SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 14
รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104                                    กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์
                                                                                                          ิ
โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา                            ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555
สาระที่ 7 หน่ วยที่ 7                             เรื่อง ระบบสุ ริยะ                               เวลา 2.00 ชั่วโมง
มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิ สัมพันธ์ภายใน
                                      ั
ระบบสุ ริย ะและผลต่อสิ่ ง มี ชีวิตบนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์
สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข
……………………………………………………………………………………………………….
สาระสาคัญ
            ระบบสุ ริยะ เป็ นระบบหนึ่ งในกาแล็กซี ทางช้างเผือก ในระบบสุ ริยะประกอบด้วยดวง
อาทิตย์และบริ วารต่างๆ เช่ น ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต และดวงจันทร์
โดยจะโคจรรอบดวงอาทิตย์ การศึกษาเกี่ยวกับการเกิ ดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ จะช่ วยทา
                                                                               ั
ให้เข้าใจเกี่ ยวกับโลก เรื่ องราวเกี่ยวกับดาวหาง และปรากฏการณ์ บนท้องฟ้ าได้มากขึ้น และเป็ น
ข้อมูลสาหรับการศึกษาในด้านดาราศาสตร์ ช้ นสู งต่อไป             ั

ตัวชี้วด
       ั
           1. สื บค้นและอธิ บายการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ
                                                ั
จุดประสงค์ การเรี ยนรู้
           1. อธิ บายความหมาย และข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุ ริยะได้
           2. อธิ บายการเกิด วิวฒนาการและตาแหน่งของระบบสุ ริยะในกาแล็กซีได้
                                  ั
สาระการเรียนรู้
           - เอกภพกาเนิ ด ณ จุดที่เรี ยกว่าบิกแบง เป็ น จุดที่พลังงานเริ่ มเปลี่ ยนเป็ นสสาร เกิ ดเป็ น
อนุภาค ควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทริ โน พร้อมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดต่าลง ควาร์ กจะ
รวมตัวกันเป็ นอนุ ภาคพื้นฐาน คื อโปรตอนและนิ วตรอน ต่อมาโปรตอนและนิ วตรอนรวมตัวกัน
เป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็ นอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและ
ฮี เลี ยม ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบส่ วนใหญ่ของเนบิ วลาดั้ง เดิ ม เนบิ วลาดั้ง เดิ มกระจายอยู่เป็ นหย่อมๆ
กลายเป็ นกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่ เกิดเป็ นดาวฤกษ์ ระบบดาวฤกษ์
เนือหา
    ้
           - ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุ ริยะ
           - การเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ
                             ั
           - ระบบสุ ริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
การจัดกระบวนการเรียนรู้
1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน
          1. ครู ใช้คาถามเพื่อกระตุนให้นกเรี ยนเกิดความสงสัย เช่น ถามว่าดวงดาวที่เห็นบนท้องฟ้ า
                                     ้      ั
                                ่
ส่ วนใหญ่เป็ นดาวฤกษ์ซ่ ึ งอยูไกลแสนไกล ถ้าจะศึกษาดาวฤกษ์ เราควรเริ่ มศึกษาจากดาวฤกษ์ดวงใด
เพราะเหตุใด (ดวงอาทิ ตย์ เป็ นดาวฤกษ์ ที่อยู่ใกล้ โลกมากที่สุด ข้ อมูลและข้ อสรุ ปที่ได้ จากการศึกษา
ดวงอาทิ ตย์ นาไปสู่ความเข้ าใจดาวฤกษ์ อื่นๆที่อยู่ไกลออกไป)
          2. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ
                            ั     ั
          3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน
                      ั
2. ขั้นสอน/กิจกรรม
 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ
          1. นักเรี ยนจัดกลุ่มๆ ละ 4 คน แต่ละกลุ่มมีนกเรี ยนคละความสามารถ
                                                      ั
          2. นักเรี ยนแต่ ล ะกลุ่ มศึ กษาภาพอวกาศ ผลัดกันเขี ย นรายละเอี ยดเกี่ ย วกับ ภาพลงใน
กระดาษขาว เรี ยงลาดับจากนักเรี ยนคนแรกเวียนไปทางซ้ายมือ ใช้เวลาประมาณ 5 นาที
          3. ครู สุ่มกลุ่มและสุ่ มนักเรี ยนออกมารายงานหน้าชั้นเรี ยนตามที่กลุ่มได้ช่วยกันเขียน กลุ่ม
อื่นๆ ร่ วมอภิปรายเสริ ม เทห์ฟากฟ้ าในอวกาศและความสัมพันธ์ของเทห์ฟากฟ้ าต่างๆ

