SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP)
๑. ชื่อผลงาน BP ๘ กระบวนพัฒน์ DUANGRAT MODEL
     กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านบริหารจัดการ
๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP
          ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางดวงรัตน์ สบายยิ่ง
          ๒.๒ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี
                   เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา
          ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๑-๓๘๕๖๓๖๗ e-mail Tukky23@gmail.com
๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP
          เพื่อพัฒนาการจัดการสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความเข้าใจ ความกระตือรือร้นใน
การเรียนของนักเรียน
๔. ระยะในการพัฒนา BP
          ระยะเริ่มต้นในการพัฒนา                      ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓
          ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา                    ๒ ปี ๔ เดือน
๕. ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา
สอดคล้องกับเกณฑ์ประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
          มาตราฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร
                   ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือนาเสนอด้วยวิธีต่าง ๆ
          มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
                   ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๓ มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง เรียนร่วมกับผู้อื่น ได้สนุกกับการเรียนรู้และ
ชอบมาโรงเรียน
สอดคล้องกับจุดเน้นของ สพป.ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ
สอดคล้องกับกลยุทธ์โรงเรียน ที่ ๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในบทบาทของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตรอาเซียนศึกษา หลักสูตรโรงเรียน
มาตรฐานสากล
๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP
           พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวการจัด
การศึกษา ถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด มาตรา 24 และมาตรา 30 กล่าวว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้กาหนดให้
สถานศึกษาต้องสนับสนุน ให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ ใช้สื่อ ใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่ง ของการส่ง เสริม
พัฒ นาการเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ แ ละมี ค วามรอบรู้ ผู้ ท างานเกี่ ย วข้ อ งกั บ สถานศึ ก ษาสามารถน า
ผลการวิจัยมาใช้เพื่อนาไปสู่การปฏิรูปสถานศึกษา การเรียนรู้ ูที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้ นเกิดจาก
การเรียนรูที่ใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนร ู ไดคิดลงมือทากิจกรรมอย่างกระตือรือร้น หรือมีใจ
จดจอผูกพันกับสิ่งที่ทาด้วยตนเอง เพราะฉะนั้นผูเรียนจะตองไดรับสิ่งกระตุนที่กอใหเกิดพฤติกรรมที่คาดหวัง
ซึ่งสวนหนึ่งมาจากการดูแลสนับสนุนและการอานวยความสะดวกของครูในการจัดกิจกรรม ใหผู้เรียนไดสราง
ความรูผานการปฏิสัมพันธกับเพื่อน กับครูและสิ่งแวดลอม ดังนั้น การจัดบรรยากาศที่เหมาะสม จะสงผลต่อ
ประสิทธิภาพการเรียนรูของผู้เรียน เพราะการเรียนทามกลางบรรยากาศที่มีความสุข ผูเรียนจะเกิดความร ูสึก
ผ่อนคลาย ไมกดดันทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ
ปัญหาที่พบไดบ่อย ๆ ในชั้นเรียน คือ การควบคุมดูแลผู้เรียนให้อยู่ในระเบียบวินัย พฤติกรรมที่ไม่
พึงประสงค์ ความสนใจและตั้งใจเรียนของผู้เรียน ครูที่มีประสบการณ์ด้านการสอนมานานที่มีความเชื่อมั่นใน
วิธีการควบคุมชั้นเรียน ในแบบเดิม ๆ โดยใช้คาสั่ง นักเรียนต้องเชื่อฟัง และอยู่ในระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด
ซึ่ง ครูก็สามารถที่จะทาได้ แต่เป็นแนวทางที่ ไม่สอดคลองกับแนวการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ให้นักเรียนได้มีอิสระในการแสดงความคิด การปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ได้รั บมอบหมาย
อย่างมีความสุข และประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย
           จากการศึกษาเอกสารงานวิจัย จะพบว่า การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นส่วนสาคัญอันดับต้น ๆ อัน
จะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน และการร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ภายใน
ห้องเรียน และนาไปสูู่การประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและไดประสิทธิผล
สูง สุด การบริหารจัดการชั้น เรียนของครู มีความสาคัญ และมีผลในการเรียนรู้อันจะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ใน
ห้องเรียนจะมีสิ่งรบกวนอยูตลอดเวลาดวยปัญหาทางด้านพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนในห้อง ความ
ไมเป็นระเบียบเรียบร้อย สิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนมีการจัดการที่ไมเหมาะสม เป็นส่วนที่มีผลต่อการส่งเสริม
ความสนใจ ความเข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนไมสามารถเรียนรู้ได
อย่างเต็มที่
           จากแนวคิดของนักการศึกษา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียน พบว่า
ปัจจัยสาคัญ ของการบริหารจัดการชั้นเรียน นอกจากจะอยู่ที่ตัวครู และ เทคนิคการสอนของครูแล้ว การ
ดาเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนเพื่อสร้ างบรรยากาศทางกายภาพ
รวมทั้งการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กสร้างวินัยในการควบคุมตนเองและระงับยับยั้งพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
รวมถึง การแก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความเข้าใจ
ความกระตือรือร้นในการเรียนของนักเรียนทีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ จนบรรลุผล
                                            ่
ตามเป้าหมายของการศึกษา ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงนาแนวคิดจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยมาปรับประยุกต์
เพื่อใช้ในการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการชั้นเรียนในห้องเรียนของตนเอง ตามรูปแบบ ๘ กระบวนพัฒน์
DUANGRAT MODEL
๗. กระบวนการพัฒนา BP
      ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้
           นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี
      ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP

