SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
สิทธิมนุษยชนตาม
รัฐธรรมนูญ
*คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
*สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ ประกอบด้วยประธานกรรมการ1คนและ
กรรมการอื่นอีก6คนที่พระมหากษัตริย์แต่งตั้งตามคาแนะนาของวุฒิสภา
ประธานกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติคนปัจจุบัน
คือศาสตราจารย์อมรา พงศาพิชญ์
บทบัญญัติมาตรา257ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
พุทธศักราช2550กาหนดให้คณะกรรมการสิทธิมนุษยชน
แห่งชาติมีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน
ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ การวิจัย ความร่วมมือ และการประสานงานระหว่าง
หน่วยราชการ องค์กรเอกชน และองค์กรอื่นในด้านสิทธิมนุษยชน
ให้การคุ้มครองและดาเนินการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เสนอแนะนโยบาย การปรับปรุงกฎหมาย และมาตรการต่างๆแก่รัฐสภา รัฐบาล
และหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้เกิดการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ
มีอานาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
การคุ้มครองและการตรวจสอบ
การละเมิดสิทธิมนุษยชน
มีวิธีการและขั้นตอนดังนี้
ผู้ถูกละเมิด
คณะกรรมการสิทธิ
มนุษยชนแห่งชาติ
ร้องเรียน
อยู่ในอานาจ ไม่อยู่ในอานาจ
แจ้งให้ผู้ร้องหรือผู้ส่งเรื่องทราบ
หรือส่งไปยังหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หากไม่รับ
เพื่อแก้ปัญหาการละเมิด
สิทธิมนุษยชนเป็นส่วนรวม
นอกจากนั้นยังเสนอเรื่องต่อศาล
รัฐธรรมนูญ และศาลปกครอง และ
ฟ้องคดีแทนผู้เสียหายต่อศาลยุติธรรม
ให้หน่วยงานนั้นชี้แจ้ง
ข้อเท็จจริง
ตรวจสอบและดาเนินการไกล่เกลี่ย
สิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มี
บทบัญญัติที่ให้การรับรองและคุ้มครองใน
เรื่องสิทธิและเสรีภาพของประชาชนชาวไทย
ไว้ 13 ส่วน โดยมีสาระสาคัญดังนี้
การใช้อานาจรัฐเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพโดยองค์กรต้องคานึงถึงศักดิ์ศรีความเป็น
มนุษย์ สิทธิและเสรีภาพตามรัฐธรรมนูญกาหนด
ความผูกพันของสิทธิและเสรีภาพ คาวินิจฉัยของศาลรัฐธรรมนูญจะได้รับความ
คุ้มครองและผูกพันรัฐสภาคณะรัฐมนตรี ศาล
การอ้างสิทธิและเสรีภาพ ไม่ละเมิดสิทธิเสรีภาพขอผู้อื่น ไม่เป็นปฏิปักษ์ต่อ
รัฐธรรมนูญหรือไม่ขัดต่อศีลธรรมอันดี
การจากัดสิทธิและเสรีภาพการจากัดสิทธิและเสรีภาพนั้นต้องมีผลเป็นการทั่วไปไม่
เฉพาะเจาะจงแก่กรณีใดกรณีหนึ่ง
*ความเสมอภาคและห้ามเลือกปฏิบัติ บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและ
ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน
*ความเสมอภาคในสิทธิและเสรีภาพของบุคคลผู้ทางานให้รัฐ
*ในชีวิตและร่างกาย
*ในเคหสถาน
*ในการเดินทางและการเลือกถิ่นที่อยู่
*ในครอบครัวเกียรติยศชื่อเสียง
และความเป็นอยู่ส่วนตัว
*ในการสื่อสาร
*ในการนับถือศาสนา
สิทธิที่จะไม่ถูกบังคับใช้กฎหมายอาญาย้อนหลังบุคคลไม่ต้องรับโทษอาญาเว้นแต่ได้
กระทาความผิดขณะที่กฎหมายนั้นกาหนดโทษไว้
สิทธิที่จะได้รับการสันนิษฐานว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ หากต้องสันนิษฐานว่าเป็นผู้ต้องหาหรือ
จาเลยไม่มีความผิดหากคาพิพากษายังไม่ถึงที่ส้นสุดจะกระทากับผู้นั้นเหมือนผู้กระทา
ความผิดไม่ได้
สิทธิในกระบวนการยุติธรรม สิทธิในการเข้าถึงกระบวนการยุติธรรมการคุ้มครองและ
ช่วยเหลือ
*สิทธิในทรัพย์สินสิทธิของบุคคลในทรัพย์สินและการสืบทอดมรดกย่อม
ได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
*สิทธิในการเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
*เสรีภาพในการประกอบอาชีพบุคคลมีสิทธิในการประกอบอาชีพและแข่งขันกัน
ได้โดยเสรีอย่างเป็นธรรม
*สิทธิได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทางาน
เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นบุคคลมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นทั้งการพูดการ
เขียนการโฆษณาและวิธีอื่น
เสรีภาพในการเสนอข่าวกิจการเสนอข่าวมีเสรีภาพในการนาเสนอข่าวและแสดงความ
คิดเห็นแต่ต้องไม่ขัดกับรัฐธรรมนูญและจริยธรรมในวิชาชีพ
สิทธิในการดาเนินการสื่อมวลชนที่เป็นสาธารณะได้
การห้ามผู้ดารงตาแหน่งทางการเมือง เป็นเจ้าหรือถือหุ้นในกิจการสื่อสารมวลชนทั้งใน
นามของตนเองและผู้อื่น
สิทธิเสมอกันในการรับการศึกษาคนไทย
ทุกคนมีสิทธิเสมอกันในการได้รับการศึกษา
ไม่น้อยกว่า12ปี โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย
เสรีภาพในทางวิชาการคนไทยทุกคนมี
เสรีภาพในทางวิชาการการศึกษาอบรมการ
เรียนการสอนวิจัยและการเผยแพร่ผลงาน
แต่ต้องไม่ขัดต่อหน้าที่และศีลธรรมอันดี
สิทธิในการรับบริการทาง
สาธารณสุข
สิทธิเด็ก เยาวชน สตรี และ
บุคคลในครอบครัว
 สิทธิของผู้สูงอายุ
 สิทธิของผู้พิการหรือทุพพลภาพ
 สิทธิของผู้ไร้ที่อยู่อาศัย
*สิทธิได้รับทราบและเข้าถึงข้อมูลหรือข่าวสารสาธารณะ
*สิทธิในการได้รับข้อมูลจากหน่วยงานรัฐก่อนอนุญาตหรือดาเนินการโครงการ
*สิทธิในการมีส่วนร่วมในกระบวนการพิจารณาของเจ้าหน้าที่ของรัฐ
*สิทธิในการเสนอเรื่องราวร้องทุกข์
*สิทธิในการฟ้องหน่วยงานรัฐ
*สิทธิของผู้บริโภค
*สิทธิในการตรวจสอบการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่รัฐ
เสรีภาพในการชุมชุนโดยสงบ และปราศจากอาวุธการจากัดสิทธิและ
เสรีภาพจะทาไม่ได้เว้นแต่มีกฎหมายไว้เป็นเฉพาะกาล
สิทธิในการรวมตัวเป็นสมาคม สหภาพ สหพันธ์ สหกรณ์ กลุ่ม
เกษตรกร องค์กรเอกชน หรือหมู่คณะอื่นๆ
เสรีภาพในการตั้งพรรคการเมือง บุคคลมีเสรีภาพที่ตะรวมตัวกันจัดตั้ง
พรรคการเมือง
*สิทธิของบุคคลที่รวมกันเป็นชุมชน บุคคลมีสิทธิที่จะอนุรักษ์และฟื้นฟูจารีต
ประเพณี ภูมิปัญญา ศิลปวัฒนธรรม และมีส่วนร่วมในการจัดการ บารุงรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและความหลากหลายทางชีวภาพ
*สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชน
*ห้ามบุคคลกระทาการล้มล้างระบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย
*การคุ้มครองบุคคลผู้ต่อต้านการล้มล้างระบบการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย

More Related Content

Similar to Human2.1

พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
Poramate Minsiri
 
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
thnaporn999
 

Similar to Human2.1 (11)

ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
 
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากลพัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
พัฒนาการของสิทธิมนุษยชนสากล
 
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา  สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
สิทธิมนุษยชนกับศาสนา
 
ข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมืองข้าราชการกับการเมือง
ข้าราชการกับการเมือง
 
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมพระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
พระราชบัญญัติ ส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชนหน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
หน้าที่ สิทธิ เสรีภาพ และสิทธิมนุษยชน
 
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไปข้อสอบความรู้ทั่วไป
ข้อสอบความรู้ทั่วไป
 
Human rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial processHuman rights in the the judicial process
Human rights in the the judicial process
 
กฎหมาย
กฎหมายกฎหมาย
กฎหมาย
 
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
ฐานะและอำนาจของกษัตริย์
 

Human2.1