2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา
         1. นักเรี ยนร่ วมอภิปรายความหมายของระบบสุ ริยะ (ระบบสุ ริยะ คื อระบบที่ ประกอบไป
ด้ วยดวงอาทิ ตย์ และดาวบริ วารที่ เป็ นเทห์ ฟากฟ้ าบนท้ องฟ้ า ซึ่ งโคจรรอบดวงอาทิ ตย์ เช่ น ดาว
เคราะห์ ดวงจันทร์ ของดาวเคราะห์ ดาว เคราะห์ น้อย ดาวหาง แก๊ ส ฝุ่ นธุลี)
         2. ครู รวมนักเรี ยน 3 กลุ่ม (12) เป็ นกลุ่มใหญ่ นักเรี ยนแต่ละคนในกลุ่มรับบัตรคา ระบบ
สุ ริยะ ที่ ก าหนดให้นัก เรี ย นแสดงบทบาทดาวเคราะห์ ดวงต่ า งๆ คนละ 1 ดวง แต่ ล ะคนศึ ก ษา
บทบาทของตนเอง ประชุมตกลงที่จะแสดงตามบทบาทนั้นอย่างไร ที่จะแสดงออกถึงความสัมพันธ์
ของดวงอาทิตย์และดาวบริ วาร (ตัวอย่างบัตรคา : ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ โลก ดาวพุธ ดาวศุกร์
ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน พลูโต ดาวหาง)
         3. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทที่สนามหน้าอาคารเรี ยน นักเรี ยนกลุ่มที่แสดงดีที่สุดจะ
ได้รับเลือกแสดงให้กลุ่มอื่นๆ ชม และอธิ บายการโคจรของดาวเคราะห์ ดาวบริ วารของดวงอาทิตย์
(การโคจรของดาวเคราะห์ อยู่ภายใต้ แรงโน้ มถ่ วงของดวงอาทิ ตย์ โคจรในระนาบเดี ยวกัน เกื อบ
เป็ นวงกลม ในทิศทวนเข็มนาฬิกา)
         4. ครู อธิ บายขอบเขตของระบบสุ ริยะ(2.4 ปี แสง)และการคานวณระยะทางในหน่วยปี แสง
               แนวตอบ 1 วินาทีแสงเดินทางได้                                  = 3 x 105 กิโลเมตร
                           1 ปี แสงเดินทางได้            = 365 x 24 x 60 x 60 x 3 x 105 กิโลเมตร
2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป
         1. นักเรี ยนศึกษาขนาดของดวงอาทิ ตย์และขนาดของโลกจากใบความรู้ ภาพเปรี ยบเทียบ
ขนาดของดวงอาทิตย์และขนาดของโลก
         2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเพื่อสรุ ปความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์และโลกเกี่ยวกับ
เส้นผ่านศูนย์กลาง ปริ มาตร มวลสาร การหมุนรอบตัวเอง ดาวบริ วารและวิวฒนาการ     ั
         3. นักเรี ยนเข้ากลุ่มๆ ละ 4 คน แข่งขันเรี ยงลาดับภาพเหตุการณ์การเกิดและวิวฒนาการของ
                                                                                     ั
ระบบสุ ริยะ กลุ่มใดเรี ยงภาพได้ถูกต้องและรวดเร็ วที่ สุดเป็ นผูชนะ หลังจากนั้นครู และนักเรี ยน
                                                                ้
ร่ วมกันอภิปรายความถูกต้อง เพื่อสรุ ปการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ
                                                        ั
         4. นักเรี ยนเขียนวงกลมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กจานวน 4 วง ซ้อนกัน ให้
วงกลมวงกลมเล็กอยู่ในวงกลมใหญ่ และระบุเปรี ยบเทียบวงกลมแต่ละวงแทน เอกภพ กาแล็กซี
ระบบสุ ริยะ และดาวเคราะห์
         5. นักเรี ยนสรุ ปความหมายของคาต่อไปนี้ :ระบบสุ ริยะ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์
ดาวหาง ทางช้างเผือก กาแล็กซีทางช้างเผือก เอกภพ ดาวเคราะห์นอย ดาวตก้
            - ระบบสุ ริยะ :: ระบบที่มีความสัมพันธ์กนระหว่างดวงอาทิตย์และบริ วาร ซึ่ งคือเทห์
ฟากฟ้ าบนท้องฟ้ า ได้แก่ ดาวเคราะห์ 9 ดวง ดาวเคราะห์นอย ดาวหาง ดวงจันทร์ที่เป็ นบริ วารของ
                                                             ้
ดาวเคราะห์ อุกกาบาต
            - ดวงอาทิตย์ :: ดาวฤกษ์ที่เป็ นศูนย์กลางของระบบสุ ริ ยะ มีมวลสาร 99.85 ของมวลสาร
ทั้ง หมดของระบบสุ ริ ย ะ ใหญ่ ก ว่า โลก 1,304,000 เท่ า เส้ นผ่า นศู นย์ก ลางยาวกว่า เส้ น ผ่า น