                                                 ๑. ขั้นเตรียม


                                                ๒. ขั้นวางแผน


                                               ๓. ขั้นดาเนินการ


                                         ๔. ขั้นสรุปผลการดาเนินการ
๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP
            กระบวนการนิเทศภายใน โดย ฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงาน และ หัวหน้ากลุ่มสาระ
      ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์
            ขยายผลกระบวนการ และวิธีการการบริหารจัดการ ๘ กระบวนพัฒน์ DUANGRAT MODLE ให้กับ
ครูคนอื่น ๆ นาไปพัฒนาหรือประยุกต์ใช้
            นาเสนอเผยแพร่ให้กับผู้มาศึกษาดูงาน
๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP
      ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ
            ๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี มีผลการประเมินในระดับท้องถิ่น
(LAS) เฉลี่ยร้อยละ ๕๘.๗๒ และมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี
เขต ๑
            ๒. นักเรียนมีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสูงขึ้น โดยในปีการศึกษา ๒๕๕๓
มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๗๐.๑๐ และในปีการศึกษา ๒๕๕๔ มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๗๓.๐๐ ซึ่งสูงกว่า
เป้าหมายที่ตั้งไว้ ๗๐.๐๐
           ๓. นักเรียนมีผลการประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉลี่ย อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม คือมีคะแนน
ประเมินในปีการศึกษา ๒๕๕๓ เฉลี่ยร้อยละ ๘๓.๗๕ และในปีการศึกษา ๒๕๕๔ เฉลี่ยร้อยละ ๘๔.๘๒
      ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ
           ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดทักษะและเกิดศักยภาพสูงสุด ผู้เรียนได้พัฒนาสติปัญญา
เกิดความรู้ ความฉลาด เกิดภูมิคุ้มกันที่ดี
            โรงเรียนมีผลการพัฒนาตามมาตรฐานผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ที่ดี
๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP
            ๑. ฝ่ายบริหารมีความพึงพอใจในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู และผลสัมฤทธิ์ของ
ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐
            ๒. นักเรียนมีความพึงพอใจการบริหารจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด
            ๓. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจการบริหารจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด
๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จในการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้
            ๑. การปรับการเรียน เปลี่ยนการสอน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามจุดเน้น Road
map เน้นการอ่านออก เขียนได้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓
            ๒. พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีบทบาทในการมีส่วนร่วมสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรม กระบวนการใน
ชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง
            ๓. ครูทุ่มเทแรงกายแรงใจและสติปัญญา เพื่อการจัดการในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้
อย่างเต็มศักยภาพ โดยเน้นการเรียนรู้อย่างมีความสุข
            ๔. นักเรียนสามารถกาหนดกิจกรรมการปฏิบัติตามความต้องการ ความสนใจภายใต้ข้อตกลงของ
ชั้นเรียน มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันจนการดาเนินงานบังเกิดผล
            ๕. ผู้บริหารให้การสนับสนุนโดยกาหนดนโยบาย สนับสนุนด้านงบประมาณ ให้กาลังใจกากับ
ติดตาม นิเทศ และแก้ปัญหา จนงานดาเนินไปอย่างราบรื่น
การเผยแพร่ผลงาน
           - การประชุมอบรมสัมมนา จังหวัดชลบุรี
- การประชุมอบรมสัมมนา การนาหลักสูตรไปใช้ ที่โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์
      - คณะครูมาศึกษาดูงาน
      - นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
      - การอบรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางพัฒนาสมอง ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ โรงแรมริเวอร์แคว
      - การอบรมสัมมนา โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ โรงแรมราชศุภมิตร
๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง
         ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP
                  ๑. การประเมินภายนอกรอบ ๓ จากสมศ. เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
มาตรฐาน
                  ๒. คณะกรรมการการประเมินโรงเรียนพระราชทาน
                  ๓. การนิเทศจากเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑
