรีวิลาศ ผู้อานวยการสานักสันติวิธีและธรรมาภิบาล สถาบันพระปกเกล้า www.elifesara.com ekkachais@hotmail.com การเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท: การพัฒนาคุณธรรมและจริยธรรมในการทางาน
  • 2. 2 “ คุณธรรมหมายถึงคุณลักษณะที่ทาให้ ปัจเจกบุคคลมุ่งไปสู่ความสาเร็จของชีวิต อัน เป็นจุดมุ่งหมายแห่งชีวิตของตน ทั้งที่เป็น จุดมุ่งหมายตามธรรมชาติ ”
  • 3. 3 บริบทของปรัชญากรีก นิยามว่า “คุณธรรมเป็นสิ่งที่สาคัญสูงสุด” คุณธรรม ย่อมดาเนินไปเพื่อบรรลุหน้าที่อันเหมาะสม ของแต่ละสิ่ง ความดีหรือคุณธรรมของสิ่งต่างๆ จะแตกต่างกัน ออกไปตามสภาพความเป็นจริงของแต่ละสิ่งนั้น เพราะแต่ ละสิ่งย่อมมีจุดมุ่งหมายในตนเองทั้งสิ้น
  • 5. 5 การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์ ๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth) ๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty) ๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty) ๔. ความอดกลั้น (Patience) ๕. ความเป็นธรรม(Fair play) ๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others) ๗. เมตตาธรรม(Kindness)
  • 6. 6 Tony Blair นายกรัฐมนตรีของอังกฤษ สนใจในการปฏิบัติงานของส่วนราชการต่างๆ ได้ประชุม หารือกับรัฐมนตรีกระทรวงต่างๆ ในการตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน ว่าบรรลุเป้าหมายหรือไม่ การปฏิบัตินั้นได้รับการยกย่องจากSteve Kelman อาจารย์มหาวิทยาลัยHarvard ว่า “สหราชอาณาจักร คือ ประเทศ ที่มีพลังความคิดของการปรับปรุงการปฏิบัติงานภาครัฐ”
  • 7. 7 Integrity -การยึดมั่นในความถูกต้องชอบธรรม (ศ.ธานินทร์ กรัยวิเชียร) - Wholeness หรือ ความเป็นคนเต็มคน  ศาสตราจารย์สตีเฟ่น แอล. คาร์เตอร์ แห่งมหาวิทยาลัยเยล สหรัฐอเมริกาเสนอว่า การที่บุคคลจะมี “Integrity” จะต้องมีการปฏิบัติ ครบ 3 ขั้นตอน „พินิจพิเคราะห์แยกแยะว่าสิ่งใดเป็นสิ่งที่ถูกต้อง „ปฏิบัติตามสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้องอย่างเคร่งรัด „ประกาศให้ผู้อื่นได้รับทราบโดยทั่วกันว่าตนได้ปฏิบัติเช่นนั้น
  • 8. ฆราวาสธรรมมีข้อปฎิบัติ ๔ ประการ คือ  สัจจะ : ความซื่อสัตย์ต่อกัน  ทมะ : การรู้จักข่มใจ  ขันติ : ความอดทนทั้งกายและใจ  จาคะ : ความรู้จักเสียสละและบริจาคให้แก่บุคคลที่ ควรให้
  • 9. มรรค ๘ แห่งการส่งเสริมคุณธรรม - จริยธรรม ประกอบด้วย •ผู้ปกครองทุกๆ ระดับต้องตั้งอยู่ในความถูกต้อง •ครอบครัวอบอุ่น •ชุมชนเข็มแข็ง •การมีสัมมาชีพเต็มพื้นที่ •การมีสปิริตแห่งการเป็นอาสาสมัครเต็มแผ่นดิน •ส่งเสริมการพัมนาจิตให้เป็นวิถีชีวิต •การศึกษาที่เข้าถึงความดี •การสื่อสารความดี
  • 10. 10 การปลูกฝังคติธรรม ๗ ประการตั้งแต่วัยเยาว์ ๑. สัจจะ พูดความจริง (Truth) ๒. ความซื่อสัตย์สุจริต (Honesty) ๓. ความระลึกในหน้าที่ (Sense of duty) ๔. ความอดกลั้น (Patience) ๕. ความเป็นธรรม(Fair play) ๖. ความเอาใจเขามาใส่ใจเรา (Consideration for others) ๗. เมตตาธรรม(Kindness)
  • 11. 11  ปี ค.ศ. 1990 จากผลการรายงานของธนาคารโลก (World Bank) ประธานาธิบดี Mitterandของฝรั่งเศส กล่าวกับผู้นาชาติ ต่างๆ ในแอฟริกาว่า “ภาวการณ์ด้อยพัฒนาของทวีป แอฟริกาเกิดจากการขาดธรรมาภิบาล”  ธนาคารโลกให้ความหมายธรรมาภิบาลว่า เป็นลักษณะและ วิถีทางในการใช้อานาจจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจและ ทางสังคมของประเทศเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน
  • 12. โดยการหล่อหลอม และปลูกฝังผ่านกระบวนการกล่อม เกลาทางสังคมโดย การอบรมเลี้ยงดูในครอบครัว กระบวนการศึกษา ค่านิยมที่สั่งสมมาจากสังคม มีสมาธิเกิดสติ ปัญญามาจากพันธุกรรม เกิดความเชื่อ มีความรู้สึก ด้วยการกระทาเป็นพฤติกรรมในส่วนดี
  • 13. เราจะครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม ธรรมมาภิบาล Good Governance พระปฐมบรมราชโองการ ในพิธีบรมราชาภิเษก ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณ ในพระบรมมหาราชวัง (วันที่ 5 พฤษภาคม 2493)
  • 14. ความเที่ยงธรรม(อวิโรธนะ) การไม่เบียดเบียน(อวิหิงสา) ความอดทน(ขันติ) ทศพิธราชธรรม ศีล ความไม่โกรธ(อักโกธะ) ความอ่อนโยน(มัททวะ) ความซื่อตรง(อาชชวะ) ความเพียร(ตบะ) บริจาค(ปริจาคะ) ทาน
  • 15. ๑.ทาน ได้แก่ การให้ทาน ๒.ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล ๓.ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน ๔.อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม ๕.มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน ๖.ตบะ ได้แก่ ความเพียร ๗.อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ ๘.อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน ๙.ขันติ ได้แก่ ความอดทน ๑๐.อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
  • 16. สอดคล้อง สภาพธรรมชาติ ภูมิสังคม หลักการทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
  • 17. 17 • เน้นการพัฒนาคน • ระเบิดจากข้างใน • ปลุกจิตสานึก • พึ่งตนเองได้ • ความพอเพียง • ขาดทุนคือกาไร • ทางานอย่างมีความสุข • คุ้มค่ามากกว่าคุ้มทุน • บริการรวมที่จุดเดียว • ปลูกป่าในใจคน • การให้ • รู้ รัก สามัคคี หลักการทรงงาน ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ศึกษาข้อมูลอย่างเป็นระบบ แก้ปัญหาเริ่มจากจุดเล็ก คานึงภูมิสังคม พัฒนาอย่างองค์รวม ครบวงจร / บูรณาการ ไม่ติดตารา ทาให้ง่าย มีลาดับ ขั้นตอน มุ่งประโยชน์คนส่วนใหญ่เป็นหลัก ประหยัด เรียบง่ายได้ประโยชน์ ใช้ธรรมชาติช่วยธรรมชาติ การมีส่วนร่วม ซื่อสัตย์สุจริต จริงใจต่อกัน 34
  • 18. “..คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบัติ „การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่สิ่ง ที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม „การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความสัตย์ ความดีนั้น „การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่พระพฤติล่วงความสัตย์ สุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด „การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วน น้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง...”
