SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
การเขียนโปรแกรมพัฒนาเว็บ
ภาษา PHP
           PHP นั้นเป็ นภาษาสาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์
สามารถเขี ยนได้หลากหลายโปรแกรมเช่ นเดี ยวกับ ภาษาทั่วไป อาจมี ข ้อ
สงสัยว่า ต่างจาก HTML อย่างไร คาตอบคือ HTML นั้นเป็ นภาษาที่ ใช้ใน
การจัดรู ปแบบของเว็บไซต์ จัดตาแหน่ งรู ป จัดรู ปแบบตัว อักษร หรื อใส่
           ั
สี สันให้กบ เว็บไซต์ของเรา แต่ PHP นั้นเป็ นส่ วนที่ ใช้ในการประมวลผล
คานวณ เก็บค่า และทาตามคาสังต่างๆ อย่างเช่น รับค่าจากแบบ form ที่เรา
                               ่
ทา รับค่าจากช่องคาตอบของเว็บบอร์ ดและเก็บไว้เพื่อนามาแสดงผลต่อไป
แม้แต่กระทังใช้ในการเขียน CMS ยอดนิ ยมเช่น Drupal , Joomla พูดง่ายๆ
             ่
คื อเว็บ ไซต์จะโต้ตอบกับ ผูใ ช้ไ ด้ ต้องมี ภ าษา PHP ส่ ว น HTML หรื อ
                             ้
Javascriptใช้เป็ นเพียงแค่ตวควบคุมการแสดงผลเท่านั้น
                           ั
รู้จก AppServ
                       ั
       การจะใช้งาน PHP จาเป็ นจะต้องจาลองเครื่ องคอมพิวเตอร์
ของเราให้เป็ นเครื่ อง Server เสี ยก่อน
       ในการติดตั้งโปรแกรมที่จาเป็ นต่อ PHP นั้น เราสามารถใช้ชุด
โปรแกรม AppServ ซึ่ งได้ร วบรวมโปรแกรมไว้อ ย่ า งเพี ย บพร้ อ ม
สามารถติดตั้งได้ง่ายและสะดวกมาก ประกอบด้วย
        1. PHP Script Language
        2. Apache Web Server
        3. MySQL Database
        4. phpMyAdmin Database Manager
ตัวแปร
การประกาศตัวแปร
        ภาษา PHP ก็เหมือนกับภาษาโปรแกรมโดยทัวไป      ่
ที่จะต้องมีตวแปรเพื่อใช้เก็บค่า (Value) ก่อนที่จะใช้งาน
             ั
ตัวแปรจะต้องมีการประกาศตัวแปรก่อน โดยการประกาศ
ตัวแปรในภาษา PHPนั้ นจะขึ้นต้นด้วยเครื่ องหมาย $
(Dollar Sig) ตามด้วยชื่อของตัวแปร เช่น $name, $score,
$total2 เป็ นต้น
กฎการตั้งชื่อตัวแปร
- ใช้ตวอักษรภาษาอังกฤษ a-z, A-Z
      ั
- ห้ามขึ้นต้นชื่อด้วยตัวเลขแต่ใช้ตวเลขประกอบไปในชื่อตัวแปรได้
                                  ั
                                                           ่
- สามารถใช้สัญลักษณ์ _(underscore) ขึ้นต้น หรื อผสมอยูภายในชื่อตัวแปรได้
- ห้ามใช้สัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ประกอบเป็ นชื่อตัวแปร
- ห้ามใช้การเว้นวรรคหรื อจุดภายในชื่อตัวแปร
- การใช้ตวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่เพื่อตั้งชื่ อนั้นจะไม่เหมือนกัน
          ั
เช่น $number จะไม่เหมือน$Number หากนาตัวแปรนี้ไปใช้แทนกัน
จะเกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้
- ในการประกาศตัวแปร ควรตั้งชื่อตัวแปรให้มีความหมายใกล้เคียงกับค่าที่เก็บ
การกาหนดค่าให้ ตวแปร
                ั
         การกาหนดค่าให้ตวแปรโดยใช้ Assignment Operator
                          ั
คือ เครื่ องหมาย =
         การกาหนดค่าเป็ นตัวอักษรให้ใช้ “ ”
             เช่น $name = “มาลินี สัมพันธ์”
         การกาหนดค่าเป็ นตัวเลข
             เช่น $number = 10;
ชนิดของตัวแปร
• integer ใช้สาหรับเก็บข้อมูลชนิดเลขจานวนเต็ม
• double ใช้สาหรับเก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม
• string ใช้สาหรับเก็บข้อมูลตัวอักษร หรื อว่า กลุ่มของตัวอักษร
              ่
          อยูภายใต้เครื่ องหมาย “ ”
• array ใช้สาหรับเก็บกลุ่มข้อมูลที่เป็ นชนิดเดียวกัน
• object เป็ นชนิดข้อมูลสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบ
          Object Oriented
เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์
ตัวดาเนินการเชิงคณิตศาสตร์
      เป็ นเครื่ องหมายทางคณิ ตศาสตร์ ทวๆ ไป ที่เราคุนเคยกันดี
                                       ั่            ้
    ่
อยูแล้ว คือ บวก (+) ลบ (-) คูณ (*) หาร (/) แต่จะมีตวพิเศษเพิ่ม
                                                   ั
ขึ้นมาอีกตัวหนึ่งคือ หารเอาเศษ (%)

