SlideShare a Scribd company logo
การพฒนาทกษะพนฐานทจาเป็นต่อการประกอบอาชีพ
            ั      ั  ื้     ี่ ํ
          โดยใช้กจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                 ิ
THE DEVELOPMENT OF CAREER’S NECESSARY BASIC SKILLS
USING THE ACTIVITY OF CAREER AND TECHNOLOGY CAMP




                  นางรัตนศรี พรหมใจรักษ์




         รายงานการศึกษาอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต
                     มหาวิทยาลัยขอนแก่ น
                           พ.ศ. 2555
การพฒนาทกษะพนฐานทจาเป็นต่อการประกอบอาชีพ
                   ั      ั  ื้     ี่ ํ
                 โดยใช้กจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                        ิ




                           นางรัตนศรี พรหมใจรักษ์




รายงานการศึกษาอิสระนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาหลักสู ตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
                               สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน
                        คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
                                        พ.ศ. 2555
THE DEVELOPMENT OF CAREER’S NECESSARY BASIC SKILLS
 USING THE ACTIVITY OF CAREER AND TECHNOLOGY CAMP




               MRS. RATTANASRI PROMJAIRUX




AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE
     REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF EDUCATION
               IN CURRICULUM AND INSTRUCTION
         FACULTY OF EDUCATION KHON KAEN UNIVERSITY
                            2012
ใบรับรองรายงานการศึกษาอสระ
                                                                        ิ
                                                     มหาวทยาลยขอนแก่น
                                                          ิ ั
                                                           ปริญญา
                                                    ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ
                                                 สาขาวชาหลกสูตรและการสอน
                                                       ิ    ั

ชื่อการศึกษาอิสระ : การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพโดยใช้กิจกรรม
                                              ํ
                       ค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชื่อผู้ทําการศึกษาอิสระ : นางรัตนศรี พรหมใจรักษ์
อาจารย์ ทปรึกษาการศึกษาอิสระ :
            ี่



                                         ...........................................................................อาจารย์ที่ปรึ กษา
                                         (ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนชาติ เจริ ญครบุรี)
                                             ้




.........................................................................    .........................................................................
(ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนชาติ เจริ ญครบุรี)
    ้                                                                       (ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์)
                                                                               ้
      ประธานคณะกรรมการบริ หารหลักสูตร                                                         คณบดีคณะศึกษาศาสตร์
            สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน                                                           มหาวิทยาลัยขอนแก่น

                                    ลิขสิทธิ์ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
รัตนศรี พรหมใจรักษ์. 2555. การพัฒนาทักษะพืนฐานที่จําเป็ นต่ อการประกอบอาชีพโดยใช้ กิจกรรม
                                          ้
        ค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี. รายงานการศึกษาอิสระปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
        สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
อาจารย์ ทปรึกษาการศึกษาอิสระ: ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมนชาติ เจริ ญครบุรี
         ี่                      ้

                                          บทคดย่อ
                                             ั

        การวิจย ครั้ งนี้ มี วต ถุ ประสงค์เ พื่อ พัฒนาทักษะพื้นฐานที่จา เป็ นต่อ การประกอบอาชี พ
                 ั            ั                                       ํ
โดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่ มเป้ าหมายประกอบด้วยนักเรี ยนระดับชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 4 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 จํานวน 30 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
ได้แก่ กิ จกรรมค่ายการงานอาชี พและเทคโนโลยี แบบประเมิ นทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อ การ  ํ
ประกอบอาชีพ แบบบันทึกหลังการจัดกิจกรรม และแบบสํารวจความพึงพอใจ วิเคราะห์ขอมูลโดย        ้
การแจกแจงความถี่ และคํานวณค่าร้อ ยละ ผลการศึกษา พบว่า กิ จกรรมค่ายการงานอาชี พและ
เทคโนโลยีทาให้นกเรี ยนพัฒนาทักษะการทํางานกลุ่ม ทักษะการจัดการ ทักษะการแสวงหาความรู ้
            ํ ั
ทักษะกระบวนการทํางาน และทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
Rattanasri Promjairux. 2012. The Development of Career’s Necessary Basic Skills Using the
        Activity of Career and Technology Camp. An Independent Study Report for the
        Master of Education in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Khon Kaen
        University.
Independent Study Advisor: Asst. Prof. Dr. Sumonchat Jaroenkornburi

                                            ABSTRACT

          This research aims to develop the career’s necessary basic skills necessary using the activities
of Career and Technology Camp. The target group was 30 Matayomsuksa 3 and 4 students of
Khon Kaen Wittayayon 3 School. An independent study instruments comprised of: 1) career and
technology camp activities; career’s necessary basic skills assessment sheets; activities note; and
satisfaction questionair. Collected data were analyzed by calculating frequencies and percentages.
The results of the study show that the activities of Career and Technology Camp promoted
the students’ group work skills, management skills, knowledge searching skills, work process skills,
and problem solving skills.
การศึกษาอสระฉบับนีมอบส่วนดให้บุพการีและคณาจารย์
         ิ        ้       ี
กตติกรรมประกาศ
                                         ิ


          การศึก ษาอิ ส ระฉบับ นี้ สําเร็ จ ลุ ล่ ว งได้ด้วยความกรุ ณ าอย่า งยิ่ง จาก ผูช่ วยศาสตราจารย์
                                                                                        ้
ดร.สุมนชาติ เจริ ญครบุรี อาจารย์ที่ปรึ กษา ที่ให้คาแนะนําด้วยความเอาใจใส่ เป็ นอย่างดี ตลอดจน
                                                          ํ
      ํ
ให้ก าลังใจแก่ผูศึกษามาโดยตลอด รองศาสตราจารย์จุม พล ราชวิจิตร กรรมการสอบที่กรุ ณาให้
                      ้
คําแนะนําและเสนอข้อคิดเห็นที่เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษา ผูศึกษารู ้สึกซาบซึ้ งในความกรุ ณา และ
                                                                    ้
ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่น้ ี
          กราบขอบพระคุ ณ ดร.สมหวัง บุ ญ สิ ท ธิ์ ศึ ก ษานิ เ ทศก์เ ชี่ ย วชาญ สํา นั ก งานเขตพื้น ที่
การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 นางลออ ผาน้อ ย ครู ชานาญการพิเศษโรงเรี ยนสนามบิน
                                                                      ํ
นายเขม เคนโคก อาจารย์ประจําสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ให้
เกี ยรติเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญให้คาปรึ กษาแก้ไ ขปรับปรุ งเครื่ อ งมื อ การศึกษาให้มีคุณภาพ ขอบพระคุ ณ
                              ํ
นายบัณ ฑู ร ชุ ม แวงวาปี ผู ้อ ํา นวยการโรงเรี ย นขอนแก่ น วิ ท ยายน 3 นางกัล ยาณี มั่ ง พร้ อ ม
นายจิรวัฒน์ วงษ์คง นายพงษ์วิชิต นันทะผา นายศุภชัย บุญสะอาด นางสาวสุ ก ัญญา คําไสขาว
ตลอดจนบุคลากรทุกท่านและนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 - 5 ปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนขอนแก่น
วิทยายน 3 ที่ให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และขอบคุณเพื่อน กอท. รุ่ น 1 นายอํานาจ
พรหมใจรักษ์ นางสาวชญาตา พรหมใจรัก ษ์ และนายกฤษฎ์ พรหมใจรักษ์ ที่ให้การสนับสนุ น
                        ํ
ส่งเสริ มและให้กาลังใจด้วยดีตลอดมา
          ความสําเร็ จและคุณงามความดี ที่เป็ นประโยชน์อนเกิดจากผลการศึกษาในครั้งนี้ ผูศึกษา
                                                                ั                                  ้
ขอมอบแด่นายเทียบ และนางบุญส่ง โสภณ บิดามารดาที่ให้โอกาสทางการศึกษาและเป็ นกําลังใจที่
ดีเสมอมา รวมทั้งคณาจารย์ทุกท่านที่ได้กรุ ณาประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู ้อนมีคุณค่ายิง ั         ่

                                                              รัตนศรี พรหมใจรักษ์
จ



                                       สารบัญ

                                                               หน้ า
บทคัดย่อภาษาไทย                                                  ก
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ                                               ข
คําอุทิศ                                                         ค
กิตติกรรมประกาศ                                                  ง
สารบัญตาราง                                                      ช
สารบัญภาพ                                                        ซ
บทที่ 1 บทนํา                                                    1
         1. ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา                    1
         2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา                              3
         3. ขอบเขตและข้อจํากดของการศึกษา
                            ั                                    3
         4. นิยามศัพท์เฉพาะ                                      3
         5. สถานทีทาการศึกษา
                  ่ ํ                                            4
       6. ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ
                    ี่                                           4
บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                                 ั                               5
        1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                            ้                    7
        2. ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ
                               ํ                                 8
        3. กิจกรรมค่าย                                           9
        4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                    ั                                           12
        5. กรอบแนวคิดการศึกษา                                   13
บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา
             ํ                                                  14
        1. กลุ่มเป้ าหมาย                                       14
        2. รู ปแบบการศึกษา                                      14
        3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา                          16
        4. การพัฒนาเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา                  36
        5. การเก็บรวบรวมข้อมูล                                  36
        6. การวิเคราะห์ขอมูล ้                                  37
ฉ



                                      สารบัญ (ต่อ)

                                                                              หน้ า
บทที่ 4 ผลการวิจยและอภิปราย0ผล
                    ั                                                         47
         1. การดําเนินการก่อนการทดลอง                                         47
         2. ผลการปฏิบติการวิจยในวงจรที่ 1
                         ั          ั                                         48
         3. ผลการปฏิบติการวิจยในวงจรที่ 2
                           ั          ั                                       51
         4. ผลการปฏิบติการวิจยในวงจรที่ 3
                             ั          ั                                     54
         5. ผลการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน             57
         6. การอภิปรายผลการวิจย           ั                                   60
บทที่ 5 สรุ ปการวิจยและข้อเสนอแนะ
                      ั                                                       63
         1. สรุ ปผลการวิจย     ั                                              64
         2. ข้อเสนอแนะ                                                        64
บรรณานุกรม                                                                    66
ภาคผนวก                                                                       71
                ภาคผนวก ก - หนังสือราชการ                                     72
                                 - รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญและรายชื่อผูช่วยวิจย
                                                                  ้      ั
                ภาคผนวก ข - ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 1, 3 และ 5      79
                                 - แบบบันทึกพฤติกรรมการสอนของครู
                                 - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนของนักเรี ยน
                                 - แบบทดสอบท้ายวงจร
                                 - แบบทดสอบวัดความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ
                ภาคผนวก ค - ตารางวิเคราะห์ขอมูลทางสถิติ
                                                    ้                         121
                                 - แบบบันทึกคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน
ประวัติผเู ้ ขียน                                                             129
ช



                                          สารบัญตาราง

                                                                                           หน้ า
ตารางที่ 1 โครงสร้างหลักสูตรกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี                  17
ตารางที่ 2 การจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะที่ 1 แสวงหาความรู้สู่อาชีพ   22
ตารางที่ 3 การจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะที่ 2 ก่อร่างสร้างตน 31
ตารางที่ 4 การจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะที่ 3 รู้จกตนเอง
                                                                  ั             32
ซ



                                         สารบัญภาพ


                                                                                    หน้ า
ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานที่   13
         จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ
          ํ
                       ภาพที่ 2 การจัดกิจกรรมตามรู ปแบบวงจร PAOR       15
บทที่ 1
                                             บทนํา


1.         ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา
           จากรายงานผลการประเมินระดับชาติข้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
                                                  ั
6 ประจําปี การศึกษา 2552 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี
พบว่า คะแนนเฉลี่ ย ระดับโรงเรี ยนตํ่า กว่าค่าคะแนนเฉลี่ ย ระดับต่า ง ๆ ดังนี้ โรงเรี ย นขอนแก่ น
วิทยายน 3 ค่ าเฉลี่ ย 25.33 (S.D. 6.18) ระดับ ศูนย์ป ระสานงานการจัดการมัธยมศึ กษาจังหวัด
ขอนแก่น (ศูนย์ที่24) ค่าเฉลี่ย 29.92 (S.D. 8.50) ระดับจังหวัดขอนแก่ค่าเฉลี่ย 32.16 (S.D. 9.30)
ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย 32.25 (S.D. 9.29) ระดับประเทศ
ค่าเฉลี่ย 33.98 (S.D. 9.42) (ศูนย์ประสานงานการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัดขอนแก่น ศูนย์ที่ 24,
2553)
           นอกจากนั้นการติดตามนักเรี ยนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2552
ของโรงเรี ยนขอนแก่ น วิทยายน 3 พบว่านัก เรี ยนจํานวนร้ อ ยละ 50 จากจํานวนนักเรี ยนที่จ บ
การศึก ษา 18 คน ไม่ มี โอกาสศึก ษาต่ อ ในระดับ ที่สู งขึ้น เนื่ อ งจากนัก เรี ยนมี ความจําเป็ นต้อ ง
ประกอบอาชีพเพือหารายได้เลี้ยงครอบครัวอันสื บเนื่ องมาจากปั ญหาทางเศรษฐกิจ นักเรี ยนกลุ่มนี้
                    ่
ประกอบอาชีพรับจ้างตามความถนัดของตนเอง เช่น ยาม พนักงานขาย บริ กร และรับจ้างทัวไป               ่
เป็ นต้น ส่ วนนักเรี ยนที่ศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา (22 %) และระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชี พ
ชั้นสู ง (28 %) ในระหว่างปี การศึกษา 2547–2551 นั้น เมื่ อจบการศึกษาแล้วมักจะไปทํางานใน
โรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อเวลาผ่านไป 5 - 6 ปี ก็จะกลับคืนสู่ถิ่นฐานเพือมาประกอบอาชีพดั้งเดิม
                                                                          ่
ของครอบครัว ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นอาชีพเกษตรกรรม (งานแนะแนวโรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3,
2551)
           ผูศึกษาปฏิบติการสอนรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3
             ้        ั
เป็ นเวลา 15 ปี ได้วิเ คราะห์ สาเหตุ ที่ท าให้ รายวิช าการงานอาชี พและเทคโนโลยีมี ค ะแนนการ
                                          ํ
ประเมินผลระดับชาติข้นพืนฐาน (O-NET) ค่อนข้างตํ่า พบว่า สาเหตุหลักเป็ นเพราะผูเ้ รี ยนไม่สนใจ
                         ั ้
และไม่ เห็นประโยชน์ของการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยีเท่าที่ควร
เนื่ อ งจากการศึกษาต่อ ในระดับอุ ดมศึกษานั้นใช้คะแนน O-NET กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ศิล ปะ
พลศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีรวมกันเพียงร้อยละ 5 จากคะแนนทั้งหมด อีกสาเหตุ
หนึ่งที่ทาให้นกเรี ยนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่ไม่ได้เรี ยนไม่สามารถประกอบอาชีพอิสระได้น้ ัน
          ํ ั
2



