SlideShare a Scribd company logo
หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต
                             สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา
              บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
                                    __________________



๑.     ชื่อหลักสูตร
       ชื่อหลักสูตรภาษาไทย             พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา
       ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ          Master of Arts in Vipassana Meditation

๒.     ชื่อปริญญา
       ๒.๑ ชื่อเต็มภาษาไทย             พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (วิปสสนาภาวนา)
               ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ      Master of Arts in Vipassana Meditation
       ๒.๒ ชื่อยอภาษาไทย              พธ.ม. (วิปสสนาภาวนา)
               ชื่อยอภาษาอังกฤษ       M.A. (Vipassana Meditation)

๓.     หนวยงานที่รบผิดชอบ
                   ั
       บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๔.       หลักการเหตุผล และวัตถุประสงค
         ๔.๑ หลักการเหตุผล
         พุทธธรรม อันเปนคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เปนหลักคําสอน ที่แสดง
ถึงมรรคาแหงชีวิตอันประเสริฐแกมวลมนุษยชาติ ประกอบดวยหลักปริยัติอันเปนสวน ทฤษฎี
ปฏิบัติอันเปนสวนแหงการลงมือกระทํา และปฏิเวธ อันเปนผลแหงการกระทํานั้น กลาว
โดยสังเขปไดแก หลักแหงศีล สมาธิและปญญา หรือ เมื่อกลาวโดยภารกิจ ไดแก คันถธุระ อันเปน
สวนปริยัติ และวิปสสนาธุระ อันเปนสวนปฏิบัติซึ่งมีผลเปนปฏิเวธดังกลาวมา ในภาคปริยัติอนั
เปนคันถธุระนั้น ไดมการดําเนินการโดยอาศัยองคกรตาง ๆ ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ
                      ี
อยางแพรหลาย แตในภาคปฏิบัติอันเปนสวนวิปสสนาธุระนั้น มิไดมีการจัดการดําเนินการอยาง
เปนระบบโดยองคกรใดองคกรหนึ่งอยางเปนทางการ
         สถานการณโลกปจจุบัน เปนยุคชวงชิงดานวัตถุ มีการสงเสริมพัฒนาเทคโนโลยี วัตถุ
เปนไปอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการแขงขันตอสูกันในทุกรูปแบบ ในขณะทีการพัฒนาดาน จิตใจ
                                                                        ่
และปญญายังเปนไปไมทันกับการพัฒนาดานวัตถุ        จึงกอใหเกิดปญหาดานสุขภาพจิต อันมี
ผลกระทบตอชีวิตและสังคมตาง ๆ เชน โรคเครียด วิตกกังวล ซึมเศรา ฟุงซาน และนอน ไมหลับ
ทําใหประชาชนบางกลุม ไดเริ่มสนใจแสวงหาที่พึ่งทางใจ และใหความสนใจหลัก ธรรมเพื่อพัฒนา
ชีวิตและปญญา พัฒนาตนใหพนจากทุกขอนเปนธรรมลักษณะเดนเฉพาะ ของพระพุทธศาสนา
                                    ั
        บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดตระหนักถึงสถานการณ
โลกปจจุบันและคํานึงถึงความรับผิดชอบในฐานะเปนสถาบันการศึกษาทางพระพุทธศาสนา จึงมี
ความประสงคเปดหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา

๔.๒ วัตถุประสงค
        ๔.๒.๑ เพื่อผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ใหมีความรูความสามารถดาน ปริยัติ ปฏิบัติ
ปฏิเวธ และฝกฝนตนเองเพือใหไดรับผลการปฏิบติไดอยางมีประสิทธิภาพ
                          ่                 ั
        ๔.๒.๒ เพื่อใหมีความรูความสามารถเปนวิปสสนาจารย เพื่อการเผยแผดาน วิปสสนา
ภาวนา
        ๔.๒.๓ เพื่อใหเกิดการบูรณาการดานปริยัติและปฏิบัติ     สามารถนําไปประยุกตใชใน
ชีวิตประจําวันอยางมีความสงบสุข

๕.      คุณสมบัติของผูเขาศึกษา
        ๕.๑ เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาจากมหาวิทยาลัย      หรือ
สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง
        ๕.๒ ไดรับคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แตม ยกเวนผูจบเปรียญ
ธรรม ๙ ประโยค และผูมีประสบการณการทํางานดานวิปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลาไมนอย
                                                  
กวา ๒ ป นับแตสําเร็จการศึกษา
        ๕.๓ ไมเคยถูกลงโทษใหพนสภาพการเปนนิสตบัณฑิตวิทยาลัย
                                                    ิ

๖.      วิธีคัดเลือกผูเขาศึกษา
        บัณฑิตวิทยาลัยจะดําเนินการเกี่ยวกับการรับนิสิตใหม โดยพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการ
สอบคัดเลือกผูสมัครเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในแตละปการศึกษา      ผูสมัครตองสอบผาน
ขอเขียนใน ๓ วิชา คือ
        (๑) ความรูความสามารถทั่วไป
        (๒) ภาษาอังกฤษ
        (๓) วิชาเฉพาะสาขา
และสอบสัมภาษณ

๗.      ระบบการศึกษา
        ใชระบบทวิภาค โดย ๑ ปการศึกษาแบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาค การศึกษา
ปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห และอาจจะเปดการศึกษา ภาคฤดูรอนใหกําหนด
ระยะเวลาและจํานวนหนวยกิต โดยมีสัดสวนเทียบเคียงกันได กับการศึกษาภาคปกติเงื่อนไขอื่น ๆ
ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย            วาดวยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑

๘.    ระยะเวลาการศึกษา
      ใหมระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไมเกิน ๑๐
          ี
ภาคการศึกษาปกติ

๙.     การลงทะเบียนเรียน
       กําหนดใหนสิตลงทะเบียนแตละภาคการศึกษาปกติ ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต และ ไมเกิน
                 ิ
๑๕ หนวยกิต