  • 19. ๑.ทาน ได้แก่ การให้ทาน ๒.ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล ๓.ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน ๔.อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม ๕.มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน ๖.ตบะ ได้แก่ ความเพียร ๗.อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ ๘.อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน ๙.ขันติ ได้แก่ ความอดทน ๑๐.อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
  • 20.  ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด  ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส  แนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง ในหลวงทรงแนะนาและ ปฏิบัติให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร  ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุข ไม่ใช่จะต้องเป็นสังคมที่มีเงิน มากๆ  ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงใน ชีวิตความเป็นอยู่
  • 21. “..คุณธรรมที่ทุกคนควรจะศึกษาและน้อมนามาปฏิบัติ „การรักษาความสัตย์ ความจริงใจต่อตัวเอง ที่จะประพฤติปฏิบัติแต่ สิ่งที่เป็นประโยชน์และเป็นธรรม „การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองให้ประพฤติปฏิบัติอยู่ในความ สัตย์ความดีนั้น „การอดทน อดกลั้น และอดออม ที่จะไม่พระพฤติล่วงความสัตย์ สุจริต ไม่ว่าด้วยเหตุประการใด „การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักเสียสละประโยชน์ส่วน น้อยของตน เพื่อประโยชน์ส่วนใหญ่ของบ้านเมือง...”
  • 22. ความเจริญของประเทศชาติ เป็นความเจริญส่วนรวม ซึ่งเกิดจากผลงานหรือผลของการกระทาของคนทั้ง ชาติ ถือได้ว่าทุกคนแบ่งหน้าที่กันทาประโยชน์ให้แก่ ชาติ ตามความถนัดและความสามารถ และเกื้อกูลกัน และกัน ไม่มีผู้ใดจะอยู่ได้และทางานให้แก่ประเทศชาติได้ โดยลาพังตนเอง (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๑๓) <date/time> <footer>
  • 23. บ้านเมืองของเรากาลังต้องการการปรับปรุงและการ พัฒนาที่มีประสิทธิภาพ ทางที่เราจะช่วยกันได้ก็คือ การที่ทาความคิดให้ถูกและแน่วแน่ ในอันที่จะยึดถือ ประโยชน์ของบ้านเมืองเป็นที่หมาย ต้องเพลาการ คิดถึงประโยชน์เฉพาะตัว และความขัดแย้งกันในสิ่งที่ มิใช่สาระลง (พระราชทานแก่ประชาชนชาวไทยในโอกาสขึ้นปีใหม่ ๒๕๔๓) <date/time> <footer>
  • 24.  ถ้าทุกคนสนใจในความรักประเทศชาติ รักษาความดี เอาไว้ ไม่ต้องไปตามอย่างในสิ่งที่เราเห็น ว่าไม่น่าที่จะ เจริญไม่น่าจะพัฒนา เราต้องรักษาแนวทางความคิด ตามที่เรามีอยู่ แม้จะเป็นสิ่งที่ตกทอดมาแต่โบราณกาล จากปู่ย่าตายายของเรา แต่เป็นระเบียบการหรือเป็น วิธีการที่ดี จะไม่ล้าสมัย (โอกาสเสด็จฯ ทรงเยี่ยมวิทยาลัยวิชาการศึกษาประสานมิตร ๑๓ มีนาคม ๒๕๑๔) <date/time> <footer>
  • 25.  การมีเสรีภาพนั้น เป็นของที่ดีอย่างยิ่ง แต่เมื่อจะใช้ จาเป็นต้องใช้ด้วยความระมัดระวัง และมีความ รับผิดชอบ มิให้ล่วงละเมิดเสรีภาพของผู้อื่นที่เขามีอยู่ เท่าเทียมกัน ทั้งมิให้กระทบกระเทือนถึงสวัสดิภาพและ ความเป็นปกติสุขของส่วนรวมด้วย (พระราชทานแก่ผู้บังคับบัญชาลูกเสือ ๙ กรกฎาคม ๒๕๑๔) <date/time> <footer>
  • 26.  ในการปฏิบัติราชการนั้น ขอให้ทาหน้าที่เพื่อหน้าที่ อย่านึกถึงบาเหน็จรางวัลหรือผลประโยชน์ให้มาก ขอให้ถือว่าการทาหน้าที่ได้สมบูรณ์ เป็นทั้งรางวัลและ ประโยชน์อย่างประเสริฐ จะทาให้บ้านเมืองไทยของเรา อยู่เย็นเป็นสุขและมั่นคง (เนื่องในโอกาสวันข้าราชการพลเรือน ๑ เมษายน ๒๕๓๓) <date/time><footer>
  • 27. คนเราถ้าพอใจในความต้องการ ก็มีความโลภน้อย เมื่อมีความโลภน้อยก็เบียดเบียนคนอื่นน้อย ถ้าทุก ประเทศมีความคิดว่าทาอะไรต้องพอเพียง หมายความ ว่าพอประมาณ ไม่สุดโต่ง ไม่โลภอย่างมาก คนเราก็อยู่ เป็นสุข (พระราชทานแก่คณะบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ ณ ศาลาดุสิดาลัย ๔ ธันวาคม ๒๕๔๑) <date/time><footer>
  • 28.  การดาเนินชีวิตโดยใช้วิชาการอย่างเดียวยังไม่ เพียงพอ จะต้องอาศัยความรู้รอบตัวและหลัก ศีลธรรมประกอบด้วย  ผู้ที่มีความรู้ดีแต่ขาดความยั้งคิด นาความรู้ไปใช้ ในทางมิชอบ ก็เท่ากับเป็นบุคคลที่เป็นภัยแก่สังคมของ มนุษย์ (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์๑๘ กันยายน ๒๕๐๔) <date/time><footer>
  • 29. ความคิดนั้นเป็นแม่บทใหญ่ของการพูดและการกระทา เพราะกิจที่จะทาคาที่จะพูดทุกอย่างล้วนสาเร็จมาจาก ความคิด การคิดก่อนพูดและก่อนทาจึงช่วยให้หบุคคล สามารถยับยั้งคาพูดที่ไม่สมควร หยุดยั้งการกระทาที่ ไม่ถูกต้อง (พิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม๒๕๔๐) <date/time><footer>