                 $a + $b           $a บวก $b
                 $a - $b           $a ลบ $b
                 $a * $b           $a คูณ $b
                 $a / $b           $a หาร $b
                 $a % $b           $a หาร $b แต่เอาเศษ
ตัวเพิมค่ า (Increment) ลดค่ า (Decrement)
           ่
             ตัวเพิ่มค่า เขียนโดยใช้เครื่ องหมาย บวกสองตัวต่อกัน (++)
     ใช้สาหรับเพิ่มค่าตัวแปรทีละ 1 ส่ วนตัวลดค่า เขียนโดยใช้
     เครื่ องหมายลบสองตัวต่อกัน (--) ใช้สาหรับลดค่าตัวแปรทีละ 1

ตัวเพิ่มค่า ละลดค่า สามารถเขียนได้ 2 ตาแหน่ง คือ หน้าตัวแปร และ หลังตัวแปร

                     ++$a , $a++      เพิมค่ าทีละ 1
                                         ่
                      --$a, $a--       ลดค่ าทีละ 1
ตัวเปรียบเทียบ
      ตัวเปรี ยบเทียบในทุกๆ ภาษา จะเปรี ยบเทียบตัวซ้าย เทียบกับตัวขวา และ
ได้ผลลัพธ์เป็ น
จริง (true) หรื อ เท็จ (false)เท่านั้น ในภาษา PHP ก็มีวิธีการเปรี ยบเทียบเหมือนกับ
                                         ็
ภาษาอื่นๆ เหมือนกัน ผลลัพธ์ที่ได้กมีแต่ จริ ง และ เท็จ เท่านั้น เหมือนกัน
ตัวเปรี ยบเทียบ จะใช้ในการกาหนดทิศทางของโปรแกรมการเปรี ยบเทียบ ===
ทั้งค่าในตัวแปร และ ชนิดตัวแปร ต้องเหมือนกัน จึงจะได้ค่าจริ งกลับมา แต่
== ค่าเท่ากัน แต่ตวแปรเป็ นคนละชนิ ด
                     ั
$a < $b     น้ อยกว่ า               คืนค่ าเป็ นจริง ถ้ า $a น้ อยกว่ า $b
$a > $b     มากกว่า                  คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a มากกว่ากว่า $b
$a <= $b    น้อยกว่า หรื อ เท่ากับ   คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a น้อยกว่า หรื อ เท่ากับ $b
$a >= $b    มากกว่า หรื อ เท่ากับ    คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a มากกว่า หรื อ เท่ากับ $b
$a == $b    เท่ากับ                  คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a เท่ากับ $b
$a != $b    ไม่เท่ากับ               คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a ไม่เท่ากับ $b
                                     คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a เท่ากับ $b และ ต้องเป็ นชนิด
$a === $b   เท่ากับทั้งหมด
                                     ข้อมูลเดียวกัน
ตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์
     ในการเปรี ยบเทียบค่า เราสามารถเปรี ยบเทียบได้หลายๆ ค่าพร้อมกัน
โดยใช้ตวเปรี ยบเทียบทางตรรกศาสตร์มาช่วยหาคาตอบสุดท้ายของการเปรี ยบเทียบ
         ั
ตัวเปรี ยบเทียบ จะมีเพียง 4 ตัวคือ and , or , not , xor


   and หรือ &&       ได้ ค่าจริง เมือเป็ นจริงทั้งหมด
                                      ่
   or หรือ ||        ได้ ค่าเท็จ เมือเป็ นเท็จทั้งหมด
                                    ่
   not หรือ !        กลับค่ า จากจริงเป็ นเท็จ และ เท็จเป็ นจริง
   xor               ตัวเปรียบเทียบ เหมือนกัน ได้ ค่าเท็จ ต่ างกันได้ จริง

