SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 2
ตัวแปร
ตัวแปร (Variable) คือ สิ่งที่จะช่วยเราจาค่าต่างๆไว้แสดงค่าหรือคานวณในภายหลังโดยตัวแปรเหล่านี้
จะเก็บค่าเอาไว้ในหน่วยความจา(Memory) ของคอมพิวเตอร์นั่นเอง
การประกาศตัวแปร (Declarations) ก่อนที่เราจะนาตัวแปรมาใช้ได้ เราต้องประกาศตัวแปรเสียก่อน
(สร้างมันขึ้นมา)โดยมีรูปแบบดังนี้
int number;
char letter;
int และ char คือประเภทของข้อมูล ที่ตัวแปรนั้นๆสามารถเก็บได้ ส่วนnumber และ letter คือชื่อของตัว
แปร ซึ่งเวลาเราจะเรียกข้อมูลที่เก็บค่าเอาไว้มาใช้ก็ใช้ชื่อตัวแปรนี่แหละ ต่อไปมาดูประเภทของข้อมูล
กันดีกว่า
Type name Meaning เก็บค่าได้ตั้งแต่
char ใช้เก็บ ตัวอักษร หรืออักขระ1 ตัว (Character) -128 ถึง 127
int ใช้เก็บ เลขจานวนเต็ม (Integer) -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647
float ใช้เก็บ เลขจานวนจริง (Floating number) 3.4E +/-38 (7หลัก)
double
ใช้เก็บ เลขจานวนจริง มีขนาดใหญ่กว่าfloat เก็บได้
ละเอียดกว่า
1.7E +/- 308 (15หลัก)
ตัวอย่างการเลือกใช้ประเภทของตัวแปร
ถ้าจะเก็บข้อมูลเป็น ประเภทของตัวแปรควรจะเป็น
เกรดเฉลี่ย (เช่น 3.90) float
อายุคน (เช่น 50 ปี , 25 ปี) char หรือ int
ความยาวของถนน (เช่น25 km) int (หรือ float ถ้าเป็นทศนิยม)
ความสูงของคน (เช่น 170.6) float
เงินเดือน (ไม่เกิน30,000) int
เงินเดือนนักธุรกิจพันล้าน int
ผลการคานวณที่มีทศนิยม 20 ตาแหน่ง double
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 17
การกาหนดค่าตัวแปรคือการเปลี่ยนค่าที่ตัวแปรนั้นๆ เก็บไว้ในหน่วยความจาเป็นค่าที่กาหนด
int x; // declare x asa integer variable
x = 5; // assign a value to x
บรรทัดแรกคือการประกาศตัวแปรที่มีชื่อว่า x ไว้เก็บข้อมูลประเภทเลขจานวนเต็ม(Integer)
บรรทัดที่สอง คือการกาหนดค่าตัวแปร ในที่นี้เป็นการกาหนดค่า5 ลงในตัวแปรx
เราสามารถกาหนดค่าตัวแปรพร้อมๆกับการประกาศตัวแปรได้ ดังนี้
int x = 5;
char c = 'A';
double balance= 3800076.75;
float gpa = 3.9;
การแสดงผลด้วยคาสั่งprintf() มีรูปแบบดังนี้
int x = 5, y = 7;
float z = 392.65;
char c = 'A';
printf( "x + y = %dn", x + y ); // %d - integer
printf( "z = %fn", z ); // %f - floating number
printf( "c = %cn", c ); // %c - character
ผลลัพธ์
x + y = 12
z = 392.649994
c = A
จะเห็นได้ว่าเราใช้รูปแบบ % กับชนิดข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ (ใช้กับการพิมพ์ และการรับข้อมูล)
%d int
%c char
%f float
%lf double
%s string
นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้ %o %x %e %g กับตัวแปรประเภทตัวเลขได้อีกด้วย
คาถาม
จงประกาศตัวแปรดังรายละเอียดต่อไปนี้
เสร็จแล้ว ให้แสดงผลลัพธ์ออกมาให้เหมือนด้านล่างนี้
The value of my first variable is: 23.61
ชื่อตัวแปร: myFirstVar (ตัวใหญ่ตัวเล็กสังเกตให้ดีด้วย)
ค่าในตัวแปร: 23.61
ผลลัพธ์
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 18
Variable naming
ชื่อตัวแปรนั้น หากว่าอยากจะใช้ชื่อไหน ก็สรรหามาประกาศกันได้คงจะสับสนกันน่าดู
ภาษาซีมีกฏเกณฑ์ในการตั้งชื่อตัวแปรดังนี้
1. ต้องประกอบขึ้นจากตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และเครื่องหมาย _ (Underscore) เท่านั้น
2. อักขระตัวแรกจะต้องเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือเครื่องหมาย _ เท่านั้น (ห้ามเป็นตัวเลข)
3. ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็กถือเป็นคนละตัวกัน เช่นSalary และ SALARY เป็นชื่อที่แตกต่างกัน
4. มีความยาวไม่เกิน31 อักขระ
5. ชื่อจะต้องไม่ซ้ากับคาสงวน (Reserved word)
คาสงวนของภาษาซี มีดังนี้
auto double int struct
break else long switch
case enum register typedef
char extern return union
const float short unsigned
continue for signed void
default goto sizeof volatile
do if static while
ถ้าเราตั้งชื่อตัวแปร ไม่เป็นไปตามกฏโปรแกรมก็จะไม่สามารถทางานได้
นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่ควรรู้ในการตั้งชื่ออีกคือ
- ไม่ควรตั้งชื่อตัวแปรโดยใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เพราะอาจถูกเข้าใจผิดว่าเป็นค่าคงที่
- หากชื่อนั้นประกอบขึ้นจากคาหลายคา ให้ใช้ _ คั่นแต่ละคา เช่น student_info_nickname
หรือใช้ตัวพิมพ์ใหญ่แทน เช่น studentInfoNickname
- และอีกอันที่ขาดไม่ได้คือ ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย ว่าตัวแปรนั้นๆเก็บข้อมูลอะไรไว้อยู่
เช่น student_id เราสามารถทราบได้ทันทีว่าเป็นข้อมูลID ของนักเรียน
แต่หากตั้งชื่อแค่ว่า data เราไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นข้อมูลอะไร
หากมาอ่านในภายหลังจะทาความเข้าใจได้ลาบาก
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 19
คาถาม
ชื่อตัวแปรต่อไปนี้ หากข้อใดสามารถนาไปใช้ได้ให้ตอบถูกและข้อใดผิดกฎการตั้งชื่อตอบผิด
1. customerName
2. ID
3. address1
4. %available
5. auto
6. Int
7. 3rdSubject
8. _sys_one
9. address_2
10. number5
11. #5
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 20
การทางานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ 2 ทิศทางคือ ทั้งภาคของ
การแสดงผลการทางานออกทางหน้าจอ และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อร่วม
ในการประมวลผลของโปรแกรม
ในภาษาC การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทาได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชันscanf()ซึ่งเป็น
ฟังก์ชันมาตรฐานสาหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นจานวน
เต็ม ทศนิยม อักขระหรือข้อความ
รูปแบบคาสั่ง scanf()
การใช้รหัสควบคุมรูปแบบ เพื่อกาหนดชนิดของข้อมูลที่จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ดโดย
รหัสควบคุมรูปแบบใช้ชุดเดียวกับคาสั่งprintf()
variable คือ ตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับ
รหัสควบคุมรูปแบบที่กาหนดไว้ นอกจากนี้หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย &
ยกเว้น ตัวแปรสตริง สาหรับเก็บข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย&
ตัวอย่างการใช้งานคาสั่ง scanf() เพื่อรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
int speed; //สร้างตัวแปรชนิด int สาหรับเก็บค่าตัวเลขจานวนเต็ม
printf("Enter wind speed :"); // แสดงข้อความให้กรอกค่าความเร็วลมเป็นจานวนเต็ม
scanf("%d",&speed); //รับค่าความเร็วลมเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรspeed
char answer; // สร้างตัวแปรชนิด char สาหรับเก็บอักขระ
printf("Enter Figure(Y:N) : ") // แสดงข้อความให้ป้อนอักขระY หรือ N
scanf("%c",&answer); //รับอักขระเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร answer
char name[10]; //สร้างตัวแปรสตริงสาหรับเก็บข้อความ
printf("Enter your name = "); // แสดงข้อความให้ป้อนชื่อ
scanf("%s",name ); // รับชื่อเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรname สังเกตจะไม่ใส่
เครื่องหมาย & หน้าตัวแปรชนิดข้อความ(string)
scanf("format",&variable);
คาสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด
คาสั่ง scanf()
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 21
ตัวอย่าง 2.1
#include <stdio.h>
#include<conio.h>
int main()
{
int Long , wide , sum = 0;
printf(“Enter The Length : “);
scanf (“%d”,&Long);
printf(“Enter The Width : ”);
scanf (“%d”,&wide);
sum = x*y;
printf(“The area is : %d”,sum);
getch();
return 0;
}
ตัวอย่างที่ 2.2
#include <stdio.h>
#include<conio.h>
int main()
{
float a , b , c = 5;
printf(“Enter Number : ”);
scanf(“%f ”,&a);
b = a * c;
printf(“Total= %.2f” ,b);
getch();
return 0;
}
ตัวอย่าง 2.3 การรับข้อความโดยใช้ gets
#include <stdio.h>
#include<conio.h>
#include<string.h>
int main()
{