  • 30. คนไม่มีความสุจริต คนไม่มีความมั่นคง ชอบแต่มัก ง่าย ไม่มีวันจะสร้างสรรค์ประโยชน์ส่วนรวมที่สาคัญ อันใดได้ ผู้ที่มีความสุจริตและความมุ่งมั่นเท่านั้น จึงจะ ทางานสาคัญยิ่งใหญ่ที่เป็นคุณประโยชน์แท้จริงได้ สาเร็จ (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๒๒) <date/time><footer>
  • 31. การได้ อันใด ที่เป็นความทุกข์เดือดร้อนของประชาชน ทุกคน ทุก ฝ่าย จึงต้องถือเป็นหน้าที่ จะต้องร่วมมือกัน ปฏิบัติแก้ไขให้เต็มกาลัง โดยเฉพาะขณะนี้ ประชาชนกาลังเดือดร้อน ลาบากจากน้าท่วม จึงขอ จึงชอบ ที่จะร่วมมือกัน ปัดเป่าแก้ไขให้ผ่านพ้นไปโดยเร็ว และจัดทา โครงการบริหารจัดการน้าอย่างยั่งยืน อย่างเช่น โครงการต่างๆ ที่เคยพูดไปนั้น ก็เป็นการแนะนา ไม่ได้สั่ง การ แต่ถ้าเป็นการปรึกษากันแล้ว เห็นว่าเป็นประโยชน์ คุ้มค่า และทา ได้ ก็ทา ข้อสาคัญ จะต้องไม่ขัดแย้ง แตกแยกกัน หากจะต้องให้ กาลังใจ ซึ่งกันและกัน เพื่อให้งานที่ทา บรรลุผลที่มีประโยชน์ เพื่อ ความผาสุกของประชาชน และความมั่นคงปลอดภัย ของประเทศชาติ (เสด็จออกมหาสมาคม งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา พุทธศักราช ๒๕๕๔ ณ พระที่ นั่งอมรินทรวินิจฉัย วันจันทร์ที่ ๕ ธันวาคม ๒๕๕๔) <date/time> <footer>
  • 32. ข้าพเจ้าจึงปรารถนาอย่างยิ่ง ที่จะเห็นคนไทยมีความสุขถ้วน หน้ากัน ด้วยการให้ คือให้ความรักความเมตตากัน ให้น้าใจ ไมตรีกัน ให้อภัยกัน ให้การสงเคราะห์ อนุเคราะห์กัน โดยมุ่ง ดี มุ่งเจริญต่อกัน ด้วยความบริสุทธิ์ และจริงใจ ทุกคน ทุก ฝ่าย จะได้สามารถร่วมมือ ร่วมความคิดอ่านกัน สร้างสรรค์ ความสุข ความเจริญมั่นคง ให้แก่ตน แก่ประเทศชาติ อันเป็น สิ่งที่แต่ละคนต้องการให้สาเร็จผล ได้ดังที่ตั้งใจปรารถนา (พระราชทานแก่ปวงชนชาวไทย ในโอกาสวันขึ้นปีใหม่ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๔ วันศุกร์ที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๓) <date/time> <footer>
  • 33. การดารงชีวิตที่ดีจะต้องปรับปรุงตัวตลอดเวลา การ ปรับปรุงตัวจะต้องมีความเพียรและความอดทนเป็น ที่ตั้ง ถ้าคนเราไม่หมั่นเพียร ไม่มีความอดทน ก็อาจจะ ท้อใจไปโดยง่าย เมื่อท้อใจไปแล้ว ไม่มีทางที่จะมีชีวิต เจริญรุ่งเรืองแน่ๆ (พระราชทานแก่ครูและนักเรียน โรงเรียนจิตรลดา ๒๗ มีนาคม ๒๕๒๓) <date/time><footer>
  • 34.  สัจจวาจา นั้นเป็นรากฐานของการทางาน หรือการ ดารงชีวิตที่ดีที่งามที่มีความก้าวหน้า มีความสาเร็จ “สัจ” เป็นการตั้งใจ ตั้งจิตใจ “วาจา” เป็นคาพูด ออกมา แสดงถึงคาพูดนั้นต้องออกมาจากใจ คือเป็น การตั้งใจที่จะทาอะไรเพื่อความสาเร็จในงานนั้น (ในโอกาสที่ผู้พิพากษาประจากระทรวงยุติธรรมเฝ้าฯ ถวายสัตย์ปฏิญาณก่อนเข้ารับ หน้าที่ ๑๘ มีนาคม ๒๕๒๕) <date/time><footer>
  • 35. ผู้หนักแน่นในสัจจะ พูดอย่างไรทาอย่างนั้น จึงจะได้รับ ความสาเร็จ พร้อมทั้งความศรัทธา เชื่อถือ และความ ยกย่องสรรเสริญจากคนทุกฝ่าย การพูดแล้วทา คือ พูดจริงทาจริง จึงเป็นปัจจัยสาคัญ ในการส่งเสริม เกียรติคุณของบุคคลให้เด่นชัด (พิธีพระราชทานปริญญาบัตร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๑๐ กรกฎาคม ๒๕๔๐) <date/time> <footer>
  • 36. สามัคคี คือการเป็นแก่บ้านเมือง และช่วยกันทุกวิธี ทาง เพื่อที่จะสร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง ด้วยการเห็น อกเห็นใจซึ่งกันและกัน ทางานด้วยความซื่อสัตย์สุจริต แย่งตรงไปตรงมา นึกถึงประโยชน์ส่วนรวมนั้นคือ ความมั่นคงของบ้านเมือง (ในพิธีประดับยศนายตารวจชั้นนายพล ๑๕ มกราคม ๒๕๑๙) <date/time><footer>
  • 37. การปิดทองหลังพระนั้น เมื่อถึงคราวจาเป็นก็ต้องปิด ว่าที่จริงแล้วคนโดยมาก ไม่ค่อยชอบปิดทองหลังพระ กันนัก เพราะนึกว่าไม่มีใครเห็น แต่ถ้าทุกคนพากันปิด ทองแต่ข้างหน้า ไม่มีใครปิดทองหลังพระเลย พระจะ เป็นพระที่งามบริบูรณ์ไม่ได้ (ในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ๒๕ กรกฎาคม ๒๕๐๖6) <date/time><footer>
  • 38. ทรงเป็นพระมหากษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ของโลก พระองค์ทรงเป็นต้นแบบ ในด้านคุณธรรมจริยธรรมของประเทศไทยและของโลก ดังจะเห็นได้ จากพระจริยวัตรและพระราชกรณียกิจของพระองค์ที่ทรงปฏิบัติมา อย่างต่อเนื่องตั้งแต่ทรงประกาศปฐมบรมราชโองการ “เราจะครอง แผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาวสยาม” และทรงมี พระบรมราโชวาท และพระราชดารัสเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม จานวนมาก เพื่อให้พสกนิกรของพระองค์นาไปปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง กว่าหกสิบปี <date/time> <footer>