ศูนย์กลางของโลก 109 เท่า หมุนรอบตัวเองและส่ งแรงดึงดูดเทห์ฟากฟ้ าทั้งหลายไปไกล 2.4 ปี แสง
             - ดวงจันทร์ :: บริ วารของดาวเคราะห์ โคจรรอบดาวเคราะห์
             - ดาวเคราะห์ :: บริ วารของดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะมี 9 ดวง หมุนรอบ
ตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์
             - ดาวหาง :: บริ วารของดวงอาทิตย์ ประกอบด้วยฝุ่ นแก๊ส ฝุ่ นธุ ลีและหิ น โคจรรอบดวง
อาทิตย์เป็ นวงรี หรื อพาราโบลา
                                             ่
             - ทางช้างเผือก :: ดาวฤกษ์ที่อยูไกลจากโลกมากมองเห็นเป็ นแถบสี ขาวที่สังเกตได้บน
ท้องฟ้ า คล้ายเมฆที่พาดผ่านขอบฟ้ าไป มองเห็นได้ชดในฤดูหนาว
                                                      ั
             - กาแล็กซี ทางช้างเผือก :: ระบบขนาดใหญ่ของดาวฤกษ์เป็ นที่ อยู่ของระบบสุ ริยะ
ประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาว เนบิวลา แก็ส และฝุ่ นธุ ลีกาแล็กซี
             - เอกภพ :: ระบบซึ่ งเป็ นที่รวมของกาแล็กซี ท้ งหมด
                                                           ั
             - ดาวเคราะห์น้อย :: วัตถุแข็งขนาดเล็ก มีจานวนมากกว่า 10,000 ดวง และสะเก็ดดาว
                 ่
(อุกกาบาต) อยูระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี
- ดาวตก :: อุกกาบาตที่เข้ามาในแรงโน้มถ่วงของโลก ตกผ่านชั้นบรรยากาศเกิดลุกไหม้
เป็ นแสงสว่างวาบเป็ นดาวตก
2.4 ขั้นขยายความรู้
           1. ครู มอบหมายให้แต่ละกลุ่มจัดทาโปสเตอร์ แสดงเนื้ อหาเกี่ยวกับอิทธิ พลของดวงดาวใน
ระบบสุ ริยะที่มีต่อโลกทันทีที่เราเห็นดวงอาทิตย์และดวงดาวต่างๆ ในระบบสุ ริยะ
           2. ให้นกเรี ยนศึกษาค้นคว้าความรู ้ เพิ่มเติม ในเรื่ อง จันทรุ ปราคาและสุ ริยุปราคา โดยให้
                      ั
นักเรี ยนที่เคยเห็นปรากฏการณ์ดงกล่าว ออกมาเล่าประสบการณ์ให้เพื่อนฟัง
                                      ั
           3. ให้นกเรี ยนสื บค้นเกี่ยวกับเหตุการณ์การเกิ ดสุ ริยุปราคาเต็มดวง เมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม
                    ั
2411 ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหวทรงคานวณไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิด แล้วก็เกิดขึ้น
                                               ่ ั
ตามที่พระองค์ทรงคานวณไว้ทุกประการ จากนั้นนาข้อมูลและภาพประกอบมาจัดเป็ นป้ ายนิ เทศ
หน้าชั้นเรี ยน
2.5 ขั้นประเมิน
           1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด
                          ั                                                          ั
ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ
     ั                              ้
นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม
           2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ ั
กิจกรรมและการนาความรู ้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์
           3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ
แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง
3. ขั้นสรุ ป
           1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการกาเนิ ดระบบสุ ริยะ ดวงอาทิตย์ และอิทธิ พลของดวง
อาทิตย์ต่อโลก
           2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบสุ ริยะจากหนังสื อ
วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด หรื อทางอินเทอร์เน็ต
           3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน
                        ั

สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้
         1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม
การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
         2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้
         3. แบบทดสอบหลังเรี ยน
         4. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง
การวัดและประเมินผล
 การวัดผลประเมินผลด้าน                                   วิธีการวัด            เครื่ องมือวัด                                              เกณฑ์การผ่าน
1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ                      1.วัดจากแบบทดสอบปรนัย 4 1.แบบทดสอบปรนัย 4                                             1. ทาแบบทดสอบถูก
                                               ตัวเลือก จานวน12 ข้อ    ตัวเลือก จานวน12 ข้อ                                          มากกว่าหรื อ เท่ากับ 7
                                                                                                                                     ข้อขึ้นไป
2. ด้านทักษะกระบวนการ                          สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ
                                                               ั                                                                     ได้คะแนนในระดับ 2
                                               ในชั้นเรี ยน              ทางาน                                                       ขึ้นไป

3. ด้านคุณลักษณะที่พึง                         การสังเกตพฤติกรรมความ                        แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2
ประสงค์                                        สนใจ และตั้งใจเรี ยน                         สนใจและตั้งใจเรี ยน   ขึ้นไป

กิจกรรมเสนอแนะ
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................

ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา

  ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ                                      ความเห็นหัวหน้า                                ความเห็นรองผูอานวยการ
                                                                                                                             ้
    การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์
                 ิ                                             กลุ่มบริ หารวิชาการ                               กลุ่มบริ หารวิชาการ
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
  ...................................................   ...................................................   ...................................................
ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ.......................................
(นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก)                            (นางเพิมศิริ งามยิง)
                                                                  ่                  ่            (นายประเสริ ฐ สันทอง)

ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน
.............................................................................................................................................................
.............................................................................................................................................................
                                                                    ลงชื่อ..........................................................
                                                                                    ( นายทันใจ ชูทรงเดช )
                                                                         ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา
                                                                            ้
                                                                        .................../....................../.......................
แบบทดสอบก่ อนเรียน เรื่อง ระบบสุ ริยะ

1. พลังงานความร้ อนของดวงอาทิตย์ เป็ นพลังงานชนิดใด
             ก นิวเคลียร์        ข นิวเคลียร์ฟิวชัน         ค นิวเคลียร์ฟิชชัน ง ทุกชนิ ด
2. อ่านข้ อความต่ อไปนีแล้วตอบคาถาม
                           ้
     1. ดาวฤกษ์มีแสงสว่างและความร้อนในตัวเอง
     2. แสงสว่างของดาวเคราะห์เกิดจากแสงสะท้อนของดวงอาทิตย์
     3. ดาวฤกษ์มีขนาดไม่แน่นอน ส่ วนดาวเคราะห์มีขนาดเล็กและขนาดเท่ากัน
ข้ อใดคือความแตกต่ างของดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์
             ก 1 และ 2              ข 2 และ 3               ค 1 และ 3 ง 1 , 2 และ 3
3. โลกได้ รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ในรู ปของอะไร
             ก อนุภาคและแสง                         ค ความร้อนและพายุแม่เหล็ก
             ข แสงและความร้อน                       ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาค
4. ผู้ททางานกลางแดดแล้ งผิวหนังดาเกรียมและอาจทาให้ เป็ นมะเร็งผิวหนังได้ ทั้งนี้เนื่องจาก
        ี่
ผิวหนังได้ รับสิ่ งใดมากทีสุด่
             ก รังสี เอกซ์       ข รังสี แกมมา      ค แสงธรรมดา ง รังสี อลตราไวโอเลต
                                                                                ั
5. ข้ อใด ไม่ใช่ พลังงานทีมีต้นกาเนิดจากพลังงานแสงอาทิตย์
                               ่
             ก พลังงานความร้อนจากการเผาถ่านหิ น
             ข พลังงานความร้อนจากแหล่งน้ าร้อนใต้ดิน
             ค พลังงานความร้อนจากการเผาผลาญอาหารของร่ างกาย
             ง พลังงานความร้อนจากเตาไฟฟ้ าที่ใช้ไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังน้ า
6. ข้ อใดกล่าว ไม่ ถูกต้ อง
             ก ปรากฏการณ์เรื อนกระจกทาให้โลกร้อนขึ้น
             ข การใช้สารทาลายชั้นบรรยากาศมีโอกาสทาให้โลกร้อนขึ้น
             ค ในตอนเที่ยงพื้นราบได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ต่อพื้นที่มากกว่าพื้นที่ที่เป็ นภูเขา
             ง บรรยากาศโลกถูกทาลาย แสงอาทิตย์จึงผ่านเข้าสู่ ผวโลกได้มากขึ้นเป็ นปรากฏการณ์
                                                                ิ
เรื อนกระจก
7. ปรากฏการณ์ ใดเกิดจากลมสุ ริยะ
             ก สุ ริยปราคา ข พายุแม่เหล็ก ค แสงเหนือ-แสงใต้ ง ข้อ ก และ ค ถูก
                     ุ
8. การเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ - แสงใต้ มีสาเหตุมาจากอะไร
     ก รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ทาปฏิกิริยากับบรรยากาศชั้นบนบริ เวณ
              ั
ขั้วโลกเหนือและใต้
     ข คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากดวงอาทิตย์ทาปฏิกิริยากับบรรยากาศชั้นบนบริ เวณ
ขั้วโลกเหนื อและใต้
     ค อนุภาคโปรตอนพลังงานสู งจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ตามแนวเส้นแรงแม่เหล็ก
มาชนกับอะตอมของแก๊สที่บริ เวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
     ง อนุภาคอิเล็กตรอนและไอออนจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ตามแนวเส้นแรงแม่เหล็ก
มาชนกับอะตอมของแก๊สที่บริ เวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้
9. การที่ ไม่ เกิดปรากฏการณ์ อุปราคาให้ ผ้ ูสังเกตบนโลกเห็นทุกๆ เดือน เนื่องจากสาเหตุใด
              ก วงโคจรของโลกและดวงจันทร์ เป็ นวงรี
              ข โลกและดวงจันทร์ เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ วที่ต่างกัน
                                                    ้
              ค ระนาบวงโคจรของโลกและดวงจันทร์ อยูคนละระนาบ         ่
              ง ดวงจันทร์ โคจรรอบโลกเร็ วกว่าโลกโคจรรอบดวงจันทร์
10. เพราะเหตุใดการเกิดอุปราคาแต่ ละครั้งจึงมักเกิดทีตาแหน่ งทีเ่ รี ยกว่ า จุดโนด
                                                                 ่
            ก ตาแหน่งนี้ ผสังเกตบนโลก มีโอกาสมองเห็นได้ชดเจนที่สุด
                            ู้                                              ั
            ข ตาแหน่งนี้ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ อยูใกล้กนมากที่สุด   ่      ั
            ค ตาแหน่งนี้ระนาบวงโคจรของโลกและดวงจันทร์ เกือบซ้อนกันมากที่สุด
                                                                       ่
            ง ตาแหน่งดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ อยูในแนวเส้นตรงเดียวกันมากที่สุด
11. ดาวหางฮัลเลย์ ซึ่งเป็ นดาวหางทีมีความสว่ างมากทีสุด มีลกษณะโคจรแบบใด
                                            ่                        ่        ั
            ก วงรี             ข วงกลม                        ค พาราโบลา                     ง ข้อ ข และ ค ถูก
12. จงพิจารณาข้ อความต่ อไปนีแล้วตอบคาถาม
                                      ้
      1. แสงสว่างจากดาวหางทั้งหมดเกิดจากการสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับแสงสว่าง
จากดวงจันทร์
                                                                                    ่
      2. ส่ วนหางจะชี้ในแนวเกือบตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ ไม่วาขณะดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวง
อาทิตย์ หรื อขณะดาวหางเคลื่อนที่ออกห่างดวงอาทิตย์
                                                      ่                           ่
      3. ส่ วนหางจะปรากฏยาวเพิ่มขึ้นเมื่ออยูใกล้ดวงอาทิตย์ ไม่วาขณะดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวง
อาทิตย์ หรื อขณะดาวหางเคลื่อนที่ออกห่างดวงอาทิตย์
 ข้ อใดสรุ ปเกียวกับดาวหางได้ ถูกต้ อง
                ่
            ก 1 และ 2                    ข 1 และ 3                         ค 2 และ 3               ง 3 เท่านั้น
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
                               เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรี ยน เรื่อง ระบบสุ ริยะ
1) ข.               2) ก.                3) ง.                4) ง.                   5) ข.            6) ง.
7) ง.               8) ง.                9) ค.                10) ง.                  11) ก.           12) ก.