๑๐.      การวัดผลและประเมินผล
         ๑๐.๑ ภาคทฤษฎี
         ใหมีการวัดผลทุกรายวิชาทีนสิตลงทะเบียนในแตละภาคการศึกษา โดยวิธการ ทดสอบ
                                  ่ ิ                                          ี
เขียนรายงาน มอบหมายงานใหทํา หรือวิธีอื่นใดทีเ่ หมาะสมกับรายวิชา นิสิตจะมีสทธิเขาสอบไล
                                                                             ิ
หรือไดรับการวัดผลในรายวิชาใดก็ตอเมื่อมีเวลาศึกษาใน รายวิชานันมาแลวไมนอยกวารอยละ ๘๐
                                                              ้
ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น
         สําหรับการประเมินผลรายวิชาและวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัย วา
ดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๒๑ และระเบียบบัณฑิต วิทยาลัยวาดวยวิธี
ปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๑
         ๑๐.๒ ภาคปฏิบัติวิปสสนา
         ปฏิบัติวปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลา ๗ เดือน ในสถานที่ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน
                  ิ
ที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดยมีพระวิปสสนาจารยเปนผูควบคุมการปฏิบัติ และวัดผลประเมินผลการ
ปฏิบัติ
๑๑.     การสําเร็จการศึกษา
        คุณสมบัติของผูสําเร็จการศึกษา
        ๑๑.๑ มีเวลาการศึกษาไมนอยกวา ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไมเกินกวา ๑๐
                ภาคการศึกษาปกติ
        ๑๑.๒ ศึกษารายวิชาตาง ๆ ครบถวนและถูกตองตามเงื่อนไขทีกําหนดไวในหลักสูตร
                                                                 ่
        ๑๑.๓ ไดหนวยกิตสะสมไมนอยกวาที่กําหนดไวในหลักสูตร
        ๑๑.๔ ไดคาระดับเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับ
        ๑๑.๕ ไดระดับไมต่ํากวา B ในรายวิชาบังคับและวิชาเอกทุกวิชา และไดรับ S ใน
                กรณีที่หลักสูตรกําหนดใหวดผลเปน S หรือ U
                                         ั
        ๑๑.๖ ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลา ๗ เดือน ในสถานที่ปฏิบัติ
                วิปสสนากรรมฐานที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดยมีพระวิปสสนาจารยเปนผู
                ควบคุมการปฏิบัติ และไดรับการวัดผลประเมินผลการปฏิบัติเปน S
        ๑๑.๗ สงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด

๑๒.      ขอกําหนดเกียวกับวิทยานิพนธ
                        ่
         ๑๒.๑ นิสิตจะเสนอหัวขอและโครงรางวิทยานิพนธเพื่อขออนุมัติลงทะเบียนทํา
วิทยานิพนธได เมื่อศึกษารายวิชามาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคการศึกษาปกติ และมีหนวยกิต สะสม
ในรายวิชาไมนอยกวา ๑๖ หนวยกิต
                
         ๑๒.๒ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธตองมีทงบรรพชิตและคฤหัสถ จํานวนไม นอย
                                                         ั้
กวา ๒ ทาน แตไมเกิน ๓ ทาน ทั้งนี้จะตองมีอาจารยประจํามหาวิทยาลัยอยางนอย ๑ ทาน
         ๑๒.๓ นิสตมีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธได เมื่อศึกษารายวิชาครบตามที่กําหนด ไดคา
                      ิ
ระดับเฉลี่ยสะสมในรายวิชาไมนอยกวา ๓.๐๐ และทําวิทยานิพนธเสร็จสมบูรณ โดยใช เวลาทํา
วิทยานิพนธไมนอยกวา ๓ เดือน นับจากวันลงทะเบียนทําวิทยานิพนธ
         เงื่อนไขอื่น ๆ เกี่ยวกับวิทยานิพนธใหเปนไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย วาดวยวิธี ปฏิบัติ
เกี่ยวกับวิทยานิพนธ พ.ศ. ๒๕๔๒

๑๓.      หลักสูตร
         ๑๓.๑ จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ๓๘ หนวยกิต (แผน ก แบบ ก ๒) และเขา
ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานเทาเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด และทําวิทยานิพนธเสนอมหาวิทยาลัย
๑๓.๒ โครงสรางหลักสูตร

โครงสรางหลักสูตร (แผน ก แบบ ก ๒)             หนวยกิต    หมายเหตุ
๑.     วิชาบังคับ            ไมนอยกวา      ๘
๒. วิชาเอก                   ไมนอยกวา      ๑๒
๓.     วิชาเลือก             ไมนอยกวา      ๖
๔.     วิทยานิพนธ                            ๑๒
       รวมหนวยกิต                            ๓๘

๑๓.๓ รายวิชาในหลักสูตร
     ๑๓.๓.๑ รายวิชาบังคับ
     ๖๐๐ ๑๐๑        พระไตรปฎกวิเคราะห                    ๒(๒-๐-๔)
                    Tipitฺaka Analysis
     ๖๐๖ ๑๐๒        วิปสสนาภาวนาในคัมภีรพระพุทธศาสนา     ๒(๒-๐-๔)
                    Vipassanabhavana in Buddhist Texts
     ๖๐๖ ๒๐๓        สัมมนาวิปสสนาภาวนา                    ๒(๒-๐-๔)
                    Seminar on Vipassanabhavana
     ๖๐๖ ๒๐๔        ระเบียบวิธีวิจยวิปสสนาภาวนา
                                  ั                        ๒(๒-๐-๔)
                    Research Methodology on Vipassanabhavana
     ๖๐๐ ๑๐๕ * ภาษาอังกฤษ                                  ๒(๒-๐-๔)
                    English
     หมายเหตุ       รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๕ เรียนโดยไมนับหนวยกิต

       ๑๓.๓.๒ วิชาเอก มี ๑๒ หนวยกิต ดังนี้
       ๖๐๖ ๑๐๖ สมถภาวนา                                   ๓ (๓-๐-๖)
                    Samathabhavana
       ๖๐๖ ๒๐๗ วิปสสนาภาวนา                              ๓ (๓-๐-๖)
                    Vipassanabhavana
       ๖๐๖ ๓๐๘ สติปฏฐานภาวนา                             ๓ (๓-๐-๖)
                    Satipatฺthanabhavana
๖๐๖ ๓๐๙ พุทธยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ          ๓ (๓-๐-๖)
               ศูนยวิปสสนาภาวนา
               Buddhist administrating Strategy of
               Vipassanabhavana Center
       ๖๐๖ ๔๑๐ ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๗ เดือน        ๒,๙๔๐ ชั่วโมง)
               Vipassanabhavana Practice

๑๓.๓.๓ วิชาเลือก ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต
                     

       ๖๐๖ ๑๑๑       ปรมัตถธรรม                                ๒(๒-๐-๔)
                     Paramatthadhamma
       ๖๐๖ ๓๑๒       หลักการเปนวิทยากรภาคปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔)
                     The Principle of Lecturer on Vipassanabhavana
                     Practice
       ๖๐๖ ๓๑๓       การประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา       ๒(๒-๐-๔)
                     Evaluation of Vipassanabhavana Pracitce
       ๖๐๖ ๑๑๔       วิปสสนาภาวนาในโลกรวมสมัย                ๒(๒-๐-๔)
                     Vipassanabhavana in the Contemporary World
       ๖๐๖ ๑๑๕       ชีวิตและผลงานพระวิปสสนาจารยไทย          ๒(๒-๐-๔)
                     Life and Works of Thai Vipassanabhavana Teachers
       ๖๐๖ ๓๑๖       เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิปสสนาภาวนา
                                                              ๒(๒-๐-๔)
                     Information and Communication Technology
                     for Vipassanabhavana
       ๖๐๖ ๓๑๗       ศึกษาอิสระในหลักวิปสสนาภาวนา             ๒(๒-๐-๔)
                     Independent Study on Vipassanabhavana