ผูศึกษาวิเคราะห์วาในการเรี ยนรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่ผ่านมา พบว่าในการทํางาน
   ้                     ่
นักเรี ยนส่ ว นใหญ่มุ่ งเน้นที่ ผลงานโดยไม่ ส นใจกระบวนการทํา งาน ทํา ให้นัก เรี ย นขาดทักษะ
พื้น ฐานที่ จ ํา เป็ นต่ อ การประกอบอาชี พ ซึ่ งประกอบด้ว ยทัก ษะกระบวนการทํา งาน ทัก ษะ
กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ้ และทักษะการจัดการ
(สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2551)
          ตัวชี้วด และ สาระการเรี ยนรู ้แกนกลางกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
                     ั
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กล่าวไว้วา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การ
                                                                           ่
งานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจ มีทกษะพื้นฐาน
                                                                                         ั
ที่จาเป็ นต่อ การดํารงชีวิตและรู ้เท่าทันการเปลี่ ยนแปลง สามารถนําความรู ้เกี่ยวกับการดํารงชี วิต
     ํ
การอาชีพและเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ในการทํางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และ แข่งขันใน
สังคมไทยและสากล เห็ นแนวทางในการประกอบอาชี พ รักการทํางานและมี เจตคติที่ดีต่อ การ
                              ิ ่
ทํางานสามารถดํารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุ ข (สํานักวิชาการและมาตรฐาน
การศึกษา, 2551) ซึ่ งการส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนให้มีทกษะการเรี ยนรู ้
                                                                                       ั
บรรลุ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้นมีวิธีการที่
หลากหลาย จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่าวิธีการหนึ่ งที่น่าจะส่ งเสริ มให้นักเรี ยนมีทกษะ ั
พื้นฐานที่จาเป็ นในการประกอบอาชีพ คือ การจัดค่าย (Camp) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา
             ํ
ขั้นพื้นฐาน (2552) กล่าวไว้ว่าค่ายเป็ นเครื่ อ งมือสําคัญหนึ่ งที่มีส่วนในการส่ งเสริ มและพัฒนาเด็ก
                                                                     ่
และเยาวชนให้มีความรู ้และทักษะพื้นฐานในการดํารงชีวิตให้อยูในสังคมไทยและสังคมโลก และ
ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีพฒนาการด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา กิจกรรมค่ายเน้น
                            ั
การฝึ กปฏิ บ ัติ จริ ง จึ ง ตอบสนองความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ย นได้ต าม
จุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
          โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 เป็ นโรงเรี ยนที่จดกิจกรรมค่ายอยูเ่ สมอ ผลการสํารวจความ
                                                         ั
คิดเห็ น ของผูร่ว มกิ จกรรมค่ ายที่จด ขึ้น ในโรงเรี ย นขอนแก่ นวิทยายน 3 เช่ น ค่ ายแห่ งมิ ตรภาพ
                   ้                  ั
ค่ายเยาวชนไทยใจอาสา ค่ ายคณิ ตศาสตร์ และค่ายการพัฒนาการเรี ยนรู ้แบบพหุ ปัญญา พบว่า
นักเรี ยนมีความพึงพอใจและต้องการให้มีกิจกรรมค่ายต่างๆ เช่นนี้อีก ด้วยเหตุน้ ีผศึกษาจึงสนใจการ
                                                                                   ู้
พัฒนาทักษะพืนฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพของนักเรี ยนโดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพ
                       ้       ํ
และเทคโนโลยี
3



2.    วัตถุประสงค์ของการศึกษา
      เพือพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ โดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพ
         ่                     ํ
และเทคโนโลยี

3.       ขอบเขตและข้ อจํากัดของการศึกษา
         ขอบเขตและข้อจํากัดของการศึกษามีดงนี้      ั
         3.1 การประกอบอาชี พ หมายถึ ง การประกอบอาชี พ อิ ส ระประเภทการผลิ ต สํา หรั บ
นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 4 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3
         3.2 กลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 4 โรงเรี ยน
ขอนแก่นวิทยายน 3 ปี การศึกษา 2554 ที่สมัครใจเข้าร่ วมกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี
จํานวน 30 คน
         3.3 ตัวแปรที่ศึกษา
              3.3.1 ตัวแปรอิสระ คือ กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี
              3.3.2 ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ
                                                           ํ
         3.4 เนื้ อ หาที่ ใ ช้ใ นการศึ ก ษา เป็ นเนื้ อ หาในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และ
เทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ระดับมัธยมศึก ษาปี ที่ 4-6 ตามหลัก สู ตรสถานศึ กษาโรงเรี ย น
ขอนแก่นวิทยายน 3
         3.5 ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิ จกรรมค่ายการงานอาชี พและเทคโนโลยี ระหว่าง เดื อ น
เมษายน - กันยายน 2554
         3.6 การศึกษาครั้งนี้ เป็ นการศึกษาเฉพาะกรณี ข้อสรุ ปที่ไ ด้จากการศึกษาจะนําไปใช้ก ับ
                                                                                  ั
โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น หรื อประยุกต์ใช้กบโรงเรี ยนที่มีบริ บท
คล้ายคลึงกันเท่านั้น

4.      นิยามศัพท์เฉพาะ
        4.1 ค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี หมายถึง การจัดให้เข้าร่ วมกิจกรรมทั้งวิชาการและ
นันทนาการในเรื่ องการอาชีพ
        4.2 กิ จ กรรมค่ า ยการงานอาชี พ และเทคโนโลยี หมายถึ ง กิ จ กรรมทางวิ ช าการและ
นันทนาการที่แบ่งเป็ น 3 ระยะ คือ 1) แสวงหาความรู ้สู่การสร้างการงานอาชีพ 2) ก่อร่ างสร้างตน
และ 3) รู ้จกตนเอง
            ั
4



            4.3 ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อ การประกอบอาชี พ หมายถึ ง ทักษะกระบวนการทํางาน
                                ํ
ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการแสวงหาความรู ้ ทักษะการจัดการ และทักษะการทํางาน
ร่ วมกัน
            4.4 ทักษะกระบวนการทํางาน หมายถึง การลงมือทํางานด้วยตนเอง ทั้งการทํางานเป็ น
รายบุคคลและการทํางานเป็ นกลุ่ ม ตามขั้นตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์งาน 2) วางแผนในการทํางาน
3) ปฏิบติงานตามลําดับขั้นตอน และ 4) การประเมินผลการทํางาน
          ั
            4.5 ทัก ษะกระบวนการแก้ปั ญ หา หมายถึ ง กระบวนการที่ ต ้อ งการให้ ผูเ้ รี ย นได้เ กิ ด
ความคิดหาวิธีแก้ปัญหาอย่างมีข้ นตอนด้วยการ 1) สังเกต 2) วิเคราะห์ 3) สร้างทางเลือก และ 4)
                                  ั
ประเมินทางเลือก
            4.6 ทักษะการแสวงหาความรู ้ หมายถึง การที่นักเรี ยนหาข้อมูลความรู ้ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่ อง
หรื อเนื้อหานั้นๆ โดยใช้ข้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาค้นคว้า 2) รวบรวม 3) สังเกต 4) สํารวจ และ 5) บันทึก
                          ั
            4.7 ทักษะการจัดการ หมายถึ ง การที่นักเรี ยนทํางานตามขั้นตอน ดังนี้ 1) จัดระบบงาน
ทํางานเป็ นรายบุคคล 2) จัดระบบคนทํางานเป็ นกลุ่ม และ 3) คุณภาพของงาน
            4.8 ทักษะการทํางานร่ วมกัน หมายถึง นักเรี ยนทํางานเป็ นกลุ่ม 1) ทํางานร่ วมกับผูอื่นได้
                                                                                             ้
2) ทํางานโดยมีกระบวนการการทํางาน 3) รู ้จกบทบาทหน้าที่ของตนเอง 4) มีทกษะในการฟั ง-พูด
                                               ั                                 ั
5) มีคุณธรรมในการทํางาน 6) สรุ ปผล และ 7) นําเสนอรายงาน

5.      สถานทีทําการศึกษา
                ่
        โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

6.       ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ
         6.1 นักเรี ย นมี ประสบการณ์ ในอาชี พทําให้เ มื่ อ จบการศึก ษาออกไปแล้วน่ าจะมี ความ
มันใจและกล้าที่จะประกอบอาชีพอิสระ
  ่
         6.2 ผูสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมี รูปแบบใหม่สาหรับวิธีการ
               ้                                                               ํ
จัดการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสาระมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สาระที่ 4 การอาชีพ
บทที่ 2
                             วรรณกรรมและงานวจัยทเี่ กยวข้อง
                                               ิ     ี่


       วรรณกรรมและงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบ
                               ั                                 ํ
อาชีพโดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีดงนี้
                                                  ั
       1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
       2. ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ
                             ํ
       3. กิจกรรมค่าย
       4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง
                 ั
       5. กรอบแนวคิดการศึกษา

1.       หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551
                                                ้
         กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ได้จดทําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
                                             ั
2551 ที่มีความชัดเจนทั้งเป้ าหมายของหลักสู ตร วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วด และกําหนดโครงสร้างเวลาเรี ยน
                                                                   ั
พืนฐาน เพือให้ผใช้หลักสูตรใช้เป็ นกรอบและทิศทางในการจัดการเรี ยนการสอนแต่ละระดับชั้น
  ้            ่        ู้
ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี พอสรุ ป ได้ดัง นี้
         1.1 วิสัยทัศน์
                 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนให้
เป็ นมนุ ษย์ที่สมดุ ลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุ ณธรรม มี จิตสํานึ กในความเป็ นพลเมื องไทยและเป็ น
พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมี พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุ ข มี์
ความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษา
                                                  ํ
ตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเอง
          ิ
ได้เต็มตามศักยภาพ
            1.2 จุดหมาย
                  1.2.1 มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิ ยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย
และปฏิบติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
            ั
พอเพียง
6



               1.2.2 มีความรู ้อนเป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา
                                    ั
การใช้เทคโนโลยี และมีทกษะชีวต   ั       ิ
               1.2.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสย และรักการออกกําลังกาย
                                                          ั
               1.2.4 มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมันใน
                                                                                        ่
วิถีชีวตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข
       ิ                                                          ์
               1.2.5 มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
                                                ั
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์ สร้างสิ่งดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคมอย่าง
                                                                         ่
มีความสุข
         1.3 สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน
               1.3.1 ความสามารถในการสื่อสาร
               1.3.2 ความสามารถในการคิด
               1.3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา
               1.3.4 ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต
                                              ั     ิ
               1.3.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
         1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์
               1.4.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
               1.4.2 ซื่อสัตย์สุจริ ต
               1.4.3 มีวนย  ิ ั
               1.4.4 ใฝ่ เรี ยนรู ้
                          ่
               1.4.5 อยูอย่างพอเพียง
               1.4.6 มุ่งมันในการทํางาน
                              ่
               1.4.7 รักความเป็ นไทย
               1.4.8 มีจิตสาธารณะ
               ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ นพื้ น ฐาน
พุทธศักราช 2551 ได้จดเวลาเรี ยนเป็ นรายภาค มีเวลาเรี ยนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชัวโมง สําหรับกลุ่ม
                       ั                                                    ่
สาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ใช้เวลาเรี ยนตลอดหลักสู ตร 120 ชัวโมง 3 หน่ วยการ
                                                                              ่
เรี ยน โดยจัดเวลาเรี ยนปี ละ 40 ชัวโมง่
7