More Related Content

What's hot

ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์Kobwit Piriyawat
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะmayureesongnoo
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กNiwat Yod
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าJiraporn
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะkalita123
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 

What's hot (20)

Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Astroplan18
Astroplan18Astroplan18
Astroplan18
 
Contentastrounit5
Contentastrounit5Contentastrounit5
Contentastrounit5
 
Contentastrounit3
Contentastrounit3Contentastrounit3
Contentastrounit3
 
Contentastrounit2
Contentastrounit2Contentastrounit2
Contentastrounit2
 
Contentastrounit1
Contentastrounit1Contentastrounit1
Contentastrounit1
 
เอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลกเอกสารประกอบการเรียน โลก
เอกสารประกอบการเรียน โลก
 
Contentastrounit4
Contentastrounit4Contentastrounit4
Contentastrounit4
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
Sun
SunSun
Sun
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง พลังงานแสง+ป.5+273+dltvscip...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะเล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
เล่มที่ 1 ระบบสุริยะ
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้าแผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
แผนการจัดการเรียนรู้ไฟฟ้า
 
ระบบสุริยะ
ระบบสุริยะระบบสุริยะ
ระบบสุริยะ
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 

Similar to Astroplan14

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมtanakit pintong
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าkrupornpana55
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอกkruannchem
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...Prachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯpimnarayrc
 
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)Manatsanan Chanklang
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3Sukumal Ekayodhin
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาวWichai Likitponrak
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์น้อง อด.
 