                  ๔. การนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงาน หัวหน้าสาระการเรียนรู้
         ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BP
                  ๑. การประเมินภายนอกรอบ ๓ จากสมศ. เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม
มาตรฐาน ได้รับการชมเชยในวันสรุปผลการประเมิน
                  ๒. ได้รับการชมเชยจากคณะกรรมการการประเมินโรงเรียนพระราชทาน
                  ๓. ได้รับการชมเชยจากการนิเทศจากเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑
                  ๔. ผลการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงาน หัวหน้าสาระการ
เรียนรู้ ครูมีการดาเนินการจัดการบริหารจัดการชั้นเรียน อย่างต่อเนื่องและอยู่ในเกณฑ์ดี
         ๙.๓ การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง
    วัน เดือน ปี การเผยแพร่ผลงาน                                 รูปแบบ/วิธีการ
                /ขยายผล
ตุลาคม ๒๕๕๓                            จัดนิทรรศการ สื่อ และวิธีการ ใช้สื่อในการประชุมอบรมสัมมนา
                                       จังหวัดชลบุรี
๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๓                    นาเสนอบนเวที ในการอบรมสัมมนา โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ
                                       โรงแรมราชศุภมิตร
๑๓ – ๑๔ มิถุนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔             จัดนิทรรศการสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน ตามแนวทาง
                                       พัฒนาสมอง โรงแรมริเวอร์แคว จ.กาญจนบุรี
๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔                     นาเสนอ Best Practice ที่โรงเรียนวัดศรีโลหะราษฎร์บารุง
                                       อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี
๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔                    อบรมปฏิบัติการ นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี
                                       จังหวัดประจวบคีรีขันธ์
๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕                    นาเสนอ Best Practice ที่โรงเรียนวัดศรีอุปลาราม อ.เมืองฯ จ.
                                       กาญจนบุรี

More Related Content

What's hot

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10kanwan0429
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้Katekyo Sama
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557somdetpittayakom school
 
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57somdetpittayakom school
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556Kruthai Kidsdee
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลkrusoon1103
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑Rissa Byk
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practicesthkitiya
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานkruthai40
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันNirut Uthatip
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51Suwanan Nonsrikham
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางsawitreesantawee
 

What's hot (19)

บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
วิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้
 
2 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 25572 แผนปฏิบัติการ 2557
2 แผนปฏิบัติการ 2557
 
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
 
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง25562556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
2556ระเบียบโรงเรียนภัทรบพิตรจริง2556
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผลUtq 101หลักสูตรและวัดผล
Utq 101หลักสูตรและวัดผล
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
จุดเน้น
จุดเน้นจุดเน้น
จุดเน้น
 
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ๒๕๕๑
 
Best practices
Best practicesBest practices
Best practices
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
บทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกันบทความนิเทศ ประกัน
บทความนิเทศ ประกัน
 
หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51หลักสูตรแกนกลาง 51
หลักสูตรแกนกลาง 51
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
5กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ575กลุ่มวิชาการ57
5กลุ่มวิชาการ57
 
หลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลางหลักสูตรแกนกลาง
หลักสูตรแกนกลาง
 