         1.5 มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
                                                                             ํ
         หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้
และตัวชี้วดกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สรุ ปได้
            ั
ดังนี้
         กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่ ม สาระที่ช่วยพัฒนาให้ผูเ้ รี ยน
มี ความรู ้ ความเข้าใจ มี ทกษะพื้นฐานที่จา เป็ นต่ อ การดํารงชี วิตและรู ้เท่า ทันการเปลี่ ย นแปลง
                             ั                ํ
สามารถนําความรู ้เกี่ยวกับการดํารงชีวต การอาชีพและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทํางานอย่าง
                                        ิ
มีความคิดสร้างสรรค์และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการ
                                                        ิ ่
ทํางาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทํางานสามารถดํารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข
          กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมีสาระสําคัญดังนี้
          - การดํา รงชี วิต และครอบครั ว ซึ่ งเป็ นสาระเกี่ ย วกับ การทํา งานในชี วิต ประจํา วัน การ
ช่ ว ยเหลื อ ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ใ นสภาพเศรษฐกิ จ ที่ พอเพียง ไม่ ท าลายสิ่ ง แวดล้อ ม
                                                                                     ํ
เน้นการปฏิบติจริ งจนเกิดความมันใจและภูมิใจในผลสําเร็ จของงาน เพื่อให้คนพบความสามารถ
               ั                    ่                                             ้
ความถนัด และความสนใจของตนเอง
          - การออกแบบเทคโนโลยี เป็ นสาระที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุ ษย์โดยใช้
กระบวนการเทคโนโลยีสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ หาวิธีการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการดํารงชีวิตอย่าง
สร้างสรรค์
          - เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เป็ นสาระเกี่ ย วกับ กระบวนการเทคโนโลยี
สารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อการ
                                                         ้
สร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
          - การอาชี พ เป็ นสาระเกี่ ย วกับ ทัก ษะที่จ าเป็ นต่อ อาชี พ เห็ น ความสํา คัญ ของคุ ณธรรม
                                                      ํ
จริ ยธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต และ
เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ
          1.5.1 คุณภาพของผูเ้ รี ยนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6
                 1) เข้าใจวิธีการทํางานเพื่อ ดํารงชี วิต สร้ างผลงานอย่างมี ความคิด สร้างสรรค์ มี
ทักษะการทํางานร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะกระบวนการ
แสวงหาความรู ้ ทํางานอย่างมีคุณธรรม และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุมค่า          ้
และยังยืน
       ่
8



                  2) เข้า ใจความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งเทคโนโลยีก ั บ ศาสตร์ อื่ น ๆ วิ เ คราะห์ ร ะบบ
เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ สร้างและพัฒนาสิ่ งของ
เครื่ องใช้หรื อวิธีการตามกระบวนการตามเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการ
ออกแบบหรื อนําเสนอผลงาน วิเคราะห์ทางเลือก ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตประจําวัน
อย่างสร้างสรรค์ต่อชีวต สังคม สิ่งแวดล้อม และ มีการจัดการเทคโนโลยีดวยวิธีการของเทคโนโลยี
                           ิ                                              ้
สะอาด
                  3) เข้า ใจองค์ ป ระกอบสารสนเทศ องค์ ป ระกอบและหลั ก การทํา งานของ
คอมพิวเตอร์ระบบสื่ อสารข้อมูลสําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ และ
           ่
อุปกรณ์ตอพ่วง และมีทกษะในการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงาน
                             ั
คอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ติดต่อ สื่ อ สารและค้นหาข้อ มู ล ผ่านอิ นเทอร์ เน็ ต ใช้
คอมพิวเตอร์ในการประมวลข้อ มูล ให้เป็ นสารสนเทศในการตัดสิ นใจ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
นําเสนองาน และใช้คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงาน
                  4) เข้าใจแนวทางเข้าสู่ อาชีพ การเลือก และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ
มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ
          1.5.2 มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วด   ั
                 สาระที่ 4 การอาชีพ
                  มาตรฐาน ง. 4.1 เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ
                                                ั     ํ
ใช้เทคโนโลยีเพือพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ
                   ่
                  ตัวชี้วด ง 4.1 ม 4-6/1 อภิปรายแนวทางเข้าสู่อาชีพที่สนใจ
                         ั
                               ง 4.1 ม 4-6/2 เลือกและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ
                               ง 4.1 ม 4-6/3 มีประสบการณ์ในอาชีพที่ตนเองถนัดและสนใจ
                               ง 4.1 ม 4-6/4 มีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ

2.      ทักษะพืนฐานที่จําเป็ นต่ อการประกอบอาชีพ
                 ้
        กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ได้ให้ความหมายของทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบ
                                                                      ํ
อาชีพว่า หมายถึง ความสามารถที่ผประกอบอาชีพต้องมีซ่ ึงประกอบด้วย
                                   ู้
        2.1 ทักษะกระบวนการทํางาน เป็ นการลงมือทํางานด้วยตนเองโดยมุ่งเน้นการฝึ กวิธีการ
ทํางานอย่างสมํ่าเสมอ ทั้งการทํางานเป็ นรายบุคคลและการทํางานเป็ นกลุ่ม เพื่อให้สามารถทํางาน
ได้บรรลุเป้ าหมาย ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนในการทํางาน การปฏิบติงานตามลําดับ
                                                                             ั
ขั้นตอน และการประเมินผลการทํางาน
9



          2.2 ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา เป็ นกระบวนการที่ตองการให้ผเู ้ รี ยนคิดหาวิธีแก้ปัญหา
                                                                 ้
ตามขั้นตอน การสังเกต การวิเคราะห์ การสร้างทางเลือก และการประเมินทางเลือก
          2.3 ทักษะการทํางานร่ วมกัน เป็ นความสามารถในการทํางานร่ วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ข
                                                                                  ้
มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนทํางานอย่างมีกระบวนการตามขั้นตอนการทํางาน และฝึ กหลักการทํางานกลุ่ม โดย
รู ้จกบทบาทหน้าที่ภายในกลุ่ม มีทกษะในการฟัง-พูด มีคุณธรรมในการทํางานร่ วมกันสรุ ปผล และ
     ั                                ั
นําเสนอรายงาน
          2.4 ทักษะการแสวงหาความรู ้ เป็ นวิธีการและกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้แสวงหาข้อมูล
ความรู ้ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่ องที่สนใจ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้า การรวบรวม การสังเกต การสํารวจ และ
การบันทึก
          2.5 ทัก ษะการจัด การ เป็ นความพยายามของบุ ค คลที่ จ ะจัด ระบบงาน (ทํา งานเป็ น
รายบุ ค คล) และจัด ระบบคน (ทํา งานเป็ นกลุ่ ม ) เพื่ อ ให้ ท ํา งานสํ า เร็ จ ตามเป้ าหมายอย่า งมี
ประสิทธิภาพ
          จากข้อมูลหลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ผูศึกษาจึงเลือกเนื้ อหาเกี่ยวกับ
                                                                      ้
งานอาชีพอิสระมาใช้ในการจัดกิจกรรมค่าย และทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพที่ใช้
                                                                   ํ
ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการ
ทํางานร่ วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ้ และทักษะการจัดการ

3.        กิจกรรมค่าย
          3.1 ความสํ าคัญและประโยชน์ จากการเข้ าร่ วมกิจกรรมค่าย
              กระทรวงศึกษาธิการ (2552) ได้กล่าวถึงแนวทางการจัดค่ายว่ากิจกรรมการเข้าค่ายเป็ น
การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้อ ย่างต่อ เนื่ อ งนอกห้อ งเรี ยน กิ จกรรมค่ายมี
ลักษณะเฉพาะ คือ มีการกําหนดเป้ าหมายชัดเจน มีผนาหรื อพี่เลี้ยงค่าย มีการจัดสภาพแวดล้อมให้
                                                                     ู้ ํ
เหมาะสมและปลอดภัยต่อสมาชิกค่าย มีกิจกรรมเป็ นหัวใจในการพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของค่าย
มี กระบวนการการบริ หารค่ ายที่ ทนสมัย และใช้ระบบกลุ่ ม ในการทํา กิ จ กรรม การเข้า ค่ายเป็ น
                                                  ั
ช่วงเวลาที่เด็กจะได้รับประสบการณ์จากการใช้ชีวิตร่ วมกับเพื่อนๆจากการดํารงชีวิตเป็ นหมู่คณะ
การค้างแรมร่ วมกัน และการปฏิบติกิจกรรมต่างๆ กิจกรรมค่ายทําให้เด็กรู ้จกช่วยเหลือตนเองและ
                                              ั                                          ั
                                                ่
ผูอื่น การเข้าค่ายจึงเป็ นการเรี ยนรู ้ผานประสบการณ์ซ่ ึงหาไม่ได้จากตําราเรี ยนและห้องเรี ยนด้วยการ
   ้
สร้างประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เชิงบวกในการเรี ยนรู ้ ทําให้เด็กเกิดความประทับใจและ
แรงบันดาลใจ เช่น การได้คนพบความสามารถของตัวเอง มีโอกาสได้แสดงออก และเสริ มความ
                                         ้
ใฝ่ ฝั น ใน “สิ่ ง ที่ ดี ก ว่า ” ที่ เ ป็ นจริ ง ได้ ส่ ง ผลให้เด็ ก “เปลี่ ย นแปลง” ความเชื่ อ ความคิ ด และ
10



พฤติกรรม เกิดความนับถือตนเอง ภาคภูมิใจในตนเอง และตระหนักถึงคุณค่าของตัวเอง ซึ่ งเป็ น
การเปลี่ ย นแปลงจาก “ภายใน” ระดับ บุ ค คล ซึ่ งประโยชน์ ที่ เ ด็ ก จะได้รั บ จากการเข้า ค่ า ยมี
ดังต่อไปนี้
              1) ภาวะผูนาและการเรี ยนรู ้เป็ นทีม
                          ้ ํ
              2) ทักษะการคิด คิ ดได้ คิด เป็ น คิดถู ก ภายใต้วิถีท างที่ถู กต้อ ง คิด ทํา งาน และมี
ผลงาน ฝึ กการคิดหลายๆ แบบ
              3) การทํางานเป็ นทีม การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของทีม ศักยภาพ การอุดช่องโหว่
การรู ้บทบาทหน้าที่ของตน การทํางานร่ วมกับผูอื่นอย่างมีความสุข
                                                  ้
              4) ทักษะชีวต ทดลองใช้ชีวตตามรู ปแบบจําลอง เรี ยนรู ้การอยูร่วมกับผูอื่นในสังคม
                              ิ               ิ                                  ่             ้
มีการพัฒนาการพูด มารยาท การวางตัว ความอดทน การแก้ไขปั ญหา ด้านคุณธรรม รู ้จกคิด ผิดถูก           ั
ควรไม่ควร มีความรับผิดชอบ มีการควบคุมอารมณ์ และตัดสินใจอย่างมีวจารณญาณ        ิ
              5) เครื อ ข่ายเพื่อ น ได้เพื่อ นใหม่ เพื่อ นสนิ ท ครู ดี ผูใหญ่ใจดี รุ่ นพี่ที่ดี ที่เป็ นแบบ
                                                                         ้
อย่างที่ดีในการใช้ชีวต ิ
              6) ความเข้าใจตนเอง มีทิศทางการทํางานที่ชดเจน ตัดสิ นใจในปั จจุบนและอนาคต
                                                                ั                            ั
บนฐานข้อมูลที่ถูกต้อง การรู ้จกตนเอง พัฒนาตนเอง เกิดแรงบันดาลใจใฝ่ เรี ยนรู ้ การเปลี่ยนแปลง
                                    ั
ด้านอารมณ์ และเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวต         ิ
              7) มีจิตสาธารณะ การเปลี่ยนแปลงในระดับจิตสํานึก ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ
             8) รับผิดชอบสังคม เกิดโครงการที่ทาได้จริ ง ต้อ งการทํางานให้เป็ นประโยชน์ก ับ
                                                          ํ
ผูอื่น และลงมือทํางานให้ผูอื่นด้วยวิถีทางของตนเอง การเป็ นผูให้ที่ดี รับผิดชอบ ไม่ สร้างภาระ
  ้                             ้                                      ้
             9) ความรู ้ ทักษะ ความรู ้ใหม่ ทักษะใหม่ ตามสาระที่จดให้และถูกจัดอย่างน่ าสนใจ
                                                                           ั
ต่อยอดความรู ้ความสามารถบูรณาการกับการปฏิบติจริ ง    ั
          3.2 ประเภทของค่าย
              วิพงษ์ชย ร้องขันแก้ว (2549) แบ่งค่ายพักแรมออกเป็ น 2 ประเภท คือ ค่ายพักแรมแบ่ง
                     ั
ตามผูจด และ ค่ายพักแรมแบ่งตามลักษณะวิธีการและวัตถุประสงค์ในการจัด
       ้ั
              3.2.1 ค่ายพักแรมแบ่งตามผูจด มี 3 ประเภท ดังนี้
                                             ้ั
                   1) ค่ายพักแรมที่จดขึ้นโดยองค์กรหรื อสมาคมต่างๆ
                                        ั
                   2) ค่ายพักแรมเอกชนเป็ นค่ ายพักแรมที่จดขึ้ นเพื่อ การค้าและมุ่ งแสวงหาผล
                                                                  ั
กําไร ค่ายพักแรมประเภทนี้จดโดยกลุ่มบุคคลหรื อบริ ษทที่รับดําเนินการจัดค่ายพักแรม
                                  ั                         ั
                   3) ค่ า ยพัก แรมสาธารณะ ค่ า ยพัก แรมที่ จ ัด ขึ้ น โดยหน่ ว ยงานภาครั ฐ ไม่ มุ่ ง
แสวงหาผลกําไร แต่มุ่งที่ประโยชน์และการพัฒนาผูที่เข้าร่ วมเป็ นหลัก
                                                        ้
11



