SlideShare a Scribd company logo
ใบความรูที่ 9
                                                      
                              เครื่องหมายและการดําเนินการในภาษา C
        การดําเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู 3 ประเภท คือ การคํานวณทางคณิตศาสตร การ
ดําเนินการทางตรรกศาสตร และการเปรียบเทียบ ซึ่งการดําเนินการแตละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ตองใชเพื่อ
เขียนคําสั่งสําหรับการดําเนินการประเภทนั้น ๆ ดังรายละเอียด
เครื่องหมายการคํานวณทางคณิตศาสตร
   เครื่องหมายที่ใชสําหรับการคํานวณทางคณิตศาสตรใชภาษา C สรุปดังนี้
    เครื่องหมาย               ความหมาย                                      ตัวอยาง
         +                        บวก                     3+2 การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ไดผลลัพธคือ 5
          -                        ลบ                     3 - 2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ไดผลลัพธคือ 1
          *                        คูณ                    2*3 การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ไดผลลัพธคือ 6
          /                        หาร                    15/2 การหาร 15 หารกับ 2 ไดผลลัพธคือ 7
                                                          15%2การหารเอาเศษ 15 หารกับ 2 ไดผลลัพธ
         %                     หารเอาเศษ
                                                          คือ 1
                                                     b=a++;
                                                     จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้
                  เพิ่มคาขึน 1 โดย
                            ้                        b=a;
                  a++ จะนําคาของ a ไปใชกอนแลวจึง a=a+1;
                  เพิ่มคาของ a ขึ้น 1
         ++

                  ++a จะเพิมคาของ a ขึ้น 1 กอนแลวจึง b=++a;
                            ่
                  นําคาของ a ไปใช                     จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้
                                                        a=a+1;
                                                        b=a;
                  ลดคา 1 โดย                             b=a--;
                  a-- จะนําคาของ a ไปใชกอน แลวจึง     จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้
                  ลดคาของ a ลง 1                         b=a;
         --
                                                          a=a-1;

                  --a จะลดคาของ a ลง 1 กอน แลวจึง b=--a;

                                         - เครื่องหมายและการคํานวณ -
-89-
                   นําคาของ a ไปใช                            จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้
                                                                a=a-1;
                                                                b=a;


ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ
    ใชเปรียบเทียบคา 2 คาเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใชในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กําหนด
การเปรียบเทียบโดยการเทากันของ 2 คาจะใชเครื่องหมาย ==
              เครื่องหมาย        ความหมาย                                   ตัวอยาง
                  >                มากกวา              a > b a มากกวา b
                  >=          มากกวาหรือเทากับ        a >= b a มากกวาหรือเทากับ b
                  <                นอยกวา             a < b a นอยกวา b
                  <=          นอยกวาหรือเทากับ       a <= b a นอยกวาหรือเทากับ b
                  ==                เทากับ             a == b a เทากับ b
                  !=              ไมเทากับ            a != b a ไมเทากับ b


ตัวดําเนินการตรรกะ
       การดําเนินการเปรียบเทียบคาทางตรรกะ( และ หรือ ไม)
     เครื่องหมาย ความหมาย                                            ตัวอยาง
        &&             และ       x < 60 && x > 50 กําหนดให x มีคาในชวง 50 ถึง 60
                                 x == 10 || x == 15 กําหนดให x มีคาเทากับตัวเลข 2 คา คือ 10 หรือ
         ||            หรือ
                                 15
          !            ไม       x = 10 !x กําหนดให x ไมเทากับ 10




                                              - เครื่องหมายและการคํานวณ -
-90-
การเขียนนิพจนในภาษา C
  นิพจนในภาษา C ก็คือ การนําขอมูลและตัวแปรในภาษา C มาดําเนินการดวยเครื่องหมายทาง
คณิตศาสตร ตรรกศาสตร หรือเครื่องหมายเปรียบเทียบในภาษา C เปนตัวสังงาน ดังตัวอยาง
                                                                  ่




                                                          Z

ลําดับความสําคัญของเครื่องหมาย
        สวนใหญนิพจนที่เขียนขึ้นในโปรแกรมมักจะซับซอน มีการดําเนินการหลายอยางปะปนอยูภายในนิพจน
เดียวกัน
                 ลําดับความสําคัญ              ลําดับความสําคัญจากสูงไปต่ํา
                         1                                      ()
                         2                                    !,++,- -
                         3                                     *,/,%
                         4                                      +,-
                         5                                <,<=,>,>=
                         6                                    = =,!=
                         7                                      &&
                         8                                       ||
                         9                              *=,/=,%=,+=,-=