Similar to 8 กระบวนพัฒน์

กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557Nirut Uthatip
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมPrasert Boon
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนPrachyanun Nilsook
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6sompriaw aums
 

Similar to 8 กระบวนพัฒน์ (20)

กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ  2557
กำหนดการดำเนินงานโครงการฯ ปีงบประมาณ 2557
 
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติมการออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
การออกแบบการเรียนรู้รายวิชาเพิ่มเติม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
วิชาการ
วิชาการวิชาการ
วิชาการ
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการO16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
O16.แบบสรุปความพึงพอใจของผู้รับบริการ
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
Hr 3565401
Hr 3565401Hr 3565401
Hr 3565401
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการนโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
นโยบาย สพฐ.ปีงบประมาณ 2558 มี 11 ประการ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอนบทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
บทบาทของอาจารย์ด้านการเรียนการสอน
 
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .plan ablpn  2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
plan ablpn 2561 กลยุทธ์ที่ 1 .
 
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
แผนการสอนอาเซียนศึกษา ป.4-6
 

8 กระบวนพัฒน์

  • 1. แบบสรุปผลงานการปฏิบัติที่เป็นเลิศ Best Practice (BP) ๑. ชื่อผลงาน BP ๘ กระบวนพัฒน์ DUANGRAT MODEL กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ด้านบริหารจัดการ ๒. ข้อมูลทั่วไปของผู้พัฒนา BP ๒.๑ ชื่อผู้พัฒนา BP นางดวงรัตน์ สบายยิ่ง ๒.๒ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี เครือข่ายส่งเสริมประสิทธิภาพการจัดการศึกษา ระดับประถมศึกษา ๒.๓ โทรศัพท์ ๐๘๑-๓๘๕๖๓๖๗ e-mail Tukky23@gmail.com ๓. เป้าหมาย/วัตถุประสงค์ของการพัฒนา BP เพื่อพัฒนาการจัดการสิ่งต่าง ๆ ที่มีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความเข้าใจ ความกระตือรือร้นใน การเรียนของนักเรียน ๔. ระยะในการพัฒนา BP ระยะเริ่มต้นในการพัฒนา ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๓ ระยะเวลาที่ใช้ในการพัฒนา ๒ ปี ๔ เดือน ๕. ความเชื่อมโยง/ความสัมพันธ์ระหว่าง BP กับเป้าหมาย/จุดเน้นของ สพป./สพฐ./สถานศึกษา สอดคล้องกับเกณฑ์ประเมินมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน มาตราฐานที่ ๕ ผู้เรียนมีความรู้ และทักษะที่จาเป็นตามหลักสูตร ตัวบ่งชี้ที่ ๕.๓ สามารถสื่อความคิดผ่านการพูด เขียน หรือนาเสนอด้วยวิธีต่าง ๆ มาตรฐานที่ ๖ ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตัวเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง อย่างต่อเนื่อง ตัวบ่งชี้ที่ ๖.๓ มีวิธีการเรียนรู้ของตนเอง เรียนร่วมกับผู้อื่น ได้สนุกกับการเรียนรู้และ ชอบมาโรงเรียน สอดคล้องกับจุดเน้นของ สพป.