SlideShare a Scribd company logo
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบาน

     สาขาประสาทศัลยศาสตร

ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย
                และ
             แพทยสภา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                                                     สารบัญ
                                                                                       หนา
1. ชื่อหลักสูตร “การฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตร”                        1
2. ระยะเวลาการฝกอบรม
3. ชื่อคุณวุฒิ
4. หลักการและเหตุผล
5. วัตถุประสงค
6. คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม
7. หลักสูตรและระยะเวลา
8. การประเมินผลการฝกอบรมและการพัฒนาอยางตอเนื่อง
9. ประสบการณการผาตัดและหัตถการ อืนๆ  ่
10. ผลงานทางวิชาการ
11. ขอกําหนดเพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
     สาขาประสาทศัลยศาสตร
12. หลักเกณฑและวิธีดาเนินการสอบและการตัดสินผล
                        ํ
13. การพิจารณาผูขอสอบเปนกรณีพิเศษ
14. หลักเกณฑเกียวกับคุณภาพของสถาบันฝกอบรมแพทยประจําบาน
                  ่

ผนวก ก เนื้อหารายละเอียดหลักสูตร
     หลักสูตรศัลยศาสตรทั่วไปชันปที่ 1
                               ้
     หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 2
     หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 3
     หัตถการที่ตองทําไดดี
     หัตถการที่ตองรูและสามารถทําไดโดยมีผเู ชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษา

ผนวก ข คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
     สาขาประสาทศัลยศาสตร
     คณะอนุกรรมการฝกอบรมความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
     สาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                       2
                                                                                จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร



 หลักสูตรการฝกอบรมเพื่อวุฒิบัตรแสดง ความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
                                สาขาประสาทศัลยศาสตร

1. ชื่อหลักสูตร
        “การฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตร”

2. ระยะเวลาการฝกอบรม : 5 ป (60 เดือน)

3. ชื่อคุณวุฒิ
         ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม
                    สาขาประสาทศัลยศาสตร
         ชื่อยอ : ว.ว. ประสาทศัลยศาสตร
         ชื่อภาษาอังกฤษ : Diploma of Thai board of Neurosurgery

4. หลักการและเหตุผล
            หลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบาน เพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร มีเปาหมายใหแพทยประจําบานที่สําเร็จการฝกอบรมแลวเปนประสาทศัลยแพทย
ที่มีความรูความชํานาญและมีคุณภาพไดมาตรฐานเทียบเทียมนานาชาติ เปนแพทยที่มีความรูความสามารถและ
ทักษะ ทั้งในดานการศึกษา การวิจัยพัฒนา ความสามารถในการบริหารจัดการในการใหบริการผูปวยทางประสาท
ศัลยศาสตรไดอยางสมบูรณครบวงจร สมความตองการของสังคมในทองถิ่นตางๆ ในประเทศไทย
            เริ่มตั้งแต พ.ศ. 2521 ที่แพทยสภาไดอนุมัติใหมีโครงการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาตางๆ เพื่อเปน
แพทยเฉพาะทาง เพื่อออกไปรับใชสังคมในสวนตางๆ ของประเทศไทย หลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขา
ประสาทศัลยศาสตรนั้น กําหนดระยะเวลาเพียง 3 ป เทากับสาขาอื่นๆ ตามความตองการของประเทศในขณะนั้น แต
ตลอดระยะเวลาที่ผานมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในสองทศวรรษหลังนี้ วิชาความรูทางประสาทวิทยาและประสาท
ศัลยศาสตร และเทคโนโลยีทางการแพทย มีความเจริญกาวหนาไปอยางมากทั้งทางกวางและทางลึก จึงเปนคาม
จํ า เป น และเหมาะสมอย า งยิ่ ง ที่ ต อ งปรั บ ปรุง หลั ก สูต รและขยายระยะเวลาในการฝ ก อบรมเปน 5 ป เพื่ อ รั ก ษา
มาตรฐานใหใกลเคียงกับสากล เพื่อใหแพทยประจําบานผูสําเร็จการฝกอบรมแลวนั้น เปนประสาทศัลยแพทยผูมี
ความรู ความสามารถและประสบการณอยางเพียงพอในการที่จะสามารถใหบริการดานประสาทศัลยศาสตรอยาง
ครบถวน ตามกําลังทรัพยากรที่มีอยู ตอบสนองความตองการและความคาดหวังของผูปวย สังคม และชุมชนนั้นๆ ใน
ประเทศไทย ซึ่งเปนการเพิ่มศักยภาพในการบริการดานประสาทศัลยศาสตรในสังคมนั้นและลดการสงตอผูปวยมารับ
การรักษาตัวในสวนกลาง



                                                          3
                                                                                                             จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
5. วัตถุประสงคของหลักสูตร
         5.1 วัตถุประสงคทั่วไป
                 5.1.1 เพื่อใหแพทยประจําบานที่ผานการฝกอบรมแลว เปนผูมีความรู ความสามารถและมีคุณภาพ
ตามมาตรฐานสากล สามารถตอบสนองตอความตองการบริการสาธารณสุขดานศัลยกรรมประสาทในทองถิ่นตางๆ
ในประเทศไทย
                 5.1.2 มี ค วามรู ท างวิท ยาศาสตร พื้น ฐานทางศั ลยศาสตร เพื่ อ เป น รากฐานในการปรับ ปรุ ง และ
ประยุกตใชใหทันกับความเจริญกาวหนาทางวิชาการอยางเหมาะสมถูกตอง
                 5.1.3 มีความรความสามารถพื้นฐานในหลายสาขาของศัลยศาสตรเฉพาะทางและสาขาที่เกี่ยวเนื่อง
เพื่อสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานอยางเหมาะสมตามความจําเปน
                 5.1.4 เปนประสาทศัลยแพทยที่มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีตอผูปวย ญาติ ผูรวมงาน เพื่อน
รวมวิชาชีพ ชุมชนและสังคม
         5.2 วัตถุประสงคเฉพาะ
                 เพื่อผลิตประสาทศัลยแพทยที่มีคุณลักษณะเฉพาะดังตอไปนี้
                 5.2.1 มีความรูความสามารถในการรักษาผูปวยทางระบบประสาทโดยวิธีทางศัลยกรรมไดอยางมี
ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลทั้งนี้ รวมถึงการปองกันและแกไขภาวะแทรกซอนตางๆ ดวย
                 5.2.2 มีความรูความเขาใจเปนอยางดีในสาเหตุ กลไก และการดําเนินโรคทางประสาทศัลยศาสตร
และประสาทวิ ท ยา มี ประสบการณ และทัก ษะในการตรวจวินิ จฉั ยและแปลผลการตรวจตา งๆ ได อยา งถูก ต อง
เหมาะสม สามารถแกไขปญหาไดอยางเปนระบบ มีการตัดสินใจและเลือกใหการรักษา ทั้งโดยวิธีผาตัดและรักษาวิธี
  ื่
อนๆ ไดอยางเหมาะสมถูกตอง
                 5.2.3 มีความสามารถศึกษาตอเนื่อง และพัฒนาตนเองไดดี ทั้งในดานทฤษฎี และหลักการตางๆ
โดยเฉพาะทางดานประสาทศัลยศาสตรและจุลศัลยศาสตร
                 5.2.4 มีความรูความสามารถในการวิเคราะห และจัดทํางานทางวิชาการและการวิจัย

6. คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม
              6.1 เปนผูที่ไดรับปริญญาบัตรแพทยศาสตรบัณฑิต
              6.2 เปนผูที่ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.
2525
              6.3 เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่แพทยสภากําหนด

7.หลักสูตรและระยะเวลา
         หลักสูตรประสาทศัลยศาสตร กําหนดระยะเวลาในการฝกอบรมอยางนอย 5 ป (60 เดือนเต็ม) เวนแตไดรับ
อนุมัติเปนกรณีพิเศษจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตรโดยแบงตามระยะเวลาการ
ฝกอบรมดังนี้

                                                       4
                                                                                                       จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
          7.1 หลักสูตรศัลยศาสตรชั้นปที่ 1
                  ระยะเวลาทั้งสิ้น 12 เดือน เปนหลักสูตรพื้นฐานทางศัลยศาสตร และสาขาที่เกี่ยวเนื่องสําหรับแพทย
ประจําบานทุกสาขาทางศัลยศาสตร เพื่อเปนการเตรียมความรู ทักษะ และประสบการณ เพื่อใหแพทยประจําบาน
สามารถใหการวินิจฉัย การตรวจและใหการรักษาเบื้องตนสามารถใหคําแนะนําและสงตอผูปวยไปรักษาตอกับแพทย
ผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขานั้นๆ ไดอยางถูกตองเหมาะสม โดยมีระยะเวลาในการฝกอบรมดังนี้
                  7.1.1 ศัลยศาสตรทั่วไป และศัลยศาสตรอุบัติเหตุ                       4 เดือน
                  7.1.2 ศัลยศาสตรตกแตง                                               1 เดือน
                  7.1.3 ศัลยศาสตรออรโธปดิกส                                        1 เดือน
                  7.1.4 วิสัญญีวิทยาและการรักษาผูปวยภาวะวิกฤต                        2 เดือน
                  7.1.5 ศัลยศาสตรอื่นๆ และสาขาที่เกี่ยวเนื่อง                         4 เดือน
ในรายละเอียดแตละสาขาอื่นๆ นั้นใหกําหนดตามแตสถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยูแตละหนวยจะพิจารณาตามกรอบที่
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย กําหนดไว
          7.2 หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ ๒                                      3 เดือน
                  7.2.1 ประสาทวิทยา อยางนอย                                          2 เดือน
                  7.2.2 รังสีวิทยา ประสาทวิทยา และรังสีรักษา อยางนอย 2 เดือน
                  7.2.3 ประสาทพยาธิวิทยาอยางนอย                                      1 เดือน
                  7.2.4 การวิจัยทางการแพทย                                            1 เดือน
                  7.2.5 วิชาเลือกโดยผูเขาฝกอบรมเลือกได                             2 เดือน
                               (ภายใตความเห็นชอบของสถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยู)
          7.3 หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรปที่ 3, 4 และ 5
                  หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรคลิกนิก รวม 36 เดือน ประกอบดวยภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การดูแล
รักษาผูปวยทางประสาทศัลยศาสตร โดยตองมีเนื้อหาทักษะและประสบการณในการผาตัด รวมทั้งหัตถการอื่นๆ
ตามที่กําหนดไว ในรายละเอียดทายหลักสูตร จะตองมีเวลาปฏิบัติงานในสถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยู อยางนอย 24
เดือน และสามารถปฏิบัติงานในสถาบันฝกอบรมที่ไดรับการรับรองแลวตามระยะเวลาที่สถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยู
กําหนด
                  เมื่ อ สิ้ น สุ ด การฝ ก อบรมในชั้ น ป ที่ 3 แพทย ป ระจํ า บ า นต อ งเสนอโครงการงานวิ จั ย (Research
Proposal) ที่จะทําสําหรับการสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ ฉบับสมบูรณใหหัวหนาผูรับผิดชอบหลักสูตรหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
รับรองความเหมาะสม
8. การประเมินผลการฝกอบรมและพัฒนาอยางตอเนื่อง
       สถาบันฝกอบรมฯ มีหนาที่
       8.1 พิ จ ารณา กํ า หนด ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาโครงการฝ ก อบรมของตนเอง อย า งต อ เนื่ อ งตามกรอบที่
คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตรกําหนด

                                                            5
                                                                                                                จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
         8.2 รับผิดชอบจัดสอบเพื่อประเมินผลการฝกอบรมแพทยประจําบานในระหวางการฝกอบรมตาม หวงเวลา
อันเหมาะสม
         8.3 ประเมินผล ประสบการณ การเรียนรู และความกาวหนาของแพทยประจําบานในแตละระดับชั้นตาม
ความเหมาะสมทั้งในดานทฤษฎี, การปฏิบัติ และหัตถการทางศัลยกรรมประสาท ความสามารถในการตัดสินใจ
ความสามารถและความรับผิดชอบในการดูแลรักษาผูปวยดานประสาทศัลยศาสตร เจตคติ จริยธรรมและมนุษย
สัมพันธ และพิจารณาตัดสิน ใหแพทยประจําบานผูนั้นเลื่อนระดับชั้นป รวมทั้งพิจารรารับรองแพทยประจําบาน เปนผู
มีสิทธิในการสมัครสอบกับแพทยสภา ในการสอบเพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ
เวชกรรมสาขาประสาทศัลยศาสตร

9. ประสบการณการผาตัดและหัตถการอื่นๆ
          แพทยประจําบานตองบันทึกประสบการณ การทําหัตถการตางๆ ในทางศัลยกรรมประสาท การชวยผาตัด
และการทําผาตัดเองในแตละชั้นป โดยมีรายละเอียดครบถวนตามหลักสูตรที่แนบทายนี้ เมื่อจบการฝกอบรมแลว
แพทยประจําบานจะตองสงบันทึกประสบการผาตัดทั้งหมดตลอดระยะเวลาฝกอบรม 5 ป เปนเอกสารซึ่งมีหัวหนา
ผูรับผิดชอบหลักสูตร หรือ ผูที่ไดรับมอบหมายรับรอง เพื่อประกอบการขอสมัครสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ ตอไป