More Related Content

What's hot

การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามkruthanyaporn
 
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาThanachart Numnonda
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็มJitti Nut
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา CWarawut
 
PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)Tinnakorn Puttha
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
KMUTNB - Internet Programming 7/7
KMUTNB - Internet Programming 7/7KMUTNB - Internet Programming 7/7
KMUTNB - Internet Programming 7/7phuphax
 

What's hot (18)

lesson 3
lesson 3lesson 3
lesson 3
 
Php week 2
Php week 2Php week 2
Php week 2
 
power point.
power point.power point.
power point.
 
ภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้นภาษาซีเบื้องต้น
ภาษาซีเบื้องต้น
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
Training php
Training phpTraining php
Training php
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถามหน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
หน่วยที่ 4 การสร้างแบบสอบถาม
 
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวาความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
ความรู้เบื้องต้นภาษาจาวา
 
Reference :: Java :: เต็ม
 Reference :: Java :: เต็ม Reference :: Java :: เต็ม
Reference :: Java :: เต็ม
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
3.5 การแสดงผลและการรับข้อมูล
 
Python101
Python101Python101
Python101
 
PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)PHP Tutorial (introduction)
PHP Tutorial (introduction)
 
01 intro php
01 intro php01 intro php
01 intro php
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
Java AWT
Java AWTJava AWT
Java AWT
 
KMUTNB - Internet Programming 7/7
KMUTNB - Internet Programming 7/7KMUTNB - Internet Programming 7/7
KMUTNB - Internet Programming 7/7
 

Similar to php

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา JavaItslvle Parin
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาJK133
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลKornnicha Wonglai
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comKnow Mastikate
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมpongpakorn Suklertpong
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นDararat Worasut
 
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรหลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรNaruemon Soonthong
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Ing Gnii
 
ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ
ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ
ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการNaruemon Soonthong
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาSaranporn Rungrueang
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำKornnicha Wonglai
 

Similar to php (20)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูลตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
ตัวแปร การกำหนดค่าและชนิดข้อมูล
 
Basic
BasicBasic
Basic
 
งาน
งานงาน
งาน
 
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอนโครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
โครงสร้างการเขียนโปรแกรมภาษาไพธอน
 
Work
WorkWork
Work
 
รายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.comรายงาน PHP - Know2pro.com
รายงาน PHP - Know2pro.com
 
content 3
content 3content 3
content 3
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 docx
Pbl2 docxPbl2 docx
Pbl2 docx
 
Pbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้นPbl2 นะแนนxปิ้น
Pbl2 นะแนนxปิ้น
 
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปรหลักการตั้งชื่อตัวแปร
หลักการตั้งชื่อตัวแปร
 
งานนำเสนอ1
 งานนำเสนอ1 งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ
ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ
ข้อมูล ตัวแปร ตัวดำเนินการ
 
พื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวาพื้นฐานภาษาจาวา
พื้นฐานภาษาจาวา
 
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำการเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
การเขียนแบบคำสั่งควบคุมแบบวนซ้ำ
 