  • 39. ข้าราชการทุกคนจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องน้อมนาพระบรมราโชวาท และพระราชดารัสที่ทรง พระราชทานในวโรกาสต่าง ๆ มาปฏิบัติ และดาเนินรอยตามเบื้อง พระยุคลบาทในด้านคุณธรรมจริยธรรม อย่างจริงจัง ให้สมศักดิ์ศรีของการเป็นข้าราชการในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวอย่างเต็มภาคภูมิ <date/time> <footer>
  • 40. โดยเฉพาะข้าราชการพัฒนาชุมชนที่ได้รับการปลูกฝังและหล่อหลอม ให้มีจิตสานึก และอุดมการณ์พัฒนาชุมชน จะต้องเป็นแบบอย่างที่ ดีในด้านจริยธรรมให้กับข้าราชการอื่น ๆ ด้วยการสร้างจิตสานึก สร้างอุดมการณ์ และปฏิบัติตนให้มีจริยธรรม หลังจากนั้นจึงขยาย เครือข่ายไปยังเพื่อนร่วมงาน และทีมงานในหน่วยงานเพื่อให้ทุกคนมี จิตสานึก มีอุดมการณ์ และปฏิบัติตนให้มีจริยธรรมต่อไป <date/time> <footer>
  • 41. ๑. ต้องยึดมั่นในจริยธรรมและยืนหยัดกระทาในสิ่งที่ถูกต้องและเป็นธรรม ๒. ต้องมีจิตสานึกที่ดีและความรับผิดชอบต่อหน้าที่ เสียสละ ปฏิบัติหน้าที่ ด้วยความรวดเร็ว โปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้ ๓. ต้องแยกเรื่องส่วนตัวออกจากตาแหน่งหน้าที่และยึดถือประโยชน์ส่วนรวม ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน ๔. ต้องละเว้นจากการแสวงประโยชน์ที่มิชอบโดยอาศัยตาแหน่งหน้าที่และไม่ กระทาการอันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ ส่วนรวม ๕. ต้องเคารพและปฏิบัติตามรัฐธรรมนูญและกฎหมายอย่างตรงไปตรงมา <date/time><footer>
  • 42. (๖) ต้องปฏิบัติหน้าที่ด้วยความเที่ยงธรรม เป็นกลางทางการเมือง ให้บริการแก่ประชาชนโดย มี อัธยาศัยที่ดีและไม่เลือกปฏิบัติโดยไม่เป็นธรรม (๗) ต้องปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของทางราชการอย่างเคร่งครัดและรวดเร็ว ไม่ถ่วงเวลาให้เนิ่นช้าและใช้ข้อมูลข่าวสารที่ได้มาจากการดาเนินงานเพื่อการในหน้าที่ และให้ ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง ทันการณ์ และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง (๘) ต้องมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษาคุณภาพและมาตรฐานแห่งวิชาชีพโดยเคร่งครัด (๙) ต้องยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (๑๐) ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในการดารงตน รักษาชื่อเสียงและภาพลักษณ์ของราชการโดยรวม <date/time><footer>
  • 43. ๑. สร้างค่ายจริยธรรม ให้มีจิตสานึกในด้านจริยธรรมอย่างแท้จริง ด้วยการ ๑.๑ คัดเลือกข้าราชการที่เป็นแบบอย่างที่ดีในด้านจริยธรรม เป็นที่ ยอมรับของคนในองค์กร ชุมชน และสังคม มาเป็นเครือข่ายจริยธรรม และวิทยากรค่าย จริยธรรมของหน่วยงาน ๑.๒ วางแผนและดาเนินการจัดค่ายจริยธรรมทุก ๓ เดือน เพื่อให้ ข้าราชการได้พัฒนาในด้านจริยธรรมอย่างเข้มข้น <date/time><footer>
  • 44. ๒. น้อมนาพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวในด้านจริยธรรมมาเป็นแนวทางในการปฏิบัติอย่างจริงจัง โดยเริ่มต้นที่ผู้บังคับ บัญชาสูงสุดของหน่วยงานก่อน หลังจากนั้น จึงขยายไปยังผู้ใต้บังคับบัญชา เพื่อนร่วมงาน ทีมงาน ด้วยการ สร้างเครือข่ายจริยธรรม และขยายผลไปยังผู้นากลุ่ม องค์กรชุมชน และเครือข่ายองค์กรชุมชนต่าง ๆ ๓. เผยแพร่ความคิดในด้านจริยธรรมในการประชุม สัมมนา ฝึกอบรม และจัดการความรู้ เพื่อกระตุ้นให้ข้าราชการทุกคนตระหนักและเห็น ความสาคัญของการมีจริยธรรม มีการตั้งปณิธาน และปฏิบัติตาม จรรยาข้าราชการอย่างจริงจัง <date/time><footer>
  • 45. ๔. เผยแพร่คาขวัญด้านจริยธรรมในสถานที่ทางาน ห้องประชุม เว็บไซต์ เพื่อให้ทุกคนตระหนักถึงความสาคัญของการมีจริยธรรม ๕ มอบรางวัลข้าราชการที่เป็นแบบอย่างในด้านจริยธรรมเดือนละ ๑ คน เพื่อเผยแพร่ทางสื่อมวลชน และเป็นต้นแบบในการพัฒนา จริยธรรม ๖. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการที่นับถือพระพุทธศาสนาเข้าวัด ปฏิบัติธรรมทุกวันพระหรือวันอาทิตย์ สัปดาห์ละครั้ง ๗. ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการที่นับถือศาสนาต่าง ๆ ปฏิบัติ ศาสนกิจตามหลักธรรมคาสอนในศาสนาที่ตนนับถือ สัปดาห์ละครั้ง <date/time><footer>
  • 46. ๘. ส่งเสริมและสนับสนุนข้าราชการที่มีจริยธรรมและมีความรู้ ความสามารถ ให้มีความก้าวหน้าในอาชีพราชการเป็นลาดับต้น ๆ ๙. สร้างภาพยนตร์สั้นเกี่ยวกับการพัฒนาจริยธรรมข้าราชการอย่าง ยั่งยืน เผยแพร่ทางโทรทัศน์เว็บไซต์ สัปดาห์ละครั้ง เพื่อให้สังคม ตื่นตัวและสนับสนุนให้ข้าราชการมีจริยธรรมอย่างจริงจัง
  • 47. การพัฒนาจริยธรรมข้าราชการอย่างยั่งยืนเป็นหน้าที่ของ ข้าราชการในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทุกคนที่จะต้องน้อมนา พระบรมราโชวาท และพระราชดารัสมาปฏิบัติ และดาเนินรอยตาม เบื้องพระยุคลบาทในด้านคุณธรรมจริยธรรมอย่างจริงจัง โดย ผู้บังคับบัญชาต้องประพฤติตนให้เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชา ควบคุมผู้อยู่ใต้บังคับบัญชาให้มีจริยธรรม และ ปฏิบัติตามประมวลจริยธรรมข้าราชการพลเรือน สนับสนุนส่งเสริม ผู้อยู่ใต้บังคับบัญชามีจริยธรรมและปฏิบัติตามประมวลจริยธรรม ข้าราชการพลเรือนอย่างจริงจัง <date/time><footer>
