SlideShare a Scribd company logo
1 of 102
Download to read offline
ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี
พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๖๔
พระมหามนตรี กตปุญฺโ
เรียบเรียง
คานา
การศึกษานักธรรมในสมัยก่อนเป็นเรื่องยาก เนื่องจากหนังสือคู่มือการศึกษามีน้อย พระภิกษุ
สามเณรที่ศึกษานักธรรมจาเป็นต้องใช้ความขยันมากเป็นพิเศษ เพราะไม่สามารถรู้ได้ว่าข้อสอบออกแนวทาง
ไหน ตรงไหนมีความสาคัญมากที่สุด เรื่องอะไรออกบ่อยมากที่สุด
ปัญหาและเฉลย ข้อสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรีเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวข้อสอบ เป็น
เหมือนดังเข็มทิศชี้ทางให้เห็นว่าตรงไหนมีความสาคัญมากที่สุด ตรงไหนที่ออกข้อสอบบ่อย ควรท่องอ่าน
ทบทวนและทาความเข้าใจให้มาก
ตอนที่เรียนนักธรรม ผู้จัดทาจะเน้นท่องอ่านทบทวนจากปัญหาและเฉลยข้อสอบ เพื่อให้คุ้นเคย
กับคาถามและคาตอบ เมื่อทาอยู่อย่างนี้บ่อย ๆ ย่อมเกิดความเข้าใจ และความมั่นใจว่าต้องสอบได้ จึงหวัง
เป็นอย่างยิ่งว่า ปัญหาและเฉลยข้อสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรีเล่มนี้ จะเกิดประโยชน์แก่ผู้สนใจใน
การศึกษาทุกรูป
พระมหามนตรี กตปุญฺโ
๑๙ มกราคม ๒๕๖๕
สารบัญ
หน้า
ปัญหาและเฉลย : วิชาธรรมวิภาค ๑
พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑
พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓
พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖
พ.ศ. ๒๕๕๒ ๘
พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๑
พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๓
พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑๕
พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๗
พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๙
พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๑
พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๓
พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕
พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๗
พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๙
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓๑
พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓๓
ปัญหาและเฉลย : วิชาพุทธประวัติ ๓๕
พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓๕
พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๗
พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๙
พ.ศ. ๒๕๕๒ ๔๑
พ.ศ. ๒๕๕๓ ๔๓
พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔๕
พ.ศ. ๒๕๕๕ ๔๗
พ.ศ. ๒๕๕๖ ๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๘ ๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕๕
พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕๗
พ.ศ. ๒๕๖๑ ๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๒ ๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔ ๖๕
ปัญหาและเฉลย : วิชาวินัยบัญญัติ ๖๗
พ.ศ. ๒๕๔๙ ๖๗
พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖๙
พ.ศ. ๒๕๕๑ ๗๑
พ.ศ. ๒๕๕๒ ๗๓
พ.ศ. ๒๕๕๓ ๗๕
พ.ศ. ๒๕๕๔ ๗๗
พ.ศ. ๒๕๕๕ ๗๙
พ.ศ. ๒๕๕๖ ๘๑
พ.ศ. ๒๕๕๗ ๘๓
พ.ศ. ๒๕๕๘ ๘๕
พ.ศ. ๒๕๕๙ ๘๗
พ.ศ. ๒๕๖๐ ๘๙
พ.ศ. ๒๕๖๑ ๙๑
พ.ศ. ๒๕๖๒ ๙๓
พ.ศ. ๒๕๖๓ ๙๕
พ.ศ. ๒๕๖๔ ๙๗
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙
๑. หิริกับโอตตัปปะ ต่างกันอย่างไร ?
๑. ต่างกันอย่างนี้ หิริ คือ ความละอายใจตนเองที่จะประพฤติชั่ว
ส่วนโอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวผลของความชั่วที่ตนจะได้รับ ฯ
๒. คาว่า พระธรรม ในรัตนะ ๓ คืออะไร ? มีคุณอย่างไร ?
๒. คือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ
มีคุณ คือ รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ
๓. โอวาทของพระพุทธเจ้ามีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
๓. มี ๓ อย่าง ฯ
๑. เว้นจากทุจริต คือ ประพฤติชั่วด้วยกาย วาจา ใจ
๒. ประกอบสุจริต คือ ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ
๓. กระทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลงเป็นต้น ฯ
๔. คนเราจะประพฤติดีหรือประพฤติชั่วมีมูลเหตุมาจากอะไร ?
๔. คนประพฤติดีมีมูลเหตุมาจากอโลภะ อโทสะ อโมหะ ส่วนคนประพฤติชั่วมีมูลเหตุมาจากโลภะ โทสะ
โมหะ ฯ
๕. ปธานคือความเพียร ๔ มีอะไรบ้าง ? งดเหล้าเข้าพรรษาอนุโลมเข้าในปธานข้อไหน ?
๕. มี ๑. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน
๒. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว
๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน
๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วมิให้เสื่อม ฯ
อนุโลมเข้าในปหานปธาน ฯ
๖. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุ้งซ่านและราคาญ จัดเข้าในขันธ์ไหนในขันธ์ ๕ ? เพราะเหตุไร ?
๖. จัดเข้าในสังขารขันธ์ ฯ
เพราะความฟุ้งซ่านและราคาญ เป็นเจตสิกธรรมที่เกิดขึ้นกับใจ ฯ
๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๗. อริยทรัพย์ คือทรัพย์เช่นไร ? เมื่อเทียบกับทรัพย์สินมีเงินทอง เป็นต้นดีกว่ากันอย่างไร ?
๗. คือคุณงามความดีอย่างประเสริฐที่เกิดมีขึ้นในสันดาน มีศรัทธา ศีล เป็นต้น ฯ
ดีกว่ากัน เพราะเป็นคุณธรรมเครื่องบารุงจิตให้อบอุ่น ไม่ต้องกังวลเดือดร้อน ใครจะแย่งชิงไปไม่ได้ ใช้
เท่าใดก็ไม่ต้องกลัวหมดสิ้น ทั้งสามารถติดตามไปได้ถึงชาติหน้า เป็นที่พึ่งในสัมปรายภพได้ด้วย ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. คิหิปฏิบัติ คืออะไร ? หมวดธรรมต่อไปนี้ คือ ๑. อิทธิบาท ๔ ๒. สังคหวัตถุ ๔ ๓. อธิษฐานธรรม ๔
๔. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ๕. ปาริสุทธิศีล ๔ หมวดไหนมีในคิหิปฏิบัติ ?
๘. คือหลักปฏิบัติของคฤหัสถ์ ฯ
ข้อ ๒. และข้อ ๔. มีในคิหิปฏิบัติ ฯ
๙. ผู้อยู่ครองเรือนควรมีธรรมของฆราวาสเป็นหลักปฏิบัติจึงจะอยู่เป็นสุข ธรรมของฆราวาสนั้นมีอะไรบ้าง?
๙. มี ๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน
๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน
๓. ขันติ อดทน
๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ
๑๐. นาย ก เป็นผู้ฉลาดในการเล่นพนันฟุตบอล เขาหวังให้นาย ข ผู้เป็นเพื่อน มีเงินทองไว้ก่อร่างสร้าง
ตัว จึงชักชวนนาย ข ให้เล่นด้วย นาย ก จัดเข้าในประเภทมิตรแนะประโยชน์ได้หรือไม่ ? เพราะ
เหตุไร ?
๑๐. ไม่ได้ ฯ
เพราะ นาย ก กาลังชักชวนในทางฉิบหาย ผิดลักษณะมิตรแนะประโยชน์ ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๓
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐
๑. ในทางโลก ดูคนงามกันที่รูปร่างหน้าตา ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่ไหน ?
๑. ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่มีคุณธรรมอันทาให้งาม ๒ ประการ คือ ขันติ ความอดทน
และโสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ฯ
๒. มโนสุจริตคืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๒. คือ การประพฤติชอบด้วยใจ ฯ
มี ๑. ไม่โลภอยากได้ของเขา
๒. ไม่พยาบาทปองร้ายเขา
๓. เห็นชอบตามคลองธรรม ฯ
๓. อิทธิบาท คือ ธรรมเป็นคุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ของบุคคล ส่วนธรรมอันเป็นเครื่องกั้นจิตไม่ให้
บรรลุความดี คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๓. คือ นิวรณ์ ๕ ฯ
มี ๑. กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น
๒. พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น
๓. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม
๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ
๕. วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงได้ ฯ
๔. ภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่จะต้องมีอินทรียสังวร คือสารวมอินทรีย์ สารวมอินทรีย์นั้น คืออย่างไร ?
๔. คือระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ความยินดียินร้ายครอบงาได้ ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดม
กลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ ฯ
๕. ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ข้อความนี้อยู่ในหมวด
ธรรมอะไร ? ท่านให้พิจารณาอย่างนี้เพื่ออะไร ?
๕. อยู่ในธรรมหมวดอภิณหปัจจเวกขณ์ ๕ ฯ
เพื่อบรรเทาความยึดมั่นถือมั่นว่า สิ่งนั้น คนนั้น เป็นที่รักของเรา จักไม่ต้องเสียใจในเมื่อต้องพลัด
พรากจากสิ่งนั้น คนนั้น จริง ๆ ฯ
๔ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๖. มรรคมีองค์แปดจัดเข้าในสิกขา ๓ ได้หรือไม่ ? ถ้าได้จงจัดมาดู
๖. ได้ ฯ
จัดดังนี้
สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในปัญญาสิกขา
สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลสิกขา
สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตสิกขา ฯ
๗. มละ คืออะไร ? เป็นศิษย์ได้ดีแล้วทามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าในมละอย่างไหน และควรชาระมละ
อย่างนั้นด้วยธรรมอะไร ?
๗. มละคือมลทิน ฯ
จัดเข้าในมักขะ ลบหลู่คุณท่านและควรชาระด้วยกตัญญูกตเวทิตา ความรู้คุณท่านแล้วตอบแทน ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. เมื่อแสวงหาโภคทรัพย์ได้โดยทางที่ชอบแล้ว ควรทาอะไรบ้างเพื่อให้เกิดประโยชน์ในโภคทรัพย์ที่
ได้มานั้น ?
๘. ควรทา
๑. เลี้ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภรรยา บ่าวไพร่ ให้เป็นสุข
๒. เลี้ยงเพื่อนฝูงให้เป็นสุข
๓. บาบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุต่าง ๆ
๔. ทาพลี ๕ อย่าง คือ
๔.๑ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ
๔.๒ อติถิพลี ต้อนรับแขก
๔.๓ ปุพพเปตพลี ทาบุญอุทิศให้ผู้ตาย
๔.๔ ราชพลี ถวายเป็นหลวง มีภาษีอากร เป็นต้น
๔.๕ เทวตาพลี ทาบุญอุทิศให้เทวดา
๕. บริจาคทานในสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติชอบ ฯ
๙. การค้าขายสัตว์เพื่อเอาไปฆ่าเป็นอาหาร เป็นการผิดศีลข้อปาณาติบาตหรือไม่ ? เพราะเหตุไร ?
อุบาสกควรปฏิบัติอย่างไรในเรื่องนี้ ?
๙. ไม่ผิด ฯ
เพราะไม่ได้เป็นผู้ฆ่าหรือสั่งให้ฆ่า ฯ
อุบาสกควรเว้นการค้าขายชนิดนี้เสีย ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๕
๑๐. ทิศ ๖ ในคิหิปฏิบัติ มีอะไรบ้าง ? แต่ละทิศหมายถึงใคร ?
๑๐. มี ดังนี้
๑. ทิศเบื้องหน้า หมายถึง มารดาบิดา
๒. ทิศเบื้องขวา หมายถึง อาจารย์
๓. ทิศเบื้องหลัง หมายถึง บุตรภรรยา
๔. ทิศเบื้องซ้าย หมายถึง มิตร
๕. ทิศเบื้องต่า หมายถึง บ่าว
๖. ทิศเบื้องบน หมายถึง สมณพราหมณ์ ฯ
๖ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑
๑. การที่บุคคลพบงูพิษแล้วสะดุ้งกลัวว่าจะถูกกัดตาย จัดเป็นโอตตัปปะ ได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด ?
๑. ไม่ได้ ฯ
เพราะไม่ใช่ความเกรงกลัวต่อบาป ฯ
๒. พระสงฆ์ในรัตนตรัยมีคุณอย่างไร ?
๒. ท่านปฏิบัติชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนให้ผู้อื่นกระทาตามด้วย ฯ
๓. โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ อย่างมีอะไรบ้าง ?
๓. มี ๑. เว้นจากทุจริต คือประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ
๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ
๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น ฯ
๔. อินทรียสังวร คือสารวมอินทรีย์ อินทรีย์ได้แก่อะไรบ้าง ?
๔. ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ฯ
๕. ธรรมหมวดหนึ่ง เป็นเหตุให้ผู้ประพฤติขาดความเที่ยงธรรมชื่อว่า อะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๕. ชื่อว่า อคติ ความลาเอียง ฯ
มี ๑. ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะรักใคร่กัน
๒. โทสาคติ ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน
๓. โมหาคติ ลาเอียงเพราะเขลา
๔. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลัว ฯ
๖. ธาตุ ๔ มีธาตุอะไรบ้าง ? ธาตุมีลักษณะแข้นแข็ง คือธาตุอะไร ?
๖. คือ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ
คือ ธาตุดิน ฯ
๗. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? โดยย่อเรียกว่าอะไร ?
๗. ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๗
เรียกว่า นามรูป ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. ข้อว่า “แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได้” ดังนี้ เป็นลักษณะของมิตรแท้ ประเภทใด ?
๘. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ฯ
๙. คุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้าใจของผู้อื่นไว้ได้ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๙. คือ สังคหวัตถุ ๔ ฯ
มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ
๑๐. การค้าขายสุรา เป็นอาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมาย ในทางพระพุทธศาสนา มีความเห็นไว้อย่างไร ?
๑๐. ทางพระพุทธศาสนา จัดเป็นมิจฉาวณิชชา การค้าขายไม่ชอบธรรม เป็นข้อห้าม อุบาสกไม่ควร
ประกอบ ฯ
๘ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคารที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒
๑. บุพพการีและกตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลเช่นไร ? จงยกตัวอย่างมาสัก ๒ คู่
๑. บุพพการี ได้แก่บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้วและ
ตอบแทน ฯ
คู่ที่ ๑ มารดาบิดากับบุตรธิดา
คู่ที่ ๒ ครูอาจารย์กับศิษย์
คู่ที่ ๓ พระราชากับราษฎร
คู่ที่ ๔ พระพุทธเจ้ากับพุทธบริษัท ฯ
๒. อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนมีกี่อย่าง ? ข้อที่ว่า “ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์” นั้นคืออย่างไร ?
๒. มี ๓ อย่าง ฯ
คือ ผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบัติ ฯ
๓. มูลเหตุที่ทาให้บุคคลทาความชั่ว เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? เมื่อเกิดขึ้นแล้วควรปฏิบัติอย่างไร ?
๓. เรียกว่า อกุศลมูล ฯ
มี ๑. โลภะ อยากได้
๒. โทสะ คิดประทุษร้ายเขา
๓. โมหะ หลงไม่รู้จริง ฯ
เมื่อเกิดขึ้นแล้วควรละเสีย ด้วยทาน ศีล ภาวนา ฯ
๔. ปัญญาอันเห็นชอบอย่างไร จึงชื่อว่ามรรคในอริยสัจ ๔ ? เพราะเหตุไร ?
๔. ปัญญาอันเห็นชอบว่าสิ่งนี้ทุกข์ สิ่งนี้เหตุให้ทุกข์เกิด สิ่งนี้ความดับทุกข์ สิ่งนี้ทางให้ถึงความดับทุกข์
ได้ชื่อว่า มรรค ฯ
เพราะเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ฯ
๕. ธรรมเป็นกาลัง ๕ อย่าง คืออะไรบ้าง ? ธรรม ๕ อย่างนั้น เรียกว่าอินทรีย์ เพราะเหตุไร ?
๕. คือ ๑. สัทธา ความเชื่อ
๒. วิริยะ ความเพียร
๓. สติ ความระลึกได้
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๙
๔. สมาธิ ความตั้งใจมั่น
๕. ปัญญา ความรอบรู้ ฯ
เพราะเป็นใหญ่ในกิจของตน ฯ
๖. คารวะ คืออะไร ? มีกี่อย่าง ? ข้อว่า คารวะในความศึกษา หมายถึงอะไร ?
๖. คือ ความเคารพ เอื้อเฟื้อ ฯ
มี ๖ อย่าง ฯ
หมายถึง ความเคารพ เอื้อเฟื้อในไตรสิกขา ฯ
๗. มละ คืออะไร ? เป็นศิษย์ได้ดีแล้วทามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าในมละอย่างไหน และควรชาระมละ
อย่างนั้นด้วยธรรมอะไร ?
๗. มละคือมลทิน ฯ
จัดเข้าในมักขะ ลบหลู่คุณท่าน และควรชาระด้วยกตัญญูกตเวทิตา ความรู้คุณท่านแล้วตอบแทน ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. อบายมุข คืออะไร ? คบคนชั่วเป็นมิตรมีโทษอย่างไร ?
๘. คือ ทางแห่งความเสื่อม ฯ
มีโทษอย่างนี้ คือ
๑. นาให้เป็นนักเลงการพนัน
๒. นาให้เป็นนักเลงเจ้าชู้
๓. นาให้เป็นนักเลงเหล้า
๔. นาให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม
๕. นาให้เป็นคนลวงเขาซึ่งหน้า
๖. นาให้เป็นคนหัวไม้ ฯ
๙. ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบันเรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๙. เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ฯ
มีดังนี้ ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจเครื่องเลี้ยงชีวิตก็ดี ใน
การศึกษาเล่าเรียนก็ดี ในการทาธุระหน้าที่ของตนก็ดี
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามาได้ด้วยความ
หมั่น ไม่ให้เป็นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน ไม่ให้เสื่อมเสีย
ไปก็ดี
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๑๐ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ไม่ให้ ฝืดเคืองนัก
ไม่ให้ฟูมฟายนัก ฯ
๑๐. มิจฉาวณิชชา คืออะไร ? การค้าขายเด็ก การค้าขายยาเสพติด การค้าขายเบ็ดตกปลา จัดเป็น
มิจฉาวณิชชาข้อใด ?
๑๐. มิจฉาวณิชชา คือการค้าขายไม่ชอบธรรม ฯ
การค้าขายเด็ก จัดเข้าในค้าขายมนุษย์
การค้าขายยาเสพติด จัดเข้าในค้าขายน้าเมา
การค้าขายเบ็ดตกปลา จัดเข้าในค้าขายเครื่องประหาร ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๑
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓
๑. ธรรมมีอุปการะมากมีอะไรบ้าง ? ที่ว่ามีอุปการะมากนั้นเพราะเหตุไร ?
๑. มีสติ ความระลึกได้ และสัมปชัญญะ ความรู้ตัว ฯ
เพราะทาให้เป็นผู้ไม่ประมาทในการทากิจการงานใด ๆ และเป็นอุปการะให้ธรรมเหล่าอื่นเกิดขึ้น ฯ
๒. ในรัตนะ ๓ พระธรรม ได้แก่อะไร ? ให้คุณแก่ผู้ปฏิบัติตามอย่างไร ?
๒. ได้แก่พระธรรมวินัยที่เป็นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ
ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ
๓. พระโอวาทของพระพุทธเจ้า หรือที่เรียกกันว่าหัวใจพระศาสนา มีกี่ข้อ ? อะไรบ้าง ?
๓. มี ๓ ข้อ ฯ
คือ ๑. เว้นจากทุกจริต คือประพฤติชั่วด้วยกาย วาจา ใจ
๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติดีด้วยกาย วาจา ใจ
๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น ฯ
๔. ทุจริต คืออะไร ? ความเห็นว่าคุณของบิดามารดาครูบาอาจารย์ไม่มีบุญบาปไม่มี จัดเป็นทุจริต ข้อ
ไหน
๔. คือ ประพฤติชั่วด้วยกายวาจาใจ ฯ
จัดเป็นมโนทุจริต ฯ
๕. ไตรลักษณะ ได้แก่อะไรบ้าง ?
๕. ๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง
๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์
๓. อนัตตตา ความเป็นของใช่ตนฯ
๖. พรหมวิหาร ๔ มีอะไรบ้าง ?
๖. มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ฯ
เพราะเป็นธรรมเครื่องอยู่ของท่านผู้ใหญ่ ฯ
๑๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๗. นักเรียนผู้ต้องการจะเรียนหนังสือให้ได้ผลดี จะนาอิทธิบาทมาใช้อย่างไร ?
๗. ในเบื้องต้น ต้องสร้างฉันทะคือความพอใจในการศึกษาเล่าเรียนก่อน เมื่อมีความพอใจ จะเป็นเหตุให้
ขยันศึกษาหาความรู้ที่เรียกว่าวิริยะและเกิดความใฝ่ใจใคร่รู้สิ่งต่าง ๆ มากขึ้น ที่เรียกว่าจิตตะ และเมื่อ
เรียนรู้แล้วก็ต้องนาความรู้นั้นมาใคร่ครวญพิจารณาให้เข้าใจเหตุและผลอย่างถูกต้องที่เรียกว่า วิมังสา
ดังนี้ก็จะประสบผลสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียนได้ ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ มีอะไรบ้าง ?
๘. มี ๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์
๒. เว้นจากการลักทรัพย์
๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม
๔. เว้นจากการพูดปด
๕. เว้นจากการดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
๙. จงจับคู่ข้อทางซ้ายมือกับข้อทางขวามือให้ถูกต้อง
ก. จะทาดีทาชั่ว ก็ต้องคล้อยตาม ๑. มิตรดีแต่พูด
ข. ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว ๒. มิตรหัวประจบ
ค. สงเคราะห์ด้วยสิ่งหาประโยชน์มิได้ ๓. มิตรมีความรักใคร่
ง. ห้ามไม่ให้ทาความชั่ว ๔. มิตรมีอุปการะ
จ. ทุกข์ ๆ ด้วย สุข ๆ ด้วย ๕. มิตรแนะประโยชน์
๙. ข้อ ก. คู่กับ ข้อ ๒.
ข้อ ข. คู่กับ ข้อ ๔.
ข้อ ค คู่กับ ข้อ ๑.
ข้อ ง คู่กับ ข้อ ๕.
ข้อ จ คู่กับ ข้อ ๓. ฯ
๑๐. จงบอกโทษของการดื่มสุรามาสัก ๓ ข้อ
๑๐. มีโทษดังนี้ (ให้ตอบเพียง ๓ ข้อ)
๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค
๔. ต้องติเตียน ๕. ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกาลังปัญญา ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๓
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
๑. บุพพการีและกตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลเช่นไร ?
๑. บุพพการี ได้แก่บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน
กตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้ว และตอบแทนฯ
๒. พระพุทธเจ้าคือใคร ? ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์อย่างไร ?
๒. คือท่านผู้สอนให้ประชุมชนประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัย ฯ
ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบัติ ฯ
๓. เห็นผิดจากคลองธรรม คือเห็นอย่างไร ? จัดเข้าในทุจริตข้อไหน ?
๓. คือเห็นผิดจากความเป็นจริง เช่น เห็นว่าบุญบาปไม่มี บิดามารดาไม่มีพระคุณ เป็นต้น ฯ
จัดเข้าในมโนทุจริต ฯ
๔. รากเหง้าของอกุศลเรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? เพราะเหตุใดจึงควรละเสีย ?
๔. เรียกว่า อกุศลมูล ฯ
มีโลภะ โทสะ โมหะ ฯ
เพราะเมื่ออกุศลมูลเหล่านี้มีอยู่ อกุศลอื่นที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดแล้วก็เจริญมากขึ้น ฯ
๕. ทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร ? เหตุให้เกิดทุกข์คืออะไร ?
๕. คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ ฯ
คือตัณหาความทะยานอยาก ฯ
๖. อภิณหปัจจเวกณ์ข้อว่า ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพราก จากของรักของชอบใจ
ทั้งสิ้น ดังนี้ ผู้พิจารณาได้รับประโยชน์อย่างไร ? จงอธิบาย
๖. ได้รับประโยชน์ คือสามารถบรรเทาความพอใจรักใคร่ของรักของชอบใจ และป้องกันความทุกข์
โทมนัส ในเวลาเมื่อตนต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ฯ
๗. อายตนะภายใน ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ?
๗. ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ฯ
๑๔ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
คิหิปฏิบัติ
๘. คนชักชวนในทางฉิบหาย มีลักษณะอย่างไร ?
๘. มีลักษณะดังนี้
๑. ชักชวนดื่มน้าเมา
๒. ชักชวนเที่ยวกลางคืน
๓. ชักชวนให้มัวเมาในการเล่น
๔. ชักชวนเล่นการพนัน ฯ
๙. ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง?
๙. เรียกว่า สังคหวัตถุ ฯ
มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ
๑๐. อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่บุคคลเช่นไร ? การค้าขายที่ห้ามอุบาสกอุบาสิกาประกอบ คืออะไรบ้าง ?
๑๐. ได้แก่คฤหัสถ์ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ฯ
คือ ๑. ค้าขายเครื่องประหาร
๒. ค้าขายมนุษย์
๓. ค้าขายสัตว์เป็นสาหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร
๔. ค้าขายน้าเมา
๕. ค้าขายยาพิษ ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๕
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
๑. พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมอะไรไว้สาหรับคุ้มครองโลก ?
๑. ทรงสอนธรรมไว้ ๒ ข้อ คือ
๑. หิริ ความละอายต่อบาป
๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลบาป ฯ
๒. คาต่อไปนี้ มีความหมายว่าอย่างไร ?
๑. สัมปชัญญะ ๒. กตัญญูกตเวที ๓. กายทุจริต ๔. มาตาปิตุอุปัฏฐาน ๕. ปุพเพกตปุญญตา
๒. ๑. สัมปชัญญะ หมายถึงความรู้ตัว
๒. กตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้ว และตอบแทน
๓. กายทุจริต หมายถึงความประพฤติชั่วทางกาย
๔. มาตาปิตุอุปัฏฐาน หมายถึงการบารุงมารดาบิดาของตนให้เป็นสุข
๕. ปุพเพกตปุญญตา หมายถึงความเป็นผู้ได้ทาความดีไว้ในกาลก่อน ฯ
๓. การสารวมอินทรีย์ ได้แก่การกระทาอย่างไร ? เมื่อกระทาเช่นนั้นแล้ว จะได้รับประโยชน์อะไร ?
๓. ได้แก่การระวังอินทรีย์ ๖ คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส
ถูกโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ ฯ
ได้รับประโยชน์ คือไม่เกิดความยินดี ไม่เกิดความยินร้าย ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง เป็นต้น ฯ
๔. ผู้จะดารงความยุติธรรมไว้ได้ ต้องประพฤติอย่างไร ?
๔. ต้องประพฤติดังนี้ คือ
๑. ไม่ลาเอียงเพราะความรักใคร่กัน อันเรียกว่า ฉันทาคติ
๒. ไม่ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน อันเรียกว่า โทสาคติ
๓. ไม่ลาเอียงเพราะเขลา อันเรียกว่า โมหาคติ
๔. ไม่ลาเอียงเพราะกลัว อันเรียกว่า ภยาคติ ฯ
๕. คิดอย่างไรเรียกว่าพยาบาท ? คิดอย่างนั้นเกิดโทษอะไร ?
๕. คิดปองร้ายผู้อื่น ฯ
เกิดโทษ คือปิดกั้นจิตใจไม่ให้บรรลุความดี ฯ
๑๖ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรอย่างไร ?
๖. เพียรในที่ ๔ สถาน คือ
๑. เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน
๒. เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว
๓. เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน
๔. เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม ฯ
๗. โลกธรรม ๘ มีอะไรบ้าง ?
๗. คือ มีลาภ ๑ ไม่มีลาภ ๑ มียศ ๑ ไม่มียศ ๑ นินทา ๑ สรรเสริญ ๑ สุข ๑ ทุกข์ ๑ ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. ตระกูลอันมั่งคั่งจะตั้งอยู่นานไม่ได้ เพราะเหตุอะไร ?
๘. เพราะเหตุ ๔ อย่าง คือ
๑. ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว
๒. ไม่บูรณะพัสดุที่คร่าคร่า
๓. ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ
๔. ตั้งสตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็นแม่เรือนพ่อเรือน ฯ
๙. การอยู่ครองเรือนนั้น ควรมีธรรมอะไร ? อะไรบ้าง ?
๙. ควรมีฆราวาสธรรม ๔ ฯ
คือ ๑. สัจจะ ความสัตย์ซื่อต่อกัน
๒. ทมะ การรู้จักข่มจิตของตน
๓. ขันติ ความอดทน
๔. จาคะ การสละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ
๑๐. มารดาบิดาได้เลี้ยงดูบุตรธิดาแล้ว บุตรธิดาพึงปฏิบัติต่อท่านอย่างไร ?
๑๐. ๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ
๒. ทากิจของท่าน
๓. ดารงวงศ์สกุล
๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก
๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๗
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันจันทร์ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
๑. หิริ และโอตตัปปะ ได้ชื่อว่าธรรมเป็นโลกบาล เพราะเหตุไร ?
๑. เพราะเป็นคุณธรรมทาบุคคลให้รังเกียจ และเกรงกลัวต่อบาปทุจริต ไม่กล้าทาความชั่วทั้งในที่ลับ
และที่แจ้ง ฯ
๒. การทาบุญโดยย่อมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
๒. มี ๓ อย่าง ฯ
ทาน ศีล ภาวนา ฯ
๓. เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ คืออะไร ?
๓. คือตัณหา ความทะยานอยาก ฯ
๔. อภิณหปัจจเวกขณ์ คือข้อที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๕ อย่าง ทรงสอนให้พิจารณาอะไรบ้าง ?
๔. ทรงสอนให้พิจารณา
๑. ความแก่ ว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
๒. ความเจ็บไข้ ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้
๓. ความตาย ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้
๔. ความพลัดพราก ว่าเราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
๕. กรรม ว่าเรามีกรรมเป็นของตัวเราทาดีจักได้ดีทาชั่วจักได้ชั่ว ฯ
๕. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? ย่อเป็น ๒ อย่างไร ?
๕. ได้แก่รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯ
อย่างนี้คือ รูปขันธ์คงเป็นรูป
เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ๔ ขันธ์นี้เป็นนาม ฯ
๖. บรรพชิตผู้พิจารณาเนือง ๆ ว่า วันคืนล่วงไป ๆ บัดนี้เราทาอะไรอยู่ จะได้รับประโยชน์อะไร ?
๖. จะได้รับประโยชน์คือเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร งดเว้นสิ่งที่เป็นโทษ ทาในสิ่งที่เป็นประโยชน์
๑๘ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๗. จงให้ความหมายของคาต่อไปนี้
ก. พาหุสัจจะ ข. อกุสลมูล ค. อินทรียสังวร ฆ. อนัตตตา ง. กามฉันท์
๗. ก. ความเป็นผู้ศึกษามาก
ข. รากเหง้าของอกุศล
ค. ความสารวมอินทรีย์
ฆ. ความเป็นของไม่ใช่ตน
ง. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูป เป็นต้น ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. มิตรแท้ มีกี่จาพวก ? อะไรบ้าง ?
๘. มี ๔ จาพวก ฯ
คือ ๑. มิตรมีอุปการะ
๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
๓. มิตรแนะประโยชน์
๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ
๙. คุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้ มีอะไรบ้าง ?
๙. มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ
๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ?
๑๐. คือ ศีล ๕ ฯ
ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย
๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม
๔. เว้นจากพูดเท็จ
๕. เว้นจากดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๙
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗
๑. ธรรมที่ได้ชื่อว่ามีอุปการะมาก คือธรรมอะไร ? เพราะเหตุไรจึงจัดว่ามีอุปการะมาก ?
๑. คือสติ ความระลึกได้ และสัมปชัญญะ ความรู้ตัว ฯ
เพราะเป็นคุณธรรมอุดหนุนให้สาเร็จประโยชน์เกื้อกูลในกิจทั้งปวง ฯ
๒. รัตนะ ๓ อย่าง คืออะไรบ้าง ? รัตนะที่ ๒ มีคุณอย่างไร ?
๒. คือพุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ฯ
ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ
๓. คุณธรรมเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๓. คืออิทธิบาท ๔ ฯ
มี ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ
๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ
๔. เมื่อเพื่อนร่วมงานได้เลื่อนตาแหน่ง ไม่คิดริษยา พลอยยินดีกับเขาด้วย ชื่อว่าปฏิบัติตามพรหม
วิหารธรรมข้อใด ?
๔. มุทิตา ฯ
๕. เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร ?
๕. คือตัณหา ความทะยานอยาก ฯ
๖. การจะเป็นนักเทศน์ที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ? จงตอบมาสัก ๓ ข้อ
๖. ๑. แสดงธรรมโดยลาดับ ไม่ตัดลัดให้ขาดความ
๒. อ้างเหตุผลแนะนาให้ผู้ฟังเข้าใจ
๓. ตั้งจิตเมตตาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง
๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ
๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น คือไม่ยกตนเสียดสีผู้อื่น ฯ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
๒๐ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๗. จงให้ความหมายของคาต่อไปนี้ ?
๑. ธัมมัญญุตา ๒. มัตตัญญุตา ๓. กาลัญญุตา
๗. ๑. ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้จักเหตุ เช่นรู้จักว่า สิ่งนี้เป็นเหตุแห่งสุข สิ่งนี้เป็นเหตุแห่งทุกข์
๒. มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้ประมาณ ในการแสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิตแต่โดยทางที่ชอบ และรู้
ประมาณในการบริโภคแต่พอสมควร
๓. กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลาอันสมควร ในอันประกอบกิจนั้น ๆ ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. อบายมุข คืออะไร ? ความเป็นนักเลงสุราจัดเป็นอบายมุขเพราะเหตุไร ?
๘. คือเหตุเครื่องฉิบหาย ฯ
เพราะเป็นเหตุให้เสียทรัพย์ ก่อการทะเลาะวิวาท เกิดโรค ต้องติเตียน ไม่รู้จักอาย ทอนกาลัง
ปัญญา ฯ
๙. อุบาสกอุบาสิกาควรตั้งอยู่ในคุณสมบัติอะไรบ้าง ?
๙. ในคุณสมบัติ ๕ อย่าง คือ
๑. ประกอบด้วยศรัทธา
๒. มีศีลบริสุทธิ์
๓. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว คือเชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล
๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา
๕. บาเพ็ญบุญแต่ในพุทธศาสนา ฯ
๑๐. ในทิศ ๖ ทิศเหล่านี้หมายถึงใคร ?
ก. ทิศเบื้องหน้า ข. ทิศเบื้องขวา ค. ทิศเบื้องหลัง
ง. ทิศเบื้องซ้าย จ. ทิศเบื้องบน
๑๐. ก. มารดาบิดา ข. ครูอาจารย์ ค. บุตรภรรยา
ง. มิตร จ. สมณพราหมณ์ ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๑
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘
๑. บุพพการี และกตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลเช่นไร ?
๑. บุพพการี หมายถึงบุคคลผู้ทาอุปการะก่อน
กตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้วและตอบแทน ฯ
๒. พระธรรม คืออะไร ? มีคุณต่อผู้ปฏิบัติอย่างไร ?
๒. พระธรรม คือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ
มีคุณ คือย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ
๓. บุญกิริยาวัตถุ คืออะไร ? โดยย่อมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ?
๓. คือสิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบาเพ็ญบุญ ฯ
มี ๓ ฯ
คือ ๑. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน
๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล
๓. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ฯ
๔. ธรรมดุจล้อรถนาไปสู่ความเจริญ เรียกว่าอะไร ? จงบอกมาสัก ๒ ข้อ
๔. เรียกว่า จักร ฯ
ได้แก่ ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร
๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ
๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ
๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผู้ได้ทาความดีไว้ในปางก่อน ฯ (เลือกตอบเพียง ๒ ข้อ)
๕. บุคคลผู้รักษาความยุติธรรมไว้ได้ ควรเว้นจากธรรมอะไร ? ธรรมนั้นมีอะไรบ้าง ?
๕. ควรเว้นจากอคติ ๔ ฯ
มี ๑. ความลาเอียงเพราะรักใคร่กัน เรียกว่า ฉันทาคติ
๒. ความลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน เรียกว่า โทสาคติ
๓. ความลาเอียงเพราะเขลา เรียกว่า โมหาคติ
๔. ความลาเอียงเพราะกลัว เรียกว่า ภยาคติ ฯ
๒๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๖. กรรมอันเป็นบาปหนักที่สุด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน คือกรรมอะไร ? จงยกตัวอย่างสัก ๓ ข้อ
๖. คืออนันตริยกรรม ฯ
มี ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา
๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา
๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔. โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป
๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
๗. อานิสงส์แห่งการฟังธรรม มีอะไรบ้าง ?
๗. มี ๑. ผู้ฟังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง
๒. สิ่งใดได้เคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ่งนั้นชัด
๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้
๔. ทาความเห็นให้ถูกต้องได้