ที่ ๑ พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ สอดคล้องกับกลยุทธ์โรงเรียน ที่ ๑ พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาในบทบาทของโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ หลักสูตรอาเซียนศึกษา หลักสูตรโรงเรียน มาตรฐานสากล ๖. แนวคิด หลักการ ทฤษฎีที่นามาใช้ในการพัฒนา BP พ.ร.บ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. 2545 หมวด 4 แนวการจัด การศึกษา ถือว่าผู้เรียนสาคัญที่สุด มาตรา 24 และมาตรา 30 กล่าวว่าการจัดกระบวนการเรียนรู้กาหนดให้ สถานศึกษาต้องสนับสนุน ให้ผู้สอนสามารถจัดบรรยากาศ ใช้สื่อ ใช้การวิจัย เป็นส่วนหนึ่ง ของการส่ง เสริม พัฒ นาการเพื่ อ ให้ ผู้ เ รี ย นเกิ ด การเรี ย นรู้ แ ละมี ค วามรอบรู้ ผู้ ท างานเกี่ ย วข้ อ งกั บ สถานศึ ก ษาสามารถน า ผลการวิจัยมาใช้เพื่อนาไปสู่การปฏิรูปสถานศึกษา การเรียนรู้ ูที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผลนั้ นเกิดจาก การเรียนรูที่ใหผูเรียนไดมีสวนรวมในกิจกรรมการเรียนร ู ไดคิดลงมือทากิจกรรมอย่างกระตือรือร้น หรือมีใจ จดจอผูกพันกับสิ่งที่ทาด้วยตนเอง เพราะฉะนั้นผูเรียนจะตองไดรับสิ่งกระตุนที่กอใหเกิดพฤติกรรมที่คาดหวัง ซึ่งสวนหนึ่งมาจากการดูแลสนับสนุนและการอานวยความสะดวกของครูในการจัดกิจกรรม ใหผู้เรียนไดสราง ความรูผานการปฏิสัมพันธกับเพื่อน กับครูและสิ่งแวดลอม ดังนั้น การจัดบรรยากาศที่เหมาะสม จะสงผลต่อ ประสิทธิภาพการเรียนรูของผู้เรียน เพราะการเรียนทามกลางบรรยากาศที่มีความสุข ผูเรียนจะเกิดความร ูสึก ผ่อนคลาย ไมกดดันทาให้เกิดการเรียนรู้ได้ง่ายและมีประสิทธิภาพ
  • 2. ปัญหาที่พบไดบ่อย ๆ ในชั้นเรียน คือ การควบคุมดูแลผู้เรียนให้อยู่ในระเบียบวินัย พฤติกรรมที่ไม่ พึงประสงค์ ความสนใจและตั้งใจเรียนของผู้เรียน ครูที่มีประสบการณ์ด้านการสอนมานานที่มีความเชื่อมั่นใน วิธีการควบคุมชั้นเรียน ในแบบเดิม ๆ โดยใช้คาสั่ง นักเรียนต้องเชื่อฟัง และอยู่ในระเบียบวินัยอย่างเคร่งครัด ซึ่ง ครูก็สามารถที่จะทาได้ แต่เป็นแนวทางที่ ไม่สอดคลองกับแนวการจัดการเรียนการสอนในปัจจุบันที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ ที่ให้นักเรียนได้มีอิสระในการแสดงความคิด การปฏิบัติงาน กิจกรรมที่ได้รั บมอบหมาย อย่างมีความสุข และประสบความสาเร็จตามเป้าหมาย จากการศึกษาเอกสารงานวิจัย จะพบว่า การบริหารจัดการชั้นเรียนเป็นส่วนสาคัญอันดับต้น ๆ อัน จะเป็นแรงกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการเรียน และการร่วมปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ภายใน ห้องเรียน และนาไปสูู่การประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอนที่มีประสิทธิภาพและไดประสิทธิผล สูง สุด การบริหารจัดการชั้น เรียนของครู มีความสาคัญ และมีผลในการเรียนรู้อันจะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ใน ห้องเรียนจะมีสิ่งรบกวนอยูตลอดเวลาดวยปัญหาทางด้านพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของนักเรียนในห้อง ความ ไมเป็นระเบียบเรียบร้อย สิ่งแวดล้อมในชั้นเรียนมีการจัดการที่ไมเหมาะสม เป็นส่วนที่มีผลต่อการส่งเสริม ความสนใจ ความเข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนของนักเรียน ส่งผลให้นักเรียนไมสามารถเรียนรู้ได อย่างเต็มที่ จากแนวคิดของนักการศึกษา และเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวกับการบริหารจัดการชั้นเรียน พบว่า