๑๓.๓.๔ วิทยานิพนธ
      ๖๐๖ ๔๐๐      วิทยานิพนธ                  ๑๒            หนวยกิต
                   Thesis
๑๓.๔ แผนการศึกษา

      ภาคเรียน                  รหัสวิชา / รายวิชา                  จํานวนหนวยกิต

      ๑         วิชาบังคับ
                ๖๐๐ ๑๐๑        พระไตรปฎกวิเคราะห                         ๒
                ๖๐๖ ๑๐๒        วิปสสนาภาวนาในคัมภีรพระพุทธศาสนา
                                                                          ๒
                ๖๐๐ ๑๐๕        ภาษาอังกฤษ*                                 (๒)
                วิชาเอก
                ๖๐๖ ๑๐๖        สมถภาวนา                                    ๓
                วิชาเลือก
                เลือกเรียนจากหมวดรายวิชาเลือกจํานวน ๒ รายวิชา              ๔
                               รวมหนวยกิตภาคเรียนที่ ๑                    ๑๑
                หมายเหตุ รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๕ เรียนโดยไมนับหนวยกิต

  ภาคเรียนที่                    รหัสวิชา / รายวิชา                   จํานวนหนวยกิต
  ๒                วิชาบังคับ
                   ๖๐๖ ๒๐๓        สัมมนาวิปสสนาภาวนา                            ๒
                   ๖๐๖ ๒๐๔        ระเบียบวิธีวิจยวิปสสนาภาวนา
                                                ั                                ๒
                   วิชาเอก
                   ๖๐๖ ๒๐๗        วิปสสนาภาวนา                                  ๓
                                  รวมหนวยกิตภาคเรียนที่ ๒                       ๗

  ภาคเรียนที่                    รหัสวิชา / รายวิชา                   จํานวนหนวยกิต
    ๓              วิชาเอก
                   ๖๐๖ ๓๐๘        สติปฏฐานภาวนา                                 ๓
                   ๖๐๖ ๓๐๙        พุทธยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ                ๓
                                  ศูนยวิปสสนาภาวนา
                   วิชาเลือก
                   เลือกจากหมายรายวิชาเลือก จํานวน ๑ รายวิชา                     ๒
                                รวมหนวยกิต                                      ๘
ภาคเรียนที่                      รหัสวิชา / รายวิชา                     จํานวนหนวยกิต
๔                   วิชาเอก
                    ๖๐๖ ๔๑๐       ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา                       ๒,๙๔๐ ชม.
                    ๖๐๖ ๔๐๐       วิทยานิพนธ                                ๑๒
                    รวมหนวยกิตภาคเรียนที่ ๔                                 ๑๒
หมายเหตุ      เมื่อศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตรแลว นิสิตจะตองเขาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานใน
              สํานักที่มหาวิทยาลัยกําหนดเปนเวลา ๗ เดือนติดตอกัน


๑๓.๕       คําอธิบายรายวิชา
           ๑๓.๕.๑ วิชาบังคับ ๘ หนวยกิต ดังนี้

           ๖๐๐ ๑๐๑       พระไตรปฎกวิเคราะห                                  ๒(๒-๐-๔)
                         Tฺipitaka Analysis
         ศึกษาความเปนมาของการรวบรวมพระธรรมวินัย เปนพระไตรปฎก และการถายทอด
โครงสรางและสาระสังเขปของพระไตรปฎก วิเคราะหหลักธรรมสําคัญ เชน อริยสัจจ ไตรลักษณ
ไตรสิกขา นรก สวรรค จิต วิญญาณ

           ๖๐๖ ๑๐๒       วิปสสนาภาวนาในคัมภีรพระพุทธศาสนา
                                                                             ๒(๒-๐-๔)
                         Vipassanabhavana in Buddhist Texts
       ศึกษาความรูพนฐานของวิปสสนาภาวนาโดยทั่วไป หลักวิปสสนา ภาวนา ตามนัยของ
                    ื้        
พระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณวิเสส ตาง ๆ

           ๖๐๖ ๒๐๓       สัมมนาวิปสสนาภาวนา                                  ๒(๒-๐-๔)
                         Seminar on Vipassanabhavana
         สัมมนาหลักการถามตอบและสอบอารมณของการปฏิบัติวิปสสนา ภาวนา และเรืองอัน
                                                                           ่
เปนประเด็นปญหาของการปฏิบัติวิปสสนา ภาวนา สภาพปญหา สาเหตุปญหาและวิธีการแกไข
ปญหาการ ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา
๖๐๖ ๒๐๔         ระเบียบวิธีวิจยวิปสสนาภาวนา
                                      ั                                      ๒(๒-๐-๔)
                        Research Methodology on Vipassanabhavana
        ศึกษาลักษณะและประเภทของการวิจยทางวิปสสนาภาวนา และ การนําเสนอผลงานวิจย
                                     ั                                       ั

        ๖๐๐ ๑๐๕         ภาษาอังกฤษ                                           ๒(๒-๐-๔)
                        English
        ศึกษาภาษาอังกฤษขั้นใชงานเพื่อใหมีทักษะในการเขียน บรรยาย และอภิปรายธรรม

       หมายเหตุ       รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๕ เรียนโดยไมนับหนวยกิต

๑๓.๕.๒ วิชาเอก ๑๒ หนวยกิต ดังนี้

        ๖๐๖ ๑๐๖         สมถภาวนา                                             ๓ (๓-๐-๖)
                        Samathabhavana
       ศึกษาความหมาย หลักธรรมที่เปนอารมณของสมถภาวนาแนวทาง การปฏิบัติ และผล
ของการปฏิบัติสมถภาวนา

        ๖๐๖ ๒๐๗         วิปสสนาภาวนา                                        ๓ (๓-๐-๖)
                        Vipassanabhavana
       ศึกษาเชิงวิเคราะหความหมาย หลักธรรมทีเ่ ปนภูมิของวิปสสนา ภาวนา แนวทางปฏิบัติ
                                                            
และผลของการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา

        ๖๐๖ ๓๐๘         สติปฏฐานภาวนา                                       ๓ (๓-๐-๖)
                        Satipatฺthanabhavana
         ศึกษาวิธีปฏิบติวิปสสนาภาวนาตามแนวสติปฏฐานสูตร และสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ
                      ั
การเจริญสติ

        ๖๐๖ ๓๐๙         พุทธยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ                       ๓ (๓-๐-๖)
                        ศูนยวิปสสนาภาวนา
                        Buddhist administrating Strategy of Vipassanabhavana Center
ศึกษาความเปนไปได ของโครงการ การวางแผนยุทธศาสตร ตามหลักพระพุทธศาสนา
การจัดการศูนยวิปสสนาธุระการติดตามและ การประเมินผลโครงการ
                 