  • 48. หากข้าราชการทุกคนมีจริยธรรม สังคมไทยจะเป็น สังคมที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืนในทุกด้านเพราะ ข้าราชการที่มีจริยธรรมคือแบบอย่างที่ดีของ สังคมไทย และข้าราชการที่มีจริยธรรมคือรากฐาน สาคัญของการพัฒนา
  • 49. ค่านิยมหลัก ๑.การยึดมั่นและยืนหยัดในสิ่งที่ ถูกต้อง ๒.ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ ๓.การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใส และตรวจสอบได้ ๔.การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติ อย่างไม่เป็นธรรม ๕.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๖.การเป็นพลเมืองดีของประเทศ ๗.การดาเนินชีวิตโดยหลักเศรษฐกิจ พอเพียง จิตลักษณะและพฤติกรรมที่ต้องพัฒนา ๑.เหตุผลเชิงจริยธรรมและลักษณะมุ่งอนาคตควบคุมตน ๒.แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์เหตุผลเชิงจริยธรรมการควบคุมตน และ พฤติกรรมซื่อสัตย์ในงาน ๓.พฤติกรรมซื่อสัตย์ในงาน และการมุ่งอนาคตควบคุมตน ๔.ลักษณะมุ่งอนาคต ควบคุมตน เหตุผลเชิงจริยธรรม และ แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ ๕.แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์และพฤติกรรมมุ่งผลสัมฤทธิ์ ๖.เอกลักษณ์แห่งอีโก้ด้านชาตินิยม เหตุผลเชิง จริยธรรม พฤติกรรมประชาธิปไตย ๗.เหตุผลเชิงจริยธรรม ลักษณะมุ่งอนาคต ควบคุมตน พฤติกรรมการคิดเชิงเหตุผล
  • 51. สานักงาน กพ. ๑.ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ ๒.การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน ๓.การเคารพบุคคลและองค์กร ๔.การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่าง ไม่เป็นธรรม ๕.การยึดมั่นและยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง ๖.การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียง ๗.การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและ สามารถตรวจสอบได้ สานักงานผู้ตรวจการแผ่นดิน ๑. การยึดมั่นในคุณธรรมและจริยธรรม ๒. การมีจิตสานึกที่ดี ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบ ๓. การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทับซ้อน ๔. การยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง เป็นธรรม และถูกกฎหมาย ๕. การให้บริการแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอัธยาศัย และไม่เลือกปฏิบัติ ๖. การให้ข้อมูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริง ๗. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่งใส และตรวจสอบได้ ๘. การยึดมั่นในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็นประมุข ๙. การยึดมั่นในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
  • 52. ความซื่อสัตย์สุจริตและรับผิดชอบ การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน การเคารพบุคคลและองค์กร การปฏิบัติหน้าที่โดยไม่เลือกปฏิบัติอย่างไม่เป็นธรรม การยืดมั่นและยืนหยัดทาในสิ่งที่ถูกต้อง การดารงชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง การปฏิบัติหน้าที่ด้วยความโปร่งใสและสามารถตรวจสอบได้
  • 53.  บทความชื่อ“Economic Initiation, Democracy and Development”  การให้ความสาคัญกับการปฏิรูปเพื่อให้เกิดเสรีภาพที่แท้จริง ทางเศรษฐกิจและตามมาด้วยเสรีภาพทางการเมือง  เป็นสิ่งที่ส่งเสริมการสร้างธรรมาภิบาลและการลดการทุจริต คอรัปชั่นเพราะกลุ่มคนและบุคคลที่อาศัยสายสัมพันธ์ส่วนตัว กับนักการเมืองและข้าราชการมีโอกาสใช้อิทธิพลเพื่อสร้างระบบ ผูกขาดน้อยลง
  • 54. ความถูกต้อง (integrity) MinximPei พบว่า การเพิ่มขึ้นทางเสรีภาพทางการเมือง 1 หน่วย หรือ เสรีภาพทางเศรษฐกิจ 1 หน่วย มีผลโดยตรงที่ ทำให้เกิดธรรมำภิบำล ถึง 3 เท่ำ - ความสุจริต (honesty) - การไม่ยอมให้ผู้อื่นทาผิด
  • 55.  จากบทความ“ The International Framework and Economic Development”  พบว่าประเทศที่มีลักษณะเปิดทางการเมืองสูงหรือ มีความเป็นประชาธิปไตยมากจะสามารถเพิ่มรายได้ ประชาชาติต่อปีสูงถึงปีละ๒.๕๓%ในขณะที่ประเทศมี ระบบการเมืองปิดจะเพิ่มรายได้ประชาชาติต่อปีได้ เพียง๑.๔๑%
  • 56. 56 นักปรัชญาชาวกรีกให้คานิยาม“คุณธรรม” ว่า “คุณธรรมหมายถึงลักษณะที่ทาให้ปัจเจกบรรลุ ถึงหน้าที่ของตนในสังคม”
  • 57.  เพิ่งมีการใช้ในรายงานธนาคารโลกเมื่อปีค.ศ.1989  หมายถึง“การใช้อานาจในการบริการจัดการทรัยา กรทางเศรษฐกิจและสังคมเพื่อการพัฒนาของประเทศ หนึ่งๆ”  โครงสร้างการบริหารจัดการเศรษฐกิจและสังคมของ แต่ละประเทศจะก่อให้เกิดผลลัพธ์ที่ต่างกัน