Similar to Astroplan14 (20)

การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคมการสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
การสื่อสารไทยก้าวไกลด้วยไทยคม
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
ม611(แก้)
ม611(แก้)ม611(แก้)
ม611(แก้)
 
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้าโครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
โครงสร้างรายวิชาดวงดาวบนท้องฟ้า
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
04 แบบจำลองอะตอมของโบร์และกลุ่มหมอก
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง พลังงานและแสง+ป.6+290+dltvsci...
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
โครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯโครงงานคอมฯ
โครงงานคอมฯ
 
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
โลกดาราศาสตร๋ (IS-2)
 
กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3กำเนิดสุริยะ ม.3
กำเนิดสุริยะ ม.3
 
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
9.ดาวในท้องฟ้าgs กลุ่มดาว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ดาวฤกษ์
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
กำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพกำเนิดเอกภพ
กำเนิดเอกภพ
 
Stars
StarsStars
Stars
 
My project1
My project1My project1
My project1
 
Solarstystempp
SolarstystemppSolarstystempp
Solarstystempp
 

More from SAKANAN ANANTASOOK

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย SAKANAN ANANTASOOK
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6SAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง SAKANAN ANANTASOOK
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานSAKANAN ANANTASOOK
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือSAKANAN ANANTASOOK
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่SAKANAN ANANTASOOK
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์SAKANAN ANANTASOOK
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionSAKANAN ANANTASOOK
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)SAKANAN ANANTASOOK
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)SAKANAN ANANTASOOK
 

More from SAKANAN ANANTASOOK (20)

เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย เกมเติมคำ สำนวนไทย
เกมเติมคำ สำนวนไทย
 
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
วารสารและอนุสรณ์ปีการศึกษา 2562 นารายณ์คำผงวิทยา
 
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
ชุดฝึกทักษะสร้างสรรค์การออกแบบ เรื่อง เรียนรู้ Adobe photoshop cs6
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ทฤษฎีของแสงและอัตราเร็วแสง
 
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทยการสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
การสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางประวัติศาสตร์ไทย
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
ชุดการสอน เรื่อง ภูมิศาสตร์ทวีปอเมริกาเหนือ
 
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
บทเรียนการ์ตูน วิชาภาษาไทย ชุด เสียงในภาษา เรื่อง อักษรสามหมู่
 
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
สะเต็มศึกษากับดาราศาสตร์
 
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-versionEratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
Eratosthenes-on-vernal-equinox-report-thai-version
 
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
Korcorsor2557 รายชื่อผู้สมัคร ก.ค.ศ.
 
PISA2015THAILAND
PISA2015THAILANDPISA2015THAILAND
PISA2015THAILAND
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
TSMT Journal16 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 16)
 
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
TSMT Journal15 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 15)
 
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
TSMT Journal14 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 14)
 
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
TSMT Journal13 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 13)
 
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
TSMT Journal12 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 12)
 
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
TSMT Journal11 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 11)
 
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
TSMT Journal10 (วารสาร สควค. ฉบับที่ 10)
 