๕. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. ธรรม ๔ ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลเพื่อสุขในปัจจุบัน เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๘. เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ฯ
มี ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่นในการประกอบกิจอันควร
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ทั้งทรัพย์และการงานของตน ไม่ให้เสื่อมไป
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ ฯ
๙. มิตรมีหลายจาพวก อยากทราบว่ามิตรแท้ ๔ จาพวกมีอะไรบ้าง ?
๙. มี ๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ
๑๐. บุตรธิดาพึงปฏิบัติต่อมารดาบิดาอย่างไร ?
๑๐. พึงปฏิบัติอย่างนี้
๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ
๒. ทากิจของท่าน
๓. ดารงวงศ์สกุล
๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก
๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๓
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคารที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙
๑. ในทางโลก ดูคนงามที่รูปร่างหน้าตา ส่วนในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามที่ไหน ?
๑. ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่มีคุณธรรมอันทาให้งาม ๒ ประการ คือ
๑. ขันติ ความอดทน
๒. โสรัจจะ ความเสงี่ยม ฯ
๒. ในโลกนี้ มีบุคคลประเภทใดบ้างที่หาได้ยาก ?
๒. มีบุคคลที่หาได้ยาก ๒ ประเภท คือ
๑. บุพพการี บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน
๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้ว และทาตอบแทน ฯ
๓. พระรัตนตรัย กับ ไตรสรณคมน์ เป็นอย่างเดียวกัน หรือต่างกันอย่างไร ? การเปล่งวาจาถึงรัตนะ ๓
เป็นที่พึ่ง จัดเป็นอย่างไหน ใน ๒ อย่างนั้น ?
๓. ต่างกัน คือ
พระรัตนตรัย หมายถึงสิ่งที่เป็นที่พึ่ง ๓ ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
ส่วนไตรสรณคมน์ หมายถึงการยอมรับนับถือพระรัตนตรัยไว้เป็นที่พึงของตน ฯ
จัดเป็นไตรสรณคมน์ ฯ
๔. ภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ควรเว้นอันตราย ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง ?
๔. ควรเว้น อันตราย ๔ อย่าง คือ
๑. อดทนต่อคาสอนไม่ได้ คือเบื่อต่อคาสอน ขี้เกียจทาตาม
๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง อดทนต่อความอยากไม่ได้
๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป
๔. รักผู้หญิง ฯ
๕. กายกับใจของเรานี้แบ่งออกเป็นกี่กอง ? อะไรบ้าง ?
๕. แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่า ขันธ์ ฯ
คือ ๑. รูป ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. สังขาร ๕. วิญญาณ ฯ
๒๔ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๖. อินทรีย์ ๖ กับอารมณ์ ๖ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ?
๖. มีความสัมพันธ์กันอย่างนี้ คือ
๑. อาศัยรูปกระทบนัยน์ตา เกิดความรู้ขึ้น เรียกจักขุวิญญาณ
๒. อาศัยเสียงกระทบหู เกิดความรู้ขึ้น เรียกโสตวิญญาณ
๓. อาศัยกลิ่นกระทบจมูก เกิดความรู้ขึ้น เรียกฆานวิญญาณ
๔. อาศัยรสกระทบลิ้น เกิดความรู้ขึ้น เรียกชิวหาวิญญาณ
๕. อาศัยโผฏฐัพพะกระทบกาย เกิดความรู้ขึ้น เรียกกายวิญญาณ
๖. อาศัยธรรมเกิดกับใจ เกิดความรู้ขึ้น เรียกมโนวิญญาณ ฯ
๗. เมื่อโลกธรรม ๘ เกิดขึ้นแก่ตน ควรพิจารณาอย่างไร ?
๘. ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึ้นก็แต่ว่ามันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ที่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรรู้ตามที่
เป็นจริง อย่าให้มันครอบงาจิตได้ คืออย่ายินดีในส่วนที่ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่น่าปรารถนา ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. ฆราวาสผู้ครองเรือนควรตั้งอยู่ในธรรมข้อใดบ้าง ?
๘. ควรตั้งอยู่ในฆราวาสธรรม ๔ ประการ คือ
๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน
๒. ทมะ รูจั้กข่มจิตของตน
๓. ขันติ อดทน
๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ
๙. การคบคนชั่วเป็นมิตร เป็นเหตุให้เกิด ความเสียหายอย่างไร ?
๙. เป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย ดังนี้
๑. ทาให้เป็นนักเลงการพนัน ๒. ทาให้เป็นนักเลงเจ้าชู ้
๓. ทาให้เป็นนักเลงเหล้า ๔. ทาให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม
๕. ทาให้เป็นคนโกงเขาซึ่งหน้า ๖. ทาให้เป็นนักเลงหัวไม้ ฯ
๑๐. ศิษย์ที่ดีพึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ อย่างไรบ้าง ?
๑๐. พึงปฏิบัติอย่างนี้
๑. ด้วยลุกขึ้นยืนรับ ๒. ด้วยเข้าไปยืนคอยรับใช้
๓. ด้วยเชื่อฟัง ๔. ด้วยอุปัฏฐาก
๕. ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๕
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันเสาร์ที่ ๓๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๐
๑. สังคมทุกวันนี้เกิดความวุ่นวาย เพราะขาดธรรมอะไรบ้าง ?
๑. เพราะขาดธรรมเป็นโลกบาล ๒ อย่าง คือ
๑. หิริ ความละอายแก่ใจในการประพฤติชั่ว
๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลของการประพฤติชั่ว
๒. สติ แปลว่าอะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่อว่าเป็นธรรมมีอุปการะมาก ?
๒. สติ แปลว่า ความระลึกได้ ฯ
เพราะช่วยให้สาเร็จกิจในทางที่ดี ฯ
๓. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ได้ชื่อว่ารัตนะ เพราะเหตุไร ?
๓. เพราะเป็นของมีคุณค่าและหาได้ยาก เหมือนเพชรนิลจินดามีค่ามาก นาประโยชน์และความสุขมา
ให้แก่ผู้เป็นเจ้าของ ฯ
๔. ไตรลักษณ์ ได้แก่อะไรบ้าง ?
๔. ๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง
๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์
๓. อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตน ฯ
๕. ผู้ที่ทางานไม่สาเร็จผลตามที่มุ่งหมายเพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง ?
๕. เพราะขาดอิทธิบาท คือคุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ
๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ
๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ
๒๖ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๖. ธรรมอันเป็นเครื่องกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๖. คือนิวรณ์ ๕ ฯ
มี ๑. กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น
๒. พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น
๓. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม
๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ
๕. วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงใจ ฯ
๗. คาว่า เจรจาชอบ ในมรรคมีองค์ ๘ นั้น คือเจรจาอย่างไร ?
๗. คือเว้นจากพูดเท็จ เว้นจากพูดส่อเสียด เว้นจากพูดคาหยาบ และเว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. มิตรแท้ที่ควรคบ มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?
๘. มี ๔ ประเภท ฯ
คือ ๑. มิตรมีอุปการะ
๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
๓. มิตรแนะประโยชน์
๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ
๙. อบายมุข ๔ มีอะไรบ้าง ?
๙. มี ๑. ความเป็นนักเลงหญิง
๒. ความเป็นนักเลงสุรา
๓. ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน
๔. ความคบคนชั่วเป็นมิตร ฯ
๑๐. ดื่มน้าเมามีโทษอย่างไรบ้าง ?
๑๐. มีโทษ ๖ อย่าง คือ
๑. เสียทรัพย์
๒. ก่อการทะเลาะวิวาท
๓. เกิดโรค
๔. ถูกติเตียน
๕. ไม่รู้จักอาย
๖. ทอนกาลังปัญญา ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๗
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ที่ ๑๙ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑
๑. ธรรมคุ้มครองโลก มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ?
๑. มี ๒ อย่าง ฯ
๑. หิริ ความละอายบาป
๒. โอตตัปปะ ความกลัวบาป ฯ
๒. พระพุทธเจ้าทรงเป็นบุพพการีของพุทธบริษัทอย่างไร ? จงอธิบาย
๒. พระพุทธเจ้าทรงกระทาอุปการะแก่พุทธบริษัทก่อน ด้วยการทรงแนะนาสั่งสอนให้รู้ดีรู้ชอบตาม
พระองค์ เพื่อให้ได้บรรลุประโยชน์ทั้ง ๓ คือ ประโยชน์ในโลกนี้ ประโยชน์ ในโลกหน้า และ
ประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นบุพพการี ฯ
๓. ทุจริต คืออะไร ? พูดใส่ร้ายผู้อื่น จัดเข้าในทุจริตข้อไหน ?
๓. ทุจริต คือ ความประพฤติชั่ว ฯ
จัดเข้าในวจีทุจริต ฯ
๔. อริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ความไม่สบายกายไม่สบายใจ จัดเป็นอริยสัจ ข้อไหน ?
๔. มี ๑. ทุกข์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ
๒. สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์
๓. นิโรธ คือความดับทุกข์
๔. มรรค คือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ฯ
จัดเป็นทุกข์ ฯ
๕. สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเนื่อง ๆ มีอะไรบ้าง ? ทรงให้พิจารณาอย่างไร ?
๕. มีความแก่ ความเจ็บไข้ ความตาย ความพลัดพราก และกรรม ฯ
ทรงสอนให้พิจารณาว่า
๑. เรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้
๒. เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้
๓. เรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้
๔. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
๒๘ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๕. เรามีกรรมเป็นของตัวเรา ทาดีจักได้ดีทาชั่วจักได้ชั่ว ฯ
๖. อายตนะภายนอก ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ?
๖. ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อารมณ์ที่มาถูกต้องกาย ธรรม คืออารมณ์ที่เกิดกับใจ ฯ
๗. สัมมากัมมันตะ ทาการงานชอบ คือทาอย่างไร ?
๗. คือทาโดยเว้นจากกายทุจริต ๓ ได้แก่
เว้นจากการฆ่าสัตว์
เว้นจากการลักทรัพย์
เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. คุณธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวน้าใจของผู้อื่นไว้ได้ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๘. คือสังคหวัตถุ ๔ ฯ
มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน
๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน
๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ
๙. ฆราวาสผู้ครองเรือนควรตั้งอยู่ในธรรมข้อใดบ้าง ?
๙. ควรตั้งอยู่ในฆราวาสธรรม ๔ คือ
๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน
๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน
๓. ขันติ อดทน
๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ
๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คืออะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ?
๑๐. คือศีล ๕ ฯ
ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย
๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม
๔. เว้นจากพูดเท็จ
๕. เว้นจากดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๙
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอังคารที่ ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒
๑. โลกเดือดร้อนวุ่นวายในปัจจุบันนี้ เพราะขาดธรรมอะไร ?
๑. เพราะขาดธรรมคุ้มครองโลก ๒ อย่าง คือ
๑. หิริ ความละอายบาป
๒. โอตตัปปะ ความกลัวบาป ฯ
๒. คนที่ทาอะไรมักพลั้งพลาด เพราะขาดธรรมอะไร ?
๒. เพราะขาดสติ ความระลึกได้ก่อนแต่จะทา และขาดสัมปชัญญะ ความรู้ตัวในขณะทา ฯ
๓. บุพพการีและกตัญญูกตเวทีได้แก่บุคคลเช่นไร ?
๓. บุพพการี ได้แก่ บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน
กตัญญูกตเวที ได้แก่ บุคคลผู้รู้อุปการะที่ผู้อื่นทาแก่ตนแล้วทาตอบแทน ฯ
๔. สิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบาเพ็ญบุญเรียกว่าอะไร ? โดยย่อมีอะไรบ้าง ?
๔. เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ฯ
โดยย่อมี ๓ คือ
๑. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน
๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล
๓. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ฯ
๕. รัตนะ ๓ มีอะไรบ้าง ? รัตนะ ๓ นั้น มีคุณอย่างไร ?
๕. มีพระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑ ฯ
มีคุณอย่างนี้ คือ
๑. พระพุทธเจ้ารู้ดีรู้ชอบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้ตาม
๒. พระธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว
๓. พระสงฆ์ปฏิบัติชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนผู้อื่นให้กระทาตาม ฯ
๖. ผู้ที่ทางานไม่สาเร็จผลตามที่มุ่งหมายเพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง ?
๖. เพราะขาดอิทธิบาท คือ คุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ
๓๐ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น
๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น
๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ
๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ
๗. กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มีชื่อเรียกว่าอะไร ? คืออะไรบ้าง ?
๗. มีชื่อเรียกว่า อนันตริยกรรม ฯ
คือ ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา
๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา
๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์
๔. โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป
๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. ผู้หวังประโยชน์ปัจจุบันจะต้องปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้สมหวัง ?
๘. ต้องปฏิบัติตามหลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ประการ คือ
๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจการงาน ในการศึกษาเล่าเรียนในการ
ทาธุระหน้าที่ของตน
๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษาทั้งทรัพย์และการงานไม่ให้เสื่อมไป
๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว
๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ ฯ
๙. อบายมุข คืออะไร ? ดื่มน้าเมามีโทษอย่างไรบ้าง ?
๙. คือเหตุเครื่องฉิบหาย ฯ
มีโทษ ๖ อย่าง คือ
๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค
๔. ถูกติเตียน ๕. ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกาลังปัญญา ฯ
๑๐. ความสุขของผู้ครองเรือนตามหลักพระพุทธศาสนา เกิดมาจากเหตุอะไรบ้าง ?
๑๐. เกิดจากเหตุ ๔ อย่าง คือ
๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์
๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค
๓. สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้
๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ฯ
วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๓๑
ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ที่ ๒๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๓
๑. สติแปลว่าอะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่อว่าเป็นธรรมมีอุปการะมาก ?
๑. สติ แปลว่า ความระลึกได้ ฯ
เพราะอุดหนุนให้สาเร็จกิจในทางที่ดี ฯ
๒. พบงูพิษแล้วสะดุ้งกลัวว่าจะถูกกัด จัดเป็นโอตตัปปะได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด ?
๒. ไม่ได้ ฯ
เพราะโอตตัปปะ หมายความว่าความเกรงกลัวต่อบาป ฯ
๓. พระธรรมคืออะไร ? มีคุณต่อผู้ปฏิบัติอย่างไร ?
๓. พระธรรมคือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ
มีคุณ คือย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ
๔. มูลเหตุที่ทาให้บุคคลทาความชั่วเรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ?
๔. เรียกว่า อกุศลมูล หมายถึงรากเหง้าของอกุศล ฯ
มี ๓ คือ
๑. โลภะ อยากได้
๒. โทสะ คิดประทุษร้ายเขา
๓. โมหะ หลงไม่รู้จริง ฯ
๕. ธาตุ ๔ คืออะไรบ้าง ? ฟันจัดเป็นธาตุอะไร ?
๕. คือ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ
เป็นธาตุดิน ฯ
๖. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? สังขารขันธ์จัดเป็นรูปหรือนาม ?
๖. ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯ
จัดเป็นนาม ฯ
๓๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา
๗. โลกธรรม ๘ คืออะไรบ้าง?
๗. คือ มีลาภ ๑ ไม่มีลาภ ๑
มียศ ๑ ไม่มียศ ๑
นินทา ๑ สรรเสริญ ๑
สุข ๑ ทุกข์ ๑ ฯ
คิหิปฏิบัติ
๘. บุตรธิดาพึงปฏิบัติต่อมารดาบิดาอย่างไร ?
๘. พึ่งปฏิบัติอย่างนี้
๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ
๒. ทากิจของท่าน
๓. ดารงวงศ์สกุล
๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก
๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน ฯ
๙. มิตรแท้ที่ควรคบ มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ?
๙. มี ๔ ประเภทฯ
คือ ๑. มิตรมีอุปการะ
๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์
๓. มิตรแนะประโยชน์
๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ
๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ?
๑๐. คือ ศีล ๕ ฯ
ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป
๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย
๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม
๔. เว้นจากพูดเท็จ
๕. เว้นจากดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานpop Jaturong
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทTheeraphisith Candasaro
 