10. ผลงานทางวิชาการ
        แพทยประจําบานตองมีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ ภายใตการควบคุมของอาจารยที่ปรึกษา โดยเสนอ
หัวขอโครงการวิจัย (Research Proposal) ภายในการฝกอบรมแพทยประจําบานชั้นปที่ 3 และทําการวิจัยเสร็จสิ้น
และนําเสนอ และ / หรือไดตีพิมพเผยแพรในวารสารหรือจุลสารและเปนผลวานที่ผานการประเมิน และรับรองโดย
คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร

11. ขอกําหนดเพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาประสาท
ศัลยศาสตร
        11.1 สมัครโดยกรอกใบสมัครตามขอบังคับแพทยสภา พรอมทั้งชําระคาธรรมเนียมตามกําหนด
        11.2 มีใบรับรองผานการสอบวิทยาศาสตรพื้นฐานทางศัลยศาสตรของราชวิทยาลัยศัลยแพทย
        11.3 มีใบรับรองผานการฝกอบรมครบถวนเปนเวลาอยางนอย ๖๐ เดือน
        11.4 มีใบรับรอง และเสนอชื่อเขาสอบ จากหัวหนาผูรับผิดชอบหลักสูตรการฝกอบรมหรือผูที่ไดรับมอบหมาย
        11.5 ใบรายงานประสบการณการผาตัดรวมตลอดหลักสูตร
        11.6 มีสําเนานิพนธตนฉบับซึ่งไดนําเสนอเผยแพรในที่ประชุมวิชาการ หรือตีพิมพหรืออยูระหวางรอการ
ตีพิมพในจุลสารหรือ วารสารทางการแพทย เพื่อขอความเห็นชอบรับรองจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ
สาขาประสาทศัลยศาสตร

12. หลักเกณฑและวิธีดําเนินการสอบและการตัดสินผล
        กําหนดโดยคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร แพทยประจําบานผูสอบเพื่อ
วุฒิบัตรความรู ความชํานาญสาขาประสาทศัลยศาสตร ตองผานเกณฑดังนี้
                                                 6
                                                                                                      จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
        12.1 ผานการสอบวิทยาศาสตรพื้นฐานทางศัลยศาสตรของราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย
        12.2 มีเอกสารผลงานทางวิชาการและวิจัยอยางนอย ๑ เรื่อง ที่ผานความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการ
ฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร โดยคะแนนที่ไดจากเอกสารผลงานทางวิชาการฯ จะถือเปนคะแนน
เสริมในการจัดอันดับและตัดสินในการสอบไดหรือตก
        12.3 การสอบขอเขียน
        12.4 การสอบปากเปลา (ผูสอบผานขอเขียนแลวเทานั้นที่จะมีสิทธิสอบปากเปลา)
                 การตัดสินผลการสอบ - พิจารณาตัดสินโดยคะแนนรวมภายใตการพิจารณาของคณะอนุกรรมการ
ฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร
13. การพิจารณาผูขอสอบเปนกรณีพิเศษ
        ผูขอตองเปนผูไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรรมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ.
2525 และ
        13.1 การขอสอบเพื่อหนังสืออนุมัติ ผูมีสิทธิเปนแพทยผูมีประสบการณเรียนรู และปฏิบัติงานในดานประสาท
ศัลยศาสตรในโรงพยาบาลในประเทศไทยที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร รับรอง
เปนเวลาอยางนอย 7 ป หรือเปนผูที่ไดรับหนังสืออนุมัติฯ หรือวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู ความชํานาญในการประกอบ
วิชาชีพเวชกรรม จากสถาบันในตางประเทศที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร และ
แพทยสภา รับรอง
        13.2 การขอสอบเพื่อหนังสือวุฒิบัตรฯ ผูมีสิทธิเปนแพทยผูผานการฝกอบรมระดับแพทยประจําบานชั้นป
สุดทาย สาขาประสาทศัลยศาสตรในตางประเทศ จากสถาบันที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาท
ศัลยศาสตรและแพทยสภารับรอง โดยระยะเวลาฝกอบรมอยางนอย 5 ป ขึ้นไปและมีหลักสูตรการฝกอบรมเทียบเทา
การฝกอบรมของแพทยสภา
        ทั้งนี้การพิจารณาประเมินคุณสมบัติของผูขอสอบเปนกรณีพิเศษใหอยูในดุลยพินิจของคณะอนุกรรมการ
ฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร
14. หลักเกณฑเกี่ยวกับคุณภาพของสถาบันฝกอบรมแพทยประจําบาน
        14.1 หลักการทั่วไป
                  สํ า หรั บ สถาบั น หลั ก ที่ ใ ห ก ารฝ ก อบรมแพทย ป ระจํ า บ า นสาขาประสาทศั ล ยศาสตร ต อ งเป น
โรงพยาบาลที่มีการจัดระบบงานที่ไดมาตรฐาน มีระบบเวชระเบียน มีสถานที่ อุปกรณ และจํานวนคนไขภายในและ
ภายนอกพอเหมาะแกการศึกษา มีการแบงแผนกสาขาวิชาหลักที่ชัดเจน และประกอบดวย หนวยประสาทศัลยศาสตร
ประสาทวิทยา รังสีวิทยา พยาธิวิทยา ฯลฯ มีแพทยผูทรงคุณวุฒิ สาขาตางๆ เปนอาจารยผูใหความรูระหวางการ
ฝกอบรมในจํานวนที่เหมาะสม มีการจัดการสิ่งแวดลอมตางๆ และระบบการศึกษาที่เอื้ออํานวยตอการฝกอบรม โดย
สถาบั น จะต อ งดํ า รงไว ซึ่ ง มาตรฐานและมี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง พร อ มรั บ การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพจาก
คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร


                                                           7
                                                                                                              จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร



       14.2 สถานที่
               - มีจํานวนเตียงศัลยกรรมประสาทรวมไมนอยกวา 30 เตียง
               - มีจํานวนเตียงหอผูปวยอภิบาลผูปวยหนัก
               - มีหองผาตัดใหญ พรอมอุปกรณโดยเฉพาะจุลศัลยศาสตร
               - มีหองประชุมพรอมเครื่องโสตทัศนูปกรณ
               - มีหองสมุดพรอมตําราและวารสารทางการแพทย และระบบสืบคนที่ทันสมัย
                  เกี่ยวกับความรูดานประสาทศัลยศาสตร
       14.3 กิจกรรมและอุปกรณที่เกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยและรักษา
               14.3.1 การตรวจทางรังสีวิทยา เชน Cerebral Angiography, Myelography CT หรือ MRI ฯลฯ
               14.3.2 การตรวจทาง Neurophysiology เชน EEG, EMG ฯลฯ
               14.3.3 การตรวจทางพยาธิวิทยา, พยาธิคลินิก และการตรวจศพ ฯลฯ
       14.4 บุคลากร
               14.4.1 จํานวนอาจารยประสาทศัลยแพทย (ที่ไดรับวุฒิบัตรฯ หรือหนังสืออนุมัติฯ) 1 ทาน เปน
                สัดสวนตอ จํานวนแพทยประจําบานประสาทศัลยศาสตร 3 ทาน (รวมทุกชั้นป)
               14.4.2 จํานวนวิสัญญีแพทย อยางนอย            1 ทาน
               14.4.3 จํานวนรังสีแพทย          อยางนอย     2 ทาน
               14.4.4 จํานวนพยาธิแพทย          อยางนอย     1 ทาน
       14.5 สถิติผูปวย
               - จํานวนการผาตัดทางศัลยกรรมประสาท (รวม) ไมนอยกวา          200 รายตอป
               - จํานวนผาตัดโรคเนื้องอกสมองไมนอยกวา                        30 รายตอป
               - จํานวนผาตัดหลอดเลือดสมองอันไดแกการผาตัด Aneurysm และ AVM
                 ไมนอยกวา 10 รายตอป
       14.6 กิจกรรมวิชาการ
               มีกิจกรรมวิชาการทางประสาทศัลยศาสตร เชน M+M Conference, การประชุมรวม ฯลฯ
       14.7 สถาบันฝกอบรมสมทบ
               - สถาบันฝกอบรมหลักสามารถเปนสถาบันฝกอบรมสมทบของสถาบันฝกอบรมหลักอีกแหงหนึ่งได
โดยทําความตกลงกันเอง เพื่อประโยชนของโครงการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ของ
สถาบันหลักนั้น
               - สถาบันฝกอบรมหลัก สามารถพิจารณาเสนอสถาบันฝกอบรมสมทบใหมตามความเหมาะสม เพื่อ
เสนอคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร เพื่อพิจารณาประเมินคุณภาพและเสนออนุมัติ
ตอแพทยสภาตอไป

                                                     8
                                                                                              จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




       14.8 การอนุมัติสถาบันฝกอบรม
              - ใหสถาบันฝกอบรมหลักทั้ง 7 แหงที่มีอยูเดิม เปนสถาบันฝกอบรมหลักสูตร 5 ปนี้ตอไป
              - การขออนุมัติสถาบันฝกอบรมหลักใหม เพิ่มเติมใหสถานพยาบาลที่มีคุณสมบัติครบและมีความ
ตองการจะเปดโครงการฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตรรวบรวมรายละเอียดและเสนอตอ
แพทยสภาเพื่อใหคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร ตรวจและใหการรับรองตอไป




                                                     9
                                                                                          จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                         ผนวก ก
                                                เนื้อหารายละเอียดหลักสูตร

                      - หลักสูตรศัลยศาสตรทั่วไปชั้นปที่ 1
                      - หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 2
                      - หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 3 - 5
                      - หัตถการที่ตองทําไดดี
                      - หัตถการที่ตองรูและสามารถทําไดดีโดยมีผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษา




                                                           10
                                                                                      จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                     หลักการของศัลยศาสตร
                                                      (Principles of Surgery)
          หลักการของศัลยศาสตร เปนพื้นฐานทั่วไปที่แพทยประจําบานทางศัลยศาสตรทุกสาขา จะตองรูอยางดี เพื่อ
ความเขาใจในปญหาพื้นฐานรวมกันทางศัลยศาสตร ซึ่งจะทําใหการดูแลรักษาผูปวยทางศัลยกรรมในองครวมได
เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเปนความรูซึ่งแพทยประจําบานจะตองไปศึกษาอยางตอเนื่องตลอดระยะเวลาใน
เรื่องตอไปนี้
                 Metabolic Response to Injury
                 Trauma
                 Fluid, Electrolyte and Acid-Base Therapy
                 Hemostasis, Surgical Bleeding and Transfusion
                 Hemodynamics and Hypertension
                 Shock
                 Cardiac Arrest and Resuscitation
                 Surgical Infection
                 Antibiotic: Usage and Hazards
                 Wound Healing and Wound Care
                 Sutrues and Implant in Surgery
                 Principles of Critical Care
                 Basic Principles of Oncology
                 Basic Principles of the Tissue Transplantation
                 Diabetes and Surgery
                 Radiotherapy
                 Chemotherapy
                 Terminal Care in Surgery
                 Ansthesiology



                                                               11
                                                                                                   จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                     ศัลยศาสตรคลินิค
                                                     (Clinical Surgery)
ประกอบดวยความรูทางทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะของโรคทางศัลยศาสตรซึ่งประกอบดวย
      1. ศัลยศาสตรทั่วไป (General Surgery) ซึ่งจะครอบคลุมหัวขอตอไปนี้
              1.1 Skin and Subcutaneous Tissue
              1.2 Head & Neck Surgery
              1.3 Breast & Endocrine Surgery
              1.4 Alimentary Tract Surgery
                        1.4.1 Esophagus, Stomach, Small Intestine
                        1.4.2 Colo-Rectal & Anus
                        1.4.3 Hepatobiliary & Pancreas
              1.5 Spleen
              1.6 Abdominal Wall and Intraabdominal Cavity
              1.7 Vascular Surgery
              1.8 Surgical Oncology
              1.9 Transplantation Surgery
              1.10 Laparoscopic and Endoscopic Surgery
      2. ศัลยศาสตรในสาขาอืนๆ ซึ่งศัลยแพทยทั่วไปจะตองรู
                            ่
              2.1 Pediatric Surgery
              2.2 Urology
              2.3 Plastic Surgery
              2.4 Orthopedic Surgery
              2.5 Cardiothoracic Surgery