        3.2.2        ค่ายพักแรมแบ่งตามลักษณะวิธีการและวัตถุประสงค์ในการจัด แบ่งได้ดงนี้     ั
                     1) ค่ายพักแรมกลางวัน
                     2) ค่ายพักแรมวิชาการ
                     3) ค่ายสัมมนาและอบรม
                     4) ค่ายอบรมคุณธรรมและจริ ยธรรม
                     5) ค่ายพักแรมเพือการอนุรักษ์ธรรมชาติ
                                      ่
                     6) ค่ายพักแรมลูกเสือ เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร
                     7) ค่ายพักแรมอาสาสมัคร
                     8) ค่ายพักแรมส่งเสริ มสุขภาพ
                     9) ค่ายพักแรมคนพิการ
                     10) ค่ายพักแรมครอบครัว
                     11) ค่ายพักแรมธรรมชาติ
                     12) ค่ายพักแรมถาวร
          3.3 แนวทางการจัดค่าย
               กระทรวงศึ ก ษาธิ การ (2552) ได้เ สนอแนะแนวทางและให้ข ้อ คํา นึ งถึ ง ในการจัด
กิจกรรมค่ายดังนี้
               3.3.1 การพัฒนาหลักสู ตรค่าย ในการจัดค่ายมี กิจกรรมที่ตอ งดําเนิ นการหลายเรื่ อ ง
                                                                            ้
ผูจดค่ายควรเลือกแนวคิดสําคัญที่จะใช้เป็ นแกนการจัดทําหลักสู ตรค่าย เพื่อกําหนดแนวคิดหลัก
  ้ั
(Theme) และทิศทางของค่าย แนวคิดนี้ จะนําไปสู่ การกําหนดเป้ าหมายและผลการเรี ยนรู ้ กรอบ
เนื้ อ หาหลัก กระบวนการเรี ย นรู ้ รายละเอี ย ดกิ จกรรมที่ เ หมาะสมกับ เนื้ อ หา ระยะเวลาการจัด
กิจกรรมค่าย และการสร้างบรรยากาศภายในค่าย
               3.2.2 กิจกรรมต้อ งนําไปสู่ การบรรลุเป้ าหมายของการจัดค่าย ผูจดค่ายควรมีความรู ้
                                                                                ้ั
ความเข้าใจในกระบวนการเรี ยนรู ้ ประเภทของกิจกรรม กําหนดวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม
แต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน และจัดเตรี ยมสื่อและอุปกรณ์ในการทํากิจกรรมให้เพียงพอ
               3.3.3 การเตรี ยมบุคลากรค่าย ซึ่ งประกอบด้วย ผูจดการค่าย พี่เลี้ยง วิทยากร สมาชิก
                                                                  ้ั
ค่าย การเตรี ยมบุคลากรจําเป็ นอย่างยิงที่ตองมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของคน ในกรณี
                                     ่ ้
ของค่ายที่จดให้นักเรี ยนในโรงเรี ยน ควรมี การบริ หารจัดการค่ายอย่างประชาธิ ปไตย และมี การ
             ั
ประสานงานร่ วมกับผูปกครองด้วย
                        ้
               3.3.4 การบริ หารจัดการค่าย การจัดค่ายที่ดีน้ ันต้องบริ หารจัดการในเรื่ อง งบประมาณ
และการระดมทุน ด้านอาหาร การดูแลสุ ขภาพ ความปลอดภัย และความเสี่ ยงของสมาชิ กค่าย
12



สถานที่ ท ํา กิ จ กรรมและที่ พ ัก วัส ดุ อุ ป กรณ์ การจัด การเดิ น ทาง และการประชาสั ม พัน ธ์
         3.3.5 การดํา เนิ น งานหลังกิ จ กรรมค่า ย การสรุ ป ผลการดํา เนิ นงาน นํา เสนอผลการ
ดําเนินงาน และติดตาม สนับสนุนสมาชิกค่าย

4.         งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง
           ธิดาวัลย์ พัชรพจนาถ (2545) ได้พฒนาหลักสู ตรค่ายพักแรมคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยม
                                                  ั
ศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนบุญเรื องวิทยาคม จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็ นหลักสูตรกิจกรรมหรื อหลักสู ตร
ประสบการณ์มีองค์ประกอบของหลักสู ตร คือ หลักการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ าหมาย โครงสร้าง
สถานที่ ระยะเวลา การประเมินหลักสู ตร ตารางประกอบโครงสร้าง และ แนวทางดําเนิ นการ
กิจกรรมในหลักสูตรค่ายคณิ ตศาสตร์ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ กิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริ ม กิจกรรม
หลักแบ่งเป็ น 2 ด้าน ได้แก่ กิจกรรมด้านวิชาการ และ กิจกรรมด้านนันทนาการ สําหรับกิจกรรม
เสริ มเป็ นกิจกรรมที่ใช้แทรกระหว่างกิจกรรมหลัก
           ปิ ยะนุ ช สารสิ ทธิ ยศ (2547)ได้พฒนาชุ ดกิ จกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ เรื่ อ งการศึกษาและ
                                                ั
สํารวจ สภาพแวดล้อมระบบนิเวศวิทยา สําหรับนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ผลการวิจยพบว่านักเรี ยนที่เข้า
                                                                                      ั
ค่ายวิทยาศาสตร์มีส่วนร่ วมในค่าย เข้าร่ วมกิจกรรม มีความรับผิดชอบ มีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น
และมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ ผลการสร้างชุดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ทุกชุดโดยภาพรวมมีความ
เหมาะสมในระดับมากที่สุดพฤติกรรมการมีส่วนร่ วมในค่ายวิทยาศาสตร์ ด้านการเข้าร่ วมกิจกรรม
ความรับผิดชอบ การมีสมพันธภาพ การแสดงความคิดเห็น เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความพึงพอใจที่
                            ั
     ่
มีตอชุดกิจกรรมค่าย
           สุริยา ต้นทอง (2549) ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการ
เรี ย นวิ ช าภาษาอั ง กฤษ สํา หรั บ นั ก เรี ย นชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นวัด โพธิ์ ทอง (ขวัญ
โรจน ราษฎร์รังสฤษฎ์) ผลการวิจยพบว่านักเรี ยนที่เข้าค่ายภาษาอังกฤษมีแรงจูงใจในการเรี ยนวิชา
                                    ั
ภาษาอังกฤษสูงขึ้น อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01
                                  ั
           เยาวลักษณ์ สุ วรรณตระการ (2550) ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมค่ายคณิ ตศาสตร์ เพื่อพัฒนา
ศักยภาพทางคณิ ตศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิจยพบว่า ความสามารถใน
                                                                                ั
การแก้ปัญหาและการให้เหตุผลของนักเรี ยนที่เข้าค่ายก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมี
นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นักเรี ยนส่ วนใหญ่ (88.9 %) มีความสามารถในการสื่ อสารอยูใน             ่
ระดับดีข้ ึนไป และนักเรี ยนมีเจตนคติต่อวิชาคณิ ตศาสตร์อยูในระดับดี่
13



       โรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3 (2553) ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาการเรี ยนรู ้ตาม
                                                                       ่
แนวคิดพหุ ปัญญา ผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมมี ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยูในระดับสู งสุ ด และ
กิจกรรมค่ายสามารถพัฒนาปั ญญาในแต่ละด้านของนักเรี ยนได้เป็ นอย่างดี
       ข้อมูลจากงานวิจยที่เกี่ยวข้องแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมค่ายสามารถช่วยพัฒนานักเรี ยนได้
                       ั
ตามวัตถุประสงค์ของค่ายั้งด้านสติปัญญา ด้านทักษะ และด้านเจตคติ

5. กรอบแนวคิดการศึกษา

                                                 พัฒนาทักษะพืนฐานที่จาเป็ นต่อการ
                                                            ้        ํ
                                                 ประกอบอาชีพ
     กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและ
              เทคโนโลยี                              1.   ทักษะกระบวนการทํางาน
                                                     2.   ทักษะการแก้ปัญหา
                                                     3.   ทักษะการทํางานร่ วมกัน
                                                     4.   ทักษะการแสวงหาความรู ้
                                                     5.   ทักษะการจัดการ


ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพเทคโนโลยีเพือพัฒนาทักษะพื้นฐานที่
                                                           ่
        จําเป็ นต่อการประกอบอาชีพ
บทที่ 3
                                        วธดาเนินการศึกษา
                                         ิี ํ


        การศึกษาครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพือพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพโดย
                               ั        ่                     ํ
ใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยีของนักเรี ยนโรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3 ผูศึกษา ้
นําเสนอวิธีดาเนินการศึกษาตามหัวข้อดังต่อไปนี้
            ํ
        1. กลุ่มเป้ าหมาย
        2. รู ปแบบการศึกษา
        3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
        4. การพัฒนาเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา
        5. การเก็บรวบรวมข้อมูล
        6. การวิเคราะห์ขอมูล ้

1.         กลุ่มเป้ าหมาย
           กลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3-4 ภาคเรี ยน
ที่ 1 ปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมื อง จังหวัดขอนแก่ น
สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 (ขอนแก่น) ที่สมัครใจเข้าร่ วมกิจกรรมค่าย
จํานวน 30 คน การใช้กลุ่มเป้ าหมายที่เต็มใจให้ความร่ วมมือจะทําให้ได้ขอมูลที่ตรงกับความเป็ น
                                                                               ้
จริ งมากที่สุด

2.       รู ปแบบการศึกษา
         การศึกษาครั้งนี้ เป็ นวิจยเชิงคุณภาพด้วยการจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี
                                   ั
เพื่อ พัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อ การประกอบอาชี พ ที่โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 ดําเนิ น
                                 ํ
การศึกษาตามแนวคิดของการวิจยเชิงปฏิบติการ (Action Research) ซึ่งจัดแบ่งวงจรปฏิบติการเป็ น 3
                                     ั     ั                                      ั
วงจร ตามระยะของการจัดกิจกรรมค่าย คือ วงจรที่ 1 - ระยะที่ 1 แสวงหาความรู ้สู่การสร้างอาชีพ
วงจรที่ 2 - ระยะที่ 2 ก่อ ร่ างสร้างตน และ วงจรที่ 3 - ระยะที่ 3 รู ้จกตนเอง โดยในแต่ล ะวงจร
                                                                      ั
ประกอบด้วยการทํางาน 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบติ (Act) การสังเกต (Observe)
                                                                  ั
และ การสะท้อนผลการปฏิบติ (Reflect) (Kemmis & McTaggart , 1992) ดังรายละเอียดในภาพที่ 2
                               ั
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ

More Related Content

What's hot

รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
Adchara Chaisri
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยแนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
Kasem S. Mcu
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญThitiwat Paisan
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
Panita Wannapiroon Kmutnb
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาKruthai Kidsdee
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีMontree Jareeyanuwat
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555Teacher Sophonnawit
 
E0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obec
E0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obecE0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obec
E0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obecThana Sithiarduel
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
Puripat Piriyasatit
 
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาSure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาKruthai Kidsdee
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีAon Narinchoti
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
รายงานผลการประเมินตนเอง ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการPPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
PPT ประเมิน คศ.2 ครูชำนาญการ
 
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานสมรรถนะครู นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยแนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
แนะนำคณะครุศาสตร์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
 
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญกคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
กคศอนุมัติวิทยาฐานะเชี่ยวชาญ
 
Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์Sar ครูพิมพ์
Sar ครูพิมพ์
 
กคศ.+5
กคศ.+5กคศ.+5
กคศ.+5
 
Sar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตรSar เจียมจิตร
Sar เจียมจิตร
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยาSure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
Sure format5.คุณสมบัติ (11 36)กฤตยา
 
ประวัติมนตรี
ประวัติมนตรีประวัติมนตรี
ประวัติมนตรี
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
เอกสารประกอบการพิจารณาคัดเลือกเข้ารับรางวัล Obec award ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555SAR ปีการศึกษา 2555
SAR ปีการศึกษา 2555
 
E0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obec
E0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obecE0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obec
E0b8a3e0b8b2e0b8a2e0b887e0b8b2e0b899 obec
 
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
บันทึกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2554
 
สรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษาสรุปย่อวิชาการศึกษา
สรุปย่อวิชาการศึกษา
 
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยาSure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
Sure format4.คุณสมบัติเบื้องต้น(1 10)กฤตยา
 
สมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดีสมุดบันทึกความดี
สมุดบันทึกความดี
 
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์  พิริยะวัฒน์
แฟ้มสะสมผลงานดีเด่นระดับปริญญาเอก นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Similar to การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ

ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra speerapit
 
กิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศกิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศ
Joob Jang
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Kasem S. Mcu
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมkrupornpana55
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
Pattarapong Worasakmahasan
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือPatcharaporn Aun
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
Tar Bt
 
Webpatomnitat55
Webpatomnitat55Webpatomnitat55
Webpatomnitat55wut_wss
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
krutukSlide
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5Suwakhon Phus
 
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากรงานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
ยินดีต้อนรับ สู่บ้านของครูแมค
 

Similar to การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ (20)

ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
Supattra s
Supattra sSupattra s
Supattra s
 
Teachercom c
Teachercom cTeachercom c
Teachercom c
 
Radchaneeporn
RadchaneepornRadchaneeporn
Radchaneeporn
 
กิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศกิจกรรมปฐมนิเทศ
กิจกรรมปฐมนิเทศ
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753Guidebook hongkong 130753
Guidebook hongkong 130753
 
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสมส่วนหน้าแผนสื่อประสม
ส่วนหน้าแผนสื่อประสม
 
006
006006
006
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 
V 260
V 260V 260
V 260
 
KKU Faculty Development
KKU Faculty DevelopmentKKU Faculty Development
KKU Faculty Development
 
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
ตัวอย่าง Is การทำคู่มือ
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
Webpatomnitat55
Webpatomnitat55Webpatomnitat55
Webpatomnitat55
 
8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์8 กระบวนพัฒน์
8 กระบวนพัฒน์
 
จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5จุดเน้นที่ 5
จุดเน้นที่ 5
 
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากรงานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
งานวิจัยขั้นสูงของมหาวิทยาลัยศิลปากร
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ

  • 1. การพฒนาทกษะพนฐานทจาเป็นต่อการประกอบอาชีพ ั ั ื้ ี่ ํ โดยใช้กจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ิ THE DEVELOPMENT OF CAREER’S NECESSARY BASIC SKILLS USING THE ACTIVITY OF CAREER AND TECHNOLOGY CAMP นางรัตนศรี พรหมใจรักษ์ รายงานการศึกษาอิสระปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่ น พ.ศ. 2555
  • 2. การพฒนาทกษะพนฐานทจาเป็นต่อการประกอบอาชีพ ั ั ื้ ี่ ํ โดยใช้กจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ิ นางรัตนศรี พรหมใจรักษ์ รายงานการศึกษาอิสระนี้เป็ นส่ วนหนึ่งของการศึกษาหลักสู ตรปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสู ตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2555
  • 3. THE DEVELOPMENT OF CAREER’S NECESSARY BASIC SKILLS USING THE ACTIVITY OF CAREER AND TECHNOLOGY CAMP MRS. RATTANASRI PROMJAIRUX AN INDEPENDENT STUDY SUBMITTED IN PARTIAL FULFILLMENT OF THE REQUIREMENTS FOR THE DEGREE OF MASTER OF EDUCATION IN CURRICULUM AND INSTRUCTION FACULTY OF EDUCATION KHON KAEN UNIVERSITY 2012
  • 4. ใบรับรองรายงานการศึกษาอสระ ิ มหาวทยาลยขอนแก่น ิ ั ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑติ สาขาวชาหลกสูตรและการสอน ิ ั ชื่อการศึกษาอิสระ : การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพโดยใช้กิจกรรม ํ ค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ชื่อผู้ทําการศึกษาอิสระ : นางรัตนศรี พรหมใจรักษ์ อาจารย์ ทปรึกษาการศึกษาอิสระ : ี่ ...........................................................................อาจารย์ที่ปรึ กษา (ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนชาติ เจริ ญครบุรี) ้ ......................................................................... ......................................................................... (ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. สุมนชาติ เจริ ญครบุรี) ้ (ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร. ไมตรี อินทร์ประสิทธิ์) ้ ประธานคณะกรรมการบริ หารหลักสูตร คณบดีคณะศึกษาศาสตร์ สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น ลิขสิทธิ์ของคณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • 5. รัตนศรี พรหมใจรักษ์. 2555. การพัฒนาทักษะพืนฐานที่จําเป็ นต่ อการประกอบอาชีพโดยใช้ กิจกรรม ้ ค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี. รายงานการศึกษาอิสระปริ ญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. อาจารย์ ทปรึกษาการศึกษาอิสระ: ผูช่วยศาสตราจารย์ ดร.สุมนชาติ เจริ ญครบุรี ี่ ้ บทคดย่อ ั การวิจย ครั้ งนี้ มี วต ถุ ประสงค์เ พื่อ พัฒนาทักษะพื้นฐานที่จา เป็ นต่อ การประกอบอาชี พ ั ั ํ โดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี กลุ่ มเป้ าหมายประกอบด้วยนักเรี ยนระดับชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 4 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 จํานวน 30 คน เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ กิ จกรรมค่ายการงานอาชี พและเทคโนโลยี แบบประเมิ นทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อ การ ํ ประกอบอาชีพ แบบบันทึกหลังการจัดกิจกรรม และแบบสํารวจความพึงพอใจ วิเคราะห์ขอมูลโดย ้ การแจกแจงความถี่ และคํานวณค่าร้อ ยละ ผลการศึกษา พบว่า กิ จกรรมค่ายการงานอาชี พและ เทคโนโลยีทาให้นกเรี ยนพัฒนาทักษะการทํางานกลุ่ม ทักษะการจัดการ ทักษะการแสวงหาความรู ้ ํ ั ทักษะกระบวนการทํางาน และทักษะกระบวนการแก้ปัญหา
  • 6. Rattanasri Promjairux. 2012. The Development of Career’s Necessary Basic Skills Using the Activity of Career and Technology Camp. An Independent Study Report for the Master of Education in Curriculum and Instruction, Faculty of Education, Khon Kaen University. Independent Study Advisor: Asst. Prof. Dr. Sumonchat Jaroenkornburi ABSTRACT This research aims to develop the career’s necessary basic skills necessary using the activities of Career and Technology Camp. The target group was 30 Matayomsuksa 3 and 4 students of Khon Kaen Wittayayon 3 School. An independent study instruments comprised of: 1) career and technology camp activities; career’s necessary basic skills assessment sheets; activities note; and satisfaction questionair. Collected data were analyzed by calculating frequencies and percentages. The results of the study show that the activities of Career and Technology Camp promoted the students’ group work skills, management skills, knowledge searching skills, work process skills, and problem solving skills.
  • 8. กตติกรรมประกาศ ิ การศึก ษาอิ ส ระฉบับ นี้ สําเร็ จ ลุ ล่ ว งได้ด้วยความกรุ ณ าอย่า งยิ่ง จาก ผูช่ วยศาสตราจารย์ ้ ดร.สุมนชาติ เจริ ญครบุรี อาจารย์ที่ปรึ กษา ที่ให้คาแนะนําด้วยความเอาใจใส่ เป็ นอย่างดี ตลอดจน ํ ํ ให้ก าลังใจแก่ผูศึกษามาโดยตลอด รองศาสตราจารย์จุม พล ราชวิจิตร กรรมการสอบที่กรุ ณาให้ ้ คําแนะนําและเสนอข้อคิดเห็นที่เป็ นประโยชน์ต่อการศึกษา ผูศึกษารู ้สึกซาบซึ้ งในความกรุ ณา และ ้ ขอกราบขอบพระคุณเป็ นอย่างสูงไว้ ณ ที่น้ ี กราบขอบพระคุ ณ ดร.สมหวัง บุ ญ สิ ท ธิ์ ศึ ก ษานิ เ ทศก์เ ชี่ ย วชาญ สํา นั ก งานเขตพื้น ที่ การศึกษาประถมศึกษาขอนแก่น เขต 1 นางลออ ผาน้อ ย ครู ชานาญการพิเศษโรงเรี ยนสนามบิน ํ นายเขม เคนโคก อาจารย์ประจําสาขาวิชาศิลปศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ให้ เกี ยรติเป็ นผูเ้ ชี่ยวชาญให้คาปรึ กษาแก้ไ ขปรับปรุ งเครื่ อ งมื อ การศึกษาให้มีคุณภาพ ขอบพระคุ ณ ํ นายบัณ ฑู ร ชุ ม แวงวาปี ผู ้อ ํา นวยการโรงเรี ย นขอนแก่ น วิ ท ยายน 3 นางกัล ยาณี มั่ ง พร้ อ ม นายจิรวัฒน์ วงษ์คง นายพงษ์วิชิต นันทะผา นายศุภชัย บุญสะอาด นางสาวสุ ก ัญญา คําไสขาว ตลอดจนบุคลากรทุกท่านและนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 - 5 ปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนขอนแก่น วิทยายน 3 ที่ให้ความร่ วมมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และขอบคุณเพื่อน กอท. รุ่ น 1 นายอํานาจ พรหมใจรักษ์ นางสาวชญาตา พรหมใจรัก ษ์ และนายกฤษฎ์ พรหมใจรักษ์ ที่ให้การสนับสนุ น ํ ส่งเสริ มและให้กาลังใจด้วยดีตลอดมา ความสําเร็ จและคุณงามความดี ที่เป็ นประโยชน์อนเกิดจากผลการศึกษาในครั้งนี้ ผูศึกษา ั ้ ขอมอบแด่นายเทียบ และนางบุญส่ง โสภณ บิดามารดาที่ให้โอกาสทางการศึกษาและเป็ นกําลังใจที่ ดีเสมอมา รวมทั้งคณาจารย์ทุกท่านที่ได้กรุ ณาประสิทธิ์ประสาทวิชาความรู ้อนมีคุณค่ายิง ั ่ รัตนศรี พรหมใจรักษ์
  • 9. สารบัญ หน้ า บทคัดย่อภาษาไทย ก บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ข คําอุทิศ ค กิตติกรรมประกาศ ง สารบัญตาราง ช สารบัญภาพ ซ บทที่ 1 บทนํา 1 1. ความเป็ นมาและความสําคัญของปั ญหา 1 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา 3 3. ขอบเขตและข้อจํากดของการศึกษา ั 3 4. นิยามศัพท์เฉพาะ 3 5. สถานทีทาการศึกษา ่ ํ 4 6. ประโยชน์ ทคาดว่าจะได้ รับ ี่ 4 บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 5 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ 7 2. ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ ํ 8 3. กิจกรรมค่าย 9 4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 12 5. กรอบแนวคิดการศึกษา 13 บทที่ 3 วิธีดาเนินการศึกษา ํ 14 1. กลุ่มเป้ าหมาย 14 2. รู ปแบบการศึกษา 14 3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 16 4. การพัฒนาเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 36 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 36 6. การวิเคราะห์ขอมูล ้ 37
  • 10. สารบัญ (ต่อ) หน้ า บทที่ 4 ผลการวิจยและอภิปราย0ผล ั 47 1. การดําเนินการก่อนการทดลอง 47 2. ผลการปฏิบติการวิจยในวงจรที่ 1 ั ั 48 3. ผลการปฏิบติการวิจยในวงจรที่ 2 ั ั 51 4. ผลการปฏิบติการวิจยในวงจรที่ 3 ั ั 54 5. ผลการวิเคราะห์คะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยนของนักเรี ยน 57 6. การอภิปรายผลการวิจย ั 60 บทที่ 5 สรุ ปการวิจยและข้อเสนอแนะ ั 63 1. สรุ ปผลการวิจย ั 64 2. ข้อเสนอแนะ 64 บรรณานุกรม 66 ภาคผนวก 71 ภาคผนวก ก - หนังสือราชการ 72 - รายนามผูเ้ ชี่ยวชาญและรายชื่อผูช่วยวิจย ้ ั ภาคผนวก ข - ตัวอย่างแผนการจัดการเรี ยนรู ้ที่ 1, 3 และ 5 79 - แบบบันทึกพฤติกรรมการสอนของครู - แบบสังเกตพฤติกรรมการเรี ยนของนักเรี ยน - แบบทดสอบท้ายวงจร - แบบทดสอบวัดความเข้าใจในการอ่านภาษาอังกฤษ ภาคผนวก ค - ตารางวิเคราะห์ขอมูลทางสถิติ ้ 121 - แบบบันทึกคะแนนวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรี ยน ประวัติผเู ้ ขียน 129
  • 11. สารบัญตาราง หน้ า ตารางที่ 1 โครงสร้างหลักสูตรกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี 17 ตารางที่ 2 การจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะที่ 1 แสวงหาความรู้สู่อาชีพ 22 ตารางที่ 3 การจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะที่ 2 ก่อร่างสร้างตน 31 ตารางที่ 4 การจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ระยะที่ 3 รู้จกตนเอง ั 32
  • 12. สารบัญภาพ หน้ า ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐานที่ 13 จาเป็นต่อการประกอบอาชีพ ํ ภาพที่ 2 การจัดกิจกรรมตามรู ปแบบวงจร PAOR 15