  • 58.  ลักษณะการใช้อานาจในการบริหารจัดการทรัพยากรทางเศรษฐกิจและ สังคม เพื่อการพัฒนาประเทศ  หลักธรรมาภิบาลที่สาคัญประกอบด้วย ๔ ประการ •การบริหารจัดการภาครัฐ •การสร้างความรับผิดชอบ •การยึดหลักกฎหมายเป็นหลักในการพัฒนา •การแสดงถึงความโปร่งใส •การเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร
  • 59.  อธิบายว่า ธรรมาภิบาลเป็นเรื่องของการพัฒนาเศรษฐกิจ ของประเทศในระดับมหภาค •จะต้องมีความโปร่งใส •มีความรับผิดชอบ •มีการจัดสรรทรัพยากรอย่างมีประสิทธิภาพ •มีความชัดเจนแน่นอนในการกาหนดกติกา
  • 60. หลักความมีส่วนร่วมของผู้มีส่วน เกี่ยวข้อง หลักนิติธรรม หลักความมีประสิทธิผล หลักความเท่าเทียมและไม่เลือกปฏิบัติ หลักการตอบสนองที่เป็นธรรม หลักความโปร่งใส หลักความรับผิดชอบ หลักความสอดคล้องต่อส่วนรวม
  • 61. •สร้างระบบเศรษฐกิจแบบเสรีนิยมทั้งในด้านการค้าและกล ราคา •สร้างระบบความรับผิดชอบที่ชัดเจน •ระบบการคลังและงบประมาณต้องมีความโปร่งใสตรวจสอบได้ มีระบบบัญชี การตรวจสอบและรายงานผลที่เป็นมาตรฐาน เป็นที่ยอมรับของสากล •ขจัดปัญหาทุจริตและคอรัปชั่น •เพิ่มโอกาสให้คนจน/ผู้ด้อยโอกาสเข้ามาร้องเรียนตรวจสอบ การทางานของรัฐ
  • 62. 62  1993: U.S.-The Government Performance and Results Act (1993)  1994: U.S.-Government Management and Reform Act (1994)  1999: Canada-Results for Canadians  2001: U.S.-The President’s Management Agenda  2001: Japan-Government Policy Evaluation Act  2002: U.S. Sarbane-Oxley Act (Good Governance)  2002: France-La LoiOrganiqueRelative Aux Lois de France  2002: U.S.-Program Assessment and Rating Tool  2003: Thailand-Principle and Practice of Good Governance  2003: Singapore Net Economic Value  2004: U.K. Public Service Agreement
  • 63. ศ.ดร. ชัยอนันต์ สมุทวณิช ใช้ “ประชารัฐ” อ. อมรา พงษ์พิชญ์ ใช้ “ธรรมรัฐ” อนุกรรมการบัญญัติศัพท์ทางการบริหารของ ก.พ. ใช้ “สุประศาสนการ” มูลนิธิสถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) โดย ม.ร.ว.จัตุมงคล โสณกุล ใช้ “ธรรมาภิบาล”
  • 64. แนวคิดใหม่ใช้ในรายงานธนาคารโลกเมื่อปี ๑๙๘๙ ประเทศไทยนามาใช้หลังมีรัฐธรรมนูญ พ.ศ.๒๕๔๐ หลังวิกฤตทางเศรษฐกิจและสังคมในปี ๒๕๔๐ กองทุนการเงินระหว่างประเทศให้รัฐบาลให้คามั่นว่าต้องสร้าง Good Governance ให้เกิดขึ้น
  • 65. มีองค์ประกอบ๒ส่วน •ส่วนแรกเป็นการจัดสรรอานาจเพื่อสั่งการให้มีการใช้ ทรัพยากรทางเศรษฐกิจและสังคมให้เกิดผลตามที่ ต้องการ •ส่วนที่สองคือโครงสร้างทางวัฒนธรรมระบบคุณค่าของ สังคมที่เป็นเครื่องกาหนดพฤติกรรมของบุคคลทาง การเมืองเศรษฐกิจและสังคม
  • 66.  ในปี 2529 ให้ความหมาย governance ว่า การกระทา หรือกระบวนการในการดาเนินการปกครอง ที่เน้นแนวทาง ในการใช้อานาจหน้าที่และการควบคุม
  • 67.  ทางรัฐศาสตร์ มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกว่า Kybernatas  ภาษาลาติน หมายถึง Gubernator การกากับทิศทาง การนา ทาง การสั่งการ เพื่อดาเนินการให้ถูกทิศทางอย่างราบรื่น เพื่อ ประโยชน์ของปัจเจกบุคคลหรือส่วนรวม
  • 68.  เป็นลักษณะของการใช้อานาจทางการเมือง เพื่อจัดการทรัพยากร ทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ ให้มีธรรมาภิบาลในการฟื้นฟู เศรษฐกิจของประเทศ ให้รัฐบาลสามารถบริการอย่างมี ประสิทธิภาพ มีระบบที่ยุติธรรม ฝ่ายนิติบัญญัติและสื่อมวลชนที่มี ความโปร่งใส รับผิดชอบและตรวจสอบได้  เป็นผลลัพธ์ที่บุคคลหรือสถาบันจัดกิจกรรม ทั้งรัฐและเอกชนมี ผลประโยชน์ร่วมกัน เป็นกระบวนการอย่างต่อเนื่อง นาไปสู่การ ผสมผสานประโยชน์ที่หลากหลาย มุ่งความดีงาม และเกิดประโยชน์ สูงสุดแก่รัฐ และประชนอย่างทั่วถึงและยุติธรรม
  • 69. 69  การมีส่วนร่วมของประชาชนและสังคมอย่างเท่าเทียมกัน และ มีคาตอบพร้อมเหตุผลที่สามารถชี้แจงได้ ธรรมาภิบาลจึงมี ความสาคัญต่อการอยู่ร่วมกันของมนุษย์ เพราะเป็นหลักการ พื้นฐานในการสร้างความเป็นอยู่ของคนในสังคมทุกประเทศ ให้มีการพัฒนาที่เท่าเทียมกันและมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น การ ดาเนินการนี้ต้องเกิดจากความร่วมมือระหว่างภาครัฐและ เอกชน เพื่อกระจายอานาจให้เกิดความโปร่งใส
  • 70. 'ธรรมาภิบาล' เพื่อปวงชนของแผ่นดินที่มีในหลวงทรงเป็น ศูนย์รวมจิตใจคนไทย  พระจริยวัตรอันงดงาม และการครองพระองค์ในฐานะทรง เป็นพระประมุข  บริษัทเรียกว่า บรรษัทภิบาลในองค์กร  การเมือง เรียกว่า„รัฐาภิบาล‟
  • 71.  การรักษาความสัจ ความจริงใจต่อตนเองที่จะปฎิบัติแต่สิ่งที่เป็น ประโยชน์และเป็นธรรม  การรู้จักข่มใจตนเอง ฝึกใจตนเองไม่ให้ประพฤติล่วงความสุจริต ไม่ว่าจะ ด้วยเหตุประการใด  การอดทนอดกลั้นและอดออมที่จะไม่ประพฤติล่วงความสุจริตไม่ว่าจะ ด้วยเหตุประการใด  การรู้จักละวางความชั่ว ความทุจริต และรู้จักสละประโยชน์ส่วนน้อยของ ตนเพื่อประโยชน์ส่วนใใหญ่ของบ้านเมือง
  • 72. ในยามวิกฤตต้องคิดพึ่งตนเองก่อน เทวดาจะช่วยเฉพาะผู้ที่ช่วย ตนเองก่อนเท่านั้น การที่จะประสบความสาเร็จได้ ต้องมีความเพียรอันบริสุทธิ เศรษฐกิจที่มั่นคงมาจากการอนุรักษ์และเพิ่มพูนทรัพยากรเท่านั้น ประเทศจะพัฒนาได้ ต้องปฎิรูปการเรียนรู้ของมนุษย์ให้หลุดพ้นจาก อวิชชา
  • 73. ทรง มีพระจริยธรรม เมตตาธรรม ทรงห่วงใย พสกนิกร แม้ ต้องทรงเผชิญกับความยากลาบากในถิ่น ทุรกันดาร โดยพระอิสริยยศแล้ว พระองค์ทรง มีอานาจมาก แต่สิ่ง หลอมรวมให้คนไทยทุกหมู่เหล่า จงรักภักดี เคารพเทิดทูน พระองค์ยิ่งชีวิตตัวเอง นั่นคือ พระบารมี สะท้อนถึงคุณลักษณะทางบุคคลของพระองค์ ซึ่งกอปรไป ด้วยพระปรีชาญาณและพระจริยวัตรอันงดงาม
  • 74.  ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด  ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส  แนวคิดเศรษฐกิจแบบพอเพียง ในหลวงทรงแนะนาและ ปฏิบัติให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร  ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุข ไม่ใช่จะต้องเป็นสังคมที่มีเงิน มากๆ  ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงใน ชีวิตความเป็นอยู่
  • 75. ๑.ทาน ได้แก่ การให้ทาน ๒.ศีล ได้แก่ การรักษาศีล การมีศีล ๓.ปริจาคะ ได้แก่ การบริจาค และการเสียสละประโยชน์ส่วนตน ๔.อาชชวะ ได้แก่ ความซื่อตรง ความจริงใจ ความเที่ยงธรรม ๕.มัททวะ ได้แก่ ความสุภาพ อ่อนโยน ๖.ตบะ ได้แก่ ความเพียร ๗.อโกธะ ได้แก่ การระงับความโกรธ ๘.อวิหิงสา ได้แก่ ความไม่เบียดเบียน ๙.ขันติ ได้แก่ ความอดทน ๑๐.อวิโรธนะ ได้แก่ การหนักแน่นในธรรมและความถูกต้อง
  • 76.  พระองค์ปรารถนาสิ่งใดก็ได้ แต่พระองค์กลับไม่ได้ใช้อภิสิทธิ์ตรง นั้น  ทรงมีพระจริยวัตรที่เรียบง่าย สมถะ ซึ่งถือเป็นการสอนพสกนิกร ของพระองค์อย่างดีที่สุด  ไม่เคยมีกฎหมายบัญญัติไว้ว่า เป็นพระมหากษัตริย์แล้วต้อง เสียสละพระองค์ ถึงเพียงนี้ เราจะปกครองแผ่นดินโดยธรรมเพื่อประโยชน์สุขแห่งมหาชนชาว สยาม” หรือการดารงพระองค์ปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมก็ ตาม ในฐานะพระประมุขประกาศออกมาแล้ว ถ้าไม่ทาตามสิ่ง เหล่านั้น พระองค์ก็สามารถทาได้ แต่สาหรับพระองค์ทรงเลือกที่จะ ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์อย่างเข้มงวดเรื่อยมา
  • 77. ทรงปฏิบัติตามหลักทศพิธราชธรรมอย่างเคร่งครัด พระองค์ทรงเป็นต้นแบบต่อพระโอรส ตัวอย่างเรื่องแนวคิด เศรษฐกิจแบบพอเพียง สิ่งที่ในหลวงทรง แนะนาและปฏิบัติพระองค์ให้เป็นแบบอย่างต่อพสกนิกร ชี้ให้เห็นว่า สังคมที่มีความสุขนั้น ไม่ได้แปลว่า จะต้องเป็นสังคมที่มั่งคั่งที่สุด หรือมีเงินมากๆ ความสุขของสังคมเกิดจากความมีเสถียรภาพ มั่นคงในชีวิตความ เป็นอยู่ พระองค์ทรงเตือนสติให้พวกเรารู้ว่า เงินทองไม่ใช่สิ่งสาคัญที่สุด การที่รวยล้นฟ้าก็ใช่ว่าเราจะไม่มีปัญหา
  • 78. การมีส่วนร่วมของสังคม (participation) ความโปร่งใสของกระบวนการตัดสินใจ (transparency) ความรับผิดชอบที่ต้องตอบคาถาม(accountability) และถูก วิจารณ์ได้
  • 79. 79 หลักธรรมาภิบาล8หลักการ การมีส่วนร่วม(participatory) นิติธรรม(ruleoflaw) ความโปร่งใส(transparency) การตอบสนองตรงเป้าหมาย(responsiveness) ความสอดคล้อง(consensusoriented) ความเสมอภาค(equityandinclusiveness) การมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล(effectivenessandefficiency) ความรับผิดชอบ(accountability) (Whatisgoodgovernance:http://www.unescap.org/)
  • 80. ธรรมมาภิบาลเป็นทั้งหลักการและเครื่องมือที่จะช่วยพัฒนาสังคมให้ มีคุณภาพและประสิทธิภาพโดยยึดหลัก ๖ ประการ เพื่อสร้างความเชื่อถือ เชื่อมั่นและให้เกิดการไว้วางใจ ธรรมรัฐ คือการจัดการที่ดี ธรรมะคือคุณความดี ความยุติธรรมและความถูกต้องตาม กฎเกณฑ์ของสังคม การอภิบาลคือการบารุงรักษา เป็นวิถีการปกป้องคุณความดีให้คง อยู่ในทุกๆส่วนหลักการนี้ใช้ทั้ง รัฐ เอกชน ชุมชนกระบวนการทา ให้เกิดคิดดี วางแผนดี ปฏิบัติดี ได้ผลดี มีระบบประเมินผลดี เป็น การดูแลรักษาความดี
  • 81. 81พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ.๒๕๔๖ประเมินผลการปฏิบัติ ราชการอย่างสม่าเสมอผลสัมฤทธิ์ต่อ ภารกิจของรัฐ ประชาชนได้รับ ความสะดวก ตอบสนองความต้องการ ปรับปรุงภารกิจของส่วนราชการ ให้ทันต่อสถานการณ์ มีประสิทธิภาพ และเกิดความคุ้มค่า ในเชิงภารกิจของรัฐ ไม่มีขั้นตอนการปฏิบัติงาน เกินความจาเป็น เกิดประโยชน์สุข ของประชาชน ม.๗ – ม.๘ ม.๒๐ – ม.๒๖ ม.๙ – ม.๑๙ ม.๒๗ – ม.๓๒ ม.๓๓ – ม.๓๖ ม.๓๗ – ม.๔๔ ม.๔๕ – ม.๔๙กพร.