char name[20];
char address[70];
printf(“What is your name?”);
gets(name);
printf(“Address? );
gets(address);
printf(“Hello! %sn”,name);
printf(“Your address is %sn”,address);
getch();
return 0;
}
ผลลัพธ์โปรแกรม
…………………………………...
……………………………………
……………………………………
ผลลัพธ์โปรแกรม
…………………………………
…………………………………
…………………………………
…
ผลลัพธ์โปรแกรม
…………………………………...
……………………………………
……………………………………
…………………………………….
…………………………………….
……………………………………
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 22
#include <stdio.h>
#define MAX_NUMBER 10 // this line
int main() {
printf( "Value from constant variable: %d", MAX_NUMBER );
}
Constant variable
ตัวแปรค่าคงที่ (Constant variable) คือ ตัวแปรที่สามารถกาหนดค่าได้เพียงครั้งเดียว
นั่นคือตอนประกาศตัวแปร หลังจากนั้นจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าที่ตัวแปรนั้นเก็บไว้ได้อีก
การประกาศตัวแปรค่าคงที่ทาได้ดังนี้
* เรานิยมตั้งชื่อตัวแปรค่าคงที่ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด
คาสั่งต่างๆ รวมถึงการประกาศตัวแปรที่ผ่านมาล้วนอยู่ระหว่าง { และ } ที่ตามหลัง main() ทั้งสิ้น
แต่การประกาศตัวแปรค่าคงที่นั้น เราจะใส่ไว้เหนือmain() ดังตัวอย่างด้านบนโดยมีรูปแบบคือ
#define ชื่อตัวแปรค่าคงที่ ค่าคงที่ที่ต้องการเก็บ
* ให้สังเกตว่า ไม่ต้องมีเครื่องหมาย ; (Semicolon) ตามหลัง
วิธีนามาใช้ เหมือนกับตัวแปรปกติทุกประการต่างกันตรงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าที่เก็บไว้ได้
ตัวอย่าง2.3
#include <stdio.h>
#define FACTOR 5
int main() {
int x = 3, y = 4;
x = y + FACTOR;
printf( "x = %dn", x );
printf( "y = %dn", y);
printf( "FACTOR = %d", FACTOR );
}
โค้ด
Value from constant variable: 10
ผลลัพธ์
ผลลัพธ์
x = ……….
y = ………
FACTOR = ………
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 23
จะเห็นได้ว่า เดิมที ตอนประกาศตัวแปร ตัวแปรx ถูกกาหนดค่าไว้เป็น3
แต่บรรทัดต่อมาตัวแปรx ได้ถูกกาหนดค่าใหม่อีกครั้งโดยมีค่าเท่ากับ
ค่าของตัวแปร y บวกด้วย ค่าของตัวแปรค่าคงที่FACTOR ซึ่งมีค่าเท่ากับ 4 + 5
ทาให้ตัวแปร x มีค่าเปลี่ยนไปเป็น 9 ส่วนตัวแปร y และตัวแปรค่าคงที่ยังมีค่าเท่าเดิมคือ4, 5 ตามลาดับ
เพราะ FACTOR เป็นตัวแปรค่าคงที่ จะกาหนดค่าใหม่หรือเปลี่ยนแปลงค่ามิได้
คาถาม
จากโค้ดเริ่มต้นที่กาหนดให้ จะเห็นได้ว่ามีการใช้ตัวแปร PI ในการคานวณ
แต่ยังไม่มีการประกาศและกาหนดค่าให้กับตัวแปร PI แต่อย่างใด
จงแก้ไขโค๊ดที่กาหนดให้ ให้สามารถทางานได้อย่างถูกต้อง
โดยการ ประกาศให้ PI เป็นตัวแปรค่าคงที่และมีค่าเท่ากับ 3.1415926
#include <stdio.h>
#include <conio.h>
int main() {
int radius = 14;
double circleArea = PI * radius * radius;
printf("radius: %dn", radius);
printf("area of circle: %lf", circleArea);
getch();
return 0;
}
เราไม่สามารถเขียนแบบนี้ได้
FACTOR = 7; หรือ FACTOR = x + y + 5;
เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี
โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี
หน้า 24
1. ให้เขียนโปรแกรมคานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม โดยรับความยาวฐาน และความสูง เสร็จแล้วให้
แสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง
2. ให้เขียนโปรแกรมรับค่าทศนิยมมา3 จานวน จากนั้นให้แสดงผลรวมของเลขทั้ง3 จานวนนั้น และ
ค่าเฉลี่ย (ทศนิยม 2 ตาแหน่ง)
3. ให้เขียนโปรแกรมแปลงเงินดอลลาร์ เป็นเงินบาทไทย (กาหนดให้ 1 ดอลลาร์เท่ากับ 30.2 บาท)
4. ให้เขียนโปรแกรมรับค่าเงินเดือน แล้วนาไปหักภาษี 6% จากนั้นให้แสดงจานวนเงินภาษีที่หักไป
และแสดงเงินคงเหลือ
Enter number 1 : 80.5
Enter number 2: 15.6
Enter number 3: 56.2
Total = 152.30
Average = 50.76
Enter Dollars : 35
35 Dollars = 1057.00 Baht
Enter Salary : 12000
Tax 6% = 720.00 Baht
Total = 11280.00 Baht
แบบฝึกทัดท้ายบท