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdfmaruay songtanin
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาkruudompcccr
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารAnchalee BuddhaBucha
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 

What's hot (20)

ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐานอรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
อรูป 4 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรีเอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
เอกสารประกอบการศึกษานักธรรมชั้นตรี
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdfสรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
สรุปนักธรรมเอก_V 2565.pdf
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบทคู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
คู่มือพระกรรมวาจาจารย์บรรพชาอุปสมบท
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdfสรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
สรุปนักธรรมตรี_V2565.pdf
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลีแปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
แปลบาลีเป็นไทย แปลไทยเป็นบาลี
 
หลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนาหลักธรรมพุทธศาสนา
หลักธรรมพุทธศาสนา
 
พุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหารพุทธศาสนากับการบริหาร
พุทธศาสนากับการบริหาร
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 

Similar to ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน Tongsamut vorasan
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานPadvee Academy
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารPanuwat Beforetwo
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปดTongsamut vorasan
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมTaweedham Dhamtawee
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 

Similar to ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf (20)

สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน สุภีร์ ทุมทอง   สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
สุภีร์ ทุมทอง สติปัฏฐาน ๔ เสันทางตรงสู่พระนิพพาน
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมภาคปฏิบัติ บทที่ ๒ กรรมฐาน และบุรพกิจของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)บทความ (สังขาร)
บทความ (สังขาร)
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
หลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหารหลักธรรม ของ นักบริหาร
หลักธรรม ของ นักบริหาร
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
คำนำทำ 4
คำนำทำ 4คำนำทำ 4
คำนำทำ 4
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปดสำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน   มงคลสามสิบแปด
สำนักปฏิบัติธรรมสุธัมมสถาน มงคลสามสิบแปด
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรมธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
ธรรมะเสวนา พระพุทธและพระธรรม
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๑
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral) (20)

ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
 
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลีธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
 
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
 
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdfสำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
 
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลีจูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
 