         ๖๐๖ ๔๑๐        ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา
                        Vipassanabhavana Practice
         ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลา ๗ เดือน ในสถานที่ปฏิบัติวิปสสนา   
กรรมฐานที่มหาวิทยาลัยกําหนด          โดยมีพระวิปสสนาจารยเปนผูควบคุมการปฏิบัติและวัดผล
                                                  
ประเมินผลการปฏิบัติ คํานวณหนวยกิตภาคการปฏิบัติทั้งหมดเปน ๒๑๐ วัน ๆ ละ ๑๔ ชัวโมง    ่
เปน ๒,๙๔๐ ชั่วโมง มีคาเทา ๖๕ หนวยกิต แตไมนับหนวยกิต

๑๓.๕.๓     วิชาเลือก เลือกเรียนจํานวน ๖ หนวยกิต ดังนี้

   ๖๐๖ ๑๑๑        ปรมัตถธรรม                                             ๒(๒-๐-๔)
                  Paramatthadhamma
         ศึกษาปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน เชิงบูรณาการ ตามหลักวิปสสนา
ภาวนา

   ๖๐๖ ๓๑๒        หลักการเปนวิทยากรภาคปฏิบัตวิปสสนาภาวนา
                                             ิ                     ๒(๒-๐-๔)
                  The Principle of Lecturer on Vipassanabhavana Practice
          ศึกษาความรูพนฐานของการเปนวิทยากรภาคปฏิบัตวิปสสนา ประเภท การเปนวิทยากร
                       ื้                            ิ
ปจจัยสัมฤทธิผล การเปนวิทยากรภาคปฏิบัติวิปสสนา หลักและวิธีการเปนวิทยากรภาคปฏิบัติ
วิปสสนา
   ๖๐๖ ๓๑๓        การประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา                   ๒(๒-๐-๔)
                  Evaluation of Vipassanabhavana Pracitce
         ศึกษาความรูพนฐานของการประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนา ปจจัย สัมฤทธิผลของการ
                      ื้
ประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนา กระบวนการประเมินผล การปฏิบติวปสสนา หลักและวิธการสอน
                                                         ั ิ               ี
การปฏิบัติวิปสสนา
             
๖๐๖ ๑๑๔         วิปสสนาภาวนาในโลกรวมสมัย                                 ๒(๒-๐-๔)
                   Vipassanabhavana in the Contemporary Wold
         ศึกษาวิเคราะหสถานการณวิปสสนาธุระในประเทศไทย ประเทศตะวันออกและตะวันตก

   ๖๐๖ ๑๑๕         ชีวิตและผลงานพระวิปสสนาจารยไทย               ๒(๒-๐-๔)
                   Life and Works of Thai Vipassanabhavana teachers
         ศึกษาภูมิปญญาดานกรรมฐานของพระมหาเถระผูมีชื่อเสียง เริ่มตั้งแตยุคตนรัตนโกสินทร
                   
จนถึงปจจุบัน

   ๖๐๖ ๓๑๖         เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิปสสนาภาวนา                          ๒(๒-๐-๔)
                   Information and Communication Technology
                   for Vipassanabhavana
         ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ                เพื่อการศึกษา      และเผยแผ
วิปสสนาภาวนา

   ๖๐๖ ๓๑๗         ศึกษาอิสระในหลักวิปสสนาภาวนา                              ๒(๒-๐-๔)
                   Independent Study on Vipassanabhavana
        โครงการวิจัยในหัวขอทีนักศึกษาเลือกเอง โดยปรึกษาจากอาจารย และประเมินผล
                              ่
โครงการโดยอาจารย นักศึกษาและอาจารยจัดทําแผน การศึกษาของโครงการเกี่ยวกับวิปสสนา
ภาวนาจากพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณวิเสสอื่น ๆ

๑๓.๕.๔ วิทยานิพนธ
๖๐๖ ๔๐๐          วิทยานิพนธ                                                        ๑๒ หนวยกิต
                Thesis
        ศึกษาวิเคราะหงานวิจัยทางวิปสสนาภาวนา และนําเสนอ งานวิจัย ภายใตการกํากับดูแล
จากอาจารยทปรึกษา
           ี่


                                      ***************************

More Related Content

What's hot

วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยnaykulap
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
ครูต๋อง ฉึก ฉึก
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
PakChee
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
worapanthewaha
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
Ku'kab Ratthakiat
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
Bom Anuchit
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
Choengchai Rattanachai
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
รมณ รมณ
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
Watcharapol Wiboolyasarin
 

What's hot (20)

วิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทยวิวัฒนาการการศึกษาไทย
วิวัฒนาการการศึกษาไทย
 
หลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษาหลักสูตรสังคมศึกษา
หลักสูตรสังคมศึกษา
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นตรี  พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
นโยบาย สพฐ. ปีงบประมาณ 2559
 
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำรายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
รายละเอียดวิชาพระสงฆ์กับภาวะผู้นำ
 
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำเฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
เฉลยแบบฝึกหัดชนิดของคำ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชเล่มที่ 11  สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
เล่มที่ 11 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออกการวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
การวิจารณ์วรรณคดีตามแนวตะวันออก
 

Viewers also liked

ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคลประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล
2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล
2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖
2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖
2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบnookkiss123
 

Viewers also liked (10)

ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคลประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
ประวัติวัดใหญ่ชัยมงคล
 
2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล
2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล
2554 โครงการค่ายอาสาชมรมชนบท มหิดล
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
2554 ค่ายอาสาพัฒนาจุฬา - ชนบท ครั้งที่ ๒๒
 
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโลมติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
มติมหาเถรสมาคมเรื่องพระอธิการคึกฤทธิ์ โสตฺถิผโล
 
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
แลกเปลี่ยนเรียนรู้
 
2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖
2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖
2554 ค่ายอาสาพัฒนาสาธารณสุข ครั้งที่ ๑๖
 
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
2553 ค่ายอาสาพัฒนาท้องถิ่นเพื่อน้องกลางไพร มรภ เลย
 
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
2554 ผลงานค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ชมรมอีสาน พระนครเหนือ (เต็ม)
 
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 255609 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
09 ค่ายสร้างอาสารัฐศาสตร์ มช 2556
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 

Similar to หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา

ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมpentanino
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
koyrattanasri
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมtanong2516
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยpentanino
 
Academic position
Academic positionAcademic position
Academic position
Arwin Intrungsi
 
Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013
privategold
 
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
Wuttipong Karun
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
parinya poungchan
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...Sirirat Faiubon
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
Wichai Likitponrak
 
การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2
Wichai Likitponrak
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
krutukSlide
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
kruthai40
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมkrupornpana55
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทองneungzaba
 

Similar to หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา (20)

มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
ประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรมประกาศการปฏิบัติธรรม
ประกาศการปฏิบัติธรรม
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
 
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทยสาขาวิชาการสอนภาษาไทย
สาขาวิชาการสอนภาษาไทย
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๓
 
Academic position
Academic positionAcademic position
Academic position
 
Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013Savikasikkalai 2013
Savikasikkalai 2013
 
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านหลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
E0b981e0b89ce0b899e0b881e0b8b2e0b8a3e0b888e0b8b1e0b894e0b881e0b8b2e0b8a3e0b98...
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2การแนะนำบทเรียน ม6-2
การแนะนำบทเรียน ม6-2
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
ประกาศบ ณฑ_ตว_ทยาล_ย (1)
 ประกาศบ ณฑ_ตว_ทยาล_ย (1) ประกาศบ ณฑ_ตว_ทยาล_ย (1)
ประกาศบ ณฑ_ตว_ทยาล_ย (1)
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
 
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทองการพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์  เสือบุญทอง
การพัฒนาหลักสูตร โรงเรียนตะโหมด วีระพงศ์ เสือบุญทอง
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้องmahaoath พระมหาโอ๊ท
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op kumahaoath พระมหาโอ๊ท
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 

More from mahaoath พระมหาโอ๊ท (20)

หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายต้นกล้าครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
รายละเอียดโครงการ(ค่ายแสงเทียน 24)
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
ผลงานชาวค่าย "มร.ปั้นฝัน ปันน้ำใจเพื่อน้อง ครั้งที่ ๑"
 
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในสถานการณ์ปัจจุบันในประเทศอินเดีย
 
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
ประวัติบุคคลต้นแบบ (Idol)
 
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
2558 วิถีแห่งรูปนาม แนวคิดในการพัฒนาวัดภูเขาทอง
 
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
14 โครงการเรียนรู้ฟื้นฟูถิ่นพอเพียง
 
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
13 ค่ายรักบ้านเกิดครั้งที่ ๒ ลาดกระบัง
 
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
12 โครงการค่ายอาสาแบ่งปันรอยยิ้ม
 
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
11 โครงการค่ายไอซีทีอาสาพัฒนาโรงเรียนน้องครั้งที่ ๗
 
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
10 ค่ายอาสาแบ่งปันน้ำใจให้น้อง
 
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
08 ค่ายปลูกต้นกล้าปันปัญญาให้น้อง
 
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
07 ค่ายความรู้สหกรณ์สู่ชนบท ครั้งที่ ๒๐ co-op ku
 
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
05 โครงการค่ายคืนปัญญาสู่มาตุภูมิ ๕๖
 
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
04 ค่ายสัตวแพทย์ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
02 โครงการค่ายสืบสานสร้างสรรค์ ส่งมา ๓๐ ส.ค. ๕๖
 
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
03 ค่ายกลางปี ครุ จุฬา ส่ง ๔ ก.ย. ๕๖
 
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มรโครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
โครงงานบำเพ็ญประโยชน์ กลุ่มเยาวชนสัมพันธ์ มร
 

หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา

  • 1. หลักสูตรพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย __________________ ๑. ชื่อหลักสูตร ชื่อหลักสูตรภาษาไทย พุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ Master of Arts in Vipassana Meditation ๒. ชื่อปริญญา ๒.๑ ชื่อเต็มภาษาไทย พุทธศาสตรมหาบัณฑิต (วิปสสนาภาวนา) ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ Master of Arts in Vipassana Meditation ๒.๒ ชื่อยอภาษาไทย พธ.ม. (วิปสสนาภาวนา) ชื่อยอภาษาอังกฤษ M.A. (Vipassana Meditation) ๓. หนวยงานที่รบผิดชอบ ั บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ๔. หลักการเหตุผล และวัตถุประสงค ๔.๑ หลักการเหตุผล พุทธธรรม อันเปนคําสอนขององคสมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจา เปนหลักคําสอน ที่แสดง ถึงมรรคาแหงชีวิตอันประเสริฐแกมวลมนุษยชาติ ประกอบดวยหลักปริยัติอันเปนสวน ทฤษฎี ปฏิบัติอันเปนสวนแหงการลงมือกระทํา และปฏิเวธ อันเปนผลแหงการกระทํานั้น กลาว โดยสังเขปไดแก หลักแหงศีล สมาธิและปญญา หรือ เมื่อกลาวโดยภารกิจ ไดแก คันถธุระ อันเปน สวนปริยัติ และวิปสสนาธุระ อันเปนสวนปฏิบัติซึ่งมีผลเปนปฏิเวธดังกลาวมา ในภาคปริยัติอนั เปนคันถธุระนั้น ไดมการดําเนินการโดยอาศัยองคกรตาง ๆ ทั้งที่เปนทางการและไมเปนทางการ ี อยางแพรหลาย แตในภาคปฏิบัติอันเปนสวนวิปสสนาธุระนั้น มิไดมีการจัดการดําเนินการอยาง เปนระบบโดยองคกรใดองคกรหนึ่งอยางเปนทางการ สถานการณโลกปจจุบัน เปนยุคชวงชิงดานวัตถุ มีการสงเสริมพัฒนาเทคโนโลยี วัตถุ เปนไปอยางรวดเร็ว ทําใหเกิดการแขงขันตอสูกันในทุกรูปแบบ ในขณะทีการพัฒนาดาน จิตใจ ่
  • 2. และปญญายังเปนไปไมทันกับการพัฒนาดานวัตถุ จึงกอใหเกิดปญหาดานสุขภาพจิต อันมี ผลกระทบตอชีวิตและสังคมตาง ๆ เชน โรคเครียด วิตกกังวล ซึมเศรา ฟุงซาน และนอน ไมหลับ ทําใหประชาชนบางกลุม ไดเริ่มสนใจแสวงหาที่พึ่งทางใจ และใหความสนใจหลัก ธรรมเพื่อพัฒนา ชีวิตและปญญา พัฒนาตนใหพนจากทุกขอนเปนธรรมลักษณะเดนเฉพาะ ของพระพุทธศาสนา  ั บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ไดตระหนักถึงสถานการณ โลกปจจุบันและคํานึงถึงความรับผิดชอบในฐานะเปนสถาบันการศึกษาทางพระพุทธศาสนา จึงมี ความประสงคเปดหลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิปสสนาภาวนา ๔.๒ วัตถุประสงค ๔.๒.๑ เพื่อผลิตพุทธศาสตรมหาบัณฑิต ใหมีความรูความสามารถดาน ปริยัติ ปฏิบัติ ปฏิเวธ และฝกฝนตนเองเพือใหไดรับผลการปฏิบติไดอยางมีประสิทธิภาพ ่ ั ๔.๒.๒ เพื่อใหมีความรูความสามารถเปนวิปสสนาจารย เพื่อการเผยแผดาน วิปสสนา ภาวนา ๔.๒.๓ เพื่อใหเกิดการบูรณาการดานปริยัติและปฏิบัติ สามารถนําไปประยุกตใชใน ชีวิตประจําวันอยางมีความสงบสุข ๕. คุณสมบัติของผูเขาศึกษา ๕.๑ เปนผูสําเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเทาจากมหาวิทยาลัย หรือ สถาบันการศึกษาที่สภามหาวิทยาลัยรับรอง ๕.๒ ไดรับคาระดับเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา ๒.๕๐ จากระบบ ๔ แตม ยกเวนผูจบเปรียญ ธรรม ๙ ประโยค และผูมีประสบการณการทํางานดานวิปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลาไมนอย  กวา ๒ ป นับแตสําเร็จการศึกษา ๕.๓ ไมเคยถูกลงโทษใหพนสภาพการเปนนิสตบัณฑิตวิทยาลัย ิ ๖. วิธีคัดเลือกผูเขาศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยจะดําเนินการเกี่ยวกับการรับนิสิตใหม โดยพิจารณาแตงตั้งคณะกรรมการ สอบคัดเลือกผูสมัครเขาศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาในแตละปการศึกษา ผูสมัครตองสอบผาน ขอเขียนใน ๓ วิชา คือ (๑) ความรูความสามารถทั่วไป (๒) ภาษาอังกฤษ (๓) วิชาเฉพาะสาขา
  • 3. และสอบสัมภาษณ ๗. ระบบการศึกษา ใชระบบทวิภาค โดย ๑ ปการศึกษาแบงออกเปน ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาค การศึกษา ปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา ๑๕ สัปดาห และอาจจะเปดการศึกษา ภาคฤดูรอนใหกําหนด ระยะเวลาและจํานวนหนวยกิต โดยมีสัดสวนเทียบเคียงกันได กับการศึกษาภาคปกติเงื่อนไขอื่น ๆ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วาดวยการศึกษาระดับ บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ๘. ระยะเวลาการศึกษา ใหมระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตรไมนอยกวา ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไมเกิน ๑๐ ี ภาคการศึกษาปกติ ๙. การลงทะเบียนเรียน กําหนดใหนสิตลงทะเบียนแตละภาคการศึกษาปกติ ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต และ ไมเกิน ิ ๑๕ หนวยกิต ๑๐. การวัดผลและประเมินผล ๑๐.๑ ภาคทฤษฎี ใหมีการวัดผลทุกรายวิชาทีนสิตลงทะเบียนในแตละภาคการศึกษา โดยวิธการ ทดสอบ ่ ิ ี เขียนรายงาน มอบหมายงานใหทํา หรือวิธีอื่นใดทีเ่ หมาะสมกับรายวิชา นิสิตจะมีสทธิเขาสอบไล ิ หรือไดรับการวัดผลในรายวิชาใดก็ตอเมื่อมีเวลาศึกษาใน รายวิชานันมาแลวไมนอยกวารอยละ ๘๐ ้ ของเวลาการศึกษาทั้งหมดในภาคการศึกษานั้น สําหรับการประเมินผลรายวิชาและวิทยานิพนธ ใหเปนไปตามขอบังคับมหาวิทยาลัย วา ดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๑ ขอ ๒๑ และระเบียบบัณฑิต วิทยาลัยวาดวยวิธี ปฏิบัติเกี่ยวกับวิทยานิพนธ พ.ศ. ๒๕๔๒ ขอ ๑๑ ๑๐.๒ ภาคปฏิบัติวิปสสนา ปฏิบัติวปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลา ๗ เดือน ในสถานที่ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐาน ิ ที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดยมีพระวิปสสนาจารยเปนผูควบคุมการปฏิบัติ และวัดผลประเมินผลการ ปฏิบัติ