                                                            12
                                                                           จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                     ศัลยศาสตรตกแตง
                                                      (Plastic Surgery)
       แพทยประจําบานศัลยศาสตรทั่วไป ควรมีความรูพื้นฐานในโรคทางศัลยศาสตรตกแตงตอไปนี้สามารถให
คําแนะนําการรักษาแกผูปวย และใหการรักษาเบื้องตนไดในกรณีที่จําเปน
       Basic Principles and Techniques
               Skin Incision
               Wound Closure and Wound Healing
               Skin Grafts
               Skin Flaps
               Z-Plasty, W-Plasty
               Scar Revision
               Tissue Expansion
       Burns
               Classification
               Fluid Resuscitation
               Burn Wound Dressing
               Escharotomy, Escharectomy, Fasciotomy
               Prevention of Burn Scar Contracture
       Hand Surgery
               Basic Principles and Techniques
               Care of Burned Hand
               Hand Infection
               Common Hand Tumors
               Hand Injuries
       Head and Neck Surgery
       Maxilla – Facial Injuries

                                                            13
                                                                                          จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                   Skin and soft Tissue
                   Facial bone Fractures
           Basic Principles and Techniques of Microsugery
                   Replantation
                   Revascularization
                   Free Flap
                   Care of the Amputated Parts
           Miscellaneous
                   Pressure Sores
                   Diabetic Foot
                   Post-Mastectomy Reconstruction
                   Cleft Lip and Cleft Palate
                   Malignant Melanoma
                   Lymphedema




                                                     14
                                                            จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                     ศัลยศาสตรออรโธปดิคส
                                                          (Orthopedisc)
       แพทยประจําบานศัลยศาสตรทั่วไป ควรมีความรูพื้นฐานในโรคทางออรโธปดิคส ดังตอไปนี้เพียงพอที่จะให
                                                  
คําแนะนําการรักษาแกผูปวยได และสามารถใหการรักษาเบื้องตนไดในบางกรณีทจําเปน
                                                                       ี่

           Pain of Extremities : Tendinitis, Bursitis, Fasciitis
                                 Arthritis, Nerve Compression, etc.
                   Dequervain’s Disease
                   Carpal Tunnel Syndrome
                   Golfer or Tennis Elbow
                   Cervical Arthritis, Disc, Spondylosis
                   Tendinitis and Bursitis of Rotator Cuff of Shoulder
                   Plantar Fasciitis
           Low Back Pain
                   Sonddylolithesis
                   Sciatica
                   Spinal Stenosis
           Posture and Gait Disturbance
           Deformities of Spine, Knee, Ankie and foot
           Contracture
           Fractures and Joints Injuries
                   Upper Extremity Injuries
                   Lower Extremity Injuries
                   Pelvic Injury
                                                               15
                                                                                                  จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
               Spinal Injury
      Diseases of Joints
               Pyogenic Arthritis
               Bone and Joint Tuberculosis
               Gonococcal Arthritis
               Rheumatoid Arthritis
               Osteoarthritis
               Gout
               Others
      Tumor of the Musculoskeletal System
               Primary Bone Tumors
               Metastatic Bone Tumors
               Soft Tissue Sarcoma
      Hand
               Fracture Bones of Hand
               Tendon, Vascular and Nerve Injuries
      Amputations
               Lower Extremity
               Upper Extremity
      Intrinsic and Extrinsic Muscle Diseases
      Generalized Bone Disorders
               Developmental Disorders
               Metabolic Diseases
หัตถการทางศัลยกรรมทีตองทําได
                         ่
      Closed Reduction of Fracture
               Manual
               Skin Traction : Buck Traction
               Skeletal Traction : Tibial Traction
      Closed Reduction of Joint Dislocation
      Splintion of Fractures
      Application of Plaster Casts
      Application of Plaster Casts

                                                     16
                                                          จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
              Short /Long Arm Casts
              Short /Long Leg Casts
      Wound Cleansing and Debridement of Open Fracture
              Fasciotomy for Compartment Syndrome
              Incision and Drainage of Hand Infections
หลักการทางศัลยกรรมทีควรทําได
                        ่
      Local Injection for Tendinitis, Bursitis and Arthrltis
      Simple Open Reduction and Fixation of Fracture Fingers
      Repair for Simple Tendon Injuries
      Release of Carpal Tunnel
                                                       วิสัญญีวิทยา
                                                     (Anesthesiology)
        แพทยประจําบานศัลยศาสตรทั่วไปตองมีความรูพื้นฐานในหลักการทั่วไปของวิสัญญีวิทยา และมีทักษะใน
การคัดเลือกและพิจารณาผูปวยใหเหมาะสมกับวิธีการตางๆ ของวิสัญญีวิทยา เพื่อใหการรักษาได แพทยประจําบาน
ตองมีความรูและทักษะในเรื่องตอไปนี้ ไดแก

           การประเมินผูปวยและความเสี่ยงกอนผาตัด
                        
           การให Premedication
           Anesthetic Agents And Muscle Relaxants
           ขั้นตอนของการดมยาสลบ           - Induction
                                          - Anesthetic Drugs and Action
                                          - Monitoring
                                          - Reversal
           การดูแลผูปวยหลังจากการดมยาสลบ
           ปญหาแทรกซอนจากการรักษาทางวิสัญญี
           การให Epidural/ Spinal Anesthesia
           Pain Management

หัตถการที่ตองทําได
           
      Endotracheal Intubation
      Spinal Anesthesia
      Local and Regional Anesthesia
      Ventilator Setup
                                                           17
                                                                                                จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                               พื้นฐานการวิจัยทางศัลยศาสตร
                                          (Basic Surgical Research & Methodology)
         แพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตรจะตองมีนิสัยการเรียนรูอยางตอเนื่อง ตองมีความรูพื้นฐาน
เกี่ยวกับการวิจัย เนื่องจากความรูดานการแพทยมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ขอมูลขาวสารทางวิจัยตางๆ มีอยู
มากมายจนไมสามารถอานไดหมด จึงมีความจําเปนที่จะตองรูจักเลือกอานขอมูลที่มีประโยชนและเชื่อถือได สามารถ
วิเคราะหขอมูลตางๆ และสรุปความคิดเห็นได ทั้งใหมีความรูพื้นฐานทางการวิจัยเพื่อไดไปพัฒนาและรูจักผลิต
ผลงานวิจัยขึ้นมาไดเอง

        การฝกอบรมสว นนี้เ ปนเวลา 1 เดือน ในสถาบัน ที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาท
ศัลยศาสตร และ/หรือ ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยรับรอง โดยจัดการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เพื่อเปน
ความรูพื้นฐานทางการวิจัยใหแกแพทยประจําบานประสาทศัลยศาสตร ซึ่งจะครอบคลุมความรูในเรื่องตอไปนี้
               Research Questions
               Research Designs
               Research Designs in Natural History and Risk Factor
               Research Designs in Diagnostic Test
               Research Designs in Prevention and Treatment
               Sample Size Determination
               Basic Statistics
               Critical Appraisal ฯลฯ




                                                            18
                                                                                                   จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                                     Clinical Neurology
Part I: Clinical Method of Neurology
Part II : Disorders of Motility
         Pain & Other Disorders of Somatic Sensation, Headache & Pain
         Disorder of special Senses
         Epilepsy & Disorders of Consciousness
         Derangement of Intellectual, Behavior and Language
         Anxiety and Disorders of Energy, Mood, Emotion, and Autonomic and Endocrine
                 Functions
Part III : Growth and Development of the Nervous System and the Neurology of Aging
Part IV : Major Categories of Neurological disease
                 - Disturbances of CSF circulation
                 - Intracranial neoplasms
                 - Non Viral infections
                 - Viral infections
                 - Cerebrovascular diseases
                 - Multiplesclerosis and Allied Demyelinative diseases
                 - Inherited Metabolic diseases
                 - Nutritional Deficiency related diseases
                 - Acquired Metabolic Disorders
                 - Drugs & Other Chemical agents

                                                            19
                                                                                       จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
               - Degenerative diseases
               - Developmental diseases
Part V : Disease of the Spinal Cord, Peripheral nerve and Muscle
Part VI: Psychiatric disorders




                                            รังสีวินิจฉัย, รังสีวิทยา และรังสีรักษา
                                        (Diagnostic radiology and Radiation therapy)
        แพทยประจําบานประสาทศัลยศาสตรตองเขารับการอบรมดวยรังสีวิทยา เปนเวลาอยางนอย 8 สัปดาห โดย
แบงเปนเขาฝกอบรมสาขารังสีวินิจฉัย 4-6 สัปดาห และรังสีรักษา 2-4 สัปดาห

วัตถุประสงค เพื่อใหแพทยประจําบาน สามารถ
       1. อธิบายความรูพื้นฐานดานรังสีวินิจฉัยและรังสีรักษา ที่นํามาใชกับผูปวยประสาทศัลยศาสตร
       2. สามารถอานผล CT และ MRI ของสมองและไขสันหลังไดถูกตอง
       3. สามารถออกแบบการศึกษา (Study design) ของ MRI ตอโรคตาง ทางประสาทศัลยศาสตรไดเหมาะสม
       4. สามารถทําหัตถการ และอานผล Cerebral angiography ไดถูกตอง
       5. อธิบายหลักการพื้นฐานและผลขางเคียงของการใชรังสีรักษาในโรคทางประสาทศัลยศาสตร
       6. สามารถวางแผนการรักษาดวยรังสีรักษาในโรคทางประสาทศัลยศาสตร โดยการดูแลของอาจารยดานรังสี
          รักษา

เนื้อหาวิชา
           - Radiology of the skull & spine
           - Application of Computed Tomography and Magnetic Resonance Imaging in
             Neurosurgical disease
           - Ultrasonography
           - Cerebral angiography
           - Basic radiation therapy

                                                            20
                                                                                              จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
           - Application of radiotherapy for neurosurgical disease

ประสบการณการเรียนรู
     1. อานผลทางรังสีวินิจฉัยรวมกับอาจารยที่ดูแล
     2. มีสวนรวมในการใชเครื่อง CT scan และ MRI เพื่อใหไดภาพที่เหมาะสมกับโรคของผูปวย
     3. ชวยหัตถการ Cerebral angiography อยางนอย ๓ ราย กอนไดเขาทําหัตถการนี้ดวยตนเอง ภายใตการ
        กํากับดูแลของอาจารยที่ปรึกษา
     4. ดูแลและวางแผนการรักษาผูปวยดานประสาทศัลยศาสตรดวยรังสีรักษา รวมกับอาจารยที่ปรึกษา อยาง
        นอย 5 ราย




การประเมิน
           - สามารถอานผลทางรังสีวินิจฉัยดาน Plain skull, Spine, MRI และ CT scan
           - สามารถทําหัตถการและอานผล Cerebral angiography ไดดวยตนเอง
           - สามารถวางแผนการรักษาผูปวยดานประสาทศัลยศาสตรดวยรังสีรักษารวมกับแพทยรังสีรักษา




                                                     21
                                                                                               จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                        หลักสูตรแพทยประจําบานชั้นปที่ 3,4 และ 5
     1. โรคและพยาธิสภาพของโรคที่ตองรูและสามารถรักษาเองไดเปนอยางดี และหัตถการทางประสาท
     ศัลยศาสตรที่ตองทําได
         1.1 โรคและพยาธิสภาพของโรคที่ตองรูและสามารถรักษาเองไดเปนอยางดี
                 1.1.1 Trauma
                        - Head injury
                                - Skull fracture: linear, depressed
                                - Brain injury: mild, moderate, severe
                                - Penetrating wound of the head : gun shot wound, stabbed
                                  wound, compound fracture
                                - Intracranial hematoma: extradural, subdural, intracerebral
                                - CSF rhinorrhea and otorrhea
                                - Carotid-cavernous fistula
                        - Spinal injury
                                - Cord injury, cord compression
                                - Spinal fracture & dislocation
                                - Gun short wound of the spine
                                - Stabbed wound of the spine
                                - Odontoid fracture, Hangman fracture, Jefferson’s fracture
                                                           22
                                                                                      จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                             - Peripheral nerve injury & causalgia
                      1.1.2 CNS infection
                             - Meningitis: bacterial, tuberculous, fungal
                             - Abscess: brain, subdural, extradural, subgaleal
                             - Osteomyelitis of the skull
                             - Spinal epidural abscess
                             - Spondylitis: pyogenic,tuberculous
                             - Cerebral nerve injury & causalgia
                      1.1.3 Congenital anomalies
                             - Syringomyelia and Syringomyelic syndrome
                             - Chiari Malformation
                             - Hydrocephalus: communicating, obstructive
                             - Meningocoele

                                      - Encephalomeningocoele
                                      - Myeolomeningocoele
                             - Craniosynostosis
                                      - Sagittal
                                      - Coronal
                                      - Lambdoid
                      1.1.4 Vascular
                             - Hypertensive intracerebral hemorrhage
                             - Spontaneous subarachnoid hemorrhage & aneurysms of the
                               anterior circulation
                      1.1.5 Tumor
                             - Brain tumor
                                      - Glioma of the cerebral hemisphere
                                      - Cystic astrocytoma of the cerebellum
                                      - Hemangioblastoma
                                      - Convexity & parasagittal meningioma
                                      - Pituitary adenoma
                                      - Medulloblastoma