                                      - เครื่องหมายและการคํานวณ -
-91-
ตัวอยางการทํางานของโอเปอเรเตอร
จงหาคาของนิพจน 8 + 7 * 6

วิธีทา
     ํ
1. ใหสังเกตทีตัวโอเปอเรเตอรกอนเสมอวามีโอเปอเรเตอรอะไรบาง ในทีนี้มี + และ *
               ่                                                   ่
2. ทําการไลลําดับความสําคัญของโอเปอเรเตอรทั้งหมดเปรียบเทียบกัน จากตัวทีมลาดับความสําคัญสูงสุดไปยัง
                                                                             ่ ี ํ
ตัวที่มีลาดับสําคับต่ําสุด
         ํ
                       ลําดับความสําคัญจากสูงไปต่ํา                   โอเปอเรเตอร
                                                                           *
                                                                           +
3. จากขอ 2 จะไดลําดับการทํางานเปนดังนี้
   ขั้นที่ 1 7 * 6 = 42
   ขั้นที่ 2 8 + คาที่ไดจากขั้นที่ 1
              = 8 + 42
                   = 50
ดังนั้น        8 + 7 * 6 = 50




                                        - เครื่องหมายและการคํานวณ -
-92-
จงหานิพจนตอไปนี้
                                   x*y - 20%z
                     1)   x*y
                     2)   20%z
                     3)   1) - 2)
                              (a - b)*10/c && d + 5
                     1)   a-b
                     2)   1)*10
                     3)   2)/c
                     4)   d+5
                     5)   3) && 4)
                           (a + b) * 4 = = c%d(e+10)
                     1)   a+b
                     2)   e + 10
                     3)   1) * 4
                     4)   d * 2)
                     5)   c %4)
                     6)   3) = = 5)




                                        ภาษา C




                            - เครื่องหมายและการคํานวณ -

More Related Content

What's hot

สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวkroojaja
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
tassanee chaicharoen
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าkanjana2536
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
P'kob Nong'kob
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
Tum Anucha
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6teerachon
 
แบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียนแบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียนIct Krutao
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
Prachyanun Nilsook
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ทับทิม เจริญตา
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
Kruthai Kidsdee
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนkrupornpana55
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี starkrurutsamee
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
Inmylove Nupad
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
Preeyapat Lengrabam
 

What's hot (20)

89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
89 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่2_ปัญหาการวางตัวเบี้ยบนตารางจัตุรัส
 
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการแผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
แผนจัดการเรียนรู้เรื่องอาหารและโภชนาการ
 
ใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่าใบงานประมาณค่า
ใบงานประมาณค่า
 
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษาแนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
แนวข้อสอบเอกประถมศึกษา
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 13 การบวก ลบ คูณ หาร เศษส่วน
 
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสองแบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
แบบฝีกเรื่อง สมการกำลังสอง
 
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
แบบทดสอบ ดนตรี ม.6
 
แบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียนแบบสังเกตุชั้นเรียน
แบบสังเกตุชั้นเรียน
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแผน  บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
แผน บูรณาการหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
การประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
4. กลวิธี star
4. กลวิธี star4. กลวิธี star
4. กลวิธี star
 
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุสมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
สมุดบันทึกสุขภาพผู้สูงอายุ
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
ลักษณะภูมิอากาศของทวีปยุโรป96 2.4
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมีเล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
เล่ม 3 มวลกับการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 

Viewers also liked

คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมumaraporn
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
Warawut
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
Komkai Pawuttanon
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Komkai Pawuttanon
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
Visaitus Palasak
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
Naowarat Jaikaroon
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 

Viewers also liked (13)

คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุม
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
บทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปรบทที่ 2 ตัวแปร
บทที่ 2 ตัวแปร
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 

Similar to เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์เทวัญ ภูพานทอง
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
korn27122540
 
คำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
คำตอบของระบบสมการเชิงเส้นคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
คำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
Chokchai Puatanachokchai
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
PumPui Oranuch
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
Wittaya Kaewchat
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริงPiyanouch Suwong
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
วรรณิภา ไกรสุข
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ing Gnii
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
Jirathorn Buenglee
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละfern1707
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการkrusongkran
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
วรรณิภา ไกรสุข
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1krutew Sudarat
 

Similar to เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี (20)

ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
ตัวดำเนินการทางคณิตศาสตร์
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
Real content
Real contentReal content
Real content
 
นิพจน์
นิพจน์นิพจน์
นิพจน์
 
Realnumbers
RealnumbersRealnumbers
Realnumbers
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
คำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
คำตอบของระบบสมการเชิงเส้นคำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
คำตอบของระบบสมการเชิงเส้น
 