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 

ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf

  • 1. ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี พ.ศ. ๒๕๔๙ - ๒๕๖๔ พระมหามนตรี กตปุญฺโ เรียบเรียง
  • 2. คานา การศึกษานักธรรมในสมัยก่อนเป็นเรื่องยาก เนื่องจากหนังสือคู่มือการศึกษามีน้อย พระภิกษุ สามเณรที่ศึกษานักธรรมจาเป็นต้องใช้ความขยันมากเป็นพิเศษ เพราะไม่สามารถรู้ได้ว่าข้อสอบออกแนวทาง ไหน ตรงไหนมีความสาคัญมากที่สุด เรื่องอะไรออกบ่อยมากที่สุด ปัญหาและเฉลย ข้อสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรีเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวข้อสอบ เป็น เหมือนดังเข็มทิศชี้ทางให้เห็นว่าตรงไหนมีความสาคัญมากที่สุด ตรงไหนที่ออกข้อสอบบ่อย ควรท่องอ่าน ทบทวนและทาความเข้าใจให้มาก ตอนที่เรียนนักธรรม ผู้จัดทาจะเน้นท่องอ่านทบทวนจากปัญหาและเฉลยข้อสอบ เพื่อให้คุ้นเคย กับคาถามและคาตอบ เมื่อทาอยู่อย่างนี้บ่อย ๆ ย่อมเกิดความเข้าใจ และความมั่นใจว่าต้องสอบได้ จึงหวัง เป็นอย่างยิ่งว่า ปัญหาและเฉลยข้อสอบธรรมสนามหลวงนักธรรมตรีเล่มนี้ จะเกิดประโยชน์แก่ผู้สนใจใน การศึกษาทุกรูป พระมหามนตรี กตปุญฺโ ๑๙ มกราคม ๒๕๖๕
  • 3. สารบัญ หน้า ปัญหาและเฉลย : วิชาธรรมวิภาค ๑ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๖ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๘ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑๑ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑๓ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑๕ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑๗ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑๙ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๒๑ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๒๓ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๒๕ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๒๗ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๒๙ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๓๑ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๓๓ ปัญหาและเฉลย : วิชาพุทธประวัติ ๓๕ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๓๕ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๓๗ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๓๙ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๔๑ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๔๓ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๔๕ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๔๗ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๔๙ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๕๑ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๕๓ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๕๕ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๕๗
  • 4. พ.ศ. ๒๕๖๑ ๕๙ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๖๑ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๖๓ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๖๕ ปัญหาและเฉลย : วิชาวินัยบัญญัติ ๖๗ พ.ศ. ๒๕๔๙ ๖๗ พ.ศ. ๒๕๕๐ ๖๙ พ.ศ. ๒๕๕๑ ๗๑ พ.ศ. ๒๕๕๒ ๗๓ พ.ศ. ๒๕๕๓ ๗๕ พ.ศ. ๒๕๕๔ ๗๗ พ.ศ. ๒๕๕๕ ๗๙ พ.ศ. ๒๕๕๖ ๘๑ พ.ศ. ๒๕๕๗ ๘๓ พ.ศ. ๒๕๕๘ ๘๕ พ.ศ. ๒๕๕๙ ๘๗ พ.ศ. ๒๕๖๐ ๘๙ พ.ศ. ๒๕๖๑ ๙๑ พ.ศ. ๒๕๖๒ ๙๓ พ.ศ. ๒๕๖๓ ๙๕ พ.ศ. ๒๕๖๔ ๙๗
  • 5. ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันจันทร์ที่ ๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙ ๑. หิริกับโอตตัปปะ ต่างกันอย่างไร ? ๑. ต่างกันอย่างนี้ หิริ คือ ความละอายใจตนเองที่จะประพฤติชั่ว ส่วนโอตตัปปะ คือ ความเกรงกลัวผลของความชั่วที่ตนจะได้รับ ฯ ๒. คาว่า พระธรรม ในรัตนะ ๓ คืออะไร ? มีคุณอย่างไร ? ๒. คือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ มีคุณ คือ รักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ ๓. โอวาทของพระพุทธเจ้ามีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? ๓. มี ๓ อย่าง ฯ ๑. เว้นจากทุจริต คือ ประพฤติชั่วด้วยกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือ ประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ๓. กระทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลงเป็นต้น ฯ ๔. คนเราจะประพฤติดีหรือประพฤติชั่วมีมูลเหตุมาจากอะไร ? ๔. คนประพฤติดีมีมูลเหตุมาจากอโลภะ อโทสะ อโมหะ ส่วนคนประพฤติชั่วมีมูลเหตุมาจากโลภะ โทสะ โมหะ ฯ ๕. ปธานคือความเพียร ๔ มีอะไรบ้าง ? งดเหล้าเข้าพรรษาอนุโลมเข้าในปธานข้อไหน ? ๕. มี ๑. สังวรปธาน เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. ปหานปธาน เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. ภาวนาปธาน เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. อนุรักขนาปธาน เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วมิให้เสื่อม ฯ อนุโลมเข้าในปหานปธาน ฯ ๖. อุทธัจจกุกกุจจะ คือความฟุ้งซ่านและราคาญ จัดเข้าในขันธ์ไหนในขันธ์ ๕ ? เพราะเหตุไร ? ๖. จัดเข้าในสังขารขันธ์ ฯ เพราะความฟุ้งซ่านและราคาญ เป็นเจตสิกธรรมที่เกิดขึ้นกับใจ ฯ
  • 6. ๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๗. อริยทรัพย์ คือทรัพย์เช่นไร ? เมื่อเทียบกับทรัพย์สินมีเงินทอง เป็นต้นดีกว่ากันอย่างไร ? ๗. คือคุณงามความดีอย่างประเสริฐที่เกิดมีขึ้นในสันดาน มีศรัทธา ศีล เป็นต้น ฯ ดีกว่ากัน เพราะเป็นคุณธรรมเครื่องบารุงจิตให้อบอุ่น ไม่ต้องกังวลเดือดร้อน ใครจะแย่งชิงไปไม่ได้ ใช้ เท่าใดก็ไม่ต้องกลัวหมดสิ้น ทั้งสามารถติดตามไปได้ถึงชาติหน้า เป็นที่พึ่งในสัมปรายภพได้ด้วย ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. คิหิปฏิบัติ คืออะไร ? หมวดธรรมต่อไปนี้ คือ ๑. อิทธิบาท ๔ ๒. สังคหวัตถุ ๔ ๓. อธิษฐานธรรม ๔ ๔. ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ๕. ปาริสุทธิศีล ๔ หมวดไหนมีในคิหิปฏิบัติ ? ๘. คือหลักปฏิบัติของคฤหัสถ์ ฯ ข้อ ๒. และข้อ ๔. มีในคิหิปฏิบัติ ฯ ๙. ผู้อยู่ครองเรือนควรมีธรรมของฆราวาสเป็นหลักปฏิบัติจึงจะอยู่เป็นสุข ธรรมของฆราวาสนั้นมีอะไรบ้าง? ๙. มี ๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน ๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน ๓. ขันติ อดทน ๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ ๑๐. นาย ก เป็นผู้ฉลาดในการเล่นพนันฟุตบอล เขาหวังให้นาย ข ผู้เป็นเพื่อน มีเงินทองไว้ก่อร่างสร้าง ตัว จึงชักชวนนาย ข ให้เล่นด้วย นาย ก จัดเข้าในประเภทมิตรแนะประโยชน์ได้หรือไม่ ? เพราะ เหตุไร ? ๑๐. ไม่ได้ ฯ เพราะ นาย ก กาลังชักชวนในทางฉิบหาย ผิดลักษณะมิตรแนะประโยชน์ ฯ
  • 7. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๓ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ที่ ๒๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๐ ๑. ในทางโลก ดูคนงามกันที่รูปร่างหน้าตา ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่ไหน ? ๑. ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่มีคุณธรรมอันทาให้งาม ๒ ประการ คือ ขันติ ความอดทน และโสรัจจะ ความสงบเสงี่ยม ฯ ๒. มโนสุจริตคืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๒. คือ การประพฤติชอบด้วยใจ ฯ มี ๑. ไม่โลภอยากได้ของเขา ๒. ไม่พยาบาทปองร้ายเขา ๓. เห็นชอบตามคลองธรรม ฯ ๓. อิทธิบาท คือ ธรรมเป็นคุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ของบุคคล ส่วนธรรมอันเป็นเครื่องกั้นจิตไม่ให้ บรรลุความดี คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๓. คือ นิวรณ์ ๕ ฯ มี ๑. กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น ๒. พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น ๓. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ ๕. วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงได้ ฯ ๔. ภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่จะต้องมีอินทรียสังวร คือสารวมอินทรีย์ สารวมอินทรีย์นั้น คืออย่างไร ? ๔. คือระวังตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ไม่ให้ความยินดียินร้ายครอบงาได้ ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดม กลิ่น ลิ้มรส ถูกต้องโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ ฯ ๕. ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ข้อความนี้อยู่ในหมวด ธรรมอะไร ? ท่านให้พิจารณาอย่างนี้เพื่ออะไร ? ๕. อยู่ในธรรมหมวดอภิณหปัจจเวกขณ์ ๕ ฯ เพื่อบรรเทาความยึดมั่นถือมั่นว่า สิ่งนั้น คนนั้น เป็นที่รักของเรา จักไม่ต้องเสียใจในเมื่อต้องพลัด พรากจากสิ่งนั้น คนนั้น จริง ๆ ฯ
  • 8. ๔ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๖. มรรคมีองค์แปดจัดเข้าในสิกขา ๓ ได้หรือไม่ ? ถ้าได้จงจัดมาดู ๖. ได้ ฯ จัดดังนี้ สัมมาทิฏฐิและสัมมาสังกัปปะ จัดเข้าในปัญญาสิกขา สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ จัดเข้าในสีลสิกขา สัมมาวายามะ สัมมาสติ สัมมาสมาธิ จัดเข้าในจิตตสิกขา ฯ ๗. มละ คืออะไร ? เป็นศิษย์ได้ดีแล้วทามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าในมละอย่างไหน และควรชาระมละ อย่างนั้นด้วยธรรมอะไร ? ๗. มละคือมลทิน ฯ จัดเข้าในมักขะ ลบหลู่คุณท่านและควรชาระด้วยกตัญญูกตเวทิตา ความรู้คุณท่านแล้วตอบแทน ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. เมื่อแสวงหาโภคทรัพย์ได้โดยทางที่ชอบแล้ว ควรทาอะไรบ้างเพื่อให้เกิดประโยชน์ในโภคทรัพย์ที่ ได้มานั้น ? ๘. ควรทา ๑. เลี้ยงตัว มารดา บิดา บุตร ภรรยา บ่าวไพร่ ให้เป็นสุข ๒. เลี้ยงเพื่อนฝูงให้เป็นสุข ๓. บาบัดอันตรายที่เกิดแต่เหตุต่าง ๆ ๔. ทาพลี ๕ อย่าง คือ ๔.๑ ญาติพลี สงเคราะห์ญาติ ๔.๒ อติถิพลี ต้อนรับแขก ๔.๓ ปุพพเปตพลี ทาบุญอุทิศให้ผู้ตาย ๔.๔ ราชพลี ถวายเป็นหลวง มีภาษีอากร เป็นต้น ๔.๕ เทวตาพลี ทาบุญอุทิศให้เทวดา ๕. บริจาคทานในสมณพราหมณ์ผู้ประพฤติชอบ ฯ ๙. การค้าขายสัตว์เพื่อเอาไปฆ่าเป็นอาหาร เป็นการผิดศีลข้อปาณาติบาตหรือไม่ ? เพราะเหตุไร ? อุบาสกควรปฏิบัติอย่างไรในเรื่องนี้ ? ๙. ไม่ผิด ฯ เพราะไม่ได้เป็นผู้ฆ่าหรือสั่งให้ฆ่า ฯ อุบาสกควรเว้นการค้าขายชนิดนี้เสีย ฯ
  • 9. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๕ ๑๐. ทิศ ๖ ในคิหิปฏิบัติ มีอะไรบ้าง ? แต่ละทิศหมายถึงใคร ? ๑๐. มี ดังนี้ ๑. ทิศเบื้องหน้า หมายถึง มารดาบิดา ๒. ทิศเบื้องขวา หมายถึง อาจารย์ ๓. ทิศเบื้องหลัง หมายถึง บุตรภรรยา ๔. ทิศเบื้องซ้าย หมายถึง มิตร ๕. ทิศเบื้องต่า หมายถึง บ่าว ๖. ทิศเบื้องบน หมายถึง สมณพราหมณ์ ฯ
  • 10. ๖ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันพฤหัสบดีที่ ๙ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๑ ๑. การที่บุคคลพบงูพิษแล้วสะดุ้งกลัวว่าจะถูกกัดตาย จัดเป็นโอตตัปปะ ได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด ? ๑. ไม่ได้ ฯ เพราะไม่ใช่ความเกรงกลัวต่อบาป ฯ ๒. พระสงฆ์ในรัตนตรัยมีคุณอย่างไร ? ๒. ท่านปฏิบัติชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนให้ผู้อื่นกระทาตามด้วย ฯ ๓. โอวาทของพระพุทธเจ้า ๓ อย่างมีอะไรบ้าง ? ๓. มี ๑. เว้นจากทุจริต คือประพฤติชั่วทางกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติชอบทางกาย วาจา ใจ ๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น ฯ ๔. อินทรียสังวร คือสารวมอินทรีย์ อินทรีย์ได้แก่อะไรบ้าง ? ๔. ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ฯ ๕. ธรรมหมวดหนึ่ง เป็นเหตุให้ผู้ประพฤติขาดความเที่ยงธรรมชื่อว่า อะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๕. ชื่อว่า อคติ ความลาเอียง ฯ มี ๑. ฉันทาคติ ลาเอียงเพราะรักใคร่กัน ๒. โทสาคติ ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน ๓. โมหาคติ ลาเอียงเพราะเขลา ๔. ภยาคติ ลาเอียงเพราะกลัว ฯ ๖. ธาตุ ๔ มีธาตุอะไรบ้าง ? ธาตุมีลักษณะแข้นแข็ง คือธาตุอะไร ? ๖. คือ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ คือ ธาตุดิน ฯ ๗. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? โดยย่อเรียกว่าอะไร ? ๗. ได้แก่ รูป เวทนา สัญญา สังขาร วิญญาณ ฯ