ปัจจัยสาคัญ ของการบริหารจัดการชั้นเรียน นอกจากจะอยู่ที่ตัวครู และ เทคนิคการสอนของครูแล้ว การ ดาเนินการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การจัดการสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนเพื่อสร้ างบรรยากาศทางกายภาพ รวมทั้งการสนับสนุนส่งเสริมให้เด็กสร้างวินัยในการควบคุมตนเองและระงับยับยั้งพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึง การแก้ปัญหาพฤติกรรมของนักเรียน เป็นสิ่งสาคัญและมีผลต่อการส่งเสริมความสนใจ ความเข้าใจ ความกระตือรือร้นในการเรียนของนักเรียนทีจะช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้อย่างเต็มศักยภาพ จนบรรลุผล ่ ตามเป้าหมายของการศึกษา ดังนั้น ข้าพเจ้าจึงนาแนวคิดจากการศึกษาเอกสารและงานวิจัยมาปรับประยุกต์ เพื่อใช้ในการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการชั้นเรียนในห้องเรียนของตนเอง ตามรูปแบบ ๘ กระบวนพัฒน์ DUANGRAT MODEL ๗. กระบวนการพัฒนา BP ๗.๑ กลุ่มเป้าหมายในการนา BP ไปใช้ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี ๗.๒ ขั้นตอนการพัฒนา BP ๑. ขั้นเตรียม ๒. ขั้นวางแผน ๓. ขั้นดาเนินการ ๔. ขั้นสรุปผลการดาเนินการ
  • 3. ๗.๓ การตรวจสอบคุณภาพ BP กระบวนการนิเทศภายใน โดย ฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงาน และ หัวหน้ากลุ่มสาระ ๗.๔ แนวทางการนา BP ไปใช้ประโยชน์ ขยายผลกระบวนการ และวิธีการการบริหารจัดการ ๘ กระบวนพัฒน์ DUANGRAT MODLE ให้กับ ครูคนอื่น ๆ นาไปพัฒนาหรือประยุกต์ใช้ นาเสนอเผยแพร่ให้กับผู้มาศึกษาดูงาน ๘. ผลสาเร็จที่เกิดขึ้นจากการพัฒนา BP ๘.๑ ผลสาเร็จเชิงปริมาณ ๑. นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนอนุบาลกาญจนบุรี มีผลการประเมินในระดับท้องถิ่น (LAS) เฉลี่ยร้อยละ ๕๘.๗๒ และมีค่าเฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลี่ยระดับเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กาญจนบุรี เขต ๑ ๒. นักเรียนมีผลผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสาระการเรียนรู้ภาษาไทยสูงขึ้น โดยในปีการศึกษา ๒๕๕๓ มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๗๐.๑๐ และในปีการศึกษา ๒๕๕๔ มีคะแนนเฉลี่ย ร้อยละ ๗๓.๐๐ ซึ่งสูงกว่า เป้าหมายที่ตั้งไว้ ๗๐.๐๐ ๓. นักเรียนมีผลการประเมินด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉลี่ย อยู่ในระดับ ดีเยี่ยม คือมีคะแนน ประเมินในปีการศึกษา ๒๕๕๓ เฉลี่ยร้อยละ ๘๓.๗๕ และในปีการศึกษา ๒๕๕๔ เฉลี่ยร้อยละ ๘๔.๘๒ ๘.๒ ผลสาเร็จเชิงคุณภาพ ความสามารถในการเรียนรู้ของผู้เรียนเกิดทักษะและเกิดศักยภาพสูงสุด ผู้เรียนได้พัฒนาสติปัญญา เกิดความรู้ ความฉลาด เกิดภูมิคุ้มกันที่ดี โรงเรียนมีผลการพัฒนาตามมาตรฐานผู้เรียนอยู่ในเกณฑ์ที่ดี ๘.๓ ความพึงพอใจของผู้เกี่ยวข้องต่อ BP ๑. ฝ่ายบริหารมีความพึงพอใจในการพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้ของครู และผลสัมฤทธิ์ของ ผู้เรียนร้อยละ ๑๐๐ ๒. นักเรียนมีความพึงพอใจการบริหารจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ๓. ผู้ปกครองมีความพึงพอใจการบริหารจัดการชั้นเรียนอยู่ในระดับมากที่สุด ๘.