                                                         23
                                                                                        จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                                   - Cerebral metastasis
                          - Spinal tumor
                                   - Meningioma
                                   - Neurilemmoma
                                   - Neurofibroma
                                   - Spinal metastasis
                          - Peripheral nerve tomor
                                   - Neurilemmona
                                   - Neurofibroma
                  1.1.6 Others
                          - Intervertebral disc diseases
                                   - Spondylosis: cervical, Iumbar
                                   - Disc herniation: cervical, thoracic, Iumbar
                                   - Spinal stenosis
                                   - Spondylolisthesis
                          - Peripheral nerve entrapment
                                   - Carpal tunnel syndrome
                                   - Thoracic outlet syndrome
                                   - Ulnar tardy palsy
           1.2 หัตถการทางประสาทศัลยศาสตรที่ตองทําไดดี
                                                  
                  - การผาตัดและหัตถการเพือรักษาโรคและพยาธิสภาพในหัวขอ 1.1
                                              ่
                  - Lumbar puncture and drainage
                  - Cisternal puncture
                  - Lateral C1-C2 puncture
                      - Ventricular puncture and drainage
                      - Application of skull tongs
                      - Burr holing
                      - Craniectomy for skull fractures, osteomyelitis, extracerebral
                        hematoma and abscess, skull tumor, superficial cerebral lesions,
                        craniosynostosis
                      - Cranioplasty
                      - Brain biopsy: open, stereotactic
                                                         24
                                                                                           จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                      - Craniotomy (frontal, temporal, parietal, occipital, pterional) for:
                              - Evacuation of extradural, subdural and intracerebral hematoma
                              - Removal of extracerebral lesions (meningioma, cysticercosis)
                              - Removal of intracerebral lesions (glioma, metastasis, abscess)
                              - Removal of intraventricular lesions (tumor, cysticercosis)
                      - Aneurysm surgery: clipping of aneurysms of anterior circulation
                      - Excision of simple carebral arteriovenous malformation
                      - Trans-sphenoidal approach for intraventricular lesion, hypophysectomy
                        and sellar lesions.
                      - Transcallosal approach for intraventricular lesion and pineal tumor
                      - Appropriate approach for
                              - Craniopharyngioma
                              - Pituitary adenoma
                              - Medial sphenoid ridge meningioma and tuberculum meningioma
                              - Orbital tumor
                              - Pineal tumor
                      - Repair of frontal-ethmoidal encephalo meningocoele
                      - Retromastoid craniectomy for cerebellopontine angle tumor
                              - Acoustic meurilemmoma
                              - Meningioma
                              - Epidermoid tumor
                      - Suboccipital craniectomy for
                              - Posterior fossa tumor
                              - Cerebellopontine angle tumor
                      - Shunting procedures
                              - Ventriculo-peritoneal shunt
                              - Ventriculo-atrial shunt
                              - Lumbar subarachnoid-peritoneal shunt
                      - Repair of meningocoele
                              - Encephalomeningocoele
                              - Myelomeningocoele
                              - Surgery for syringomyelia and decompression of formen magnum

                                                        25
                                                                                                 จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                      - Stereotactic surgery for
                              - Brain biopsy
                              - Aspiration of hematoma and abscess
                      - Laminectomy, Laminotomy or Laminoplasty for
                              - Decompression of the spinal cord and nerve roots
                              - Removal of intraspinal tumor
                              - Excision of herniated disc
                              - Drainage of spinal abscass
                      - Anterior or lateral approach for
                              - Drainage of abscess
                              - Decompression of the spinal cord
                              - Interbody fusion
                      - Spinal fusion
                              - Anterior interbody fusion of cervical spine
                              - Anterior cervical plate fixation
                              - Posterior C1-2-3 fusion and wiring
                              - Posterior fusion of the lower cervical, thoracic and lumbar spine
                              - Spinal instrumentation
                              - Occiput – cervicla fusion
                      - Neurorrhaphy and neurolysis
                      - Pain surgery
                              - DREZ
                              - Sympathectomy
                      - Excision of the peripheral nerve tumor

     2. โรคและพยาธิสภาพของโรคที่สามารถรักษาได และหัตถการทางประสาทศัลยศาสตรที่สามารถทํา
     ไดโดยมีผูเชียวชาญเปนที่ปรึกษา
                   ่
         2.1 โรคและพยาธิสภาพของโรคที่สามารถรักษาไดโดยมีผูเชียวชาญเปนที่ปรึกษา
                  - Craniosynostosis with craniofacial abnormalities
                  - Tethering of the spinal cord
                         - Lipomyelomeningocoele
                         - Diastematomyelia
                         - Dermal sinus with intraspinal dermoid tumor
                                                           26
                                                                                                    จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                          - Neurenteric cyst
                  - Congenital abnormalities around the craniovertebral junction
                          - Platybasia
                          - Basilar invagination
                          - Os odontoideum
                  - Spontaneous subarachnoid hemorrhage
                          - Aneurysm of the posterior circulation
                          - Giant intracranial aneurysm
                          - Difficult arteriovenous malformations: cerebral, spinal
                  - Occlusive cerebrovascular diseases
                          - Extracranial: carotid stenosis, subclavian steal syndrome
                          - Intracranial
                  - Brain tumor
                          - Meningoma: Sphenoid ridge, faix, tuberculum, olfactory groove
                          - Acoustic neurilemmoma
                          - Craniopharyngioma
                          - Ventricular tumor
                          - Ependymoma of the parabentricle and 4th ventricle
                  - Spinal tumor: intramedullary tumor
                  - Cranial nerve dysfunction
                          - Trigeminal neuralgia
                          - Hemifacial spasm
                          - Glossopharyngeal neuralgia
                  - Chronic pain syndrome
                          - Non-cancerous cause
                          - Cancerouos cause
           2.2 หัตการทางประสาทศัลยศาสตรที่สามารถทําไดโดยมีผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษา
                  - การผาตัดและหัตถการเพือรักษาโรคและพยาธิสภาพในหัวขอ ๒.๑
                                              ่
                  - Aneurysm surgery: clipping of aneurysm of posterior circulation
                  - Excision of complex cerebral arteriovenous malformation
                  - Excision of spinal arteriovenous malformation
                  - Cerebral revascularization

                                                     27
                                                                                            จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                      - Carotid endarterectomy
                      - Obliteration of the carotid-cavernous fistula by direct of cavervous sinus
                         surgery
                      - Microvascular decompression of the lower cranial nerves: CN V, VII,
                        IX & X
                      - Pain surgery
                              - Antero-lateral cordotomy
                              - Medullary tractotomy
                              - Longitudinal myelotomy
                      - Functional neurosurgery
                      - Endoscopic neurosurgery
                      - Skull base surgery




                                                           28
                                                                                                     จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร
                                                               ผนวก ข
                              คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรูความชํานาญ
                             ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร
           ๑. นายแพทยวรวุฒิ                จรรยาวนิชย           ประธานอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ
                                                                  สาขาประสาทศัลยศาสตร
           ๒. นายแพทยวทัญู                ปรัชญานนท            อนุกรรมการฯ
           ๓. นายแพทยทวีศกดิ์
                           ั                จันทรวิทยานุชิต      อนุกรรมการฯ
           ๔. นายแพทยนครชัย                เผื่อนปฐม             อนุกรรมการฯ
           ๕. นายแพทยสุพัฒน               โอเจริญ               อนุกรรมการฯ
           ๖. นายแพทยพิชิต                 อนุวุฒนาวิน
                                                    ิ             อนุกรรมการฯ
           ๗. นายแพทยสุรชัย                เคารพธรรม             อนุกรรมการฯ
           ๘. นายแพทยวีระ                  กสานติกุล             อนุกรรมการฯ
           ๙. แพทยหญิงจิรพร                เหลาธรรมทัศน        อนุกรรมการฯ
           ๑๐. นายแพทยกัมมันต             พันธุธุมจินดา
                                                                 อนุกรรมการฯ
           ๑๑. นายแพทยศุภโชค               จิตรวาณิช             อนุกรรมการฯ และเลขานุการ




                                                                 29
                                                                                                   จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร



                                 คณะอนุกรรมการฝกอบรมความรูความชํานาญ
                             ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร

           1. นายแพทยศุภโชค                จิตรวาณิช         ประธานอนุกรรมการฝกอบรมฯ
                                                              สาขาประสาทศัลยศาสตร
           2. นายแพทยพิชิต                 อนุวุฒนาวิน
                                                   ิ          อนุกรรมการฯ
           3. นายแพทยสุรชัย                เคารพธรรม         อนุกรรมการฯ
           4. นายแพทยจิระศักดิ์            ปาณินท           อนุกรรมการฯ
           5. นายแพทยสงวนสิน               รัตนเลิศ          อนุกรรมการฯ
           6. นายแพทยวีรศักดิ์             ธีระพันธเจริญ    อนุกรรมการฯ
           7. นายแพทยนฤดล                  ประภาวัต          อนุกรรมการฯ
           8. นายแพทยนันทศักดิ์            ทิศาวิภาต         อนุกรรมการฯ
           9. นายแพทยไชยวิทย              ธนไพศาล           อนุกรรมการฯ
           10.นายแพทยสิทธิพร               บุณยนิตย         อนุกรรมการฯ
           11.นายแพทยสมศักดิ์              ผองประเสริฐ      อนุกรรมการฯ




                                                             30
                                                                                         จํานวน 31 หนา
ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา
หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร




                                   คณะอนุกรรมการสอบความรูความชํานาญ
                             ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร

           1. นายแพทยวรวุฒิ                จรรยาวนิชย         ประธานอนุกรรมการสอบฯ
                                                                สาขาประสาทศัลยศาสตร
           2.   นายแพทยสุพัฒน             โอเจริญ             อนุกรรมการฯ
           3.   นายแพทยทวีศักดิ์           จันทรวิทยานุชิต    อนุกรรมการฯ
           4.   นายแพทยนครชัย              เผื่อนปฐม           อนุกรรมการฯ
           5.   นายแพทยอนุศักดิ์           เลียงอุดม           อนุกรรมการฯ
           6.   นายแพทยสุชิน               บุญมา               อนุกรรมการฯ
           7.   นายแพทยวทัญู              ปรัชญานนท          อนุกรรมการฯ




                                                               31
                                                                                       จํานวน 31 หนา

More Related Content

What's hot

Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
Pises Tantimala
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
Sircom Smarnbua
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timssNirut Uthatip
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
Sircom Smarnbua
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
Wongvian Wongkaso
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนpentanino
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
Chalit Arm'k
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
Sircom Smarnbua
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
Wichai Likitponrak
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
Sircom Smarnbua
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
สุธารักษ์ พันธ์วงศ์รัตน์
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานKrupol Phato
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการtassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
Quality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBUQuality Assurance communication Arts KBU
Quality Assurance communication Arts KBU
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
คุณภาพชีวิตการทำงาน
คุณภาพชีวิตการทำงานคุณภาพชีวิตการทำงาน
คุณภาพชีวิตการทำงาน
 
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
โครงสร้างรายวิชาเคมี ม6 1 2558
 
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
12 ตัวอย่างการประเมินผลวิทยาศาสตร์นานาชาติ pisa_timss
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
แนวทางการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่พึงประสงค์
 
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอนสภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
สภาพปัญหาและความคิดเห็นของนิสิตที่มีต่อการจัดการเรียนการสอน
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6  1 2558
กำหนดการสอนรายวิชา เคมี ม6 1 2558
 
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนาหลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
หลักสูตรปริญญาโทวิปสสนาภาวนา
 
Lessonplanbio5
Lessonplanbio5Lessonplanbio5
Lessonplanbio5
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2  2558
เอกสารประกอบการเรียนรู้ ว 30222 เคมี2 2558
 
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพแผนการสอนที่ 2  เรื่อง สัมพันธภาพ
แผนการสอนที่ 2 เรื่อง สัมพันธภาพ
 
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐานโครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
โครงการสอน ชีววิทยาพื้นฐาน
 
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการแผนการเรียนรู้บูรณาการ
แผนการเรียนรู้บูรณาการ
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
นำเสนองานวิจัยประชุมวิชาการ มศว นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 

Viewers also liked

Thyroid mass
Thyroid massThyroid mass
Thyroid mass
hayam m
 
2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)
2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)
2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)
Jeremy F. Robles MD, FPCP, FPSEM
 
Perioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal Surgery
Perioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal SurgeryPerioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal Surgery
Perioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal Surgery
Terry Shaneyfelt
 
Management Of Solitary Thyroid Nodule
Management Of Solitary Thyroid NoduleManagement Of Solitary Thyroid Nodule
Management Of Solitary Thyroid NoduleAnil Haripriya
 