Astroplan14

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ 14 รายวิชา โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ รหัสวิชา ว31104 กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ วทยาศาสตร์ ิ โรงเรียนนารายณ์คาผงวิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2555 สาระที่ 7 หน่ วยที่ 7 เรื่อง ระบบสุ ริยะ เวลา 2.00 ชั่วโมง มาตรฐาน ว 7.1 เข้าใจวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ การปฏิ สัมพันธ์ภายใน ั ระบบสุ ริย ะและผลต่อสิ่ ง มี ชีวิตบนโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู้ และจิตวิทยาศาสตร์ สื่ อสารสิ่ งที่เรี ยนรู ้และนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์ วัน ............. ที.่ .....เดือน.....................พ.ศ. ........... ผู้เขียน/ผู้สอน ครู ศักดิ์อนันต์ อนันตสุ ข ………………………………………………………………………………………………………. สาระสาคัญ ระบบสุ ริยะ เป็ นระบบหนึ่ งในกาแล็กซี ทางช้างเผือก ในระบบสุ ริยะประกอบด้วยดวง อาทิตย์และบริ วารต่างๆ เช่ น ดาวเคราะห์ ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต และดวงจันทร์ โดยจะโคจรรอบดวงอาทิตย์ การศึกษาเกี่ยวกับการเกิ ดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ จะช่ วยทา ั ให้เข้าใจเกี่ ยวกับโลก เรื่ องราวเกี่ยวกับดาวหาง และปรากฏการณ์ บนท้องฟ้ าได้มากขึ้น และเป็ น ข้อมูลสาหรับการศึกษาในด้านดาราศาสตร์ ช้ นสู งต่อไป ั ตัวชี้วด ั 1. สื บค้นและอธิ บายการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ กาแล็กซี และเอกภพ ั จุดประสงค์ การเรี ยนรู้ 1. อธิ บายความหมาย และข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุ ริยะได้ 2. อธิ บายการเกิด วิวฒนาการและตาแหน่งของระบบสุ ริยะในกาแล็กซีได้ ั สาระการเรียนรู้ - เอกภพกาเนิ ด ณ จุดที่เรี ยกว่าบิกแบง เป็ น จุดที่พลังงานเริ่ มเปลี่ ยนเป็ นสสาร เกิ ดเป็ น อนุภาค ควาร์ก อิเล็กตรอน นิวทริ โน พร้อมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิของเอกภพ ลดต่าลง ควาร์ กจะ รวมตัวกันเป็ นอนุ ภาคพื้นฐาน คื อโปรตอนและนิ วตรอน ต่อมาโปรตอนและนิ วตรอนรวมตัวกัน เป็ นนิวเคลียสของฮีเลียม และเกิดเป็ นอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและ ฮี เลี ยม ซึ่ งเป็ นองค์ประกอบส่ วนใหญ่ของเนบิ วลาดั้ง เดิ ม เนบิ วลาดั้ง เดิ มกระจายอยู่เป็ นหย่อมๆ กลายเป็ นกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่ เกิดเป็ นดาวฤกษ์ ระบบดาวฤกษ์ เนือหา ้ - ข้อมูลเบื้องต้นเกี่ยวกับระบบสุ ริยะ - การเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ ั - ระบบสุ ริยะในกาแล็กซีทางช้างเผือก
  • 2. การจัดกระบวนการเรียนรู้ 1. ขั้นนาเข้ าสู่ บทเรียน 1. ครู ใช้คาถามเพื่อกระตุนให้นกเรี ยนเกิดความสงสัย เช่น ถามว่าดวงดาวที่เห็นบนท้องฟ้ า ้ ั ่ ส่ วนใหญ่เป็ นดาวฤกษ์ซ่ ึ งอยูไกลแสนไกล ถ้าจะศึกษาดาวฤกษ์ เราควรเริ่ มศึกษาจากดาวฤกษ์ดวงใด เพราะเหตุใด (ดวงอาทิ ตย์ เป็ นดาวฤกษ์ ที่อยู่ใกล้ โลกมากที่สุด ข้ อมูลและข้ อสรุ ปที่ได้ จากการศึกษา ดวงอาทิ ตย์ นาไปสู่ความเข้ าใจดาวฤกษ์ อื่นๆที่อยู่ไกลออกไป) 2. ครู แจ้งตัวชี้วดให้นกเรี ยนทราบ ั ั 3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน ั 2. ขั้นสอน/กิจกรรม 2.1 ขั้นสร้ างความสนใจ 1. นักเรี ยนจัดกลุ่มๆ ละ 4 คน แต่ละกลุ่มมีนกเรี ยนคละความสามารถ ั 2. นักเรี ยนแต่ ล ะกลุ่ มศึ กษาภาพอวกาศ ผลัดกันเขี ย นรายละเอี ยดเกี่ ย วกับ ภาพลงใน กระดาษขาว เรี ยงลาดับจากนักเรี ยนคนแรกเวียนไปทางซ้ายมือ ใช้เวลาประมาณ 5 นาที 3. ครู สุ่มกลุ่มและสุ่ มนักเรี ยนออกมารายงานหน้าชั้นเรี