๔ ปัจจัยความสาเร็จในการพัฒนา BP/ประสบการณ์เรียนรู้จากการนา BP ไปใช้ ๑. การปรับการเรียน เปลี่ยนการสอน ตามนโยบายของกระทรวงศึกษาธิการ ตามจุดเน้น Road map เน้นการอ่านออก เขียนได้ในระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ – ๓ ๒. พ่อแม่ ผู้ปกครอง มีบทบาทในการมีส่วนร่วมสนับสนุนส่งเสริมการจัดกิจกรรม กระบวนการใน ชั้นเรียนอย่างต่อเนื่อง ๓. ครูทุ่มเทแรงกายแรงใจและสติปัญญา เพื่อการจัดการในชั้นเรียนเพื่อให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ อย่างเต็มศักยภาพ โดยเน้นการเรียนรู้อย่างมีความสุข ๔. นักเรียนสามารถกาหนดกิจกรรมการปฏิบัติตามความต้องการ ความสนใจภายใต้ข้อตกลงของ ชั้นเรียน มีการช่วยเหลือเกื้อกูลกันจนการดาเนินงานบังเกิดผล ๕. ผู้บริหารให้การสนับสนุนโดยกาหนดนโยบาย สนับสนุนด้านงบประมาณ ให้กาลังใจกากับ ติดตาม นิเทศ และแก้ปัญหา จนงานดาเนินไปอย่างราบรื่น การเผยแพร่ผลงาน - การประชุมอบรมสัมมนา จังหวัดชลบุรี
  • 4. - การประชุมอบรมสัมมนา การนาหลักสูตรไปใช้ ที่โรงเรียนกาญจนานุเคราะห์ - คณะครูมาศึกษาดูงาน - นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ - การอบรมการจัดการเรียนรู้ตามแนวทางพัฒนาสมอง ของสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ โรงแรมริเวอร์แคว - การอบรมสัมมนา โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ โรงแรมราชศุภมิตร
  • 5. ๙. กระบวนการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาปรับปรุง BP ให้เกิดผลดีอย่างต่อเนื่อง ๙.๑ วิธีการตรวจสอบซ้า BP ๑. การประเมินภายนอกรอบ ๓ จากสมศ. เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม มาตรฐาน ๒. คณะกรรมการการประเมินโรงเรียนพระราชทาน ๓. การนิเทศจากเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๔. การนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงาน หัวหน้าสาระการเรียนรู้ ๙.๒ ผลการตรวจสอบซ้าเพื่อพัฒนาและปรับปรุง BP ๑. การประเมินภายนอกรอบ ๓ จากสมศ. เกี่ยวกับกระบวนการจัดการเรียนรู้ตาม มาตรฐาน ได้รับการชมเชยในวันสรุปผลการประเมิน ๒. ได้รับการชมเชยจากคณะกรรมการการประเมินโรงเรียนพระราชทาน ๓. ได้รับการชมเชยจากการนิเทศจากเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต ๑ ๔. ผลการนิเทศภายในอย่างต่อเนื่องจากฝ่ายบริหาร หัวหน้าแผนงาน หัวหน้าสาระการ เรียนรู้ ครูมีการดาเนินการจัดการบริหารจัดการชั้นเรียน อย่างต่อเนื่องและอยู่ในเกณฑ์ดี ๙.๓ การประชาสัมพันธ์ผลสาเร็จของ BP และการเผยแพร่ ขยายผลในวงกว้าง วัน เดือน ปี การเผยแพร่ผลงาน รูปแบบ/วิธีการ /ขยายผล ตุลาคม ๒๕๕๓ จัดนิทรรศการ สื่อ และวิธีการ ใช้สื่อในการประชุมอบรมสัมมนา จังหวัดชลบุรี ๓๐ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๓ นาเสนอบนเวที ในการอบรมสัมมนา โครงการพัฒนาครูทั้งระบบ โรงแรมราชศุภมิตร ๑๓ – ๑๔ มิถุนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ จัดนิทรรศการสื่อที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้ในห้องเรียน ตามแนวทาง พัฒนาสมอง โรงแรมริเวอร์แคว จ.กาญจนบุรี ๓ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔ นาเสนอ Best Practice ที่โรงเรียนวัดศรีโลหะราษฎร์บารุง อ.ท่าม่วง จ.กาญจนบุรี ๓๐ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๔ อบรมปฏิบัติการ นักศึกษาปริญญาโท มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๑๑ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๕ นาเสนอ Best Practice ที่โรงเรียนวัดศรีอุปลาราม อ.เมืองฯ จ. กาญจนบุรี