  • 11. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๗ เรียกว่า นามรูป ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. ข้อว่า “แม้ชีวิตก็อาจสละแทนได้” ดังนี้ เป็นลักษณะของมิตรแท้ ประเภทใด ? ๘. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ฯ ๙. คุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวน้าใจของผู้อื่นไว้ได้ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๙. คือ สังคหวัตถุ ๔ ฯ มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ ๑๐. การค้าขายสุรา เป็นอาชีพที่ถูกต้องตามกฎหมาย ในทางพระพุทธศาสนา มีความเห็นไว้อย่างไร ? ๑๐. ทางพระพุทธศาสนา จัดเป็นมิจฉาวณิชชา การค้าขายไม่ชอบธรรม เป็นข้อห้าม อุบาสกไม่ควร ประกอบ ฯ
  • 12. ๘ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคารที่ ๒๙ กันยายน พ.ศ. ๒๕๕๒ ๑. บุพพการีและกตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลเช่นไร ? จงยกตัวอย่างมาสัก ๒ คู่ ๑. บุพพการี ได้แก่บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้วและ ตอบแทน ฯ คู่ที่ ๑ มารดาบิดากับบุตรธิดา คู่ที่ ๒ ครูอาจารย์กับศิษย์ คู่ที่ ๓ พระราชากับราษฎร คู่ที่ ๔ พระพุทธเจ้ากับพุทธบริษัท ฯ ๒. อาการที่พระพุทธเจ้าทรงสั่งสอนมีกี่อย่าง ? ข้อที่ว่า “ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์” นั้นคืออย่างไร ? ๒. มี ๓ อย่าง ฯ คือ ผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบัติ ฯ ๓. มูลเหตุที่ทาให้บุคคลทาความชั่ว เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? เมื่อเกิดขึ้นแล้วควรปฏิบัติอย่างไร ? ๓. เรียกว่า อกุศลมูล ฯ มี ๑. โลภะ อยากได้ ๒. โทสะ คิดประทุษร้ายเขา ๓. โมหะ หลงไม่รู้จริง ฯ เมื่อเกิดขึ้นแล้วควรละเสีย ด้วยทาน ศีล ภาวนา ฯ ๔. ปัญญาอันเห็นชอบอย่างไร จึงชื่อว่ามรรคในอริยสัจ ๔ ? เพราะเหตุไร ? ๔. ปัญญาอันเห็นชอบว่าสิ่งนี้ทุกข์ สิ่งนี้เหตุให้ทุกข์เกิด สิ่งนี้ความดับทุกข์ สิ่งนี้ทางให้ถึงความดับทุกข์ ได้ชื่อว่า มรรค ฯ เพราะเป็นข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ฯ ๕. ธรรมเป็นกาลัง ๕ อย่าง คืออะไรบ้าง ? ธรรม ๕ อย่างนั้น เรียกว่าอินทรีย์ เพราะเหตุไร ? ๕. คือ ๑. สัทธา ความเชื่อ ๒. วิริยะ ความเพียร ๓. สติ ความระลึกได้
  • 13. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๙ ๔. สมาธิ ความตั้งใจมั่น ๕. ปัญญา ความรอบรู้ ฯ เพราะเป็นใหญ่ในกิจของตน ฯ ๖. คารวะ คืออะไร ? มีกี่อย่าง ? ข้อว่า คารวะในความศึกษา หมายถึงอะไร ? ๖. คือ ความเคารพ เอื้อเฟื้อ ฯ มี ๖ อย่าง ฯ หมายถึง ความเคารพ เอื้อเฟื้อในไตรสิกขา ฯ ๗. มละ คืออะไร ? เป็นศิษย์ได้ดีแล้วทามึนตึงกับอาจารย์ จัดเข้าในมละอย่างไหน และควรชาระมละ อย่างนั้นด้วยธรรมอะไร ? ๗. มละคือมลทิน ฯ จัดเข้าในมักขะ ลบหลู่คุณท่าน และควรชาระด้วยกตัญญูกตเวทิตา ความรู้คุณท่านแล้วตอบแทน ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. อบายมุข คืออะไร ? คบคนชั่วเป็นมิตรมีโทษอย่างไร ? ๘. คือ ทางแห่งความเสื่อม ฯ มีโทษอย่างนี้ คือ ๑. นาให้เป็นนักเลงการพนัน ๒. นาให้เป็นนักเลงเจ้าชู้ ๓. นาให้เป็นนักเลงเหล้า ๔. นาให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม ๕. นาให้เป็นคนลวงเขาซึ่งหน้า ๖. นาให้เป็นคนหัวไม้ ฯ ๙. ธรรมที่เป็นไปเพื่อประโยชน์ในปัจจุบันเรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๙. เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ฯ มีดังนี้ ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจเครื่องเลี้ยงชีวิตก็ดี ใน การศึกษาเล่าเรียนก็ดี ในการทาธุระหน้าที่ของตนก็ดี ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา คือรักษาทรัพย์ที่แสวงหามาได้ด้วยความ หมั่น ไม่ให้เป็นอันตรายก็ดี รักษาการงานของตน ไม่ให้เสื่อมเสีย ไปก็ดี ๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว
  • 14. ๑๐ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ไม่ให้ ฝืดเคืองนัก ไม่ให้ฟูมฟายนัก ฯ ๑๐. มิจฉาวณิชชา คืออะไร ? การค้าขายเด็ก การค้าขายยาเสพติด การค้าขายเบ็ดตกปลา จัดเป็น มิจฉาวณิชชาข้อใด ? ๑๐. มิจฉาวณิชชา คือการค้าขายไม่ชอบธรรม ฯ การค้าขายเด็ก จัดเข้าในค้าขายมนุษย์ การค้าขายยาเสพติด จัดเข้าในค้าขายน้าเมา การค้าขายเบ็ดตกปลา จัดเข้าในค้าขายเครื่องประหาร ฯ
  • 15. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๑ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันจันทร์ที่ ๑๘ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๓ ๑. ธรรมมีอุปการะมากมีอะไรบ้าง ? ที่ว่ามีอุปการะมากนั้นเพราะเหตุไร ? ๑. มีสติ ความระลึกได้ และสัมปชัญญะ ความรู้ตัว ฯ เพราะทาให้เป็นผู้ไม่ประมาทในการทากิจการงานใด ๆ และเป็นอุปการะให้ธรรมเหล่าอื่นเกิดขึ้น ฯ ๒. ในรัตนะ ๓ พระธรรม ได้แก่อะไร ? ให้คุณแก่ผู้ปฏิบัติตามอย่างไร ? ๒. ได้แก่พระธรรมวินัยที่เป็นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ ๓. พระโอวาทของพระพุทธเจ้า หรือที่เรียกกันว่าหัวใจพระศาสนา มีกี่ข้อ ? อะไรบ้าง ? ๓. มี ๓ ข้อ ฯ คือ ๑. เว้นจากทุกจริต คือประพฤติชั่วด้วยกาย วาจา ใจ ๒. ประกอบสุจริต คือประพฤติดีด้วยกาย วาจา ใจ ๓. ทาใจของตนให้หมดจดจากเครื่องเศร้าหมองใจ มีโลภ โกรธ หลง เป็นต้น ฯ ๔. ทุจริต คืออะไร ? ความเห็นว่าคุณของบิดามารดาครูบาอาจารย์ไม่มีบุญบาปไม่มี จัดเป็นทุจริต ข้อ ไหน ๔. คือ ประพฤติชั่วด้วยกายวาจาใจ ฯ จัดเป็นมโนทุจริต ฯ ๕. ไตรลักษณะ ได้แก่อะไรบ้าง ? ๕. ๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์ ๓. อนัตตตา ความเป็นของใช่ตนฯ ๖. พรหมวิหาร ๔ มีอะไรบ้าง ? ๖. มีเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ฯ เพราะเป็นธรรมเครื่องอยู่ของท่านผู้ใหญ่ ฯ
  • 16. ๑๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๗. นักเรียนผู้ต้องการจะเรียนหนังสือให้ได้ผลดี จะนาอิทธิบาทมาใช้อย่างไร ? ๗. ในเบื้องต้น ต้องสร้างฉันทะคือความพอใจในการศึกษาเล่าเรียนก่อน เมื่อมีความพอใจ จะเป็นเหตุให้ ขยันศึกษาหาความรู้ที่เรียกว่าวิริยะและเกิดความใฝ่ใจใคร่รู้สิ่งต่าง ๆ มากขึ้น ที่เรียกว่าจิตตะ และเมื่อ เรียนรู้แล้วก็ต้องนาความรู้นั้นมาใคร่ครวญพิจารณาให้เข้าใจเหตุและผลอย่างถูกต้องที่เรียกว่า วิมังสา ดังนี้ก็จะประสบผลสาเร็จในการศึกษาเล่าเรียนได้ ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ มีอะไรบ้าง ? ๘. มี ๑. เว้นจากการฆ่าสัตว์ ๒. เว้นจากการลักทรัพย์ ๓. เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากการพูดปด ๕. เว้นจากการดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัย อันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ ๙. จงจับคู่ข้อทางซ้ายมือกับข้อทางขวามือให้ถูกต้อง ก. จะทาดีทาชั่ว ก็ต้องคล้อยตาม ๑. มิตรดีแต่พูด ข. ป้องกันเพื่อนผู้ประมาทแล้ว ๒. มิตรหัวประจบ ค. สงเคราะห์ด้วยสิ่งหาประโยชน์มิได้ ๓. มิตรมีความรักใคร่ ง. ห้ามไม่ให้ทาความชั่ว ๔. มิตรมีอุปการะ จ. ทุกข์ ๆ ด้วย สุข ๆ ด้วย ๕. มิตรแนะประโยชน์ ๙. ข้อ ก. คู่กับ ข้อ ๒. ข้อ ข. คู่กับ ข้อ ๔. ข้อ ค คู่กับ ข้อ ๑. ข้อ ง คู่กับ ข้อ ๕. ข้อ จ คู่กับ ข้อ ๓. ฯ ๑๐. จงบอกโทษของการดื่มสุรามาสัก ๓ ข้อ ๑๐. มีโทษดังนี้ (ให้ตอบเพียง ๓ ข้อ) ๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค ๔. ต้องติเตียน ๕. ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกาลังปัญญา ฯ
  • 17. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๓ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันศุกร์ที่ ๗ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ๑. บุพพการีและกตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลเช่นไร ? ๑. บุพพการี ได้แก่บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที ได้แก่บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้ว และตอบแทนฯ ๒. พระพุทธเจ้าคือใคร ? ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์อย่างไร ? ๒. คือท่านผู้สอนให้ประชุมชนประพฤติชอบด้วยกาย วาจา ใจ ตามพระธรรมวินัย ฯ ทรงสั่งสอนเป็นอัศจรรย์ คือผู้ปฏิบัติตามย่อมได้ประโยชน์โดยสมควรแก่ความปฏิบัติ ฯ ๓. เห็นผิดจากคลองธรรม คือเห็นอย่างไร ? จัดเข้าในทุจริตข้อไหน ? ๓. คือเห็นผิดจากความเป็นจริง เช่น เห็นว่าบุญบาปไม่มี บิดามารดาไม่มีพระคุณ เป็นต้น ฯ จัดเข้าในมโนทุจริต ฯ ๔. รากเหง้าของอกุศลเรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? เพราะเหตุใดจึงควรละเสีย ? ๔. เรียกว่า อกุศลมูล ฯ มีโลภะ โทสะ โมหะ ฯ เพราะเมื่ออกุศลมูลเหล่านี้มีอยู่ อกุศลอื่นที่ยังไม่เกิดก็เกิดขึ้น ที่เกิดแล้วก็เจริญมากขึ้น ฯ ๕. ทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร ? เหตุให้เกิดทุกข์คืออะไร ? ๕. คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ ฯ คือตัณหาความทะยานอยาก ฯ ๖. อภิณหปัจจเวกณ์ข้อว่า ควรพิจารณาทุก ๆ วันว่า เราจะต้องพลัดพราก จากของรักของชอบใจ ทั้งสิ้น ดังนี้ ผู้พิจารณาได้รับประโยชน์อย่างไร ? จงอธิบาย ๖. ได้รับประโยชน์ คือสามารถบรรเทาความพอใจรักใคร่ของรักของชอบใจ และป้องกันความทุกข์ โทมนัส ในเวลาเมื่อตนต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจ ฯ ๗. อายตนะภายใน ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ? ๗. ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ฯ
  • 18. ๑๔ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา คิหิปฏิบัติ ๘. คนชักชวนในทางฉิบหาย มีลักษณะอย่างไร ? ๘. มีลักษณะดังนี้ ๑. ชักชวนดื่มน้าเมา ๒. ชักชวนเที่ยวกลางคืน ๓. ชักชวนให้มัวเมาในการเล่น ๔. ชักชวนเล่นการพนัน ฯ ๙. ธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง? ๙. เรียกว่า สังคหวัตถุ ฯ มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ ๑๐. อุบาสกอุบาสิกา ได้แก่บุคคลเช่นไร ? การค้าขายที่ห้ามอุบาสกอุบาสิกาประกอบ คืออะไรบ้าง ? ๑๐. ได้แก่คฤหัสถ์ผู้ถึงพระรัตนตรัยเป็นสรณะ ฯ คือ ๑. ค้าขายเครื่องประหาร ๒. ค้าขายมนุษย์ ๓. ค้าขายสัตว์เป็นสาหรับฆ่าเพื่อเป็นอาหาร ๔. ค้าขายน้าเมา ๕. ค้าขายยาพิษ ฯ
  • 19. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๕ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันพฤหัสบดี ที่ ๒๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ ๑. พระพุทธเจ้าทรงสอนธรรมอะไรไว้สาหรับคุ้มครองโลก ? ๑. ทรงสอนธรรมไว้ ๒ ข้อ คือ ๑. หิริ ความละอายต่อบาป ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลบาป ฯ ๒. คาต่อไปนี้ มีความหมายว่าอย่างไร ? ๑. สัมปชัญญะ ๒. กตัญญูกตเวที ๓. กายทุจริต ๔. มาตาปิตุอุปัฏฐาน ๕. ปุพเพกตปุญญตา ๒. ๑. สัมปชัญญะ หมายถึงความรู้ตัว ๒. กตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้ว และตอบแทน ๓. กายทุจริต หมายถึงความประพฤติชั่วทางกาย ๔. มาตาปิตุอุปัฏฐาน หมายถึงการบารุงมารดาบิดาของตนให้เป็นสุข ๕. ปุพเพกตปุญญตา หมายถึงความเป็นผู้ได้ทาความดีไว้ในกาลก่อน ฯ ๓. การสารวมอินทรีย์ ได้แก่การกระทาอย่างไร ? เมื่อกระทาเช่นนั้นแล้ว จะได้รับประโยชน์อะไร ? ๓. ได้แก่การระวังอินทรีย์ ๖ คือตา หู จมูก ลิ้น กาย ใจ ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง ดมกลิ่น ลิ้มรส ถูกโผฏฐัพพะ รู้ธรรมารมณ์ด้วยใจ ฯ ได้รับประโยชน์ คือไม่เกิดความยินดี ไม่เกิดความยินร้าย ในเวลาเห็นรูป ฟังเสียง เป็นต้น ฯ ๔. ผู้จะดารงความยุติธรรมไว้ได้ ต้องประพฤติอย่างไร ? ๔. ต้องประพฤติดังนี้ คือ ๑. ไม่ลาเอียงเพราะความรักใคร่กัน อันเรียกว่า ฉันทาคติ ๒. ไม่ลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน อันเรียกว่า โทสาคติ ๓. ไม่ลาเอียงเพราะเขลา อันเรียกว่า โมหาคติ ๔. ไม่ลาเอียงเพราะกลัว อันเรียกว่า ภยาคติ ฯ ๕. คิดอย่างไรเรียกว่าพยาบาท ? คิดอย่างนั้นเกิดโทษอะไร ? ๕. คิดปองร้ายผู้อื่น ฯ เกิดโทษ คือปิดกั้นจิตใจไม่ให้บรรลุความดี ฯ