  • 13. บทที่ 1 บทนํา 1. ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา จากรายงานผลการประเมินระดับชาติข้นพื้นฐาน (O-NET) ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ั 6 ประจําปี การศึกษา 2552 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 รายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี พบว่า คะแนนเฉลี่ ย ระดับโรงเรี ยนตํ่า กว่าค่าคะแนนเฉลี่ ย ระดับต่า ง ๆ ดังนี้ โรงเรี ย นขอนแก่ น วิทยายน 3 ค่ าเฉลี่ ย 25.33 (S.D. 6.18) ระดับ ศูนย์ป ระสานงานการจัดการมัธยมศึ กษาจังหวัด ขอนแก่น (ศูนย์ที่24) ค่าเฉลี่ย 29.92 (S.D. 8.50) ระดับจังหวัดขอนแก่ค่าเฉลี่ย 32.16 (S.D. 9.30) ระดับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ค่าเฉลี่ย 32.25 (S.D. 9.29) ระดับประเทศ ค่าเฉลี่ย 33.98 (S.D. 9.42) (ศูนย์ประสานงานการจัดการมัธยมศึกษาจังหวัดขอนแก่น ศูนย์ที่ 24, 2553) นอกจากนั้นการติดตามนักเรี ยนที่จบการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ปี การศึกษา 2552 ของโรงเรี ยนขอนแก่ น วิทยายน 3 พบว่านัก เรี ยนจํานวนร้ อ ยละ 50 จากจํานวนนักเรี ยนที่จ บ การศึก ษา 18 คน ไม่ มี โอกาสศึก ษาต่ อ ในระดับ ที่สู งขึ้น เนื่ อ งจากนัก เรี ยนมี ความจําเป็ นต้อ ง ประกอบอาชีพเพือหารายได้เลี้ยงครอบครัวอันสื บเนื่ องมาจากปั ญหาทางเศรษฐกิจ นักเรี ยนกลุ่มนี้ ่ ประกอบอาชีพรับจ้างตามความถนัดของตนเอง เช่น ยาม พนักงานขาย บริ กร และรับจ้างทัวไป ่ เป็ นต้น ส่ วนนักเรี ยนที่ศึกษาต่อ ในระดับอุดมศึกษา (22 %) และระดับประกาศนี ยบัตรวิชาชี พ ชั้นสู ง (28 %) ในระหว่างปี การศึกษา 2547–2551 นั้น เมื่ อจบการศึกษาแล้วมักจะไปทํางานใน โรงงานอุตสาหกรรม แต่เมื่อเวลาผ่านไป 5 - 6 ปี ก็จะกลับคืนสู่ถิ่นฐานเพือมาประกอบอาชีพดั้งเดิม ่ ของครอบครัว ซึ่ งส่ วนใหญ่เป็ นอาชีพเกษตรกรรม (งานแนะแนวโรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3, 2551) ผูศึกษาปฏิบติการสอนรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 ้ ั เป็ นเวลา 15 ปี ได้วิเ คราะห์ สาเหตุ ที่ท าให้ รายวิช าการงานอาชี พและเทคโนโลยีมี ค ะแนนการ ํ ประเมินผลระดับชาติข้นพืนฐาน (O-NET) ค่อนข้างตํ่า พบว่า สาเหตุหลักเป็ นเพราะผูเ้ รี ยนไม่สนใจ ั ้ และไม่ เห็นประโยชน์ของการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยีเท่าที่ควร เนื่ อ งจากการศึกษาต่อ ในระดับอุ ดมศึกษานั้นใช้คะแนน O-NET กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้ศิล ปะ พลศึกษา และการงานอาชีพและเทคโนโลยีรวมกันเพียงร้อยละ 5 จากคะแนนทั้งหมด อีกสาเหตุ หนึ่งที่ทาให้นกเรี ยนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 ที่ไม่ได้เรี ยนไม่สามารถประกอบอาชีพอิสระได้น้ ัน ํ ั
  • 14. 2 ผูศึกษาวิเคราะห์วาในการเรี ยนรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยีที่ผ่านมา พบว่าในการทํางาน ้ ่ นักเรี ยนส่ ว นใหญ่มุ่ งเน้นที่ ผลงานโดยไม่ ส นใจกระบวนการทํา งาน ทํา ให้นัก เรี ย นขาดทักษะ พื้น ฐานที่ จ ํา เป็ นต่ อ การประกอบอาชี พ ซึ่ งประกอบด้ว ยทัก ษะกระบวนการทํา งาน ทัก ษะ กระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการทํางานร่ วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ้ และทักษะการจัดการ (สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา, 2551) ตัวชี้วด และ สาระการเรี ยนรู ้แกนกลางกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ั ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กล่าวไว้วา กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การ ่ งานอาชีพและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ความเข้าใจ มีทกษะพื้นฐาน ั ที่จาเป็ นต่อ การดํารงชีวิตและรู ้เท่าทันการเปลี่ ยนแปลง สามารถนําความรู ้เกี่ยวกับการดํารงชี วิต ํ การอาชีพและเทคโนโลยี มาประยุกต์ใช้ในการทํางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ และ แข่งขันใน สังคมไทยและสากล เห็ นแนวทางในการประกอบอาชี พ รักการทํางานและมี เจตคติที่ดีต่อ การ ิ ่ ทํางานสามารถดํารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุ ข (สํานักวิชาการและมาตรฐาน การศึกษา, 2551) ซึ่ งการส่ งเสริ มการพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของนักเรี ยนให้มีทกษะการเรี ยนรู ้ ั บรรลุ ตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้นมีวิธีการที่ หลากหลาย จากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องพบว่าวิธีการหนึ่ งที่น่าจะส่ งเสริ มให้นักเรี ยนมีทกษะ ั พื้นฐานที่จาเป็ นในการประกอบอาชีพ คือ การจัดค่าย (Camp) สํานักงานคณะกรรมการการศึกษา ํ ขั้นพื้นฐาน (2552) กล่าวไว้ว่าค่ายเป็ นเครื่ อ งมือสําคัญหนึ่ งที่มีส่วนในการส่ งเสริ มและพัฒนาเด็ก ่ และเยาวชนให้มีความรู ้และทักษะพื้นฐานในการดํารงชีวิตให้อยูในสังคมไทยและสังคมโลก และ ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนมีพฒนาการด้านร่ างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคม และสติปัญญา กิจกรรมค่ายเน้น ั การฝึ กปฏิ บ ัติ จริ ง จึ ง ตอบสนองความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผูเ้ รี ย นได้ต าม จุดมุ่งหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 เป็ นโรงเรี ยนที่จดกิจกรรมค่ายอยูเ่ สมอ ผลการสํารวจความ ั คิดเห็ น ของผูร่ว มกิ จกรรมค่ ายที่จด ขึ้น ในโรงเรี ย นขอนแก่ นวิทยายน 3 เช่ น ค่ ายแห่ งมิ ตรภาพ ้ ั ค่ายเยาวชนไทยใจอาสา ค่ ายคณิ ตศาสตร์ และค่ายการพัฒนาการเรี ยนรู ้แบบพหุ ปัญญา พบว่า นักเรี ยนมีความพึงพอใจและต้องการให้มีกิจกรรมค่ายต่างๆ เช่นนี้อีก ด้วยเหตุน้ ีผศึกษาจึงสนใจการ ู้ พัฒนาทักษะพืนฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพของนักเรี ยนโดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพ ้ ํ และเทคโนโลยี
  • 15. 3 2. วัตถุประสงค์ของการศึกษา เพือพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ โดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพ ่ ํ และเทคโนโลยี 3. ขอบเขตและข้ อจํากัดของการศึกษา ขอบเขตและข้อจํากัดของการศึกษามีดงนี้ ั 3.1 การประกอบอาชี พ หมายถึ ง การประกอบอาชี พ อิ ส ระประเภทการผลิ ต สํา หรั บ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 4 โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 3.2 กลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 และ 4 โรงเรี ยน ขอนแก่นวิทยายน 3 ปี การศึกษา 2554 ที่สมัครใจเข้าร่ วมกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี จํานวน 30 คน 3.3 ตัวแปรที่ศึกษา 3.3.1 ตัวแปรอิสระ คือ กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี 3.3.2 ตัวแปรตาม คือ ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ ํ 3.4 เนื้ อ หาที่ ใ ช้ใ นการศึ ก ษา เป็ นเนื้ อ หาในกลุ่ ม สาระการเรี ย นรู ้ ก ารงานอาชี พ และ เทคโนโลยี สาระที่ 4 การอาชี พ ระดับมัธยมศึก ษาปี ที่ 4-6 ตามหลัก สู ตรสถานศึ กษาโรงเรี ย น ขอนแก่นวิทยายน 3 3.5 ระยะเวลาที่ใช้ในการจัดกิ จกรรมค่ายการงานอาชี พและเทคโนโลยี ระหว่าง เดื อ น เมษายน - กันยายน 2554 3.6 การศึกษาครั้งนี้ เป็ นการศึกษาเฉพาะกรณี ข้อสรุ ปที่ไ ด้จากการศึกษาจะนําไปใช้ก ับ ั โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น หรื อประยุกต์ใช้กบโรงเรี ยนที่มีบริ บท คล้ายคลึงกันเท่านั้น 4. นิยามศัพท์เฉพาะ 4.1 ค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี หมายถึง การจัดให้เข้าร่ วมกิจกรรมทั้งวิชาการและ นันทนาการในเรื่ องการอาชีพ 4.2 กิ จ กรรมค่ า ยการงานอาชี พ และเทคโนโลยี หมายถึ ง กิ จ กรรมทางวิ ช าการและ นันทนาการที่แบ่งเป็ น 3 ระยะ คือ 1) แสวงหาความรู ้สู่การสร้างการงานอาชีพ 2) ก่อร่ างสร้างตน และ 3) รู ้จกตนเอง ั
  • 16. 4 4.3 ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อ การประกอบอาชี พ หมายถึ ง ทักษะกระบวนการทํางาน ํ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการแสวงหาความรู ้ ทักษะการจัดการ และทักษะการทํางาน ร่ วมกัน 4.4 ทักษะกระบวนการทํางาน หมายถึง การลงมือทํางานด้วยตนเอง ทั้งการทํางานเป็ น รายบุคคลและการทํางานเป็ นกลุ่ ม ตามขั้นตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์งาน 2) วางแผนในการทํางาน 3) ปฏิบติงานตามลําดับขั้นตอน และ 4) การประเมินผลการทํางาน ั 4.5 ทัก ษะกระบวนการแก้ปั ญ หา หมายถึ ง กระบวนการที่ ต ้อ งการให้ ผูเ้ รี ย นได้เ กิ ด ความคิดหาวิธีแก้ปัญหาอย่างมีข้ นตอนด้วยการ 1) สังเกต 2) วิเคราะห์ 3) สร้างทางเลือก และ 4) ั ประเมินทางเลือก 4.6 ทักษะการแสวงหาความรู ้ หมายถึง การที่นักเรี ยนหาข้อมูลความรู ้ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่ อง หรื อเนื้อหานั้นๆ โดยใช้ข้นตอนดังนี้ 1) ศึกษาค้นคว้า 2) รวบรวม 3) สังเกต 4) สํารวจ และ 5) บันทึก ั 4.7 ทักษะการจัดการ หมายถึ ง การที่นักเรี ยนทํางานตามขั้นตอน ดังนี้ 1) จัดระบบงาน ทํางานเป็ นรายบุคคล 2) จัดระบบคนทํางานเป็ นกลุ่ม และ 3) คุณภาพของงาน 4.8 ทักษะการทํางานร่ วมกัน หมายถึง นักเรี ยนทํางานเป็ นกลุ่ม 1) ทํางานร่ วมกับผูอื่นได้ ้ 2) ทํางานโดยมีกระบวนการการทํางาน 3) รู ้จกบทบาทหน้าที่ของตนเอง 4) มีทกษะในการฟั ง-พูด ั ั 5) มีคุณธรรมในการทํางาน 6) สรุ ปผล และ 7) นําเสนอรายงาน 5. สถานทีทําการศึกษา ่ โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น 6. ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ 6.1 นักเรี ย นมี ประสบการณ์ ในอาชี พทําให้เ มื่ อ จบการศึก ษาออกไปแล้วน่ าจะมี ความ มันใจและกล้าที่จะประกอบอาชีพอิสระ ่ 6.2 ผูสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมี รูปแบบใหม่สาหรับวิธีการ ้ ํ จัดการเรี ยนการสอนที่สอดคล้องกับสาระมาตรฐานการเรี ยนรู ้ สาระที่ 4 การอาชีพ
  • 17. บทที่ 2 วรรณกรรมและงานวจัยทเี่ กยวข้อง ิ ี่ วรรณกรรมและงานวิจยที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบ ั ํ อาชีพโดยใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี มีดงนี้ ั 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 2. ทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพ ํ 3. กิจกรรมค่าย 4. งานวิจยที่เกี่ยวข้อง ั 5. กรอบแนวคิดการศึกษา 1. หลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืนฐาน พุทธศักราช 2551 ้ กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ได้จดทําหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช ั 2551 ที่มีความชัดเจนทั้งเป้ าหมายของหลักสู ตร วิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสําคัญของผูเ้ รี ยน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้ วด และกําหนดโครงสร้างเวลาเรี ยน ั พืนฐาน เพือให้ผใช้หลักสูตรใช้เป็ นกรอบและทิศทางในการจัดการเรี ยนการสอนแต่ละระดับชั้น ้ ่ ู้ ในส่ ว นที่ เ กี่ ย วข้อ งกับ กลุ่ ม สาระการเรี ยนรู ้ ก ารงานอาชี พ และเทคโนโลยี พอสรุ ป ได้ดัง นี้ 1.1 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนทุกคนให้ เป็ นมนุ ษย์ที่สมดุ ลทั้งด้านร่ างกาย ความรู ้ คุ ณธรรม มี จิตสํานึ กในความเป็ นพลเมื องไทยและเป็ น พลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิ ปไตยอันมี พระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุ ข มี์ ความรู ้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้งเจตคติที่จาเป็ นต่อการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการศึกษา ํ ตลอดชีวต โดยมุ่งเน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสําคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่าทุกคนสามารถเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเอง ิ ได้เต็มตามศักยภาพ 1.2 จุดหมาย 1.2.1 มีคุณธรรม จริ ยธรรม และค่านิ ยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจ ั พอเพียง