  • 4. ๑๑. การสําเร็จการศึกษา คุณสมบัติของผูสําเร็จการศึกษา ๑๑.๑ มีเวลาการศึกษาไมนอยกวา ๔ ภาคการศึกษาปกติ และไมเกินกวา ๑๐ ภาคการศึกษาปกติ ๑๑.๒ ศึกษารายวิชาตาง ๆ ครบถวนและถูกตองตามเงื่อนไขทีกําหนดไวในหลักสูตร ่ ๑๑.๓ ไดหนวยกิตสะสมไมนอยกวาที่กําหนดไวในหลักสูตร ๑๑.๔ ไดคาระดับเฉลี่ยสะสม ไมต่ํากวา ๓.๐๐ จากระบบ ๔ ระดับ ๑๑.๕ ไดระดับไมต่ํากวา B ในรายวิชาบังคับและวิชาเอกทุกวิชา และไดรับ S ใน กรณีที่หลักสูตรกําหนดใหวดผลเปน S หรือ U ั ๑๑.๖ ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลา ๗ เดือน ในสถานที่ปฏิบัติ วิปสสนากรรมฐานที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดยมีพระวิปสสนาจารยเปนผู ควบคุมการปฏิบัติ และไดรับการวัดผลประเมินผลการปฏิบัติเปน S ๑๑.๗ สงวิทยานิพนธฉบับสมบูรณตามที่มหาวิทยาลัยกําหนด ๑๒. ขอกําหนดเกียวกับวิทยานิพนธ ่ ๑๒.๑ นิสิตจะเสนอหัวขอและโครงรางวิทยานิพนธเพื่อขออนุมัติลงทะเบียนทํา วิทยานิพนธได เมื่อศึกษารายวิชามาแลวไมนอยกวา ๒ ภาคการศึกษาปกติ และมีหนวยกิต สะสม ในรายวิชาไมนอยกวา ๑๖ หนวยกิต  ๑๒.๒ คณะกรรมการควบคุมวิทยานิพนธตองมีทงบรรพชิตและคฤหัสถ จํานวนไม นอย ั้ กวา ๒ ทาน แตไมเกิน ๓ ทาน ทั้งนี้จะตองมีอาจารยประจํามหาวิทยาลัยอยางนอย ๑ ทาน ๑๒.๓ นิสตมีสิทธิ์ขอสอบวิทยานิพนธได เมื่อศึกษารายวิชาครบตามที่กําหนด ไดคา ิ ระดับเฉลี่ยสะสมในรายวิชาไมนอยกวา ๓.๐๐ และทําวิทยานิพนธเสร็จสมบูรณ โดยใช เวลาทํา วิทยานิพนธไมนอยกวา ๓ เดือน นับจากวันลงทะเบียนทําวิทยานิพนธ เงื่อนไขอื่น ๆ เกี่ยวกับวิทยานิพนธใหเปนไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย วาดวยวิธี ปฏิบัติ เกี่ยวกับวิทยานิพนธ พ.ศ. ๒๕๔๒ ๑๓. หลักสูตร ๑๓.๑ จํานวนหนวยกิต รวมตลอดหลักสูตร ๓๘ หนวยกิต (แผน ก แบบ ก ๒) และเขา ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานเทาเวลาที่มหาวิทยาลัยกําหนด และทําวิทยานิพนธเสนอมหาวิทยาลัย
  • 5. ๑๓.๒ โครงสรางหลักสูตร โครงสรางหลักสูตร (แผน ก แบบ ก ๒) หนวยกิต หมายเหตุ ๑. วิชาบังคับ ไมนอยกวา ๘ ๒. วิชาเอก ไมนอยกวา ๑๒ ๓. วิชาเลือก ไมนอยกวา ๖ ๔. วิทยานิพนธ ๑๒ รวมหนวยกิต ๓๘ ๑๓.๓ รายวิชาในหลักสูตร ๑๓.๓.๑ รายวิชาบังคับ ๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปฎกวิเคราะห ๒(๒-๐-๔) Tipitฺaka Analysis ๖๐๖ ๑๐๒ วิปสสนาภาวนาในคัมภีรพระพุทธศาสนา ๒(๒-๐-๔) Vipassanabhavana in Buddhist Texts ๖๐๖ ๒๐๓ สัมมนาวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Seminar on Vipassanabhavana ๖๐๖ ๒๐๔ ระเบียบวิธีวิจยวิปสสนาภาวนา ั ๒(๒-๐-๔) Research Methodology on Vipassanabhavana ๖๐๐ ๑๐๕ * ภาษาอังกฤษ ๒(๒-๐-๔) English หมายเหตุ รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๕ เรียนโดยไมนับหนวยกิต ๑๓.๓.๒ วิชาเอก มี ๑๒ หนวยกิต ดังนี้ ๖๐๖ ๑๐๖ สมถภาวนา ๓ (๓-๐-๖) Samathabhavana ๖๐๖ ๒๐๗ วิปสสนาภาวนา ๓ (๓-๐-๖) Vipassanabhavana ๖๐๖ ๓๐๘ สติปฏฐานภาวนา ๓ (๓-๐-๖) Satipatฺthanabhavana
  • 6. ๖๐๖ ๓๐๙ พุทธยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ ๓ (๓-๐-๖) ศูนยวิปสสนาภาวนา Buddhist administrating Strategy of Vipassanabhavana Center ๖๐๖ ๔๑๐ ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๗ เดือน ๒,๙๔๐ ชั่วโมง) Vipassanabhavana Practice ๑๓.๓.๓ วิชาเลือก ไมนอยกวา ๖ หนวยกิต  ๖๐๖ ๑๑๑ ปรมัตถธรรม ๒(๒-๐-๔) Paramatthadhamma ๖๐๖ ๓๑๒ หลักการเปนวิทยากรภาคปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) The Principle of Lecturer on Vipassanabhavana Practice ๖๐๖ ๓๑๓ การประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Evaluation of Vipassanabhavana Pracitce ๖๐๖ ๑๑๔ วิปสสนาภาวนาในโลกรวมสมัย ๒(๒-๐-๔) Vipassanabhavana in the Contemporary World ๖๐๖ ๑๑๕ ชีวิตและผลงานพระวิปสสนาจารยไทย ๒(๒-๐-๔) Life and Works of Thai Vipassanabhavana Teachers ๖๐๖ ๓๑๖ เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิปสสนาภาวนา  ๒(๒-๐-๔) Information and Communication Technology for Vipassanabhavana ๖๐๖ ๓๑๗ ศึกษาอิสระในหลักวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Independent Study on Vipassanabhavana ๑๓.๓.๔ วิทยานิพนธ ๖๐๖ ๔๐๐ วิทยานิพนธ ๑๒ หนวยกิต Thesis
  • 7. ๑๓.๔ แผนการศึกษา ภาคเรียน รหัสวิชา / รายวิชา จํานวนหนวยกิต ๑ วิชาบังคับ ๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปฎกวิเคราะห ๒ ๖๐๖ ๑๐๒ วิปสสนาภาวนาในคัมภีรพระพุทธศาสนา  ๒ ๖๐๐ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษ* (๒) วิชาเอก ๖๐๖ ๑๐๖ สมถภาวนา ๓ วิชาเลือก เลือกเรียนจากหมวดรายวิชาเลือกจํานวน ๒ รายวิชา ๔ รวมหนวยกิตภาคเรียนที่ ๑ ๑๑ หมายเหตุ รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๕ เรียนโดยไมนับหนวยกิต ภาคเรียนที่ รหัสวิชา / รายวิชา จํานวนหนวยกิต ๒ วิชาบังคับ ๖๐๖ ๒๐๓ สัมมนาวิปสสนาภาวนา ๒ ๖๐๖ ๒๐๔ ระเบียบวิธีวิจยวิปสสนาภาวนา ั ๒ วิชาเอก ๖๐๖ ๒๐๗ วิปสสนาภาวนา ๓ รวมหนวยกิตภาคเรียนที่ ๒ ๗ ภาคเรียนที่ รหัสวิชา / รายวิชา จํานวนหนวยกิต ๓ วิชาเอก ๖๐๖ ๓๐๘ สติปฏฐานภาวนา ๓ ๖๐๖ ๓๐๙ พุทธยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ ๓ ศูนยวิปสสนาภาวนา วิชาเลือก เลือกจากหมายรายวิชาเลือก จํานวน ๑ รายวิชา ๒ รวมหนวยกิต ๘