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
krunueng1
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
สุกัญญา สุวรรณรัตน์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
ssuser858855
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙Nongkran Jarurnphong
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงChanon Mala
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
Mypoom Poom
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้วหนองอีย่า .
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
พัน พัน
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญPongpob Srisaman
 

What's hot (20)

งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
แบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงานแบบประเมินชิ้นงาน
แบบประเมินชิ้นงาน
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง เรื่อง การทดลองการเจริญเติบโตของยีสต์ในน้ำหมักช...
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์ตรรกศาสตร์
ตรรกศาสตร์
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
คำนำ2527895555
คำนำ2527895555คำนำ2527895555
คำนำ2527895555
 
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
ชนิดของประโยคแบ่งตามเจตนา ๕ ๙
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงานใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
ใบงานที่ 3 เค้าโครงของโครงงาน
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูกบทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
บทละครพูด เรื่อง เห็นแก่ลูก
 
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
2.ส่วนคำนำ และสารบัญ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 

Viewers also liked

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานNookky Anapat
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
Visaitus Palasak
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++dechathon
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
Komkai Pawuttanon
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
choco336
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีboky_peaw
 
คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมumaraporn
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีmycomc55
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
Naowarat Jaikaroon
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
Warawut
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีChess
 

Viewers also liked (13)

เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซีเครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
เครื่องหมายและการดำเนินการในภาษาซี
 
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐานการเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
การเขียนคำสั่งควบคุมขั้นพื้นฐาน
 
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
การเขียนคำสั่งขั้นพื้นฐาน(ภาษาC)
 
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
การเข้าใช้โปรแกรมซี Dev C++
 
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซีบทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
บทที่1 พื้นฐานโปรแกรมภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซีการเขียนโปรแกรมภาษาซี
การเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
ตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซีตัวแปรในภาษาซี
ตัวแปรในภาษาซี
 
คำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุมคำสั่งควบคุม
คำสั่งควบคุม
 
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซีการประกาศตัวแปรในภาษาซี
การประกาศตัวแปรในภาษาซี
 
การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++การเขียนโปรแกรม Dev c++
การเขียนโปรแกรม Dev c++
 
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา Cการเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
การเขียนฟังก์ชั่นในภาษา C
 
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซีแผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
แผนการสอนวิชาการเขียนโปรแกรมภาษาซี
 
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซีแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยภาษาซี
 

Similar to บทที่ 2 ตัวแปร

3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
รัสนา สิงหปรีชา
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
ictyangtalad
 
งาน
งานงาน
งาน
nineza3214
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
pongpakorn Suklertpong
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1prapassonmook
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Mook Prapasson
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Thank Chiro
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
Itslvle Parin
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
Itslvle Parin
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
Naphamas
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.Mink Kamolwan
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
KEk YourJust'one
 

Similar to บทที่ 2 ตัวแปร (20)

Unit8
Unit8Unit8
Unit8
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
ภาษา C#
ภาษา C#ภาษา C#
ภาษา C#
 
Work
WorkWork
Work
 
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน3.2 ตัวแปรและคำสงวน
3.2 ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
ตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวนตัวแปรและคำสงวน
ตัวแปรและคำสงวน
 
งาน
งานงาน
งาน
 
งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2งานทำ Blog บทที่ 2
งานทำ Blog บทที่ 2
 
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรมตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
ตัวแปรพื้นฐานเขียนโปรแกรม
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูลตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
ตัวแปรกับชนิดของข้อมูล
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Javaบทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
บทที่ 3 พื้นฐานภาษา Java
 