  • 20. ๑๖ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๖. สัมมาวายามะ เพียรชอบ คือเพียรอย่างไร ? ๖. เพียรในที่ ๔ สถาน คือ ๑. เพียรระวังไม่ให้บาปเกิดขึ้นในสันดาน ๒. เพียรละบาปที่เกิดขึ้นแล้ว ๓. เพียรให้กุศลเกิดขึ้นในสันดาน ๔. เพียรรักษากุศลที่เกิดขึ้นแล้วไม่ให้เสื่อม ฯ ๗. โลกธรรม ๘ มีอะไรบ้าง ? ๗. คือ มีลาภ ๑ ไม่มีลาภ ๑ มียศ ๑ ไม่มียศ ๑ นินทา ๑ สรรเสริญ ๑ สุข ๑ ทุกข์ ๑ ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. ตระกูลอันมั่งคั่งจะตั้งอยู่นานไม่ได้ เพราะเหตุอะไร ? ๘. เพราะเหตุ ๔ อย่าง คือ ๑. ไม่แสวงหาพัสดุที่หายแล้ว ๒. ไม่บูรณะพัสดุที่คร่าคร่า ๓. ไม่รู้จักประมาณในการบริโภคสมบัติ ๔. ตั้งสตรีหรือบุรุษทุศีลให้เป็นแม่เรือนพ่อเรือน ฯ ๙. การอยู่ครองเรือนนั้น ควรมีธรรมอะไร ? อะไรบ้าง ? ๙. ควรมีฆราวาสธรรม ๔ ฯ คือ ๑. สัจจะ ความสัตย์ซื่อต่อกัน ๒. ทมะ การรู้จักข่มจิตของตน ๓. ขันติ ความอดทน ๔. จาคะ การสละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ ๑๐. มารดาบิดาได้เลี้ยงดูบุตรธิดาแล้ว บุตรธิดาพึงปฏิบัติต่อท่านอย่างไร ? ๑๐. ๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ ๒. ทากิจของท่าน ๓. ดารงวงศ์สกุล ๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน ฯ
  • 21. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๗ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันจันทร์ที่ ๑๔ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๖ ๑. หิริ และโอตตัปปะ ได้ชื่อว่าธรรมเป็นโลกบาล เพราะเหตุไร ? ๑. เพราะเป็นคุณธรรมทาบุคคลให้รังเกียจ และเกรงกลัวต่อบาปทุจริต ไม่กล้าทาความชั่วทั้งในที่ลับ และที่แจ้ง ฯ ๒. การทาบุญโดยย่อมีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? ๒. มี ๓ อย่าง ฯ ทาน ศีล ภาวนา ฯ ๓. เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ คืออะไร ? ๓. คือตัณหา ความทะยานอยาก ฯ ๔. อภิณหปัจจเวกขณ์ คือข้อที่ควรพิจารณาเนือง ๆ ๕ อย่าง ทรงสอนให้พิจารณาอะไรบ้าง ? ๔. ทรงสอนให้พิจารณา ๑. ความแก่ ว่าเรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒. ความเจ็บไข้ ว่าเรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ ๓. ความตาย ว่าเรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔. ความพลัดพราก ว่าเราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น ๕. กรรม ว่าเรามีกรรมเป็นของตัวเราทาดีจักได้ดีทาชั่วจักได้ชั่ว ฯ ๕. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? ย่อเป็น ๒ อย่างไร ? ๕. ได้แก่รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯ อย่างนี้คือ รูปขันธ์คงเป็นรูป เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ๔ ขันธ์นี้เป็นนาม ฯ ๖. บรรพชิตผู้พิจารณาเนือง ๆ ว่า วันคืนล่วงไป ๆ บัดนี้เราทาอะไรอยู่ จะได้รับประโยชน์อะไร ? ๖. จะได้รับประโยชน์คือเป็นผู้ไม่ประมาท มีความเพียร งดเว้นสิ่งที่เป็นโทษ ทาในสิ่งที่เป็นประโยชน์
  • 22. ๑๘ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๗. จงให้ความหมายของคาต่อไปนี้ ก. พาหุสัจจะ ข. อกุสลมูล ค. อินทรียสังวร ฆ. อนัตตตา ง. กามฉันท์ ๗. ก. ความเป็นผู้ศึกษามาก ข. รากเหง้าของอกุศล ค. ความสารวมอินทรีย์ ฆ. ความเป็นของไม่ใช่ตน ง. ความพอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูป เป็นต้น ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. มิตรแท้ มีกี่จาพวก ? อะไรบ้าง ? ๘. มี ๔ จาพวก ฯ คือ ๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ ๙. คุณธรรมเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวใจของผู้อื่นไว้ได้ มีอะไรบ้าง ? ๙. มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ ๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ? ๑๐. คือ ศีล ๕ ฯ ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากพูดเท็จ ๕. เว้นจากดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
  • 23. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๑๙ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันศุกร์ที่ ๓ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๗ ๑. ธรรมที่ได้ชื่อว่ามีอุปการะมาก คือธรรมอะไร ? เพราะเหตุไรจึงจัดว่ามีอุปการะมาก ? ๑. คือสติ ความระลึกได้ และสัมปชัญญะ ความรู้ตัว ฯ เพราะเป็นคุณธรรมอุดหนุนให้สาเร็จประโยชน์เกื้อกูลในกิจทั้งปวง ฯ ๒. รัตนะ ๓ อย่าง คืออะไรบ้าง ? รัตนะที่ ๒ มีคุณอย่างไร ? ๒. คือพุทธรัตนะ ธรรมรัตนะ สังฆรัตนะ ฯ ย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ ๓. คุณธรรมเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๓. คืออิทธิบาท ๔ ฯ มี ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ ๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ ๔. เมื่อเพื่อนร่วมงานได้เลื่อนตาแหน่ง ไม่คิดริษยา พลอยยินดีกับเขาด้วย ชื่อว่าปฏิบัติตามพรหม วิหารธรรมข้อใด ? ๔. มุทิตา ฯ ๕. เหตุให้เกิดทุกข์ในอริยสัจ ๔ คืออะไร ? ๕. คือตัณหา ความทะยานอยาก ฯ ๖. การจะเป็นนักเทศน์ที่ดีจะต้องมีคุณสมบัติอะไรบ้าง ? จงตอบมาสัก ๓ ข้อ ๖. ๑. แสดงธรรมโดยลาดับ ไม่ตัดลัดให้ขาดความ ๒. อ้างเหตุผลแนะนาให้ผู้ฟังเข้าใจ ๓. ตั้งจิตเมตตาปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้ฟัง ๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ ๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น คือไม่ยกตนเสียดสีผู้อื่น ฯ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ)
  • 24. ๒๐ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๗. จงให้ความหมายของคาต่อไปนี้ ? ๑. ธัมมัญญุตา ๒. มัตตัญญุตา ๓. กาลัญญุตา ๗. ๑. ธัมมัญญุตา ความเป็นผู้จักเหตุ เช่นรู้จักว่า สิ่งนี้เป็นเหตุแห่งสุข สิ่งนี้เป็นเหตุแห่งทุกข์ ๒. มัตตัญญุตา ความเป็นผู้รู้ประมาณ ในการแสวงหาเครื่องเลี้ยงชีวิตแต่โดยทางที่ชอบ และรู้ ประมาณในการบริโภคแต่พอสมควร ๓. กาลัญญุตา ความเป็นผู้รู้จักกาลเวลาอันสมควร ในอันประกอบกิจนั้น ๆ ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. อบายมุข คืออะไร ? ความเป็นนักเลงสุราจัดเป็นอบายมุขเพราะเหตุไร ? ๘. คือเหตุเครื่องฉิบหาย ฯ เพราะเป็นเหตุให้เสียทรัพย์ ก่อการทะเลาะวิวาท เกิดโรค ต้องติเตียน ไม่รู้จักอาย ทอนกาลัง ปัญญา ฯ ๙. อุบาสกอุบาสิกาควรตั้งอยู่ในคุณสมบัติอะไรบ้าง ? ๙. ในคุณสมบัติ ๕ อย่าง คือ ๑. ประกอบด้วยศรัทธา ๒. มีศีลบริสุทธิ์ ๓. ไม่ถือมงคลตื่นข่าว คือเชื่อกรรม ไม่เชื่อมงคล ๔. ไม่แสวงหาเขตบุญนอกพุทธศาสนา ๕. บาเพ็ญบุญแต่ในพุทธศาสนา ฯ ๑๐. ในทิศ ๖ ทิศเหล่านี้หมายถึงใคร ? ก. ทิศเบื้องหน้า ข. ทิศเบื้องขวา ค. ทิศเบื้องหลัง ง. ทิศเบื้องซ้าย จ. ทิศเบื้องบน ๑๐. ก. มารดาบิดา ข. ครูอาจารย์ ค. บุตรภรรยา ง. มิตร จ. สมณพราหมณ์ ฯ
  • 25. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๑ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันพฤหัสบดี ที่ ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ๑. บุพพการี และกตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลเช่นไร ? ๑. บุพพการี หมายถึงบุคคลผู้ทาอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที หมายถึงบุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้วและตอบแทน ฯ ๒. พระธรรม คืออะไร ? มีคุณต่อผู้ปฏิบัติอย่างไร ? ๒. พระธรรม คือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ มีคุณ คือย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ ๓. บุญกิริยาวัตถุ คืออะไร ? โดยย่อมีเท่าไร ? อะไรบ้าง ? ๓. คือสิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบาเพ็ญบุญ ฯ มี ๓ ฯ คือ ๑. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ฯ ๔. ธรรมดุจล้อรถนาไปสู่ความเจริญ เรียกว่าอะไร ? จงบอกมาสัก ๒ ข้อ ๔. เรียกว่า จักร ฯ ได้แก่ ๑. ปฏิรูปเทสวาสะ อยู่ในประเทศอันสมควร ๒. สัปปุริสูปัสสยะ คบสัตบุรุษ ๓. อัตตสัมมาปณิธิ ตั้งตนไว้ชอบ ๔. ปุพเพกตปุญญตา ความเป็นผู้ได้ทาความดีไว้ในปางก่อน ฯ (เลือกตอบเพียง ๒ ข้อ) ๕. บุคคลผู้รักษาความยุติธรรมไว้ได้ ควรเว้นจากธรรมอะไร ? ธรรมนั้นมีอะไรบ้าง ? ๕. ควรเว้นจากอคติ ๔ ฯ มี ๑. ความลาเอียงเพราะรักใคร่กัน เรียกว่า ฉันทาคติ ๒. ความลาเอียงเพราะไม่ชอบกัน เรียกว่า โทสาคติ ๓. ความลาเอียงเพราะเขลา เรียกว่า โมหาคติ ๔. ความลาเอียงเพราะกลัว เรียกว่า ภยาคติ ฯ
  • 26. ๒๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๖. กรรมอันเป็นบาปหนักที่สุด ห้ามสวรรค์ ห้ามนิพพาน คือกรรมอะไร ? จงยกตัวอย่างสัก ๓ ข้อ ๖. คืออนันตริยกรรม ฯ มี ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา ๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ ๔. โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ (เลือกตอบเพียง ๓ ข้อ) ๗. อานิสงส์แห่งการฟังธรรม มีอะไรบ้าง ? ๗. มี ๑. ผู้ฟังธรรมย่อมได้ฟังสิ่งที่ยังไม่เคยฟัง ๒. สิ่งใดได้เคยฟังแล้ว แต่ไม่เข้าใจชัด ย่อมเข้าใจสิ่งนั้นชัด ๓. บรรเทาความสงสัยเสียได้ ๔. ทาความเห็นให้ถูกต้องได้ ๕. จิตของผู้ฟังย่อมผ่องใส ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. ธรรม ๔ ประการ ที่เป็นไปเพื่อประโยชน์เกื้อกูลเพื่อสุขในปัจจุบัน เรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๘. เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ฯ มี ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่นในการประกอบกิจอันควร ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษา ทั้งทรัพย์และการงานของตน ไม่ให้เสื่อมไป ๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว ๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ ฯ ๙. มิตรมีหลายจาพวก อยากทราบว่ามิตรแท้ ๔ จาพวกมีอะไรบ้าง ? ๙. มี ๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ ๑๐. บุตรธิดาพึงปฏิบัติต่อมารดาบิดาอย่างไร ? ๑๐. พึงปฏิบัติอย่างนี้ ๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ ๒. ทากิจของท่าน ๓. ดารงวงศ์สกุล ๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน ฯ
  • 27. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๓ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคารที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ ๑. ในทางโลก ดูคนงามที่รูปร่างหน้าตา ส่วนในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามที่ไหน ? ๑. ในทางพระพุทธศาสนา ดูคนงามกันที่มีคุณธรรมอันทาให้งาม ๒ ประการ คือ ๑. ขันติ ความอดทน ๒. โสรัจจะ ความเสงี่ยม ฯ ๒. ในโลกนี้ มีบุคคลประเภทใดบ้างที่หาได้ยาก ? ๒. มีบุคคลที่หาได้ยาก ๒ ประเภท คือ ๑. บุพพการี บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน ๒. กตัญญูกตเวที บุคคลผู้รู้อุปการะที่ท่านทาแล้ว และทาตอบแทน ฯ ๓. พระรัตนตรัย กับ ไตรสรณคมน์ เป็นอย่างเดียวกัน หรือต่างกันอย่างไร ? การเปล่งวาจาถึงรัตนะ ๓ เป็นที่พึ่ง จัดเป็นอย่างไหน ใน ๒ อย่างนั้น ? ๓. ต่างกัน คือ พระรัตนตรัย หมายถึงสิ่งที่เป็นที่พึ่ง ๓ ประการ ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ส่วนไตรสรณคมน์ หมายถึงการยอมรับนับถือพระรัตนตรัยไว้เป็นที่พึงของตน ฯ จัดเป็นไตรสรณคมน์ ฯ ๔. ภิกษุสามเณรผู้บวชใหม่ควรเว้นอันตราย ๔ อย่าง คืออะไรบ้าง ? ๔. ควรเว้น อันตราย ๔ อย่าง คือ ๑. อดทนต่อคาสอนไม่ได้ คือเบื่อต่อคาสอน ขี้เกียจทาตาม ๒. เป็นคนเห็นแก่ปากแก่ท้อง อดทนต่อความอยากไม่ได้ ๓. เพลิดเพลินในกามคุณ ทะยานอยากได้สุขยิ่ง ๆ ขึ้นไป ๔. รักผู้หญิง ฯ ๕. กายกับใจของเรานี้แบ่งออกเป็นกี่กอง ? อะไรบ้าง ? ๕. แบ่งออกเป็น ๕ กอง เรียกว่า ขันธ์ ฯ คือ ๑. รูป ๒. เวทนา ๓. สัญญา ๔. สังขาร ๕. วิญญาณ ฯ