  • 8. ภาคเรียนที่ รหัสวิชา / รายวิชา จํานวนหนวยกิต ๔ วิชาเอก ๖๐๖ ๔๑๐ ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๒,๙๔๐ ชม. ๖๐๖ ๔๐๐ วิทยานิพนธ ๑๒ รวมหนวยกิตภาคเรียนที่ ๔ ๑๒ หมายเหตุ เมื่อศึกษารายวิชาครบตามหลักสูตรแลว นิสิตจะตองเขาปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานใน สํานักที่มหาวิทยาลัยกําหนดเปนเวลา ๗ เดือนติดตอกัน ๑๓.๕ คําอธิบายรายวิชา ๑๓.๕.๑ วิชาบังคับ ๘ หนวยกิต ดังนี้ ๖๐๐ ๑๐๑ พระไตรปฎกวิเคราะห ๒(๒-๐-๔) Tฺipitaka Analysis ศึกษาความเปนมาของการรวบรวมพระธรรมวินัย เปนพระไตรปฎก และการถายทอด โครงสรางและสาระสังเขปของพระไตรปฎก วิเคราะหหลักธรรมสําคัญ เชน อริยสัจจ ไตรลักษณ ไตรสิกขา นรก สวรรค จิต วิญญาณ ๖๐๖ ๑๐๒ วิปสสนาภาวนาในคัมภีรพระพุทธศาสนา  ๒(๒-๐-๔) Vipassanabhavana in Buddhist Texts ศึกษาความรูพนฐานของวิปสสนาภาวนาโดยทั่วไป หลักวิปสสนา ภาวนา ตามนัยของ ื้  พระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณวิเสส ตาง ๆ ๖๐๖ ๒๐๓ สัมมนาวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Seminar on Vipassanabhavana สัมมนาหลักการถามตอบและสอบอารมณของการปฏิบัติวิปสสนา ภาวนา และเรืองอัน ่ เปนประเด็นปญหาของการปฏิบัติวิปสสนา ภาวนา สภาพปญหา สาเหตุปญหาและวิธีการแกไข ปญหาการ ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา
  • 9. ๖๐๖ ๒๐๔ ระเบียบวิธีวิจยวิปสสนาภาวนา ั ๒(๒-๐-๔) Research Methodology on Vipassanabhavana ศึกษาลักษณะและประเภทของการวิจยทางวิปสสนาภาวนา และ การนําเสนอผลงานวิจย ั ั ๖๐๐ ๑๐๕ ภาษาอังกฤษ ๒(๒-๐-๔) English ศึกษาภาษาอังกฤษขั้นใชงานเพื่อใหมีทักษะในการเขียน บรรยาย และอภิปรายธรรม หมายเหตุ รายวิชา ๖๐๐ ๑๐๕ เรียนโดยไมนับหนวยกิต ๑๓.๕.๒ วิชาเอก ๑๒ หนวยกิต ดังนี้ ๖๐๖ ๑๐๖ สมถภาวนา ๓ (๓-๐-๖) Samathabhavana ศึกษาความหมาย หลักธรรมที่เปนอารมณของสมถภาวนาแนวทาง การปฏิบัติ และผล ของการปฏิบัติสมถภาวนา ๖๐๖ ๒๐๗ วิปสสนาภาวนา ๓ (๓-๐-๖) Vipassanabhavana ศึกษาเชิงวิเคราะหความหมาย หลักธรรมทีเ่ ปนภูมิของวิปสสนา ภาวนา แนวทางปฏิบัติ  และผลของการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๖๐๖ ๓๐๘ สติปฏฐานภาวนา ๓ (๓-๐-๖) Satipatฺthanabhavana ศึกษาวิธีปฏิบติวิปสสนาภาวนาตามแนวสติปฏฐานสูตร และสูตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับ ั การเจริญสติ ๖๐๖ ๓๐๙ พุทธยุทธศาสตรในการบริหารจัดการ ๓ (๓-๐-๖) ศูนยวิปสสนาภาวนา Buddhist administrating Strategy of Vipassanabhavana Center
  • 10. ศึกษาความเปนไปได ของโครงการ การวางแผนยุทธศาสตร ตามหลักพระพุทธศาสนา การจัดการศูนยวิปสสนาธุระการติดตามและ การประเมินผลโครงการ  ๖๐๖ ๔๑๐ ปฏิบัติวิปสสนาภาวนา Vipassanabhavana Practice ปฏิบัติวิปสสนากรรมฐานติดตอกันเปนเวลา ๗ เดือน ในสถานที่ปฏิบัติวิปสสนา  กรรมฐานที่มหาวิทยาลัยกําหนด โดยมีพระวิปสสนาจารยเปนผูควบคุมการปฏิบัติและวัดผล  ประเมินผลการปฏิบัติ คํานวณหนวยกิตภาคการปฏิบัติทั้งหมดเปน ๒๑๐ วัน ๆ ละ ๑๔ ชัวโมง ่ เปน ๒,๙๔๐ ชั่วโมง มีคาเทา ๖๕ หนวยกิต แตไมนับหนวยกิต ๑๓.๕.๓ วิชาเลือก เลือกเรียนจํานวน ๖ หนวยกิต ดังนี้ ๖๐๖ ๑๑๑ ปรมัตถธรรม ๒(๒-๐-๔) Paramatthadhamma ศึกษาปรมัตถธรรม ๔ คือ จิต เจตสิก รูป นิพพาน เชิงบูรณาการ ตามหลักวิปสสนา ภาวนา ๖๐๖ ๓๑๒ หลักการเปนวิทยากรภาคปฏิบัตวิปสสนาภาวนา ิ ๒(๒-๐-๔) The Principle of Lecturer on Vipassanabhavana Practice ศึกษาความรูพนฐานของการเปนวิทยากรภาคปฏิบัตวิปสสนา ประเภท การเปนวิทยากร ื้ ิ ปจจัยสัมฤทธิผล การเปนวิทยากรภาคปฏิบัติวิปสสนา หลักและวิธีการเปนวิทยากรภาคปฏิบัติ วิปสสนา ๖๐๖ ๓๑๓ การประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Evaluation of Vipassanabhavana Pracitce ศึกษาความรูพนฐานของการประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนา ปจจัย สัมฤทธิผลของการ ื้ ประเมินผลการปฏิบัติวิปสสนา กระบวนการประเมินผล การปฏิบติวปสสนา หลักและวิธการสอน ั ิ  ี การปฏิบัติวิปสสนา 
  • 11. ๖๐๖ ๑๑๔ วิปสสนาภาวนาในโลกรวมสมัย ๒(๒-๐-๔) Vipassanabhavana in the Contemporary Wold ศึกษาวิเคราะหสถานการณวิปสสนาธุระในประเทศไทย ประเทศตะวันออกและตะวันตก ๖๐๖ ๑๑๕ ชีวิตและผลงานพระวิปสสนาจารยไทย ๒(๒-๐-๔) Life and Works of Thai Vipassanabhavana teachers ศึกษาภูมิปญญาดานกรรมฐานของพระมหาเถระผูมีชื่อเสียง เริ่มตั้งแตยุคตนรัตนโกสินทร  จนถึงปจจุบัน ๖๐๖ ๓๑๖ เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Information and Communication Technology for Vipassanabhavana ศึกษาโปรแกรมคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการศึกษา และเผยแผ วิปสสนาภาวนา ๖๐๖ ๓๑๗ ศึกษาอิสระในหลักวิปสสนาภาวนา ๒(๒-๐-๔) Independent Study on Vipassanabhavana โครงการวิจัยในหัวขอทีนักศึกษาเลือกเอง โดยปรึกษาจากอาจารย และประเมินผล ่ โครงการโดยอาจารย นักศึกษาและอาจารยจัดทําแผน การศึกษาของโครงการเกี่ยวกับวิปสสนา ภาวนาจากพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณวิเสสอื่น ๆ ๑๓.๕.๔ วิทยานิพนธ ๖๐๖ ๔๐๐ วิทยานิพนธ ๑๒ หนวยกิต Thesis ศึกษาวิเคราะหงานวิจัยทางวิปสสนาภาวนา และนําเสนอ งานวิจัย ภายใตการกํากับดูแล จากอาจารยทปรึกษา ี่ ***************************