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริงบทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
บทที่5 ข้อมูลชนิดอาร์เรย์และสตริง
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก.
 
lesson5 JSP
lesson5 JSPlesson5 JSP
lesson5 JSP
 
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
การเขียนคำสั่งควบคุมแบบมีทางเลือก กลุ่ม 3
 

More from Komkai Pawuttanon

ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
Komkai Pawuttanon
 
ใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรม
ใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรมใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรม
ใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรม
Komkai Pawuttanon
 
ใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรม
ใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรมใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรม
ใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรม
Komkai Pawuttanon
 
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีนใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
Komkai Pawuttanon
 
ผลงาน2554 คอมใหม่
ผลงาน2554 คอมใหม่ผลงาน2554 คอมใหม่
ผลงาน2554 คอมใหม่
Komkai Pawuttanon
 
สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53
สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53
สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53
Komkai Pawuttanon
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
Komkai Pawuttanon
 
ประวัติราชการ
ประวัติราชการประวัติราชการ
ประวัติราชการ
Komkai Pawuttanon
 
การอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนาการอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนา
Komkai Pawuttanon
 
ผลงานปี 2555_คอม
ผลงานปี 2555_คอมผลงานปี 2555_คอม
ผลงานปี 2555_คอม
Komkai Pawuttanon
 

More from Komkai Pawuttanon (11)

ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
ใบความรู้ที่5 การสร้างภาพเคลื่อนไหว (Tweened Animation)
 
ใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรม
ใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรมใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรม
ใบความรู้ที่ 4 การจัดการคีย์เฟรม
 
ใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรม
ใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรมใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรม
ใบความรู้ที่3 การจัดการเฟรม
 
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีนใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
ใบความรู้ที่2 การจัดการซีน
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ผลงาน2554 คอมใหม่
ผลงาน2554 คอมใหม่ผลงาน2554 คอมใหม่
ผลงาน2554 คอมใหม่
 
สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53
สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53
สรุปผลการแข่งขันคอมพิวเตอร์53
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ประวัติราชการ
ประวัติราชการประวัติราชการ
ประวัติราชการ
 
การอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนาการอบรม สัมมนา
การอบรม สัมมนา
 
ผลงานปี 2555_คอม
ผลงานปี 2555_คอมผลงานปี 2555_คอม
ผลงานปี 2555_คอม
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