Thyroidectomy
ThyroidectomyThyroidectomy
Thyroidectomy
Dr Jishnu KR
 
Solitary thyroid nodule
Solitary   thyroid noduleSolitary   thyroid nodule
Solitary thyroid noduleDukhum Magu
 
thyroid surgery
thyroid surgerythyroid surgery
thyroid surgeryshabeel pn
 
Addison's disease
Addison's diseaseAddison's disease
Addison's disease
Abdullatif Al-Rashed
 
Thyroid nodule ATA guideline 2016
Thyroid nodule ATA guideline 2016Thyroid nodule ATA guideline 2016
Thyroid nodule ATA guideline 2016
Syed Mogni
 
Thyroidectomy
ThyroidectomyThyroidectomy
Thyroidectomy
Bashir BnYunus
 
Addison’s disease final ppt
Addison’s disease final pptAddison’s disease final ppt
Addison’s disease final pptArielle Howard
 
Surgery thyroid
Surgery  thyroidSurgery  thyroid
Surgery thyroid
DHANPAL SINGH
 
Addison’s disease
Addison’s diseaseAddison’s disease
Addison’s disease
mohamed alsheikh
 

Viewers also liked (17)

Thyroid Noudle
Thyroid NoudleThyroid Noudle
Thyroid Noudle
 
Thyroid
ThyroidThyroid
Thyroid
 
Thyroid mass
Thyroid massThyroid mass
Thyroid mass
 
2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)
2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)
2013 4-14 CDO TEPI - thyroid nodules and cancer (Case Based Approach)
 
Addison’s disease
Addison’s diseaseAddison’s disease
Addison’s disease
 
Perioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal Surgery
Perioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal SurgeryPerioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal Surgery
Perioperative Management of Hypothyroid Patients Undergoing Nonthyroidal Surgery
 
Management Of Solitary Thyroid Nodule
Management Of Solitary Thyroid NoduleManagement Of Solitary Thyroid Nodule
Management Of Solitary Thyroid Nodule
 
Thyroidectomy
ThyroidectomyThyroidectomy
Thyroidectomy
 
Solitary thyroid nodule
Solitary   thyroid noduleSolitary   thyroid nodule
Solitary thyroid nodule
 
thyroid surgery
thyroid surgerythyroid surgery
thyroid surgery
 
Addison's disease
Addison's diseaseAddison's disease
Addison's disease
 
Addison’s disease
Addison’s diseaseAddison’s disease
Addison’s disease
 
Thyroid nodule ATA guideline 2016
Thyroid nodule ATA guideline 2016Thyroid nodule ATA guideline 2016
Thyroid nodule ATA guideline 2016
 
Thyroidectomy
ThyroidectomyThyroidectomy
Thyroidectomy
 
Addison’s disease final ppt
Addison’s disease final pptAddison’s disease final ppt
Addison’s disease final ppt
 
Surgery thyroid
Surgery  thyroidSurgery  thyroid
Surgery thyroid
 
Addison’s disease
Addison’s diseaseAddison’s disease
Addison’s disease
 

Similar to หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
Totsaporn Inthanin
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมtanong2516
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)chuvub
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.nang_phy29
 
Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]krupatchara
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
parinya poungchan
 
ประกาศรับสมัคร ป.โท 56
ประกาศรับสมัคร ป.โท 56ประกาศรับสมัคร ป.โท 56
ประกาศรับสมัคร ป.โท 56tarat_mod
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
Bhayubhong
 
English for doctor
English for doctorEnglish for doctor
English for doctor
Utai Sukviwatsirikul
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
kruthai40
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
หลักสูตรแกนกลาง2551
หลักสูตรแกนกลาง2551หลักสูตรแกนกลาง2551
หลักสูตรแกนกลาง2551pa_ku68
 
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
 ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต  ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
vila20012
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
ผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตร
ผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตรผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตร
ผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตร
puangpaka
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
jirupi
 

Similar to หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน (20)

การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1การปรับ คอศ. 1
การปรับ คอศ. 1
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติมหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิตปรับปรุง พ.ศ. 2549 ปรับปรุงเพิ่มเติม
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.10.ระเบียบวัดผล ดพ.
10.ระเบียบวัดผล ดพ.
 
Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]Ppt+วิทยา..[1]
Ppt+วิทยา..[1]
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
ประกาศรับสมัคร ป.โท 56
ประกาศรับสมัคร ป.โท 56ประกาศรับสมัคร ป.โท 56
ประกาศรับสมัคร ป.โท 56
 
Qa 3
Qa 3Qa 3
Qa 3
 
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
หลักสูตรสถานศึกษา พายุพงศ์1
 
English for doctor
English for doctorEnglish for doctor
English for doctor
 
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐานการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาอิงมาตรฐาน
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
หลักสูตรแกนกลาง2551
หลักสูตรแกนกลาง2551หลักสูตรแกนกลาง2551
หลักสูตรแกนกลาง2551
 
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
 ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต  ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
ประมวลรายวีชา เภสัชกรรมบําบัต
 
File1
File1File1
File1
 
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
Pcm
PcmPcm
Pcm
 
ผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตร
ผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตรผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตร
ผลการประเมินหลักสูตร และวิเคราะห์หลักสูตร
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 05
 

หลักสูตรฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้าน

  • 1. หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตร ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย และ แพทยสภา
  • 2. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร สารบัญ หนา 1. ชื่อหลักสูตร “การฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตร” 1 2. ระยะเวลาการฝกอบรม 3. ชื่อคุณวุฒิ 4. หลักการและเหตุผล 5. วัตถุประสงค 6. คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม 7. หลักสูตรและระยะเวลา 8. การประเมินผลการฝกอบรมและการพัฒนาอยางตอเนื่อง 9. ประสบการณการผาตัดและหัตถการ อืนๆ ่ 10. ผลงานทางวิชาการ 11. ขอกําหนดเพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร 12. หลักเกณฑและวิธีดาเนินการสอบและการตัดสินผล ํ 13. การพิจารณาผูขอสอบเปนกรณีพิเศษ 14. หลักเกณฑเกียวกับคุณภาพของสถาบันฝกอบรมแพทยประจําบาน ่ ผนวก ก เนื้อหารายละเอียดหลักสูตร หลักสูตรศัลยศาสตรทั่วไปชันปที่ 1 ้ หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 2 หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 3 หัตถการที่ตองทําไดดี หัตถการที่ตองรูและสามารถทําไดโดยมีผเู ชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษา ผนวก ข คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร คณะอนุกรรมการฝกอบรมความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร 2 จํานวน 31 หนา
  • 3. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร หลักสูตรการฝกอบรมเพื่อวุฒิบัตรแสดง ความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร 1. ชื่อหลักสูตร “การฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตร” 2. ระยะเวลาการฝกอบรม : 5 ป (60 เดือน) 3. ชื่อคุณวุฒิ ชื่อเต็ม : วุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร ชื่อยอ : ว.ว. ประสาทศัลยศาสตร ชื่อภาษาอังกฤษ : Diploma of Thai board of Neurosurgery 4. หลักการและเหตุผล หลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบาน เพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร มีเปาหมายใหแพทยประจําบานที่สําเร็จการฝกอบรมแลวเปนประสาทศัลยแพทย ที่มีความรูความชํานาญและมีคุณภาพไดมาตรฐานเทียบเทียมนานาชาติ เปนแพทยที่มีความรูความสามารถและ ทักษะ ทั้งในดานการศึกษา การวิจัยพัฒนา ความสามารถในการบริหารจัดการในการใหบริการผูปวยทางประสาท ศัลยศาสตรไดอยางสมบูรณครบวงจร สมความตองการของสังคมในทองถิ่นตางๆ ในประเทศไทย เริ่มตั้งแต พ.ศ. 2521 ที่แพทยสภาไดอนุมัติใหมีโครงการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาตางๆ เพื่อเปน แพทยเฉพาะทาง เพื่อออกไปรับใชสังคมในสวนตางๆ ของประเทศไทย หลักสูตรการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขา ประสาทศัลยศาสตรนั้น กําหนดระยะเวลาเพียง 3 ป เทากับสาขาอื่นๆ ตามความตองการของประเทศในขณะนั้น แต ตลอดระยะเวลาที่ผานมา โดยเฉพาะอยางยิ่งในสองทศวรรษหลังนี้ วิชาความรูทางประสาทวิทยาและประสาท ศัลยศาสตร และเทคโนโลยีทางการแพทย มีความเจริญกาวหนาไปอยางมากทั้งทางกวางและทางลึก จึงเปนคาม จํ า เป น และเหมาะสมอย า งยิ่ ง ที่ ต อ งปรั บ ปรุง หลั ก สูต รและขยายระยะเวลาในการฝ ก อบรมเปน 5 ป เพื่ อ รั ก ษา มาตรฐานใหใกลเคียงกับสากล เพื่อใหแพทยประจําบานผูสําเร็จการฝกอบรมแลวนั้น เปนประสาทศัลยแพทยผูมี ความรู ความสามารถและประสบการณอยางเพียงพอในการที่จะสามารถใหบริการดานประสาทศัลยศาสตรอยาง ครบถวน ตามกําลังทรัพยากรที่มีอยู ตอบสนองความตองการและความคาดหวังของผูปวย สังคม และชุมชนนั้นๆ ใน ประเทศไทย ซึ่งเปนการเพิ่มศักยภาพในการบริการดานประสาทศัลยศาสตรในสังคมนั้นและลดการสงตอผูปวยมารับ การรักษาตัวในสวนกลาง 3 จํานวน 31 หนา
  • 4. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร 5. วัตถุประสงคของหลักสูตร 5.1 วัตถุประสงคทั่วไป 5.1.1 เพื่อใหแพทยประจําบานที่ผานการฝกอบรมแลว เปนผูมีความรู ความสามารถและมีคุณภาพ ตามมาตรฐานสากล สามารถตอบสนองตอความตองการบริการสาธารณสุขดานศัลยกรรมประสาทในทองถิ่นตางๆ ในประเทศไทย 5.1.2 มี ค วามรู ท างวิท ยาศาสตร พื้น ฐานทางศั ลยศาสตร เพื่ อ เป น รากฐานในการปรับ ปรุ ง และ ประยุกตใชใหทันกับความเจริญกาวหนาทางวิชาการอยางเหมาะสมถูกตอง 5.1.3 มีความรความสามารถพื้นฐานในหลายสาขาของศัลยศาสตรเฉพาะทางและสาขาที่เกี่ยวเนื่อง เพื่อสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานอยางเหมาะสมตามความจําเปน 5.1.4 เปนประสาทศัลยแพทยที่มีคุณธรรม จริยธรรม และเจตคติที่ดีตอผูปวย ญาติ ผูรวมงาน เพื่อน รวมวิชาชีพ ชุมชนและสังคม 5.2 วัตถุประสงคเฉพาะ เพื่อผลิตประสาทศัลยแพทยที่มีคุณลักษณะเฉพาะดังตอไปนี้ 5.2.1 มีความรูความสามารถในการรักษาผูปวยทางระบบประสาทโดยวิธีทางศัลยกรรมไดอยางมี ประสิทธิภาพ และประสิทธิผลทั้งนี้ รวมถึงการปองกันและแกไขภาวะแทรกซอนตางๆ ดวย 5.2.2 มีความรูความเขาใจเปนอยางดีในสาเหตุ กลไก และการดําเนินโรคทางประสาทศัลยศาสตร และประสาทวิ ท ยา มี ประสบการณ และทัก ษะในการตรวจวินิ จฉั ยและแปลผลการตรวจตา งๆ ได อยา งถูก ต อง เหมาะสม สามารถแกไขปญหาไดอยางเปนระบบ มีการตัดสินใจและเลือกใหการรักษา ทั้งโดยวิธีผาตัดและรักษาวิธี ื่ อนๆ ไดอยางเหมาะสมถูกตอง 5.2.3 มีความสามารถศึกษาตอเนื่อง และพัฒนาตนเองไดดี ทั้งในดานทฤษฎี และหลักการตางๆ โดยเฉพาะทางดานประสาทศัลยศาสตรและจุลศัลยศาสตร 5.2.4 มีความรูความสามารถในการวิเคราะห และจัดทํางานทางวิชาการและการวิจัย 6. คุณสมบัติของผูเขารับการฝกอบรม 6.1 เปนผูที่ไดรับปริญญาบัตรแพทยศาสตรบัณฑิต 6.2 เปนผูที่ไดรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเวชกรรม ตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 6.3 เปนผูมีคุณสมบัติครบถวนตามเงื่อนไขที่แพทยสภากําหนด 7.หลักสูตรและระยะเวลา หลักสูตรประสาทศัลยศาสตร กําหนดระยะเวลาในการฝกอบรมอยางนอย 5 ป (60 เดือนเต็ม) เวนแตไดรับ อนุมัติเปนกรณีพิเศษจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตรโดยแบงตามระยะเวลาการ ฝกอบรมดังนี้ 4 จํานวน 31 หนา
  • 5. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร 7.1 หลักสูตรศัลยศาสตรชั้นปที่ 1 ระยะเวลาทั้งสิ้น 12 เดือน เปนหลักสูตรพื้นฐานทางศัลยศาสตร และสาขาที่เกี่ยวเนื่องสําหรับแพทย ประจําบานทุกสาขาทางศัลยศาสตร เพื่อเปนการเตรียมความรู ทักษะ และประสบการณ เพื่อใหแพทยประจําบาน สามารถใหการวินิจฉัย การตรวจและใหการรักษาเบื้องตนสามารถใหคําแนะนําและสงตอผูปวยไปรักษาตอกับแพทย ผูเชี่ยวชาญเฉพาะสาขานั้นๆ ไดอยางถูกตองเหมาะสม โดยมีระยะเวลาในการฝกอบรมดังนี้ 7.1.1 ศัลยศาสตรทั่วไป และศัลยศาสตรอุบัติเหตุ 4 เดือน 7.1.2 ศัลยศาสตรตกแตง 1 เดือน 7.1.3 ศัลยศาสตรออรโธปดิกส 1 เดือน 7.1.4 วิสัญญีวิทยาและการรักษาผูปวยภาวะวิกฤต 2 เดือน 7.1.5 ศัลยศาสตรอื่นๆ และสาขาที่เกี่ยวเนื่อง 4 เดือน ในรายละเอียดแตละสาขาอื่นๆ นั้นใหกําหนดตามแตสถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยูแตละหนวยจะพิจารณาตามกรอบที่ ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย กําหนดไว 7.2 หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ ๒ 3 เดือน 7.2.1 ประสาทวิทยา อยางนอย 2 เดือน 7.2.2 รังสีวิทยา ประสาทวิทยา และรังสีรักษา อยางนอย 2 เดือน 7.2.3 ประสาทพยาธิวิทยาอยางนอย 1 เดือน 7.2.4 การวิจัยทางการแพทย 1 เดือน 7.2.5 วิชาเลือกโดยผูเขาฝกอบรมเลือกได 2 เดือน (ภายใตความเห็นชอบของสถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยู) 7.3 หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรปที่ 3, 4 และ 5 หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรคลิกนิก รวม 36 เดือน ประกอบดวยภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การดูแล รักษาผูปวยทางประสาทศัลยศาสตร โดยตองมีเนื้อหาทักษะและประสบการณในการผาตัด รวมทั้งหัตถการอื่นๆ ตามที่กําหนดไว ในรายละเอียดทายหลักสูตร จะตองมีเวลาปฏิบัติงานในสถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยู อยางนอย 24 เดือน และสามารถปฏิบัติงานในสถาบันฝกอบรมที่ไดรับการรับรองแลวตามระยะเวลาที่สถาบันฝกอบรมที่สังกัดอยู กําหนด เมื่ อ สิ้ น สุ ด การฝ ก อบรมในชั้ น ป ที่ 3 แพทย ป ระจํ า บ า นต อ งเสนอโครงการงานวิ จั ย (Research Proposal) ที่จะทําสําหรับการสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ ฉบับสมบูรณใหหัวหนาผูรับผิดชอบหลักสูตรหรือผูที่ไดรับมอบหมาย รับรองความเหมาะสม 8. การประเมินผลการฝกอบรมและพัฒนาอยางตอเนื่อง สถาบันฝกอบรมฯ มีหนาที่ 8.1 พิ จ ารณา กํ า หนด ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาโครงการฝ ก อบรมของตนเอง อย า งต อ เนื่ อ งตามกรอบที่ คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตรกําหนด 5 จํานวน 31 หนา
  • 6. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร 8.2 รับผิดชอบจัดสอบเพื่อประเมินผลการฝกอบรมแพทยประจําบานในระหวางการฝกอบรมตาม หวงเวลา อันเหมาะสม 8.3 ประเมินผล ประสบการณ การเรียนรู และความกาวหนาของแพทยประจําบานในแตละระดับชั้นตาม ความเหมาะสมทั้งในดานทฤษฎี, การปฏิบัติ และหัตถการทางศัลยกรรมประสาท ความสามารถในการตัดสินใจ ความสามารถและความรับผิดชอบในการดูแลรักษาผูปวยดานประสาทศัลยศาสตร เจตคติ จริยธรรมและมนุษย สัมพันธ และพิจารณาตัดสิน ใหแพทยประจําบานผูนั้นเลื่อนระดับชั้นป รวมทั้งพิจารรารับรองแพทยประจําบาน เปนผู มีสิทธิในการสมัครสอบกับแพทยสภา ในการสอบเพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู ความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ เวชกรรมสาขาประสาทศัลยศาสตร 9. ประสบการณการผาตัดและหัตถการอื่นๆ แพทยประจําบานตองบันทึกประสบการณ การทําหัตถการตางๆ ในทางศัลยกรรมประสาท การชวยผาตัด และการทําผาตัดเองในแตละชั้นป โดยมีรายละเอียดครบถวนตามหลักสูตรที่แนบทายนี้ เมื่อจบการฝกอบรมแลว แพทยประจําบานจะตองสงบันทึกประสบการผาตัดทั้งหมดตลอดระยะเวลาฝกอบรม 5 ป เปนเอกสารซึ่งมีหัวหนา ผูรับผิดชอบหลักสูตร หรือ ผูที่ไดรับมอบหมายรับรอง เพื่อประกอบการขอสมัครสอบเพื่อวุฒิบัตรฯ ตอไป 10. ผลงานทางวิชาการ แพทยประจําบานตองมีผลงานทางวิชาการที่มีคุณภาพ ภายใตการควบคุมของอาจารยที่ปรึกษา โดยเสนอ หัวขอโครงการวิจัย (Research Proposal) ภายในการฝกอบรมแพทยประจําบานชั้นปที่ 3 และทําการวิจัยเสร็จสิ้น และนําเสนอ และ / หรือไดตีพิมพเผยแพรในวารสารหรือจุลสารและเปนผลวานที่ผานการประเมิน และรับรองโดย คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 11. ขอกําหนดเพื่อวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรูความชํานาญในการประกอบวิชาชีพเวชกรรมสาขาประสาท ศัลยศาสตร 11.1 สมัครโดยกรอกใบสมัครตามขอบังคับแพทยสภา พรอมทั้งชําระคาธรรมเนียมตามกําหนด 11.2 มีใบรับรองผานการสอบวิทยาศาสตรพื้นฐานทางศัลยศาสตรของราชวิทยาลัยศัลยแพทย 11.3 มีใบรับรองผานการฝกอบรมครบถวนเปนเวลาอยางนอย ๖๐ เดือน 11.4 มีใบรับรอง และเสนอชื่อเขาสอบ จากหัวหนาผูรับผิดชอบหลักสูตรการฝกอบรมหรือผูที่ไดรับมอบหมาย 11.5 ใบรายงานประสบการณการผาตัดรวมตลอดหลักสูตร 11.6 มีสําเนานิพนธตนฉบับซึ่งไดนําเสนอเผยแพรในที่ประชุมวิชาการ หรือตีพิมพหรืออยูระหวางรอการ ตีพิมพในจุลสารหรือ วารสารทางการแพทย เพื่อขอความเห็นชอบรับรองจากคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 12. หลักเกณฑและวิธีดําเนินการสอบและการตัดสินผล กําหนดโดยคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร แพทยประจําบานผูสอบเพื่อ วุฒิบัตรความรู ความชํานาญสาขาประสาทศัลยศาสตร ตองผานเกณฑดังนี้ 6 จํานวน 31 หนา