php

  • 2. ภาษา PHP PHP นั้นเป็ นภาษาสาหรับใช้ในการเขียนโปรแกรมบนเว็บไซต์ สามารถเขี ยนได้หลากหลายโปรแกรมเช่ นเดี ยวกับ ภาษาทั่วไป อาจมี ข ้อ สงสัยว่า ต่างจาก HTML อย่างไร คาตอบคือ HTML นั้นเป็ นภาษาที่ ใช้ใน การจัดรู ปแบบของเว็บไซต์ จัดตาแหน่ งรู ป จัดรู ปแบบตัว อักษร หรื อใส่ ั สี สันให้กบ เว็บไซต์ของเรา แต่ PHP นั้นเป็ นส่ วนที่ ใช้ในการประมวลผล คานวณ เก็บค่า และทาตามคาสังต่างๆ อย่างเช่น รับค่าจากแบบ form ที่เรา ่ ทา รับค่าจากช่องคาตอบของเว็บบอร์ ดและเก็บไว้เพื่อนามาแสดงผลต่อไป แม้แต่กระทังใช้ในการเขียน CMS ยอดนิ ยมเช่น Drupal , Joomla พูดง่ายๆ ่ คื อเว็บ ไซต์จะโต้ตอบกับ ผูใ ช้ไ ด้ ต้องมี ภ าษา PHP ส่ ว น HTML หรื อ ้ Javascriptใช้เป็ นเพียงแค่ตวควบคุมการแสดงผลเท่านั้น ั
  • 3. รู้จก AppServ ั การจะใช้งาน PHP จาเป็ นจะต้องจาลองเครื่ องคอมพิวเตอร์ ของเราให้เป็ นเครื่ อง Server เสี ยก่อน ในการติดตั้งโปรแกรมที่จาเป็ นต่อ PHP นั้น เราสามารถใช้ชุด โปรแกรม AppServ ซึ่ งได้ร วบรวมโปรแกรมไว้อ ย่ า งเพี ย บพร้ อ ม สามารถติดตั้งได้ง่ายและสะดวกมาก ประกอบด้วย 1. PHP Script Language 2. Apache Web Server 3. MySQL Database 4. phpMyAdmin Database Manager
  • 4. ตัวแปร การประกาศตัวแปร ภาษา PHP ก็เหมือนกับภาษาโปรแกรมโดยทัวไป ่ ที่จะต้องมีตวแปรเพื่อใช้เก็บค่า (Value) ก่อนที่จะใช้งาน ั ตัวแปรจะต้องมีการประกาศตัวแปรก่อน โดยการประกาศ ตัวแปรในภาษา PHPนั้ นจะขึ้นต้นด้วยเครื่ องหมาย $ (Dollar Sig) ตามด้วยชื่อของตัวแปร เช่น $name, $score, $total2 เป็ นต้น
  • 5. กฎการตั้งชื่อตัวแปร - ใช้ตวอักษรภาษาอังกฤษ a-z, A-Z ั - ห้ามขึ้นต้นชื่อด้วยตัวเลขแต่ใช้ตวเลขประกอบไปในชื่อตัวแปรได้ ั ่ - สามารถใช้สัญลักษณ์ _(underscore) ขึ้นต้น หรื อผสมอยูภายในชื่อตัวแปรได้ - ห้ามใช้สัญลักษณ์ทางคณิ ตศาสตร์ประกอบเป็ นชื่อตัวแปร - ห้ามใช้การเว้นวรรคหรื อจุดภายในชื่อตัวแปร - การใช้ตวพิมพ์เล็กและตัวพิมพ์ใหญ่เพื่อตั้งชื่ อนั้นจะไม่เหมือนกัน ั เช่น $number จะไม่เหมือน$Number หากนาตัวแปรนี้ไปใช้แทนกัน จะเกิดข้อผิดพลาดขึ้นได้ - ในการประกาศตัวแปร ควรตั้งชื่อตัวแปรให้มีความหมายใกล้เคียงกับค่าที่เก็บ
  • 6. การกาหนดค่าให้ ตวแปร ั การกาหนดค่าให้ตวแปรโดยใช้ Assignment Operator ั คือ เครื่ องหมาย = การกาหนดค่าเป็ นตัวอักษรให้ใช้ “ ” เช่น $name = “มาลินี สัมพันธ์” การกาหนดค่าเป็ นตัวเลข เช่น $number = 10;
  • 7. ชนิดของตัวแปร • integer ใช้สาหรับเก็บข้อมูลชนิดเลขจานวนเต็ม • double ใช้สาหรับเก็บข้อมูลชนิดเลขทศนิยม • string ใช้สาหรับเก็บข้อมูลตัวอักษร หรื อว่า กลุ่มของตัวอักษร ่ อยูภายใต้เครื่ องหมาย “ ” • array ใช้สาหรับเก็บกลุ่มข้อมูลที่เป็ นชนิดเดียวกัน • object เป็ นชนิดข้อมูลสาหรับการเขียนโปรแกรมแบบ Object Oriented