บทที่ 2 ตัวแปร

  • 1. บทที่ 2 ตัวแปร ตัวแปร (Variable) คือ สิ่งที่จะช่วยเราจาค่าต่างๆไว้แสดงค่าหรือคานวณในภายหลังโดยตัวแปรเหล่านี้ จะเก็บค่าเอาไว้ในหน่วยความจา(Memory) ของคอมพิวเตอร์นั่นเอง การประกาศตัวแปร (Declarations) ก่อนที่เราจะนาตัวแปรมาใช้ได้ เราต้องประกาศตัวแปรเสียก่อน (สร้างมันขึ้นมา)โดยมีรูปแบบดังนี้ int number; char letter; int และ char คือประเภทของข้อมูล ที่ตัวแปรนั้นๆสามารถเก็บได้ ส่วนnumber และ letter คือชื่อของตัว แปร ซึ่งเวลาเราจะเรียกข้อมูลที่เก็บค่าเอาไว้มาใช้ก็ใช้ชื่อตัวแปรนี่แหละ ต่อไปมาดูประเภทของข้อมูล กันดีกว่า Type name Meaning เก็บค่าได้ตั้งแต่ char ใช้เก็บ ตัวอักษร หรืออักขระ1 ตัว (Character) -128 ถึง 127 int ใช้เก็บ เลขจานวนเต็ม (Integer) -2,147,483,648 ถึง 2,147,483,647 float ใช้เก็บ เลขจานวนจริง (Floating number) 3.4E +/-38 (7หลัก) double ใช้เก็บ เลขจานวนจริง มีขนาดใหญ่กว่าfloat เก็บได้ ละเอียดกว่า 1.7E +/- 308 (15หลัก) ตัวอย่างการเลือกใช้ประเภทของตัวแปร ถ้าจะเก็บข้อมูลเป็น ประเภทของตัวแปรควรจะเป็น เกรดเฉลี่ย (เช่น 3.90) float อายุคน (เช่น 50 ปี , 25 ปี) char หรือ int ความยาวของถนน (เช่น25 km) int (หรือ float ถ้าเป็นทศนิยม) ความสูงของคน (เช่น 170.6) float เงินเดือน (ไม่เกิน30,000) int เงินเดือนนักธุรกิจพันล้าน int ผลการคานวณที่มีทศนิยม 20 ตาแหน่ง double
  • 2. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 17 การกาหนดค่าตัวแปรคือการเปลี่ยนค่าที่ตัวแปรนั้นๆ เก็บไว้ในหน่วยความจาเป็นค่าที่กาหนด int x; // declare x asa integer variable x = 5; // assign a value to x บรรทัดแรกคือการประกาศตัวแปรที่มีชื่อว่า x ไว้เก็บข้อมูลประเภทเลขจานวนเต็ม(Integer) บรรทัดที่สอง คือการกาหนดค่าตัวแปร ในที่นี้เป็นการกาหนดค่า5 ลงในตัวแปรx เราสามารถกาหนดค่าตัวแปรพร้อมๆกับการประกาศตัวแปรได้ ดังนี้ int x = 5; char c = 'A'; double balance= 3800076.75; float gpa = 3.9; การแสดงผลด้วยคาสั่งprintf() มีรูปแบบดังนี้ int x = 5, y = 7; float z = 392.65; char c = 'A'; printf( "x + y = %dn", x + y ); // %d - integer printf( "z = %fn", z ); // %f - floating number printf( "c = %cn", c ); // %c - character ผลลัพธ์ x + y = 12 z = 392.649994 c = A จะเห็นได้ว่าเราใช้รูปแบบ % กับชนิดข้อมูลต่าง ๆ ดังนี้ (ใช้กับการพิมพ์ และการรับข้อมูล) %d int %c char %f float %lf double %s string นอกจากนี้ เรายังสามารถใช้ %o %x %e %g กับตัวแปรประเภทตัวเลขได้อีกด้วย คาถาม จงประกาศตัวแปรดังรายละเอียดต่อไปนี้ เสร็จแล้ว ให้แสดงผลลัพธ์ออกมาให้เหมือนด้านล่างนี้ The value of my first variable is: 23.61 ชื่อตัวแปร: myFirstVar (ตัวใหญ่ตัวเล็กสังเกตให้ดีด้วย) ค่าในตัวแปร: 23.61 ผลลัพธ์
  • 3. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 18 Variable naming ชื่อตัวแปรนั้น หากว่าอยากจะใช้ชื่อไหน ก็สรรหามาประกาศกันได้คงจะสับสนกันน่าดู ภาษาซีมีกฏเกณฑ์ในการตั้งชื่อตัวแปรดังนี้ 1. ต้องประกอบขึ้นจากตัวอักษรภาษาอังกฤษ ตัวเลข และเครื่องหมาย _ (Underscore) เท่านั้น 2. อักขระตัวแรกจะต้องเป็นตัวอักษรภาษาอังกฤษ หรือเครื่องหมาย _ เท่านั้น (ห้ามเป็นตัวเลข) 3. ตัวพิมพ์ใหญ่ และตัวพิมพ์เล็กถือเป็นคนละตัวกัน เช่นSalary และ SALARY เป็นชื่อที่แตกต่างกัน 4. มีความยาวไม่เกิน31 อักขระ 5. ชื่อจะต้องไม่ซ้ากับคาสงวน (Reserved word) คาสงวนของภาษาซี มีดังนี้ auto double int struct break else long switch case enum register typedef char extern return union const float short unsigned continue for signed void default goto sizeof volatile do if static while ถ้าเราตั้งชื่อตัวแปร ไม่เป็นไปตามกฏโปรแกรมก็จะไม่สามารถทางานได้ นอกจากนี้ยังมีสิ่งที่ควรรู้ในการตั้งชื่ออีกคือ - ไม่ควรตั้งชื่อตัวแปรโดยใช้ตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด เพราะอาจถูกเข้าใจผิดว่าเป็นค่าคงที่ - หากชื่อนั้นประกอบขึ้นจากคาหลายคา ให้ใช้ _ คั่นแต่ละคา เช่น student_info_nickname หรือใช้ตัวพิมพ์ใหญ่แทน เช่น studentInfoNickname - และอีกอันที่ขาดไม่ได้คือ ควรตั้งชื่อให้สื่อความหมาย ว่าตัวแปรนั้นๆเก็บข้อมูลอะไรไว้อยู่ เช่น student_id เราสามารถทราบได้ทันทีว่าเป็นข้อมูลID ของนักเรียน แต่หากตั้งชื่อแค่ว่า data เราไม่สามารถทราบได้ว่าเป็นข้อมูลอะไร หากมาอ่านในภายหลังจะทาความเข้าใจได้ลาบาก
  • 4. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 19 คาถาม ชื่อตัวแปรต่อไปนี้ หากข้อใดสามารถนาไปใช้ได้ให้ตอบถูกและข้อใดผิดกฎการตั้งชื่อตอบผิด 1. customerName 2. ID 3. address1 4. %available 5. auto 6. Int 7. 3rdSubject 8. _sys_one 9. address_2 10. number5 11. #5
  • 5. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 20 การทางานของโปรแกรมส่วนใหญ่มักจะเป็นการเชื่อมโยงกับผู้ใช้แบบ 2 ทิศทางคือ ทั้งภาคของ การแสดงผลการทางานออกทางหน้าจอ และภาคของการรับข้อมูลจากผู้ใช้เข้ามาทางคีย์บอร์ด เพื่อร่วม ในการประมวลผลของโปรแกรม ในภาษาC การรับข้อมูลจากคีย์บอร์ดสามารถทาได้โดยการเรียกใช้ฟังก์ชันscanf()ซึ่งเป็น ฟังก์ชันมาตรฐานสาหรับรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด โดยสามารถรับข้อมูลได้ทุกประเภทไม่ว่าจะเป็นจานวน เต็ม ทศนิยม อักขระหรือข้อความ รูปแบบคาสั่ง scanf() การใช้รหัสควบคุมรูปแบบ เพื่อกาหนดชนิดของข้อมูลที่จะรับเข้ามาจากคีย์บอร์ดโดย รหัสควบคุมรูปแบบใช้ชุดเดียวกับคาสั่งprintf() variable คือ ตัวแปรที่จะใช้เก็บค่าข้อมูลที่รับเข้ามาจากคีย์บอร์ด โดยชนิดของตัวแปรจะต้องตรงกับ รหัสควบคุมรูปแบบที่กาหนดไว้ นอกจากนี้หน้าชื่อของตัวแปรจะต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย & ยกเว้น ตัวแปรสตริง สาหรับเก็บข้อความเท่านั้นที่ไม่ต้องนาหน้าด้วยเครื่องหมาย& ตัวอย่างการใช้งานคาสั่ง scanf() เพื่อรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด int speed; //สร้างตัวแปรชนิด int สาหรับเก็บค่าตัวเลขจานวนเต็ม printf("Enter wind speed :"); // แสดงข้อความให้กรอกค่าความเร็วลมเป็นจานวนเต็ม scanf("%d",&speed); //รับค่าความเร็วลมเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรspeed char answer; // สร้างตัวแปรชนิด char สาหรับเก็บอักขระ printf("Enter Figure(Y:N) : ") // แสดงข้อความให้ป้อนอักขระY หรือ N scanf("%c",&answer); //รับอักขระเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปร answer char name[10]; //สร้างตัวแปรสตริงสาหรับเก็บข้อความ printf("Enter your name = "); // แสดงข้อความให้ป้อนชื่อ scanf("%s",name ); // รับชื่อเข้ามาเก็บไว้ในตัวแปรname สังเกตจะไม่ใส่ เครื่องหมาย & หน้าตัวแปรชนิดข้อความ(string) scanf("format",&variable); คาสั่งรับข้อมูลจากคีย์บอร์ด คาสั่ง scanf()
  • 6. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 21 ตัวอย่าง 2.1 #include <stdio.h> #include<conio.h> int main() { int Long , wide , sum = 0; printf(“Enter The Length : “); scanf (“%d”,&Long); printf(“Enter The Width : ”); scanf (“%d”,&wide); sum = x*y; printf(“The area is : %d”,sum); getch(); return 0; } ตัวอย่างที่ 2.2 #include <stdio.h> #include<conio.h> int main() { float a , b , c = 5; printf(“Enter Number : ”); scanf(“%f ”,&a); b = a * c; printf(“Total= %.2f” ,b); getch(); return 0; } ตัวอย่าง 2.3 การรับข้อความโดยใช้ gets #include <stdio.h> #include<conio.h> #include<string.h> int main() { char name[20]; char address[70]; printf(“What is your name?”); gets(name); printf(“Address? ); gets(address); printf(“Hello! %sn”,name); printf(“Your address is %sn”,address); getch(); return 0; } ผลลัพธ์โปรแกรม …………………………………... …………………………………… …………………………………… ผลลัพธ์โปรแกรม ………………………………… ………………………………… ………………………………… … ผลลัพธ์โปรแกรม …………………………………... …………………………………… …………………………………… ……………………………………. ……………………………………. ……………………………………