  • 18. 6 1.2.2 มีความรู ้อนเป็ นสากลและมีความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา ั การใช้เทคโนโลยี และมีทกษะชีวต ั ิ 1.2.3 มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสย และรักการออกกําลังกาย ั 1.2.4 มีความรักชาติ มีจิตสํานึกในความเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก ยึดมันใน ่ วิถีชีวตและการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข ิ ์ 1.2.5 มีจิตสํานึกในการอนุรักษ์วฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา ั สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทําประโยชน์ สร้างสิ่งดีงามในสังคม และอยูร่วมกันในสังคมอย่าง ่ มีความสุข 1.3 สมรรถนะสํ าคัญของผู้เรียน 1.3.1 ความสามารถในการสื่อสาร 1.3.2 ความสามารถในการคิด 1.3.3 ความสามารถในการแก้ปัญหา 1.3.4 ความสามารถในการใช้ทกษะชีวต ั ิ 1.3.5 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 1.4 คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1.4.1 รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 1.4.2 ซื่อสัตย์สุจริ ต 1.4.3 มีวนย ิ ั 1.4.4 ใฝ่ เรี ยนรู ้ ่ 1.4.5 อยูอย่างพอเพียง 1.4.6 มุ่งมันในการทํางาน ่ 1.4.7 รักความเป็ นไทย 1.4.8 มีจิตสาธารณะ ในระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย หลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ นพื้ น ฐาน พุทธศักราช 2551 ได้จดเวลาเรี ยนเป็ นรายภาค มีเวลาเรี ยนวันละไม่น้อยกว่า 6 ชัวโมง สําหรับกลุ่ม ั ่ สาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ใช้เวลาเรี ยนตลอดหลักสู ตร 120 ชัวโมง 3 หน่ วยการ ่ เรี ยน โดยจัดเวลาเรี ยนปี ละ 40 ชัวโมง่
  • 19. 7 1.5 มาตรฐานการเรี ยนรู้ และตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ํ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ได้กาหนดมาตรฐานการเรี ยนรู ้ และตัวชี้วดกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สรุ ปได้ ั ดังนี้ กลุ่ มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชี พและเทคโนโลยีเป็ นกลุ่ ม สาระที่ช่วยพัฒนาให้ผูเ้ รี ยน มี ความรู ้ ความเข้าใจ มี ทกษะพื้นฐานที่จา เป็ นต่ อ การดํารงชี วิตและรู ้เท่า ทันการเปลี่ ย นแปลง ั ํ สามารถนําความรู ้เกี่ยวกับการดํารงชีวต การอาชีพและเทคโนโลยีมาประยุกต์ใช้ในการทํางานอย่าง ิ มีความคิดสร้างสรรค์และแข่งขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการ ิ ่ ทํางาน และมีเจตคติที่ดีต่อการทํางานสามารถดํารงชีวตอยูในสังคมได้อย่างพอเพียงและมีความสุข กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้การงานอาชีพและเทคโนโลยีมีสาระสําคัญดังนี้ - การดํา รงชี วิต และครอบครั ว ซึ่ งเป็ นสาระเกี่ ย วกับ การทํา งานในชี วิต ประจํา วัน การ ช่ ว ยเหลื อ ตนเอง ครอบครัว และสังคมได้ใ นสภาพเศรษฐกิ จ ที่ พอเพียง ไม่ ท าลายสิ่ ง แวดล้อ ม ํ เน้นการปฏิบติจริ งจนเกิดความมันใจและภูมิใจในผลสําเร็ จของงาน เพื่อให้คนพบความสามารถ ั ่ ้ ความถนัด และความสนใจของตนเอง - การออกแบบเทคโนโลยี เป็ นสาระที่เกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุ ษย์โดยใช้ กระบวนการเทคโนโลยีสร้างสิ่ งของเครื่ องใช้ หาวิธีการเพิ่มประสิ ทธิภาพในการดํารงชีวิตอย่าง สร้างสรรค์ - เทคโนโลยีส ารสนเทศและการสื่ อ สาร เป็ นสาระเกี่ ย วกับ กระบวนการเทคโนโลยี สารสนเทศ การติดต่อสื่อสาร การค้นหาข้อมูล การใช้ขอมูลและสารสนเทศ การแก้ปัญหาหรื อการ ้ สร้างงาน คุณค่าและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - การอาชี พ เป็ นสาระเกี่ ย วกับ ทัก ษะที่จ าเป็ นต่อ อาชี พ เห็ น ความสํา คัญ ของคุ ณธรรม ํ จริ ยธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ใช้เทคโนโลยีได้อย่างเหมาะสม เห็นคุณค่าของอาชีพสุ จริ ต และ เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ 1.5.1 คุณภาพของผูเ้ รี ยนที่จบชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 1) เข้าใจวิธีการทํางานเพื่อ ดํารงชี วิต สร้ างผลงานอย่างมี ความคิด สร้างสรรค์ มี ทักษะการทํางานร่ วมกัน ทักษะการจัดการ ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา และทักษะกระบวนการ แสวงหาความรู ้ ทํางานอย่างมีคุณธรรม และมีจิตสํานึกในการใช้พลังงานและทรัพยากรอย่างคุมค่า ้ และยังยืน ่
  • 20. 8 2) เข้า ใจความสั ม พัน ธ์ ร ะหว่ า งเทคโนโลยีก ั บ ศาสตร์ อื่ น ๆ วิ เ คราะห์ ร ะบบ เทคโนโลยี มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาหรื อสนองความต้องการ สร้างและพัฒนาสิ่ งของ เครื่ องใช้หรื อวิธีการตามกระบวนการตามเทคโนโลยีอย่างปลอดภัย โดยใช้ซอฟต์แวร์ช่วยในการ ออกแบบหรื อนําเสนอผลงาน วิเคราะห์ทางเลือก ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับการใช้ชีวิตประจําวัน อย่างสร้างสรรค์ต่อชีวต สังคม สิ่งแวดล้อม และ มีการจัดการเทคโนโลยีดวยวิธีการของเทคโนโลยี ิ ้ สะอาด 3) เข้า ใจองค์ ป ระกอบสารสนเทศ องค์ ป ระกอบและหลั ก การทํา งานของ คอมพิวเตอร์ระบบสื่ อสารข้อมูลสําหรับเครื อข่ายคอมพิวเตอร์ คุณลักษณะของคอมพิวเตอร์ และ ่ อุปกรณ์ตอพ่วง และมีทกษะในการใช้คอมพิวเตอร์แก้ปัญหา เขียนโปรแกรมภาษา พัฒนาโครงงาน ั คอมพิวเตอร์ ใช้ฮาร์ ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ติดต่อ สื่ อ สารและค้นหาข้อ มู ล ผ่านอิ นเทอร์ เน็ ต ใช้ คอมพิวเตอร์ในการประมวลข้อ มูล ให้เป็ นสารสนเทศในการตัดสิ นใจ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ นําเสนองาน และใช้คอมพิวเตอร์สร้างชิ้นงาน 4) เข้าใจแนวทางเข้าสู่ อาชีพ การเลือก และใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ มีประสบการณ์ในอาชีพที่ถนัดและสนใจ และมีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ 1.5.2 มาตรฐานการเรี ยนรู ้และตัวชี้วด ั สาระที่ 4 การอาชีพ มาตรฐาน ง. 4.1 เข้าใจ มีทกษะที่จาเป็ น มีประสบการณ์ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ั ํ ใช้เทคโนโลยีเพือพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรมและเจตคติที่ดีต่ออาชีพ ่ ตัวชี้วด ง 4.1 ม 4-6/1 อภิปรายแนวทางเข้าสู่อาชีพที่สนใจ ั ง 4.1 ม 4-6/2 เลือกและใช้เทคโนโลยีอย่างเหมาะสมกับอาชีพ ง 4.1 ม 4-6/3 มีประสบการณ์ในอาชีพที่ตนเองถนัดและสนใจ ง 4.1 ม 4-6/4 มีคุณลักษณะที่ดีต่ออาชีพ 2. ทักษะพืนฐานที่จําเป็ นต่ อการประกอบอาชีพ ้ กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ได้ให้ความหมายของทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบ ํ อาชีพว่า หมายถึง ความสามารถที่ผประกอบอาชีพต้องมีซ่ ึงประกอบด้วย ู้ 2.1 ทักษะกระบวนการทํางาน เป็ นการลงมือทํางานด้วยตนเองโดยมุ่งเน้นการฝึ กวิธีการ ทํางานอย่างสมํ่าเสมอ ทั้งการทํางานเป็ นรายบุคคลและการทํางานเป็ นกลุ่ม เพื่อให้สามารถทํางาน ได้บรรลุเป้ าหมาย ได้แก่ การวิเคราะห์งาน การวางแผนในการทํางาน การปฏิบติงานตามลําดับ ั ขั้นตอน และการประเมินผลการทํางาน
  • 21. 9 2.2 ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา เป็ นกระบวนการที่ตองการให้ผเู ้ รี ยนคิดหาวิธีแก้ปัญหา ้ ตามขั้นตอน การสังเกต การวิเคราะห์ การสร้างทางเลือก และการประเมินทางเลือก 2.3 ทักษะการทํางานร่ วมกัน เป็ นความสามารถในการทํางานร่ วมกับผูอื่นได้อย่างมีความสุ ข ้ มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนทํางานอย่างมีกระบวนการตามขั้นตอนการทํางาน และฝึ กหลักการทํางานกลุ่ม โดย รู ้จกบทบาทหน้าที่ภายในกลุ่ม มีทกษะในการฟัง-พูด มีคุณธรรมในการทํางานร่ วมกันสรุ ปผล และ ั ั นําเสนอรายงาน 2.4 ทักษะการแสวงหาความรู ้ เป็ นวิธีการและกิจกรรมที่มุ่งเน้นให้ผเู ้ รี ยนได้แสวงหาข้อมูล ความรู ้ต่างๆ เกี่ยวกับเรื่ องที่สนใจ ได้แก่ การศึกษาค้นคว้า การรวบรวม การสังเกต การสํารวจ และ การบันทึก 2.5 ทัก ษะการจัด การ เป็ นความพยายามของบุ ค คลที่ จ ะจัด ระบบงาน (ทํา งานเป็ น รายบุ ค คล) และจัด ระบบคน (ทํา งานเป็ นกลุ่ ม ) เพื่ อ ให้ ท ํา งานสํ า เร็ จ ตามเป้ าหมายอย่า งมี ประสิทธิภาพ จากข้อมูลหลักสูตรกลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยี ผูศึกษาจึงเลือกเนื้ อหาเกี่ยวกับ ้ งานอาชีพอิสระมาใช้ในการจัดกิจกรรมค่าย และทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพที่ใช้ ํ ในการศึกษาครั้งนี้ประกอบด้วย ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการแก้ปัญหา ทักษะการ ทํางานร่ วมกัน ทักษะการแสวงหาความรู ้ และทักษะการจัดการ 3. กิจกรรมค่าย 3.1 ความสํ าคัญและประโยชน์ จากการเข้ าร่ วมกิจกรรมค่าย กระทรวงศึกษาธิการ (2552) ได้กล่าวถึงแนวทางการจัดค่ายว่ากิจกรรมการเข้าค่ายเป็ น การจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่ส่งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนเรี ยนรู ้อ ย่างต่อ เนื่ อ งนอกห้อ งเรี ยน กิ จกรรมค่ายมี ลักษณะเฉพาะ คือ มีการกําหนดเป้ าหมายชัดเจน มีผนาหรื อพี่เลี้ยงค่าย มีการจัดสภาพแวดล้อมให้ ู้ ํ เหมาะสมและปลอดภัยต่อสมาชิกค่าย มีกิจกรรมเป็ นหัวใจในการพัฒนาตามวัตถุประสงค์ของค่าย มี กระบวนการการบริ หารค่ ายที่ ทนสมัย และใช้ระบบกลุ่ ม ในการทํา กิ จ กรรม การเข้า ค่ายเป็ น ั ช่วงเวลาที่เด็กจะได้รับประสบการณ์จากการใช้ชีวิตร่ วมกับเพื่อนๆจากการดํารงชีวิตเป็ นหมู่คณะ การค้างแรมร่ วมกัน และการปฏิบติกิจกรรมต่างๆ กิจกรรมค่ายทําให้เด็กรู ้จกช่วยเหลือตนเองและ ั ั ่ ผูอื่น การเข้าค่ายจึงเป็ นการเรี ยนรู ้ผานประสบการณ์ซ่ ึงหาไม่ได้จากตําราเรี ยนและห้องเรี ยนด้วยการ ้ สร้างประสบการณ์ใหม่และประสบการณ์เชิงบวกในการเรี ยนรู ้ ทําให้เด็กเกิดความประทับใจและ แรงบันดาลใจ เช่น การได้คนพบความสามารถของตัวเอง มีโอกาสได้แสดงออก และเสริ มความ ้ ใฝ่ ฝั น ใน “สิ่ ง ที่ ดี ก ว่า ” ที่ เ ป็ นจริ ง ได้ ส่ ง ผลให้เด็ ก “เปลี่ ย นแปลง” ความเชื่ อ ความคิ ด และ