  • 8. เครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ ตัวดาเนินการเชิงคณิตศาสตร์ เป็ นเครื่ องหมายทางคณิ ตศาสตร์ ทวๆ ไป ที่เราคุนเคยกันดี ั่ ้ ่ อยูแล้ว คือ บวก (+) ลบ (-) คูณ (*) หาร (/) แต่จะมีตวพิเศษเพิ่ม ั ขึ้นมาอีกตัวหนึ่งคือ หารเอาเศษ (%) $a + $b $a บวก $b $a - $b $a ลบ $b $a * $b $a คูณ $b $a / $b $a หาร $b $a % $b $a หาร $b แต่เอาเศษ
  • 9. ตัวเพิมค่ า (Increment) ลดค่ า (Decrement) ่ ตัวเพิ่มค่า เขียนโดยใช้เครื่ องหมาย บวกสองตัวต่อกัน (++) ใช้สาหรับเพิ่มค่าตัวแปรทีละ 1 ส่ วนตัวลดค่า เขียนโดยใช้ เครื่ องหมายลบสองตัวต่อกัน (--) ใช้สาหรับลดค่าตัวแปรทีละ 1 ตัวเพิ่มค่า ละลดค่า สามารถเขียนได้ 2 ตาแหน่ง คือ หน้าตัวแปร และ หลังตัวแปร ++$a , $a++ เพิมค่ าทีละ 1 ่ --$a, $a-- ลดค่ าทีละ 1
  • 10. ตัวเปรียบเทียบ ตัวเปรี ยบเทียบในทุกๆ ภาษา จะเปรี ยบเทียบตัวซ้าย เทียบกับตัวขวา และ ได้ผลลัพธ์เป็ น จริง (true) หรื อ เท็จ (false)เท่านั้น ในภาษา PHP ก็มีวิธีการเปรี ยบเทียบเหมือนกับ ็ ภาษาอื่นๆ เหมือนกัน ผลลัพธ์ที่ได้กมีแต่ จริ ง และ เท็จ เท่านั้น เหมือนกัน ตัวเปรี ยบเทียบ จะใช้ในการกาหนดทิศทางของโปรแกรมการเปรี ยบเทียบ === ทั้งค่าในตัวแปร และ ชนิดตัวแปร ต้องเหมือนกัน จึงจะได้ค่าจริ งกลับมา แต่ == ค่าเท่ากัน แต่ตวแปรเป็ นคนละชนิ ด ั
  • 11. $a < $b น้ อยกว่ า คืนค่ าเป็ นจริง ถ้ า $a น้ อยกว่ า $b $a > $b มากกว่า คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a มากกว่ากว่า $b $a <= $b น้อยกว่า หรื อ เท่ากับ คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a น้อยกว่า หรื อ เท่ากับ $b $a >= $b มากกว่า หรื อ เท่ากับ คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a มากกว่า หรื อ เท่ากับ $b $a == $b เท่ากับ คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a เท่ากับ $b $a != $b ไม่เท่ากับ คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a ไม่เท่ากับ $b คืนค่าเป็ นจริ ง ถ้า $a เท่ากับ $b และ ต้องเป็ นชนิด $a === $b เท่ากับทั้งหมด ข้อมูลเดียวกัน
  • 12. ตัวดาเนินการทางตรรกศาสตร์ ในการเปรี ยบเทียบค่า เราสามารถเปรี ยบเทียบได้หลายๆ ค่าพร้อมกัน โดยใช้ตวเปรี ยบเทียบทางตรรกศาสตร์มาช่วยหาคาตอบสุดท้ายของการเปรี ยบเทียบ ั ตัวเปรี ยบเทียบ จะมีเพียง 4 ตัวคือ and , or , not , xor and หรือ && ได้ ค่าจริง เมือเป็ นจริงทั้งหมด ่ or หรือ || ได้ ค่าเท็จ เมือเป็ นเท็จทั้งหมด ่ not หรือ ! กลับค่ า จากจริงเป็ นเท็จ และ เท็จเป็ นจริง xor ตัวเปรียบเทียบ เหมือนกัน ได้ ค่าเท็จ ต่ างกันได้ จริง