  • 7. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร 12.1 ผานการสอบวิทยาศาสตรพื้นฐานทางศัลยศาสตรของราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทย 12.2 มีเอกสารผลงานทางวิชาการและวิจัยอยางนอย ๑ เรื่อง ที่ผานความเห็นชอบของคณะอนุกรรมการ ฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร โดยคะแนนที่ไดจากเอกสารผลงานทางวิชาการฯ จะถือเปนคะแนน เสริมในการจัดอันดับและตัดสินในการสอบไดหรือตก 12.3 การสอบขอเขียน 12.4 การสอบปากเปลา (ผูสอบผานขอเขียนแลวเทานั้นที่จะมีสิทธิสอบปากเปลา) การตัดสินผลการสอบ - พิจารณาตัดสินโดยคะแนนรวมภายใตการพิจารณาของคณะอนุกรรมการ ฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 13. การพิจารณาผูขอสอบเปนกรณีพิเศษ ผูขอตองเปนผูไดรับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพเวชกรรรมตามพระราชบัญญัติวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2525 และ 13.1 การขอสอบเพื่อหนังสืออนุมัติ ผูมีสิทธิเปนแพทยผูมีประสบการณเรียนรู และปฏิบัติงานในดานประสาท ศัลยศาสตรในโรงพยาบาลในประเทศไทยที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร รับรอง เปนเวลาอยางนอย 7 ป หรือเปนผูที่ไดรับหนังสืออนุมัติฯ หรือวุฒิบัตรเพื่อแสดงความรู ความชํานาญในการประกอบ วิชาชีพเวชกรรม จากสถาบันในตางประเทศที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร และ แพทยสภา รับรอง 13.2 การขอสอบเพื่อหนังสือวุฒิบัตรฯ ผูมีสิทธิเปนแพทยผูผานการฝกอบรมระดับแพทยประจําบานชั้นป สุดทาย สาขาประสาทศัลยศาสตรในตางประเทศ จากสถาบันที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาท ศัลยศาสตรและแพทยสภารับรอง โดยระยะเวลาฝกอบรมอยางนอย 5 ป ขึ้นไปและมีหลักสูตรการฝกอบรมเทียบเทา การฝกอบรมของแพทยสภา ทั้งนี้การพิจารณาประเมินคุณสมบัติของผูขอสอบเปนกรณีพิเศษใหอยูในดุลยพินิจของคณะอนุกรรมการ ฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 14. หลักเกณฑเกี่ยวกับคุณภาพของสถาบันฝกอบรมแพทยประจําบาน 14.1 หลักการทั่วไป สํ า หรั บ สถาบั น หลั ก ที่ ใ ห ก ารฝ ก อบรมแพทย ป ระจํ า บ า นสาขาประสาทศั ล ยศาสตร ต อ งเป น โรงพยาบาลที่มีการจัดระบบงานที่ไดมาตรฐาน มีระบบเวชระเบียน มีสถานที่ อุปกรณ และจํานวนคนไขภายในและ ภายนอกพอเหมาะแกการศึกษา มีการแบงแผนกสาขาวิชาหลักที่ชัดเจน และประกอบดวย หนวยประสาทศัลยศาสตร ประสาทวิทยา รังสีวิทยา พยาธิวิทยา ฯลฯ มีแพทยผูทรงคุณวุฒิ สาขาตางๆ เปนอาจารยผูใหความรูระหวางการ ฝกอบรมในจํานวนที่เหมาะสม มีการจัดการสิ่งแวดลอมตางๆ และระบบการศึกษาที่เอื้ออํานวยตอการฝกอบรม โดย สถาบั น จะต อ งดํ า รงไว ซึ่ ง มาตรฐานและมี ก ารพั ฒ นาอย า งต อ เนื่ อ ง พร อ มรั บ การตรวจประเมิ น คุ ณ ภาพจาก คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 7 จํานวน 31 หนา
  • 8. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร 14.2 สถานที่ - มีจํานวนเตียงศัลยกรรมประสาทรวมไมนอยกวา 30 เตียง - มีจํานวนเตียงหอผูปวยอภิบาลผูปวยหนัก - มีหองผาตัดใหญ พรอมอุปกรณโดยเฉพาะจุลศัลยศาสตร - มีหองประชุมพรอมเครื่องโสตทัศนูปกรณ - มีหองสมุดพรอมตําราและวารสารทางการแพทย และระบบสืบคนที่ทันสมัย เกี่ยวกับความรูดานประสาทศัลยศาสตร 14.3 กิจกรรมและอุปกรณที่เกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยและรักษา 14.3.1 การตรวจทางรังสีวิทยา เชน Cerebral Angiography, Myelography CT หรือ MRI ฯลฯ 14.3.2 การตรวจทาง Neurophysiology เชน EEG, EMG ฯลฯ 14.3.3 การตรวจทางพยาธิวิทยา, พยาธิคลินิก และการตรวจศพ ฯลฯ 14.4 บุคลากร 14.4.1 จํานวนอาจารยประสาทศัลยแพทย (ที่ไดรับวุฒิบัตรฯ หรือหนังสืออนุมัติฯ) 1 ทาน เปน สัดสวนตอ จํานวนแพทยประจําบานประสาทศัลยศาสตร 3 ทาน (รวมทุกชั้นป) 14.4.2 จํานวนวิสัญญีแพทย อยางนอย 1 ทาน 14.4.3 จํานวนรังสีแพทย อยางนอย 2 ทาน 14.4.4 จํานวนพยาธิแพทย อยางนอย 1 ทาน 14.5 สถิติผูปวย - จํานวนการผาตัดทางศัลยกรรมประสาท (รวม) ไมนอยกวา 200 รายตอป - จํานวนผาตัดโรคเนื้องอกสมองไมนอยกวา 30 รายตอป - จํานวนผาตัดหลอดเลือดสมองอันไดแกการผาตัด Aneurysm และ AVM ไมนอยกวา 10 รายตอป 14.6 กิจกรรมวิชาการ มีกิจกรรมวิชาการทางประสาทศัลยศาสตร เชน M+M Conference, การประชุมรวม ฯลฯ 14.7 สถาบันฝกอบรมสมทบ - สถาบันฝกอบรมหลักสามารถเปนสถาบันฝกอบรมสมทบของสถาบันฝกอบรมหลักอีกแหงหนึ่งได โดยทําความตกลงกันเอง เพื่อประโยชนของโครงการฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ของ สถาบันหลักนั้น - สถาบันฝกอบรมหลัก สามารถพิจารณาเสนอสถาบันฝกอบรมสมทบใหมตามความเหมาะสม เพื่อ เสนอคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร เพื่อพิจารณาประเมินคุณภาพและเสนออนุมัติ ตอแพทยสภาตอไป 8 จํานวน 31 หนา
  • 9. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร 14.8 การอนุมัติสถาบันฝกอบรม - ใหสถาบันฝกอบรมหลักทั้ง 7 แหงที่มีอยูเดิม เปนสถาบันฝกอบรมหลักสูตร 5 ปนี้ตอไป - การขออนุมัติสถาบันฝกอบรมหลักใหม เพิ่มเติมใหสถานพยาบาลที่มีคุณสมบัติครบและมีความ ตองการจะเปดโครงการฝกอบรมแพทยประจําบาน สาขาประสาทศัลยศาสตรรวบรวมรายละเอียดและเสนอตอ แพทยสภาเพื่อใหคณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร ตรวจและใหการรับรองตอไป 9 จํานวน 31 หนา
  • 10. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ผนวก ก เนื้อหารายละเอียดหลักสูตร - หลักสูตรศัลยศาสตรทั่วไปชั้นปที่ 1 - หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 2 - หลักสูตรประสาทศัลยศาสตรชั้นปที่ 3 - 5 - หัตถการที่ตองทําไดดี - หัตถการที่ตองรูและสามารถทําไดดีโดยมีผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษา 10 จํานวน 31 หนา
  • 11. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร หลักการของศัลยศาสตร (Principles of Surgery) หลักการของศัลยศาสตร เปนพื้นฐานทั่วไปที่แพทยประจําบานทางศัลยศาสตรทุกสาขา จะตองรูอยางดี เพื่อ ความเขาใจในปญหาพื้นฐานรวมกันทางศัลยศาสตร ซึ่งจะทําใหการดูแลรักษาผูปวยทางศัลยกรรมในองครวมได เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และเปนความรูซึ่งแพทยประจําบานจะตองไปศึกษาอยางตอเนื่องตลอดระยะเวลาใน เรื่องตอไปนี้ Metabolic Response to Injury Trauma Fluid, Electrolyte and Acid-Base Therapy Hemostasis, Surgical Bleeding and Transfusion Hemodynamics and Hypertension Shock Cardiac Arrest and Resuscitation Surgical Infection Antibiotic: Usage and Hazards Wound Healing and Wound Care Sutrues and Implant in Surgery Principles of Critical Care Basic Principles of Oncology Basic Principles of the Tissue Transplantation Diabetes and Surgery Radiotherapy Chemotherapy Terminal Care in Surgery Ansthesiology 11 จํานวน 31 หนา
  • 12. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ศัลยศาสตรคลินิค (Clinical Surgery) ประกอบดวยความรูทางทฤษฎีเกี่ยวกับภาวะของโรคทางศัลยศาสตรซึ่งประกอบดวย 1. ศัลยศาสตรทั่วไป (General Surgery) ซึ่งจะครอบคลุมหัวขอตอไปนี้ 1.1 Skin and Subcutaneous Tissue 1.2 Head & Neck Surgery 1.3 Breast & Endocrine Surgery 1.4 Alimentary Tract Surgery 1.4.1 Esophagus, Stomach, Small Intestine 1.4.2 Colo-Rectal & Anus 1.4.3 Hepatobiliary & Pancreas 1.5 Spleen 1.6 Abdominal Wall and Intraabdominal Cavity 1.7 Vascular Surgery 1.8 Surgical Oncology 1.9 Transplantation Surgery 1.10 Laparoscopic and Endoscopic Surgery 2. ศัลยศาสตรในสาขาอืนๆ ซึ่งศัลยแพทยทั่วไปจะตองรู ่ 2.1 Pediatric Surgery 2.2 Urology 2.3 Plastic Surgery 2.4 Orthopedic Surgery 2.5 Cardiothoracic Surgery 12 จํานวน 31 หนา
  • 13. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ศัลยศาสตรตกแตง (Plastic Surgery) แพทยประจําบานศัลยศาสตรทั่วไป ควรมีความรูพื้นฐานในโรคทางศัลยศาสตรตกแตงตอไปนี้สามารถให คําแนะนําการรักษาแกผูปวย และใหการรักษาเบื้องตนไดในกรณีที่จําเปน Basic Principles and Techniques Skin Incision Wound Closure and Wound Healing Skin Grafts Skin Flaps Z-Plasty, W-Plasty Scar Revision Tissue Expansion Burns Classification Fluid Resuscitation Burn Wound Dressing Escharotomy, Escharectomy, Fasciotomy Prevention of Burn Scar Contracture Hand Surgery Basic Principles and Techniques Care of Burned Hand Hand Infection Common Hand Tumors Hand Injuries Head and Neck Surgery Maxilla – Facial Injuries 13 จํานวน 31 หนา
  • 14. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร Skin and soft Tissue Facial bone Fractures Basic Principles and Techniques of Microsugery Replantation Revascularization Free Flap Care of the Amputated Parts Miscellaneous Pressure Sores Diabetic Foot Post-Mastectomy Reconstruction Cleft Lip and Cleft Palate Malignant Melanoma Lymphedema 14 จํานวน 31 หนา
  • 15. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ศัลยศาสตรออรโธปดิคส (Orthopedisc) แพทยประจําบานศัลยศาสตรทั่วไป ควรมีความรูพื้นฐานในโรคทางออรโธปดิคส ดังตอไปนี้เพียงพอที่จะให  คําแนะนําการรักษาแกผูปวยได และสามารถใหการรักษาเบื้องตนไดในบางกรณีทจําเปน  ี่ Pain of Extremities : Tendinitis, Bursitis, Fasciitis Arthritis, Nerve Compression, etc. Dequervain’s Disease Carpal Tunnel Syndrome Golfer or Tennis Elbow Cervical Arthritis, Disc, Spondylosis Tendinitis and Bursitis of Rotator Cuff of Shoulder Plantar Fasciitis Low Back Pain Sonddylolithesis Sciatica Spinal Stenosis Posture and Gait Disturbance Deformities of Spine, Knee, Ankie and foot Contracture Fractures and Joints Injuries Upper Extremity Injuries Lower Extremity Injuries Pelvic Injury 15 จํานวน 31 หนา
  • 16. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร Spinal Injury Diseases of Joints Pyogenic Arthritis Bone and Joint Tuberculosis Gonococcal Arthritis Rheumatoid Arthritis Osteoarthritis Gout Others Tumor of the Musculoskeletal System Primary Bone Tumors Metastatic Bone Tumors Soft Tissue Sarcoma Hand Fracture Bones of Hand Tendon, Vascular and Nerve Injuries Amputations Lower Extremity Upper Extremity Intrinsic and Extrinsic Muscle Diseases Generalized Bone Disorders Developmental Disorders Metabolic Diseases หัตถการทางศัลยกรรมทีตองทําได ่ Closed Reduction of Fracture Manual Skin Traction : Buck Traction Skeletal Traction : Tibial Traction Closed Reduction of Joint Dislocation Splintion of Fractures Application of Plaster Casts Application of Plaster Casts 16 จํานวน 31 หนา
  • 17. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร Short /Long Arm Casts Short /Long Leg Casts Wound Cleansing and Debridement of Open Fracture Fasciotomy for Compartment Syndrome Incision and Drainage of Hand Infections หลักการทางศัลยกรรมทีควรทําได ่ Local Injection for Tendinitis, Bursitis and Arthrltis Simple Open Reduction and Fixation of Fracture Fingers Repair for Simple Tendon Injuries Release of Carpal Tunnel วิสัญญีวิทยา (Anesthesiology) แพทยประจําบานศัลยศาสตรทั่วไปตองมีความรูพื้นฐานในหลักการทั่วไปของวิสัญญีวิทยา และมีทักษะใน การคัดเลือกและพิจารณาผูปวยใหเหมาะสมกับวิธีการตางๆ ของวิสัญญีวิทยา เพื่อใหการรักษาได แพทยประจําบาน ตองมีความรูและทักษะในเรื่องตอไปนี้ ไดแก การประเมินผูปวยและความเสี่ยงกอนผาตัด  การให Premedication Anesthetic Agents And Muscle Relaxants ขั้นตอนของการดมยาสลบ - Induction - Anesthetic Drugs and Action - Monitoring - Reversal การดูแลผูปวยหลังจากการดมยาสลบ ปญหาแทรกซอนจากการรักษาทางวิสัญญี การให Epidural/ Spinal Anesthesia Pain Management หัตถการที่ตองทําได  Endotracheal Intubation Spinal Anesthesia Local and Regional Anesthesia Ventilator Setup 17 จํานวน 31 หนา
  • 18. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร พื้นฐานการวิจัยทางศัลยศาสตร (Basic Surgical Research & Methodology) แพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตรจะตองมีนิสัยการเรียนรูอยางตอเนื่อง ตองมีความรูพื้นฐาน เกี่ยวกับการวิจัย เนื่องจากความรูดานการแพทยมีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา ขอมูลขาวสารทางวิจัยตางๆ มีอยู มากมายจนไมสามารถอานไดหมด จึงมีความจําเปนที่จะตองรูจักเลือกอานขอมูลที่มีประโยชนและเชื่อถือได สามารถ วิเคราะหขอมูลตางๆ และสรุปความคิดเห็นได ทั้งใหมีความรูพื้นฐานทางการวิจัยเพื่อไดไปพัฒนาและรูจักผลิต ผลงานวิจัยขึ้นมาไดเอง การฝกอบรมสว นนี้เ ปนเวลา 1 เดือน ในสถาบัน ที่คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาท ศัลยศาสตร และ/หรือ ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยรับรอง โดยจัดการอบรมหลักสูตรระยะสั้น เพื่อเปน ความรูพื้นฐานทางการวิจัยใหแกแพทยประจําบานประสาทศัลยศาสตร ซึ่งจะครอบคลุมความรูในเรื่องตอไปนี้ Research Questions Research Designs Research Designs in Natural History and Risk Factor Research Designs in Diagnostic Test Research Designs in Prevention and Treatment Sample Size Determination Basic Statistics Critical Appraisal ฯลฯ 18 จํานวน 31 หนา
  • 19. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร Clinical Neurology Part I: Clinical Method of Neurology Part II : Disorders of Motility Pain & Other Disorders of Somatic Sensation, Headache & Pain Disorder of special Senses Epilepsy & Disorders of Consciousness Derangement of Intellectual, Behavior and Language Anxiety and Disorders of Energy, Mood, Emotion, and Autonomic and Endocrine Functions Part III : Growth and Development of the Nervous System and the Neurology of Aging Part IV : Major Categories of Neurological disease - Disturbances of CSF circulation - Intracranial neoplasms - Non Viral infections - Viral infections - Cerebrovascular diseases - Multiplesclerosis and Allied Demyelinative diseases - Inherited Metabolic diseases - Nutritional Deficiency related diseases - Acquired Metabolic Disorders - Drugs & Other Chemical agents 19 จํานวน 31 หนา