  • 7. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 22 #include <stdio.h> #define MAX_NUMBER 10 // this line int main() { printf( "Value from constant variable: %d", MAX_NUMBER ); } Constant variable ตัวแปรค่าคงที่ (Constant variable) คือ ตัวแปรที่สามารถกาหนดค่าได้เพียงครั้งเดียว นั่นคือตอนประกาศตัวแปร หลังจากนั้นจะไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าที่ตัวแปรนั้นเก็บไว้ได้อีก การประกาศตัวแปรค่าคงที่ทาได้ดังนี้ * เรานิยมตั้งชื่อตัวแปรค่าคงที่ด้วยตัวพิมพ์ใหญ่ทั้งหมด คาสั่งต่างๆ รวมถึงการประกาศตัวแปรที่ผ่านมาล้วนอยู่ระหว่าง { และ } ที่ตามหลัง main() ทั้งสิ้น แต่การประกาศตัวแปรค่าคงที่นั้น เราจะใส่ไว้เหนือmain() ดังตัวอย่างด้านบนโดยมีรูปแบบคือ #define ชื่อตัวแปรค่าคงที่ ค่าคงที่ที่ต้องการเก็บ * ให้สังเกตว่า ไม่ต้องมีเครื่องหมาย ; (Semicolon) ตามหลัง วิธีนามาใช้ เหมือนกับตัวแปรปกติทุกประการต่างกันตรงที่ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงค่าที่เก็บไว้ได้ ตัวอย่าง2.3 #include <stdio.h> #define FACTOR 5 int main() { int x = 3, y = 4; x = y + FACTOR; printf( "x = %dn", x ); printf( "y = %dn", y); printf( "FACTOR = %d", FACTOR ); } โค้ด Value from constant variable: 10 ผลลัพธ์ ผลลัพธ์ x = ………. y = ……… FACTOR = ………
  • 8. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 23 จะเห็นได้ว่า เดิมที ตอนประกาศตัวแปร ตัวแปรx ถูกกาหนดค่าไว้เป็น3 แต่บรรทัดต่อมาตัวแปรx ได้ถูกกาหนดค่าใหม่อีกครั้งโดยมีค่าเท่ากับ ค่าของตัวแปร y บวกด้วย ค่าของตัวแปรค่าคงที่FACTOR ซึ่งมีค่าเท่ากับ 4 + 5 ทาให้ตัวแปร x มีค่าเปลี่ยนไปเป็น 9 ส่วนตัวแปร y และตัวแปรค่าคงที่ยังมีค่าเท่าเดิมคือ4, 5 ตามลาดับ เพราะ FACTOR เป็นตัวแปรค่าคงที่ จะกาหนดค่าใหม่หรือเปลี่ยนแปลงค่ามิได้ คาถาม จากโค้ดเริ่มต้นที่กาหนดให้ จะเห็นได้ว่ามีการใช้ตัวแปร PI ในการคานวณ แต่ยังไม่มีการประกาศและกาหนดค่าให้กับตัวแปร PI แต่อย่างใด จงแก้ไขโค๊ดที่กาหนดให้ ให้สามารถทางานได้อย่างถูกต้อง โดยการ ประกาศให้ PI เป็นตัวแปรค่าคงที่และมีค่าเท่ากับ 3.1415926 #include <stdio.h> #include <conio.h> int main() { int radius = 14; double circleArea = PI * radius * radius; printf("radius: %dn", radius); printf("area of circle: %lf", circleArea); getch(); return 0; } เราไม่สามารถเขียนแบบนี้ได้ FACTOR = 7; หรือ FACTOR = x + y + 5;
  • 9. เอกสารประกอบการสอน ภาษาซี โรงเรียนวิสุทธรังษี จังหวัดกาญจนบุรี หน้า 24 1. ให้เขียนโปรแกรมคานวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม โดยรับความยาวฐาน และความสูง เสร็จแล้วให้ แสดงผลลัพธ์เป็นทศนิยม 2 ตาแหน่ง 2. ให้เขียนโปรแกรมรับค่าทศนิยมมา3 จานวน จากนั้นให้แสดงผลรวมของเลขทั้ง3 จานวนนั้น และ ค่าเฉลี่ย (ทศนิยม 2 ตาแหน่ง) 3. ให้เขียนโปรแกรมแปลงเงินดอลลาร์ เป็นเงินบาทไทย (กาหนดให้ 1 ดอลลาร์เท่ากับ 30.2 บาท) 4. ให้เขียนโปรแกรมรับค่าเงินเดือน แล้วนาไปหักภาษี 6% จากนั้นให้แสดงจานวนเงินภาษีที่หักไป และแสดงเงินคงเหลือ Enter number 1 : 80.5 Enter number 2: 15.6 Enter number 3: 56.2 Total = 152.30 Average = 50.76 Enter Dollars : 35 35 Dollars = 1057.00 Baht Enter Salary : 12000 Tax 6% = 720.00 Baht Total = 11280.00 Baht แบบฝึกทัดท้ายบท