  • 82. 1. การมีระบบการเมืองที่มีประสิทธิภาพในการจัดการที่ทาให้ระบบ เศรษฐกิจของประเทศมีความมั่นคง 2. การมีประสิทธิผลในการดาเนินงานของภาครัฐ เพื่อผลประโยชน์ สาธารณะ(public interest) 3. การมีความชอบธรรมทางการเมืองภายใต้กรอบของหลักนิติธรรม (rule of law) 4. การมีประสิทธิผลของการบริหารภาครัฐ 5. การมีความร่วมมือของภาครัฐกับภาคประชาสังคม
  • 83. มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล มีความโปร่งใส ไม่มีคอร์รัปชั่นหรือผลประโยชน์ ทับซ้อน มีความยุติธรรมอย่างทั่วถึง ประชาชนมีส่วนร่วมอย่างทั่วถึง
  • 84. 84 นาค่านิยมขององค์กรมาใช้ปฏิบัติ ผู้บริหารองค์กรประพฤติตนเป็นตัวอย่างที่ดี ผู้บริหารตัดสินและวินิจฉัยอย่างโปร่งใสและเปิดเผย บริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ ผู้บริหารทาตัวเป็นตัวอย่างในการให้บริการแก่ประชาชน ทุกชนชั้นอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
  • 85. 85 การตัดสินใจทุกครั้ง ต้องกระทาอย่างโปร่งใสและยุติธรรม ใช้ข้อมูลที่ดี รวมทั้งคาแนะนาและการสนับสนุน ต้องมั่นใจว่ามีระบบบริหารความเสี่ยงที่มีประสิทธิภาพอยู่ใน ระบบการทางาน ต้องมีระบบตรวจสอบการทางานทุกอย่าง เพื่อให้แน่ใจว่า ทุกอย่างดาเนินไปตามแผนการทางาน มีการตรวจสอบความถูกต้องของรายงานบัญชีการเงิน รวมทั้งข้อมูลต่างๆ ที่ผลิตโดยองค์กร
  • 86. 86 ต้องมั่นใจว่าผู้ที่ได้เลื่อนตาแหน่งขึ้นมาเป็นผู้บริหารจัดการนั้น มีทักษะ ความรู้ และประสบการณ์ที่จาเป็นต้องใช้ในหน้าที่นั้นๆ พัฒนาความสามารถของผู้ที่ทาหน้าที่ในส่วนบริหาร รวมทั้งมีการ ประเมินผลงาน ไม่ว่าจะเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มก็ได้ มีความเชื่อมโยงในการทดแทนบุคลากรในสายบริหารจัดการ เพื่อความ ต่อเนื่องในการปฏิบัติงานขององค์กร ผู้บริหารจัดการจะต้องมีความรับผิดชอบในผลงาน โดยการประเมินผล งานเป็นระยะๆ ทั้งนี้รวมทั้งการประเมินความต้องการในการฝึกอบรม หรือการพัฒนาทักษะที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติหน้าที่
  • 87. 87 ต้องมีความเข้าใจถึงขอบเขตของความรับผิดชอบ ริเริ่มการวางแผนที่จะติดต่อกับประชาชน เพื่อให้ทราบถึงหน้าที่และ ความรับผิดชอบในผลงานของตน ริเริ่มการแสดงออกถึงความรับผิดชอบต่อบุคลากรภายในองค์กร ประสานงานกับหน่วยเหนือ หรือผู้บังคับบัญชาอย่างใกล้ชิด
  • 88. ธรรมาภิบาล หลักความ รับผิดชอบ หลักความ คุ้มค่า หลักนิติธรรม หลักการมี ส่วนร่วม หลักคุณธรรม หลักความ โปร่งใส
  • 89. กฎหมาย ระเบียบ ประมวลจริยธรรม การปฏิบัติงานที่เป็นเลิศ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบ ตอบสนองต่อความต้องการ มีความโปร่งใส สร้างการมีส่วนร่วม โครงสร้างและวิธีการ ความสมดุลและเป็นธรรมความ สุจริต ความมีประสิทธิภาพ/ผล สภาพแวดล้อม เป้าหมาย
  • 90.
  • 91. เป็นหลักการพื้นฐานในการสร้างความเป็นธรรมในสังคม ถ้ามีธรรมาภิบาลในทุกระดับจะทาให้เกิดการพัฒนาที่ยั่งยืนโดย มีคนเป็นศูนย์กลางที่แท้จริง ธรรมาภิบาล ช่วยลด บรรเทา หรือแก้ปัญหาความขัดแย้งใน องค์กร ธรรมาภิบาลจะช่วยให้สังคมมีความเข้มแข็งในทุกด้านทั้งทาง คุณค่าและจิตสานึกทางสังคม ธรรมาภิบาลจะช่วยลดปัญหาการฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นแนวคิดที่เกื้อหนุนสังคมประชาธิปไตยจะทาให้ประชาชนมี ส่วนร่วมในการตัดสินใจและมีการตรวจสอบการทางาน
  • 92. หลักนิติธรรม หลักความคุ้มค่า หลักธรรมาภิบาล 6 ประการ หลักคุณธรรม หลักความโปร่งใส่หลักความ รับผิดชอบ หลักความ มีส่วนร่วม
  • 94. Company Logowww.themegallery.com  การสรรหาและการแต่งตั้งคณะทางาน  การสร้างความเข้าใจร่วมกัน  จัดทาหลักสูตรฝึกอบรมบุคลากรทางการศึกษาให้จัดการศึกษา ตาม หลักธรรมาภิบาล  เชิดชูเกียรติผู้ปฏิบัติตามหลักธรรมาภิบาล  ผู้บริหารใช้เทคนิคการบริหารองค์กรรูปแบบใหม่ในการพัฒนา สถานศึกษา  เน้นหลักปฏิบัติของผู้บริหารในฐานะต้นแบบ