  • 20. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Degenerative diseases - Developmental diseases Part V : Disease of the Spinal Cord, Peripheral nerve and Muscle Part VI: Psychiatric disorders รังสีวินิจฉัย, รังสีวิทยา และรังสีรักษา (Diagnostic radiology and Radiation therapy) แพทยประจําบานประสาทศัลยศาสตรตองเขารับการอบรมดวยรังสีวิทยา เปนเวลาอยางนอย 8 สัปดาห โดย แบงเปนเขาฝกอบรมสาขารังสีวินิจฉัย 4-6 สัปดาห และรังสีรักษา 2-4 สัปดาห วัตถุประสงค เพื่อใหแพทยประจําบาน สามารถ 1. อธิบายความรูพื้นฐานดานรังสีวินิจฉัยและรังสีรักษา ที่นํามาใชกับผูปวยประสาทศัลยศาสตร 2. สามารถอานผล CT และ MRI ของสมองและไขสันหลังไดถูกตอง 3. สามารถออกแบบการศึกษา (Study design) ของ MRI ตอโรคตาง ทางประสาทศัลยศาสตรไดเหมาะสม 4. สามารถทําหัตถการ และอานผล Cerebral angiography ไดถูกตอง 5. อธิบายหลักการพื้นฐานและผลขางเคียงของการใชรังสีรักษาในโรคทางประสาทศัลยศาสตร 6. สามารถวางแผนการรักษาดวยรังสีรักษาในโรคทางประสาทศัลยศาสตร โดยการดูแลของอาจารยดานรังสี รักษา เนื้อหาวิชา - Radiology of the skull & spine - Application of Computed Tomography and Magnetic Resonance Imaging in Neurosurgical disease - Ultrasonography - Cerebral angiography - Basic radiation therapy 20 จํานวน 31 หนา
  • 21. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Application of radiotherapy for neurosurgical disease ประสบการณการเรียนรู 1. อานผลทางรังสีวินิจฉัยรวมกับอาจารยที่ดูแล 2. มีสวนรวมในการใชเครื่อง CT scan และ MRI เพื่อใหไดภาพที่เหมาะสมกับโรคของผูปวย 3. ชวยหัตถการ Cerebral angiography อยางนอย ๓ ราย กอนไดเขาทําหัตถการนี้ดวยตนเอง ภายใตการ กํากับดูแลของอาจารยที่ปรึกษา 4. ดูแลและวางแผนการรักษาผูปวยดานประสาทศัลยศาสตรดวยรังสีรักษา รวมกับอาจารยที่ปรึกษา อยาง นอย 5 ราย การประเมิน - สามารถอานผลทางรังสีวินิจฉัยดาน Plain skull, Spine, MRI และ CT scan - สามารถทําหัตถการและอานผล Cerebral angiography ไดดวยตนเอง - สามารถวางแผนการรักษาผูปวยดานประสาทศัลยศาสตรดวยรังสีรักษารวมกับแพทยรังสีรักษา 21 จํานวน 31 หนา
  • 22. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร หลักสูตรแพทยประจําบานชั้นปที่ 3,4 และ 5 1. โรคและพยาธิสภาพของโรคที่ตองรูและสามารถรักษาเองไดเปนอยางดี และหัตถการทางประสาท ศัลยศาสตรที่ตองทําได 1.1 โรคและพยาธิสภาพของโรคที่ตองรูและสามารถรักษาเองไดเปนอยางดี 1.1.1 Trauma - Head injury - Skull fracture: linear, depressed - Brain injury: mild, moderate, severe - Penetrating wound of the head : gun shot wound, stabbed wound, compound fracture - Intracranial hematoma: extradural, subdural, intracerebral - CSF rhinorrhea and otorrhea - Carotid-cavernous fistula - Spinal injury - Cord injury, cord compression - Spinal fracture & dislocation - Gun short wound of the spine - Stabbed wound of the spine - Odontoid fracture, Hangman fracture, Jefferson’s fracture 22 จํานวน 31 หนา
  • 23. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Peripheral nerve injury & causalgia 1.1.2 CNS infection - Meningitis: bacterial, tuberculous, fungal - Abscess: brain, subdural, extradural, subgaleal - Osteomyelitis of the skull - Spinal epidural abscess - Spondylitis: pyogenic,tuberculous - Cerebral nerve injury & causalgia 1.1.3 Congenital anomalies - Syringomyelia and Syringomyelic syndrome - Chiari Malformation - Hydrocephalus: communicating, obstructive - Meningocoele - Encephalomeningocoele - Myeolomeningocoele - Craniosynostosis - Sagittal - Coronal - Lambdoid 1.1.4 Vascular - Hypertensive intracerebral hemorrhage - Spontaneous subarachnoid hemorrhage & aneurysms of the anterior circulation 1.1.5 Tumor - Brain tumor - Glioma of the cerebral hemisphere - Cystic astrocytoma of the cerebellum - Hemangioblastoma - Convexity & parasagittal meningioma - Pituitary adenoma - Medulloblastoma 23 จํานวน 31 หนา
  • 24. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Cerebral metastasis - Spinal tumor - Meningioma - Neurilemmoma - Neurofibroma - Spinal metastasis - Peripheral nerve tomor - Neurilemmona - Neurofibroma 1.1.6 Others - Intervertebral disc diseases - Spondylosis: cervical, Iumbar - Disc herniation: cervical, thoracic, Iumbar - Spinal stenosis - Spondylolisthesis - Peripheral nerve entrapment - Carpal tunnel syndrome - Thoracic outlet syndrome - Ulnar tardy palsy 1.2 หัตถการทางประสาทศัลยศาสตรที่ตองทําไดดี  - การผาตัดและหัตถการเพือรักษาโรคและพยาธิสภาพในหัวขอ 1.1 ่ - Lumbar puncture and drainage - Cisternal puncture - Lateral C1-C2 puncture - Ventricular puncture and drainage - Application of skull tongs - Burr holing - Craniectomy for skull fractures, osteomyelitis, extracerebral hematoma and abscess, skull tumor, superficial cerebral lesions, craniosynostosis - Cranioplasty - Brain biopsy: open, stereotactic 24 จํานวน 31 หนา
  • 25. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Craniotomy (frontal, temporal, parietal, occipital, pterional) for: - Evacuation of extradural, subdural and intracerebral hematoma - Removal of extracerebral lesions (meningioma, cysticercosis) - Removal of intracerebral lesions (glioma, metastasis, abscess) - Removal of intraventricular lesions (tumor, cysticercosis) - Aneurysm surgery: clipping of aneurysms of anterior circulation - Excision of simple carebral arteriovenous malformation - Trans-sphenoidal approach for intraventricular lesion, hypophysectomy and sellar lesions. - Transcallosal approach for intraventricular lesion and pineal tumor - Appropriate approach for - Craniopharyngioma - Pituitary adenoma - Medial sphenoid ridge meningioma and tuberculum meningioma - Orbital tumor - Pineal tumor - Repair of frontal-ethmoidal encephalo meningocoele - Retromastoid craniectomy for cerebellopontine angle tumor - Acoustic meurilemmoma - Meningioma - Epidermoid tumor - Suboccipital craniectomy for - Posterior fossa tumor - Cerebellopontine angle tumor - Shunting procedures - Ventriculo-peritoneal shunt - Ventriculo-atrial shunt - Lumbar subarachnoid-peritoneal shunt - Repair of meningocoele - Encephalomeningocoele - Myelomeningocoele - Surgery for syringomyelia and decompression of formen magnum 25 จํานวน 31 หนา
  • 26. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Stereotactic surgery for - Brain biopsy - Aspiration of hematoma and abscess - Laminectomy, Laminotomy or Laminoplasty for - Decompression of the spinal cord and nerve roots - Removal of intraspinal tumor - Excision of herniated disc - Drainage of spinal abscass - Anterior or lateral approach for - Drainage of abscess - Decompression of the spinal cord - Interbody fusion - Spinal fusion - Anterior interbody fusion of cervical spine - Anterior cervical plate fixation - Posterior C1-2-3 fusion and wiring - Posterior fusion of the lower cervical, thoracic and lumbar spine - Spinal instrumentation - Occiput – cervicla fusion - Neurorrhaphy and neurolysis - Pain surgery - DREZ - Sympathectomy - Excision of the peripheral nerve tumor 2. โรคและพยาธิสภาพของโรคที่สามารถรักษาได และหัตถการทางประสาทศัลยศาสตรที่สามารถทํา ไดโดยมีผูเชียวชาญเปนที่ปรึกษา ่ 2.1 โรคและพยาธิสภาพของโรคที่สามารถรักษาไดโดยมีผูเชียวชาญเปนที่ปรึกษา - Craniosynostosis with craniofacial abnormalities - Tethering of the spinal cord - Lipomyelomeningocoele - Diastematomyelia - Dermal sinus with intraspinal dermoid tumor 26 จํานวน 31 หนา
  • 27. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Neurenteric cyst - Congenital abnormalities around the craniovertebral junction - Platybasia - Basilar invagination - Os odontoideum - Spontaneous subarachnoid hemorrhage - Aneurysm of the posterior circulation - Giant intracranial aneurysm - Difficult arteriovenous malformations: cerebral, spinal - Occlusive cerebrovascular diseases - Extracranial: carotid stenosis, subclavian steal syndrome - Intracranial - Brain tumor - Meningoma: Sphenoid ridge, faix, tuberculum, olfactory groove - Acoustic neurilemmoma - Craniopharyngioma - Ventricular tumor - Ependymoma of the parabentricle and 4th ventricle - Spinal tumor: intramedullary tumor - Cranial nerve dysfunction - Trigeminal neuralgia - Hemifacial spasm - Glossopharyngeal neuralgia - Chronic pain syndrome - Non-cancerous cause - Cancerouos cause 2.2 หัตการทางประสาทศัลยศาสตรที่สามารถทําไดโดยมีผูเชี่ยวชาญเปนที่ปรึกษา - การผาตัดและหัตถการเพือรักษาโรคและพยาธิสภาพในหัวขอ ๒.๑ ่ - Aneurysm surgery: clipping of aneurysm of posterior circulation - Excision of complex cerebral arteriovenous malformation - Excision of spinal arteriovenous malformation - Cerebral revascularization 27 จํานวน 31 หนา
  • 28. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร - Carotid endarterectomy - Obliteration of the carotid-cavernous fistula by direct of cavervous sinus surgery - Microvascular decompression of the lower cranial nerves: CN V, VII, IX & X - Pain surgery - Antero-lateral cordotomy - Medullary tractotomy - Longitudinal myelotomy - Functional neurosurgery - Endoscopic neurosurgery - Skull base surgery 28 จํานวน 31 หนา
  • 29. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร ผนวก ข คณะอนุกรรมการฝกอบรมและสอบความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร ๑. นายแพทยวรวุฒิ จรรยาวนิชย ประธานอนุกรรมการฝกอบรมและสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร ๒. นายแพทยวทัญู ปรัชญานนท อนุกรรมการฯ ๓. นายแพทยทวีศกดิ์ ั จันทรวิทยานุชิต อนุกรรมการฯ ๔. นายแพทยนครชัย เผื่อนปฐม อนุกรรมการฯ ๕. นายแพทยสุพัฒน โอเจริญ อนุกรรมการฯ ๖. นายแพทยพิชิต อนุวุฒนาวิน ิ อนุกรรมการฯ ๗. นายแพทยสุรชัย เคารพธรรม อนุกรรมการฯ ๘. นายแพทยวีระ กสานติกุล อนุกรรมการฯ ๙. แพทยหญิงจิรพร เหลาธรรมทัศน อนุกรรมการฯ ๑๐. นายแพทยกัมมันต พันธุธุมจินดา  อนุกรรมการฯ ๑๑. นายแพทยศุภโชค จิตรวาณิช อนุกรรมการฯ และเลขานุการ 29 จํานวน 31 หนา
  • 30. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร คณะอนุกรรมการฝกอบรมความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร 1. นายแพทยศุภโชค จิตรวาณิช ประธานอนุกรรมการฝกอบรมฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 2. นายแพทยพิชิต อนุวุฒนาวิน ิ อนุกรรมการฯ 3. นายแพทยสุรชัย เคารพธรรม อนุกรรมการฯ 4. นายแพทยจิระศักดิ์ ปาณินท อนุกรรมการฯ 5. นายแพทยสงวนสิน รัตนเลิศ อนุกรรมการฯ 6. นายแพทยวีรศักดิ์ ธีระพันธเจริญ อนุกรรมการฯ 7. นายแพทยนฤดล ประภาวัต อนุกรรมการฯ 8. นายแพทยนันทศักดิ์ ทิศาวิภาต อนุกรรมการฯ 9. นายแพทยไชยวิทย ธนไพศาล อนุกรรมการฯ 10.นายแพทยสิทธิพร บุณยนิตย อนุกรรมการฯ 11.นายแพทยสมศักดิ์ ผองประเสริฐ อนุกรรมการฯ 30 จํานวน 31 หนา
  • 31. ราชวิทยาลัยศัลยแพทยแหงประเทศไทยและแพทยสภา หลักสูตรฝกอบรมแพทยประจําบานสาขาประสาทศัลยศาสตร คณะอนุกรรมการสอบความรูความชํานาญ ในการประกอบวิชาชีพเวชกรรม สาขาประสาทศัลยศาสตร 1. นายแพทยวรวุฒิ จรรยาวนิชย ประธานอนุกรรมการสอบฯ สาขาประสาทศัลยศาสตร 2. นายแพทยสุพัฒน โอเจริญ อนุกรรมการฯ 3. นายแพทยทวีศักดิ์ จันทรวิทยานุชิต อนุกรรมการฯ 4. นายแพทยนครชัย เผื่อนปฐม อนุกรรมการฯ 5. นายแพทยอนุศักดิ์ เลียงอุดม อนุกรรมการฯ 6. นายแพทยสุชิน บุญมา อนุกรรมการฯ 7. นายแพทยวทัญู ปรัชญานนท อนุกรรมการฯ 31 จํานวน 31 หนา