  • 22. 10 พฤติกรรม เกิดความนับถือตนเอง ภาคภูมิใจในตนเอง และตระหนักถึงคุณค่าของตัวเอง ซึ่ งเป็ น การเปลี่ ย นแปลงจาก “ภายใน” ระดับ บุ ค คล ซึ่ งประโยชน์ ที่ เ ด็ ก จะได้รั บ จากการเข้า ค่ า ยมี ดังต่อไปนี้ 1) ภาวะผูนาและการเรี ยนรู ้เป็ นทีม ้ ํ 2) ทักษะการคิด คิ ดได้ คิด เป็ น คิดถู ก ภายใต้วิถีท างที่ถู กต้อ ง คิด ทํา งาน และมี ผลงาน ฝึ กการคิดหลายๆ แบบ 3) การทํางานเป็ นทีม การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของทีม ศักยภาพ การอุดช่องโหว่ การรู ้บทบาทหน้าที่ของตน การทํางานร่ วมกับผูอื่นอย่างมีความสุข ้ 4) ทักษะชีวต ทดลองใช้ชีวตตามรู ปแบบจําลอง เรี ยนรู ้การอยูร่วมกับผูอื่นในสังคม ิ ิ ่ ้ มีการพัฒนาการพูด มารยาท การวางตัว ความอดทน การแก้ไขปั ญหา ด้านคุณธรรม รู ้จกคิด ผิดถูก ั ควรไม่ควร มีความรับผิดชอบ มีการควบคุมอารมณ์ และตัดสินใจอย่างมีวจารณญาณ ิ 5) เครื อ ข่ายเพื่อ น ได้เพื่อ นใหม่ เพื่อ นสนิ ท ครู ดี ผูใหญ่ใจดี รุ่ นพี่ที่ดี ที่เป็ นแบบ ้ อย่างที่ดีในการใช้ชีวต ิ 6) ความเข้าใจตนเอง มีทิศทางการทํางานที่ชดเจน ตัดสิ นใจในปั จจุบนและอนาคต ั ั บนฐานข้อมูลที่ถูกต้อง การรู ้จกตนเอง พัฒนาตนเอง เกิดแรงบันดาลใจใฝ่ เรี ยนรู ้ การเปลี่ยนแปลง ั ด้านอารมณ์ และเปลี่ยนพฤติกรรมการใช้ชีวต ิ 7) มีจิตสาธารณะ การเปลี่ยนแปลงในระดับจิตสํานึก ความคิด ความเชื่อ ทัศนคติ 8) รับผิดชอบสังคม เกิดโครงการที่ทาได้จริ ง ต้อ งการทํางานให้เป็ นประโยชน์ก ับ ํ ผูอื่น และลงมือทํางานให้ผูอื่นด้วยวิถีทางของตนเอง การเป็ นผูให้ที่ดี รับผิดชอบ ไม่ สร้างภาระ ้ ้ ้ 9) ความรู ้ ทักษะ ความรู ้ใหม่ ทักษะใหม่ ตามสาระที่จดให้และถูกจัดอย่างน่ าสนใจ ั ต่อยอดความรู ้ความสามารถบูรณาการกับการปฏิบติจริ ง ั 3.2 ประเภทของค่าย วิพงษ์ชย ร้องขันแก้ว (2549) แบ่งค่ายพักแรมออกเป็ น 2 ประเภท คือ ค่ายพักแรมแบ่ง ั ตามผูจด และ ค่ายพักแรมแบ่งตามลักษณะวิธีการและวัตถุประสงค์ในการจัด ้ั 3.2.1 ค่ายพักแรมแบ่งตามผูจด มี 3 ประเภท ดังนี้ ้ั 1) ค่ายพักแรมที่จดขึ้นโดยองค์กรหรื อสมาคมต่างๆ ั 2) ค่ายพักแรมเอกชนเป็ นค่ ายพักแรมที่จดขึ้ นเพื่อ การค้าและมุ่ งแสวงหาผล ั กําไร ค่ายพักแรมประเภทนี้จดโดยกลุ่มบุคคลหรื อบริ ษทที่รับดําเนินการจัดค่ายพักแรม ั ั 3) ค่ า ยพัก แรมสาธารณะ ค่ า ยพัก แรมที่ จ ัด ขึ้ น โดยหน่ ว ยงานภาครั ฐ ไม่ มุ่ ง แสวงหาผลกําไร แต่มุ่งที่ประโยชน์และการพัฒนาผูที่เข้าร่ วมเป็ นหลัก ้
  • 23. 11 3.2.2 ค่ายพักแรมแบ่งตามลักษณะวิธีการและวัตถุประสงค์ในการจัด แบ่งได้ดงนี้ ั 1) ค่ายพักแรมกลางวัน 2) ค่ายพักแรมวิชาการ 3) ค่ายสัมมนาและอบรม 4) ค่ายอบรมคุณธรรมและจริ ยธรรม 5) ค่ายพักแรมเพือการอนุรักษ์ธรรมชาติ ่ 6) ค่ายพักแรมลูกเสือ เนตรนารี และนักศึกษาวิชาทหาร 7) ค่ายพักแรมอาสาสมัคร 8) ค่ายพักแรมส่งเสริ มสุขภาพ 9) ค่ายพักแรมคนพิการ 10) ค่ายพักแรมครอบครัว 11) ค่ายพักแรมธรรมชาติ 12) ค่ายพักแรมถาวร 3.3 แนวทางการจัดค่าย กระทรวงศึ ก ษาธิ การ (2552) ได้เ สนอแนะแนวทางและให้ข ้อ คํา นึ งถึ ง ในการจัด กิจกรรมค่ายดังนี้ 3.3.1 การพัฒนาหลักสู ตรค่าย ในการจัดค่ายมี กิจกรรมที่ตอ งดําเนิ นการหลายเรื่ อ ง ้ ผูจดค่ายควรเลือกแนวคิดสําคัญที่จะใช้เป็ นแกนการจัดทําหลักสู ตรค่าย เพื่อกําหนดแนวคิดหลัก ้ั (Theme) และทิศทางของค่าย แนวคิดนี้ จะนําไปสู่ การกําหนดเป้ าหมายและผลการเรี ยนรู ้ กรอบ เนื้ อ หาหลัก กระบวนการเรี ย นรู ้ รายละเอี ย ดกิ จกรรมที่ เ หมาะสมกับ เนื้ อ หา ระยะเวลาการจัด กิจกรรมค่าย และการสร้างบรรยากาศภายในค่าย 3.2.2 กิจกรรมต้อ งนําไปสู่ การบรรลุเป้ าหมายของการจัดค่าย ผูจดค่ายควรมีความรู ้ ้ั ความเข้าใจในกระบวนการเรี ยนรู ้ ประเภทของกิจกรรม กําหนดวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรม แต่ละกิจกรรมอย่างชัดเจน และจัดเตรี ยมสื่อและอุปกรณ์ในการทํากิจกรรมให้เพียงพอ 3.3.3 การเตรี ยมบุคลากรค่าย ซึ่ งประกอบด้วย ผูจดการค่าย พี่เลี้ยง วิทยากร สมาชิก ้ั ค่าย การเตรี ยมบุคลากรจําเป็ นอย่างยิงที่ตองมอบหมายงานให้ตรงกับความสามารถของคน ในกรณี ่ ้ ของค่ายที่จดให้นักเรี ยนในโรงเรี ยน ควรมี การบริ หารจัดการค่ายอย่างประชาธิ ปไตย และมี การ ั ประสานงานร่ วมกับผูปกครองด้วย ้ 3.3.4 การบริ หารจัดการค่าย การจัดค่ายที่ดีน้ ันต้องบริ หารจัดการในเรื่ อง งบประมาณ และการระดมทุน ด้านอาหาร การดูแลสุ ขภาพ ความปลอดภัย และความเสี่ ยงของสมาชิ กค่าย
  • 24. 12 สถานที่ ท ํา กิ จ กรรมและที่ พ ัก วัส ดุ อุ ป กรณ์ การจัด การเดิ น ทาง และการประชาสั ม พัน ธ์ 3.3.5 การดํา เนิ น งานหลังกิ จ กรรมค่า ย การสรุ ป ผลการดํา เนิ นงาน นํา เสนอผลการ ดําเนินงาน และติดตาม สนับสนุนสมาชิกค่าย 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้ อง ธิดาวัลย์ พัชรพจนาถ (2545) ได้พฒนาหลักสู ตรค่ายพักแรมคณิ ตศาสตร์ ระดับชั้นมัธยม ั ศึกษาตอนปลาย โรงเรี ยนบุญเรื องวิทยาคม จังหวัดเชียงราย ซึ่งเป็ นหลักสูตรกิจกรรมหรื อหลักสู ตร ประสบการณ์มีองค์ประกอบของหลักสู ตร คือ หลักการ วัตถุประสงค์ กลุ่มเป้ าหมาย โครงสร้าง สถานที่ ระยะเวลา การประเมินหลักสู ตร ตารางประกอบโครงสร้าง และ แนวทางดําเนิ นการ กิจกรรมในหลักสูตรค่ายคณิ ตศาสตร์ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ กิจกรรมหลักและกิจกรรมเสริ ม กิจกรรม หลักแบ่งเป็ น 2 ด้าน ได้แก่ กิจกรรมด้านวิชาการ และ กิจกรรมด้านนันทนาการ สําหรับกิจกรรม เสริ มเป็ นกิจกรรมที่ใช้แทรกระหว่างกิจกรรมหลัก ปิ ยะนุ ช สารสิ ทธิ ยศ (2547)ได้พฒนาชุ ดกิ จกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ เรื่ อ งการศึกษาและ ั สํารวจ สภาพแวดล้อมระบบนิเวศวิทยา สําหรับนักเรี ยนช่วงชั้นที่ 3 ผลการวิจยพบว่านักเรี ยนที่เข้า ั ค่ายวิทยาศาสตร์มีส่วนร่ วมในค่าย เข้าร่ วมกิจกรรม มีความรับผิดชอบ มีสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น และมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์ ผลการสร้างชุดกิจกรรมค่ายวิทยาศาสตร์ทุกชุดโดยภาพรวมมีความ เหมาะสมในระดับมากที่สุดพฤติกรรมการมีส่วนร่ วมในค่ายวิทยาศาสตร์ ด้านการเข้าร่ วมกิจกรรม ความรับผิดชอบ การมีสมพันธภาพ การแสดงความคิดเห็น เจตคติต่อวิทยาศาสตร์ ความพึงพอใจที่ ั ่ มีตอชุดกิจกรรมค่าย สุริยา ต้นทอง (2549) ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมค่ายภาษาอังกฤษ เพื่อสร้างแรงจูงใจในการ เรี ย นวิ ช าภาษาอั ง กฤษ สํา หรั บ นั ก เรี ย นชั้ นมั ธ ยมศึ ก ษาปี ที่ 2 โรงเรี ย นวัด โพธิ์ ทอง (ขวัญ โรจน ราษฎร์รังสฤษฎ์) ผลการวิจยพบว่านักเรี ยนที่เข้าค่ายภาษาอังกฤษมีแรงจูงใจในการเรี ยนวิชา ั ภาษาอังกฤษสูงขึ้น อย่างมีนยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ั เยาวลักษณ์ สุ วรรณตระการ (2550) ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมค่ายคณิ ตศาสตร์ เพื่อพัฒนา ศักยภาพทางคณิ ตศาสตร์ สําหรับนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ผลการวิจยพบว่า ความสามารถใน ั การแก้ปัญหาและการให้เหตุผลของนักเรี ยนที่เข้าค่ายก่อนและหลังการทดลองแตกต่างกันอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นักเรี ยนส่ วนใหญ่ (88.9 %) มีความสามารถในการสื่ อสารอยูใน ่ ระดับดีข้ ึนไป และนักเรี ยนมีเจตนคติต่อวิชาคณิ ตศาสตร์อยูในระดับดี่
  • 25. 13 โรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3 (2553) ได้ศึกษาการจัดกิจกรรมค่ายพัฒนาการเรี ยนรู ้ตาม ่ แนวคิดพหุ ปัญญา ผูเ้ ข้าร่ วมกิจกรรมมี ความพึงพอใจต่อการจัดกิจกรรมอยูในระดับสู งสุ ด และ กิจกรรมค่ายสามารถพัฒนาปั ญญาในแต่ละด้านของนักเรี ยนได้เป็ นอย่างดี ข้อมูลจากงานวิจยที่เกี่ยวข้องแสดงให้เห็นว่ากิจกรรมค่ายสามารถช่วยพัฒนานักเรี ยนได้ ั ตามวัตถุประสงค์ของค่ายั้งด้านสติปัญญา ด้านทักษะ และด้านเจตคติ 5. กรอบแนวคิดการศึกษา พัฒนาทักษะพืนฐานที่จาเป็ นต่อการ ้ ํ ประกอบอาชีพ กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและ เทคโนโลยี 1. ทักษะกระบวนการทํางาน 2. ทักษะการแก้ปัญหา 3. ทักษะการทํางานร่ วมกัน 4. ทักษะการแสวงหาความรู ้ 5. ทักษะการจัดการ ภาพที่ 1 กรอบแนวคิดการจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพเทคโนโลยีเพือพัฒนาทักษะพื้นฐานที่ ่ จําเป็ นต่อการประกอบอาชีพ
  • 26. บทที่ 3 วธดาเนินการศึกษา ิี ํ การศึกษาครั้งนี้มีวตถุประสงค์เพือพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อการประกอบอาชีพโดย ั ่ ํ ใช้กิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยีของนักเรี ยนโรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3 ผูศึกษา ้ นําเสนอวิธีดาเนินการศึกษาตามหัวข้อดังต่อไปนี้ ํ 1. กลุ่มเป้ าหมาย 2. รู ปแบบการศึกษา 3. เครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 4. การพัฒนาเครื่ องมือที่ใช้ในการศึกษา 5. การเก็บรวบรวมข้อมูล 6. การวิเคราะห์ขอมูล ้ 1. กลุ่มเป้ าหมาย กลุ่มเป้ าหมายที่ใช้ในการศึกษาในครั้งนี้เป็ นนักเรี ยนระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3-4 ภาคเรี ยน ที่ 1 ปี การศึกษา 2554 โรงเรี ยนขอนแก่ นวิทยายน 3 ตําบลบ้านค้อ อําเภอเมื อง จังหวัดขอนแก่ น สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25 (ขอนแก่น) ที่สมัครใจเข้าร่ วมกิจกรรมค่าย จํานวน 30 คน การใช้กลุ่มเป้ าหมายที่เต็มใจให้ความร่ วมมือจะทําให้ได้ขอมูลที่ตรงกับความเป็ น ้ จริ งมากที่สุด 2. รู ปแบบการศึกษา การศึกษาครั้งนี้ เป็ นวิจยเชิงคุณภาพด้วยการจัดกิจกรรมค่ายการงานอาชีพและเทคโนโลยี ั เพื่อ พัฒนาทักษะพื้นฐานที่จาเป็ นต่อ การประกอบอาชี พ ที่โรงเรี ยนขอนแก่นวิทยายน 3 ดําเนิ น ํ การศึกษาตามแนวคิดของการวิจยเชิงปฏิบติการ (Action Research) ซึ่งจัดแบ่งวงจรปฏิบติการเป็ น 3 ั ั ั วงจร ตามระยะของการจัดกิจกรรมค่าย คือ วงจรที่ 1 - ระยะที่ 1 แสวงหาความรู ้สู่การสร้างอาชีพ วงจรที่ 2 - ระยะที่ 2 ก่อ ร่ างสร้างตน และ วงจรที่ 3 - ระยะที่ 3 รู ้จกตนเอง โดยในแต่ล ะวงจร ั ประกอบด้วยการทํางาน 4 ขั้นตอน คือ การวางแผน (Plan) การปฏิบติ (Act) การสังเกต (Observe) ั และ การสะท้อนผลการปฏิบติ (Reflect) (Kemmis & McTaggart , 1992) ดังรายละเอียดในภาพที่ 2 ั