  • 28. ๒๔ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๖. อินทรีย์ ๖ กับอารมณ์ ๖ มีความสัมพันธ์กันอย่างไร ? ๖. มีความสัมพันธ์กันอย่างนี้ คือ ๑. อาศัยรูปกระทบนัยน์ตา เกิดความรู้ขึ้น เรียกจักขุวิญญาณ ๒. อาศัยเสียงกระทบหู เกิดความรู้ขึ้น เรียกโสตวิญญาณ ๓. อาศัยกลิ่นกระทบจมูก เกิดความรู้ขึ้น เรียกฆานวิญญาณ ๔. อาศัยรสกระทบลิ้น เกิดความรู้ขึ้น เรียกชิวหาวิญญาณ ๕. อาศัยโผฏฐัพพะกระทบกาย เกิดความรู้ขึ้น เรียกกายวิญญาณ ๖. อาศัยธรรมเกิดกับใจ เกิดความรู้ขึ้น เรียกมโนวิญญาณ ฯ ๗. เมื่อโลกธรรม ๘ เกิดขึ้นแก่ตน ควรพิจารณาอย่างไร ? ๘. ควรพิจารณาว่า สิ่งนี้เกิดขึ้นก็แต่ว่ามันไม่เที่ยง เป็นทุกข์ที่มีความแปรปรวนเป็นธรรมดา ควรรู้ตามที่ เป็นจริง อย่าให้มันครอบงาจิตได้ คืออย่ายินดีในส่วนที่ปรารถนา อย่ายินร้ายในส่วนที่ไม่น่าปรารถนา ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. ฆราวาสผู้ครองเรือนควรตั้งอยู่ในธรรมข้อใดบ้าง ? ๘. ควรตั้งอยู่ในฆราวาสธรรม ๔ ประการ คือ ๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน ๒. ทมะ รูจั้กข่มจิตของตน ๓. ขันติ อดทน ๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ ๙. การคบคนชั่วเป็นมิตร เป็นเหตุให้เกิด ความเสียหายอย่างไร ? ๙. เป็นเหตุให้เกิดความเสียหาย ดังนี้ ๑. ทาให้เป็นนักเลงการพนัน ๒. ทาให้เป็นนักเลงเจ้าชู ้ ๓. ทาให้เป็นนักเลงเหล้า ๔. ทาให้เป็นคนลวงเขาด้วยของปลอม ๕. ทาให้เป็นคนโกงเขาซึ่งหน้า ๖. ทาให้เป็นนักเลงหัวไม้ ฯ ๑๐. ศิษย์ที่ดีพึงปฏิบัติต่อครูอาจารย์ อย่างไรบ้าง ? ๑๐. พึงปฏิบัติอย่างนี้ ๑. ด้วยลุกขึ้นยืนรับ ๒. ด้วยเข้าไปยืนคอยรับใช้ ๓. ด้วยเชื่อฟัง ๔. ด้วยอุปัฏฐาก ๕. ด้วยเรียนศิลปวิทยาโดยเคารพ ฯ
  • 29. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๕ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันเสาร์ที่ ๓๐ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๐ ๑. สังคมทุกวันนี้เกิดความวุ่นวาย เพราะขาดธรรมอะไรบ้าง ? ๑. เพราะขาดธรรมเป็นโลกบาล ๒ อย่าง คือ ๑. หิริ ความละอายแก่ใจในการประพฤติชั่ว ๒. โอตตัปปะ ความเกรงกลัวต่อผลของการประพฤติชั่ว ๒. สติ แปลว่าอะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่อว่าเป็นธรรมมีอุปการะมาก ? ๒. สติ แปลว่า ความระลึกได้ ฯ เพราะช่วยให้สาเร็จกิจในทางที่ดี ฯ ๓. พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ ได้ชื่อว่ารัตนะ เพราะเหตุไร ? ๓. เพราะเป็นของมีคุณค่าและหาได้ยาก เหมือนเพชรนิลจินดามีค่ามาก นาประโยชน์และความสุขมา ให้แก่ผู้เป็นเจ้าของ ฯ ๔. ไตรลักษณ์ ได้แก่อะไรบ้าง ? ๔. ๑. อนิจจตา ความเป็นของไม่เที่ยง ๒. ทุกขตา ความเป็นทุกข์ ๓. อนัตตตา ความเป็นของไม่ใช่ตน ฯ ๕. ผู้ที่ทางานไม่สาเร็จผลตามที่มุ่งหมายเพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง ? ๕. เพราะขาดอิทธิบาท คือคุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ ๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ
  • 30. ๒๖ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๖. ธรรมอันเป็นเครื่องกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๖. คือนิวรณ์ ๕ ฯ มี ๑. กามฉันท์ พอใจรักใคร่ในอารมณ์ที่ชอบใจมีรูปเป็นต้น ๒. พยาบาท ปองร้ายผู้อื่น ๓. ถีนมิทธะ ความที่จิตหดหู่และเคลิบเคลิ้ม ๔. อุทธัจจกุกกุจจะ ฟุ้งซ่านและราคาญ ๕. วิจิกิจฉา ลังเลไม่ตกลงใจ ฯ ๗. คาว่า เจรจาชอบ ในมรรคมีองค์ ๘ นั้น คือเจรจาอย่างไร ? ๗. คือเว้นจากพูดเท็จ เว้นจากพูดส่อเสียด เว้นจากพูดคาหยาบ และเว้นจากพูดเพ้อเจ้อ ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. มิตรแท้ที่ควรคบ มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ๘. มี ๔ ประเภท ฯ คือ ๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ ๙. อบายมุข ๔ มีอะไรบ้าง ? ๙. มี ๑. ความเป็นนักเลงหญิง ๒. ความเป็นนักเลงสุรา ๓. ความเป็นนักเลงเล่นการพนัน ๔. ความคบคนชั่วเป็นมิตร ฯ ๑๐. ดื่มน้าเมามีโทษอย่างไรบ้าง ? ๑๐. มีโทษ ๖ อย่าง คือ ๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค ๔. ถูกติเตียน ๕. ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกาลังปัญญา ฯ
  • 31. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๗ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันศุกร์ที่ ๑๙ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๑ ๑. ธรรมคุ้มครองโลก มีกี่อย่าง ? อะไรบ้าง ? ๑. มี ๒ อย่าง ฯ ๑. หิริ ความละอายบาป ๒. โอตตัปปะ ความกลัวบาป ฯ ๒. พระพุทธเจ้าทรงเป็นบุพพการีของพุทธบริษัทอย่างไร ? จงอธิบาย ๒. พระพุทธเจ้าทรงกระทาอุปการะแก่พุทธบริษัทก่อน ด้วยการทรงแนะนาสั่งสอนให้รู้ดีรู้ชอบตาม พระองค์ เพื่อให้ได้บรรลุประโยชน์ทั้ง ๓ คือ ประโยชน์ในโลกนี้ ประโยชน์ ในโลกหน้า และ ประโยชน์อย่างยิ่งคือพระนิพพาน จึงชื่อว่าเป็นบุพพการี ฯ ๓. ทุจริต คืออะไร ? พูดใส่ร้ายผู้อื่น จัดเข้าในทุจริตข้อไหน ? ๓. ทุจริต คือ ความประพฤติชั่ว ฯ จัดเข้าในวจีทุจริต ฯ ๔. อริยสัจ ๔ มีอะไรบ้าง ? ความไม่สบายกายไม่สบายใจ จัดเป็นอริยสัจ ข้อไหน ? ๔. มี ๑. ทุกข์ คือความไม่สบายกายไม่สบายใจ ๒. สมุทัย คือเหตุให้เกิดทุกข์ ๓. นิโรธ คือความดับทุกข์ ๔. มรรค คือข้อปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์ ฯ จัดเป็นทุกข์ ฯ ๕. สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงสอนให้พิจารณาเนื่อง ๆ มีอะไรบ้าง ? ทรงให้พิจารณาอย่างไร ? ๕. มีความแก่ ความเจ็บไข้ ความตาย ความพลัดพราก และกรรม ฯ ทรงสอนให้พิจารณาว่า ๑. เรามีความแก่เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความแก่ไปได้ ๒. เรามีความเจ็บไข้เป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความเจ็บไข้ไปได้ ๓. เรามีความตายเป็นธรรมดาไม่ล่วงพ้นความตายไปได้ ๔. เราจะต้องพลัดพรากจากของรักของชอบใจทั้งสิ้น
  • 32. ๒๘ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๕. เรามีกรรมเป็นของตัวเรา ทาดีจักได้ดีทาชั่วจักได้ชั่ว ฯ ๖. อายตนะภายนอก ๖ ได้แก่อะไรบ้าง ? ๖. ได้แก่ รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ อารมณ์ที่มาถูกต้องกาย ธรรม คืออารมณ์ที่เกิดกับใจ ฯ ๗. สัมมากัมมันตะ ทาการงานชอบ คือทาอย่างไร ? ๗. คือทาโดยเว้นจากกายทุจริต ๓ ได้แก่ เว้นจากการฆ่าสัตว์ เว้นจากการลักทรัพย์ เว้นจากการประพฤติผิดในกาม ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. คุณธรรมเครื่องยึดเหนี่ยวน้าใจของผู้อื่นไว้ได้ คืออะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๘. คือสังคหวัตถุ ๔ ฯ มี ๑. ทาน ให้ปันสิ่งของของตนแก่ผู้อื่นที่ควรให้ปัน ๒. ปิยวาจา เจรจาวาจาที่อ่อนหวาน ๓. อัตถจริยา ประพฤติสิ่งที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น ๔. สมานัตตตา ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว ฯ ๙. ฆราวาสผู้ครองเรือนควรตั้งอยู่ในธรรมข้อใดบ้าง ? ๙. ควรตั้งอยู่ในฆราวาสธรรม ๔ คือ ๑. สัจจะ สัตย์ซื่อต่อกัน ๒. ทมะ รู้จักข่มจิตของตน ๓. ขันติ อดทน ๔. จาคะ สละให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน ฯ ๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คืออะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ? ๑๐. คือศีล ๕ ฯ ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากพูดเท็จ ๕. เว้นจากดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ
  • 33. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๒๙ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอังคารที่ ๘ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๕๖๒ ๑. โลกเดือดร้อนวุ่นวายในปัจจุบันนี้ เพราะขาดธรรมอะไร ? ๑. เพราะขาดธรรมคุ้มครองโลก ๒ อย่าง คือ ๑. หิริ ความละอายบาป ๒. โอตตัปปะ ความกลัวบาป ฯ ๒. คนที่ทาอะไรมักพลั้งพลาด เพราะขาดธรรมอะไร ? ๒. เพราะขาดสติ ความระลึกได้ก่อนแต่จะทา และขาดสัมปชัญญะ ความรู้ตัวในขณะทา ฯ ๓. บุพพการีและกตัญญูกตเวทีได้แก่บุคคลเช่นไร ? ๓. บุพพการี ได้แก่ บุคคลผู้ทาอุปการะก่อน กตัญญูกตเวที ได้แก่ บุคคลผู้รู้อุปการะที่ผู้อื่นทาแก่ตนแล้วทาตอบแทน ฯ ๔. สิ่งเป็นที่ตั้งแห่งการบาเพ็ญบุญเรียกว่าอะไร ? โดยย่อมีอะไรบ้าง ? ๔. เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ ฯ โดยย่อมี ๓ คือ ๑. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน ๒. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล ๓. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา ฯ ๕. รัตนะ ๓ มีอะไรบ้าง ? รัตนะ ๓ นั้น มีคุณอย่างไร ? ๕. มีพระพุทธ ๑ พระธรรม ๑ พระสงฆ์ ๑ ฯ มีคุณอย่างนี้ คือ ๑. พระพุทธเจ้ารู้ดีรู้ชอบด้วยพระองค์เองก่อนแล้ว สอนผู้อื่นให้รู้ตาม ๒. พระธรรมย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ๓. พระสงฆ์ปฏิบัติชอบตามคาสอนของพระพุทธเจ้าแล้ว สอนผู้อื่นให้กระทาตาม ฯ ๖. ผู้ที่ทางานไม่สาเร็จผลตามที่มุ่งหมายเพราะขาดคุณธรรมอะไรบ้าง ? ๖. เพราะขาดอิทธิบาท คือ คุณเครื่องให้สาเร็จความประสงค์ ๔ อย่าง คือ
  • 34. ๓๐ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๑. ฉันทะ พอใจรักใคร่ในสิ่งนั้น ๒. วิริยะ เพียรประกอบสิ่งนั้น ๓. จิตตะ เอาใจฝักใฝ่ในสิ่งนั้นไม่วางธุระ ๔. วิมังสา หมั่นตริตรองพิจารณาเหตุผลในสิ่งนั้น ฯ ๗. กรรมที่เป็นบาปหนักที่สุด มีชื่อเรียกว่าอะไร ? คืออะไรบ้าง ? ๗. มีชื่อเรียกว่า อนันตริยกรรม ฯ คือ ๑. มาตุฆาต ฆ่ามารดา ๒. ปิตุฆาต ฆ่าบิดา ๓. อรหันตฆาต ฆ่าพระอรหันต์ ๔. โลหิตุปบาท ทาร้ายพระพุทธเจ้าจนถึงยังพระโลหิตให้ห้อขึ้นไป ๕. สังฆเภท ยังสงฆ์ให้แตกจากกัน ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. ผู้หวังประโยชน์ปัจจุบันจะต้องปฏิบัติอย่างไรจึงจะได้สมหวัง ? ๘. ต้องปฏิบัติตามหลักทิฏฐธัมมิกัตถประโยชน์ ๔ ประการ คือ ๑. อุฏฐานสัมปทา ถึงพร้อมด้วยความหมั่น ในการประกอบกิจการงาน ในการศึกษาเล่าเรียนในการ ทาธุระหน้าที่ของตน ๒. อารักขสัมปทา ถึงพร้อมด้วยการรักษาทั้งทรัพย์และการงานไม่ให้เสื่อมไป ๓. กัลยาณมิตตตา ความมีเพื่อนเป็นคนดี ไม่คบคนชั่ว ๔. สมชีวิตา ความเลี้ยงชีวิตตามสมควรแก่กาลังทรัพย์ที่หาได้ ฯ ๙. อบายมุข คืออะไร ? ดื่มน้าเมามีโทษอย่างไรบ้าง ? ๙. คือเหตุเครื่องฉิบหาย ฯ มีโทษ ๖ อย่าง คือ ๑. เสียทรัพย์ ๒. ก่อการทะเลาะวิวาท ๓. เกิดโรค ๔. ถูกติเตียน ๕. ไม่รู้จักอาย ๖. ทอนกาลังปัญญา ฯ ๑๐. ความสุขของผู้ครองเรือนตามหลักพระพุทธศาสนา เกิดมาจากเหตุอะไรบ้าง ? ๑๐. เกิดจากเหตุ ๔ อย่าง คือ ๑. สุขเกิดแต่ความมีทรัพย์ ๒. สุขเกิดแต่การจ่ายทรัพย์บริโภค ๓. สุขเกิดแต่ความไม่ต้องเป็นหนี้ ๔. สุขเกิดแต่ประกอบการงานที่ปราศจากโทษ ฯ
  • 35. วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี } ๓๑ ปัญหาและเฉลยวิชาธรรม นักธรรมชั้นตรี สอบในสนามหลวง วันอาทิตย์ที่ ๒๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๖๓ ๑. สติแปลว่าอะไร ? เพราะเหตุไรจึงชื่อว่าเป็นธรรมมีอุปการะมาก ? ๑. สติ แปลว่า ความระลึกได้ ฯ เพราะอุดหนุนให้สาเร็จกิจในทางที่ดี ฯ ๒. พบงูพิษแล้วสะดุ้งกลัวว่าจะถูกกัด จัดเป็นโอตตัปปะได้หรือไม่ ? เพราะเหตุใด ? ๒. ไม่ได้ ฯ เพราะโอตตัปปะ หมายความว่าความเกรงกลัวต่อบาป ฯ ๓. พระธรรมคืออะไร ? มีคุณต่อผู้ปฏิบัติอย่างไร ? ๓. พระธรรมคือคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ฯ มีคุณ คือย่อมรักษาผู้ปฏิบัติไม่ให้ตกไปในที่ชั่ว ฯ ๔. มูลเหตุที่ทาให้บุคคลทาความชั่วเรียกว่าอะไร ? มีอะไรบ้าง ? ๔. เรียกว่า อกุศลมูล หมายถึงรากเหง้าของอกุศล ฯ มี ๓ คือ ๑. โลภะ อยากได้ ๒. โทสะ คิดประทุษร้ายเขา ๓. โมหะ หลงไม่รู้จริง ฯ ๕. ธาตุ ๔ คืออะไรบ้าง ? ฟันจัดเป็นธาตุอะไร ? ๕. คือ ธาตุดิน ธาตุน้า ธาตุไฟ ธาตุลม ฯ เป็นธาตุดิน ฯ ๖. ขันธ์ ๕ ได้แก่อะไรบ้าง ? สังขารขันธ์จัดเป็นรูปหรือนาม ? ๖. ได้แก่ รูปขันธ์ เวทนาขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์ และวิญญาณขันธ์ ฯ จัดเป็นนาม ฯ
  • 36. ๓๒ { ปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นตรี วัดหงษ์ประดิษฐาราม จังหวัดสงขลา ๗. โลกธรรม ๘ คืออะไรบ้าง? ๗. คือ มีลาภ ๑ ไม่มีลาภ ๑ มียศ ๑ ไม่มียศ ๑ นินทา ๑ สรรเสริญ ๑ สุข ๑ ทุกข์ ๑ ฯ คิหิปฏิบัติ ๘. บุตรธิดาพึงปฏิบัติต่อมารดาบิดาอย่างไร ? ๘. พึ่งปฏิบัติอย่างนี้ ๑. ท่านได้เลี้ยงมาแล้ว เลี้ยงท่านตอบ ๒. ทากิจของท่าน ๓. ดารงวงศ์สกุล ๔. ประพฤติตนให้เป็นคนควรรับทรัพย์มรดก ๕. เมื่อท่านล่วงลับไปแล้ว ทาบุญอุทิศให้ท่าน ฯ ๙. มิตรแท้ที่ควรคบ มีกี่ประเภท ? อะไรบ้าง ? ๙. มี ๔ ประเภทฯ คือ ๑. มิตรมีอุปการะ ๒. มิตรร่วมสุขร่วมทุกข์ ๓. มิตรแนะประโยชน์ ๔. มิตรมีความรักใคร่ ฯ ๑๐. ศีลที่คฤหัสถ์ควรรักษาเป็นนิตย์ คือศีลอะไร ? ได้แก่อะไรบ้าง ? ๑๐. คือ ศีล ๕ ฯ ได้แก่ ๑. เว้นจากทาชีวิตสัตว์ให้ตกล่วงไป ๒. เว้นจากถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้ด้วยอาการแห่งขโมย ๓. เว้นจากประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นจากพูดเท็จ ๕. เว้นจากดื่มน้าเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นที่ตั้งแห่งความประมาท ฯ