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
บทที่ 1.ทบทวนคณิตศาสตร์
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
php
phpphp
php
 
จำนวนจริง
จำนวนจริงจำนวนจริง
จำนวนจริง
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็มแผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
แผน 4 นวัตกรรม บูรณาการเรื่องสมบัติของจำนวนเต็ม
 
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละหน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
หน่วยที่1อัตราส่วนสัดส่วนและร้อยละ
 
อสมการ
อสมการอสมการ
อสมการ
 
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3  เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
เรื่อง บทเรียนสำเร็จรูปเรื่อง อสมการ ม.3
 
การสร้างแบบสอบถาม
 การสร้างแบบสอบถาม การสร้างแบบสอบถาม
การสร้างแบบสอบถาม
 
สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1สรุปสูตร ม.1
สรุปสูตร ม.1
 
ระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริงระบบจำนวนจริง
ระบบจำนวนจริง
 

More from เทวัญ ภูพานทอง

คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
เทวัญ ภูพานทอง
 
คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
เทวัญ ภูพานทอง
 
คู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plickerคู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plicker
เทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูงการสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
เทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
เทวัญ ภูพานทอง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
เทวัญ ภูพานทอง
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
เทวัญ ภูพานทอง
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เทวัญ ภูพานทอง
 
ประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engineประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engine
เทวัญ ภูพานทอง
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
เทวัญ ภูพานทอง
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
เทวัญ ภูพานทอง
 
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorerการค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
เทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เทวัญ ภูพานทอง
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
เทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
เทวัญ ภูพานทอง
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เทวัญ ภูพานทอง
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
เทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
เทวัญ ภูพานทอง
 

More from เทวัญ ภูพานทอง (20)

คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahootคู่มือการใช้งาน Kahoot
คู่มือการใช้งาน Kahoot
 
คู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plickerคู่มือการใช้งาน Plicker
คู่มือการใช้งาน Plicker
 
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูงการสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
การสืบค้นข้อมูลชั้นสูง
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพการสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
การสืบค้นข้อมูลประเภทรูปภาพ
 
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความการสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
การสืบค้นข้อมูลประเภทข้อความ
 
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูลกลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
กลยุทธ์การสืบค้นข้อมูล
 
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)เครื่องมือค้นหา (Search engine)
เครื่องมือค้นหา (Search engine)
 
ประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engineประเภทของ Search engine
ประเภทของ Search engine
 
เครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหาเครื่องมือในการค้นหา
เครื่องมือในการค้นหา
 
ประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้นประโยชน์ของการสืบค้น
ประโยชน์ของการสืบค้น
 
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorerการค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
การค้นหาเว็บด้วย Internet Expolorer
 
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ  ปี 2559
เอกสารประกอบการพิจารณาครูดีในดวงใจ ปี 2559
 
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
เอกสารประกอบการพิจารณา Obec Awards ปีการศึกษา 2558
 
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
ประกาศผล การประกวดสื่อของ สพฐ.ปีการศึกษา2557
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
รายงานเยี่ยมบ้านนักเรียน ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
เอกสารเสนอ Best practice ครูเต้
 
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดีแบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
แบบเสนอขอรับรางวัล หนึ่งแสนครูดี
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี

  • 1. ใบความรูที่ 9  เครื่องหมายและการดําเนินการในภาษา C การดําเนินการในการเขียนโปรแกรมภาษา C มีอยู 3 ประเภท คือ การคํานวณทางคณิตศาสตร การ ดําเนินการทางตรรกศาสตร และการเปรียบเทียบ ซึ่งการดําเนินการแตละประเภทจะมีเครื่องหมายที่ตองใชเพื่อ เขียนคําสั่งสําหรับการดําเนินการประเภทนั้น ๆ ดังรายละเอียด เครื่องหมายการคํานวณทางคณิตศาสตร เครื่องหมายที่ใชสําหรับการคํานวณทางคณิตศาสตรใชภาษา C สรุปดังนี้ เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอยาง + บวก 3+2 การบวกเลข 3 บวกกับ 2 ไดผลลัพธคือ 5 - ลบ 3 - 2 การลบเลข 3 ลบกับ 2 ไดผลลัพธคือ 1 * คูณ 2*3 การคูณเลข 3 บวกกับ 2 ไดผลลัพธคือ 6 / หาร 15/2 การหาร 15 หารกับ 2 ไดผลลัพธคือ 7 15%2การหารเอาเศษ 15 หารกับ 2 ไดผลลัพธ % หารเอาเศษ คือ 1 b=a++; จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้ เพิ่มคาขึน 1 โดย ้ b=a; a++ จะนําคาของ a ไปใชกอนแลวจึง a=a+1; เพิ่มคาของ a ขึ้น 1 ++ ++a จะเพิมคาของ a ขึ้น 1 กอนแลวจึง b=++a; ่ นําคาของ a ไปใช จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้ a=a+1; b=a; ลดคา 1 โดย b=a--; a-- จะนําคาของ a ไปใชกอน แลวจึง จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้ ลดคาของ a ลง 1 b=a; -- a=a-1; --a จะลดคาของ a ลง 1 กอน แลวจึง b=--a; - เครื่องหมายและการคํานวณ -
  • 2. -89- นําคาของ a ไปใช จะมีความหมายเทียบเทากับ 2 บรรทัดตอไปนี้ a=a-1; b=a; ตัวดําเนินการเปรียบเทียบ ใชเปรียบเทียบคา 2 คาเพื่อแสดงการเลือก ซึ่งโปรแกรมโดยทั่วไปใชในการทดสอบเงื่อนไขตามที่กําหนด การเปรียบเทียบโดยการเทากันของ 2 คาจะใชเครื่องหมาย == เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอยาง > มากกวา a > b a มากกวา b >= มากกวาหรือเทากับ a >= b a มากกวาหรือเทากับ b < นอยกวา a < b a นอยกวา b <= นอยกวาหรือเทากับ a <= b a นอยกวาหรือเทากับ b == เทากับ a == b a เทากับ b != ไมเทากับ a != b a ไมเทากับ b ตัวดําเนินการตรรกะ การดําเนินการเปรียบเทียบคาทางตรรกะ( และ หรือ ไม) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอยาง && และ x < 60 && x > 50 กําหนดให x มีคาในชวง 50 ถึง 60 x == 10 || x == 15 กําหนดให x มีคาเทากับตัวเลข 2 คา คือ 10 หรือ || หรือ 15 ! ไม x = 10 !x กําหนดให x ไมเทากับ 10 - เครื่องหมายและการคํานวณ -
  • 3. -90- การเขียนนิพจนในภาษา C นิพจนในภาษา C ก็คือ การนําขอมูลและตัวแปรในภาษา C มาดําเนินการดวยเครื่องหมายทาง คณิตศาสตร ตรรกศาสตร หรือเครื่องหมายเปรียบเทียบในภาษา C เปนตัวสังงาน ดังตัวอยาง ่ Z ลําดับความสําคัญของเครื่องหมาย สวนใหญนิพจนที่เขียนขึ้นในโปรแกรมมักจะซับซอน มีการดําเนินการหลายอยางปะปนอยูภายในนิพจน เดียวกัน ลําดับความสําคัญ ลําดับความสําคัญจากสูงไปต่ํา 1 () 2 !,++,- - 3 *,/,% 4 +,- 5 <,<=,>,>= 6 = =,!= 7 && 8 || 9 *=,/=,%=,+=,-= - เครื่องหมายและการคํานวณ -
  • 4. -91- ตัวอยางการทํางานของโอเปอเรเตอร จงหาคาของนิพจน 8 + 7 * 6 วิธีทา ํ 1. ใหสังเกตทีตัวโอเปอเรเตอรกอนเสมอวามีโอเปอเรเตอรอะไรบาง ในทีนี้มี + และ * ่ ่ 2. ทําการไลลําดับความสําคัญของโอเปอเรเตอรทั้งหมดเปรียบเทียบกัน จากตัวทีมลาดับความสําคัญสูงสุดไปยัง ่ ี ํ ตัวที่มีลาดับสําคับต่ําสุด ํ ลําดับความสําคัญจากสูงไปต่ํา โอเปอเรเตอร * + 3. จากขอ 2 จะไดลําดับการทํางานเปนดังนี้ ขั้นที่ 1 7 * 6 = 42 ขั้นที่ 2 8 + คาที่ไดจากขั้นที่ 1 = 8 + 42 = 50 ดังนั้น 8 + 7 * 6 = 50 - เครื่องหมายและการคํานวณ -
  • 5. -92- จงหานิพจนตอไปนี้ x*y - 20%z 1) x*y 2) 20%z 3) 1) - 2) (a - b)*10/c && d + 5 1) a-b 2) 1)*10 3) 2)/c 4) d+5 5) 3) && 4) (a + b) * 4 = = c%d(e+10) 1) a+b 2) e + 10 3) 1) * 4 4) d * 2) 5) c %4) 6) 3) = = 5) ภาษา C - เครื่องหมายและการคํานวณ -