ยนตามที่กลุ่มได้ช่วยกันเขียน กลุ่ม อื่นๆ ร่ วมอภิปรายเสริ ม เทห์ฟากฟ้ าในอวกาศและความสัมพันธ์ของเทห์ฟากฟ้ าต่างๆ 2.2 ขั้นสารวจและค้ นหา 1. นักเรี ยนร่ วมอภิปรายความหมายของระบบสุ ริยะ (ระบบสุ ริยะ คื อระบบที่ ประกอบไป ด้ วยดวงอาทิ ตย์ และดาวบริ วารที่ เป็ นเทห์ ฟากฟ้ าบนท้ องฟ้ า ซึ่ งโคจรรอบดวงอาทิ ตย์ เช่ น ดาว เคราะห์ ดวงจันทร์ ของดาวเคราะห์ ดาว เคราะห์ น้อย ดาวหาง แก๊ ส ฝุ่ นธุลี) 2. ครู รวมนักเรี ยน 3 กลุ่ม (12) เป็ นกลุ่มใหญ่ นักเรี ยนแต่ละคนในกลุ่มรับบัตรคา ระบบ สุ ริยะ ที่ ก าหนดให้นัก เรี ย นแสดงบทบาทดาวเคราะห์ ดวงต่ า งๆ คนละ 1 ดวง แต่ ล ะคนศึ ก ษา บทบาทของตนเอง ประชุมตกลงที่จะแสดงตามบทบาทนั้นอย่างไร ที่จะแสดงออกถึงความสัมพันธ์ ของดวงอาทิตย์และดาวบริ วาร (ตัวอย่างบัตรคา : ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ โลก ดาวพุธ ดาวศุกร์ ดาวอังคาร ดาวพฤหัสบดี ดาวเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน พลูโต ดาวหาง) 3. นักเรี ยนแต่ละกลุ่มแสดงบทบาทที่สนามหน้าอาคารเรี ยน นักเรี ยนกลุ่มที่แสดงดีที่สุดจะ ได้รับเลือกแสดงให้กลุ่มอื่นๆ ชม และอธิ บายการโคจรของดาวเคราะห์ ดาวบริ วารของดวงอาทิตย์ (การโคจรของดาวเคราะห์ อยู่ภายใต้ แรงโน้ มถ่ วงของดวงอาทิ ตย์ โคจรในระนาบเดี ยวกัน เกื อบ เป็ นวงกลม ในทิศทวนเข็มนาฬิกา) 4. ครู อธิ บายขอบเขตของระบบสุ ริยะ(2.4 ปี แสง)และการคานวณระยะทางในหน่วยปี แสง แนวตอบ 1 วินาทีแสงเดินทางได้ = 3 x 105 กิโลเมตร 1 ปี แสงเดินทางได้ = 365 x 24 x 60 x 60 x 3 x 105 กิโลเมตร
  • 3. 2.3 ขั้นอธิบายและลงข้ อสรุ ป 1. นักเรี ยนศึกษาขนาดของดวงอาทิ ตย์และขนาดของโลกจากใบความรู้ ภาพเปรี ยบเทียบ ขนาดของดวงอาทิตย์และขนาดของโลก 2. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายเพื่อสรุ ปความสัมพันธ์ของดวงอาทิตย์และโลกเกี่ยวกับ เส้นผ่านศูนย์กลาง ปริ มาตร มวลสาร การหมุนรอบตัวเอง ดาวบริ วารและวิวฒนาการ ั 3. นักเรี ยนเข้ากลุ่มๆ ละ 4 คน แข่งขันเรี ยงลาดับภาพเหตุการณ์การเกิดและวิวฒนาการของ ั ระบบสุ ริยะ กลุ่มใดเรี ยงภาพได้ถูกต้องและรวดเร็ วที่ สุดเป็ นผูชนะ หลังจากนั้นครู และนักเรี ยน ้ ร่ วมกันอภิปรายความถูกต้อง เพื่อสรุ ปการเกิดและวิวฒนาการของระบบสุ ริยะ ั 4. นักเรี ยนเขียนวงกลมขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเล็กจานวน 4 วง ซ้อนกัน ให้ วงกลมวงกลมเล็กอยู่ในวงกลมใหญ่ และระบุเปรี ยบเทียบวงกลมแต่ละวงแทน เอกภพ กาแล็กซี ระบบสุ ริยะ และดาวเคราะห์ 5. นักเรี ยนสรุ ปความหมายของคาต่อไปนี้ :ระบบสุ ริยะ ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ดาวเคราะห์ ดาวหาง ทางช้างเผือก กาแล็กซีทางช้างเผือก เอกภพ ดาวเคราะห์นอย ดาวตก้ - ระบบสุ ริยะ :: ระบบที่มีความสัมพันธ์กนระหว่างดวงอาทิตย์และบริ วาร ซึ่ งคือเทห์ ฟากฟ้ าบนท้องฟ้ า ได้แก่ ดาวเคราะห์ 9 ดวง ดาวเคราะห์นอย ดาวหาง ดวงจันทร์ที่เป็ นบริ วารของ ้ ดาวเคราะห์ อุกกาบาต - ดวงอาทิตย์ :: ดาวฤกษ์ที่เป็ นศูนย์กลางของระบบสุ ริ ยะ มีมวลสาร 99.85 ของมวลสาร ทั้ง หมดของระบบสุ ริ ย ะ ใหญ่ ก ว่า โลก 1,304,000 เท่ า เส้ นผ่า นศู นย์ก ลางยาวกว่า เส้ น ผ่า น ศูนย์กลางของโลก 109 เท่า หมุนรอบตัวเองและส่ งแรงดึงดูดเทห์ฟากฟ้ าทั้งหลายไปไกล 2.4 ปี แสง - ดวงจันทร์ :: บริ วารของดาวเคราะห์ โคจรรอบดาวเคราะห์ - ดาวเคราะห์ :: บริ วารของดวงอาทิตย์ ดาวเคราะห์ในระบบสุ ริยะมี 9 ดวง หมุนรอบ ตัวเองและโคจรรอบดวงอาทิตย์ - ดาวหาง :: บริ วารของดวงอาทิตย์ ประกอบด้วยฝุ่ นแก๊ส ฝุ่ นธุ ลีและหิ น โคจรรอบดวง อาทิตย์เป็ นวงรี หรื อพาราโบลา ่ - ทางช้างเผือก :: ดาวฤกษ์ที่อยูไกลจากโลกมากมองเห็นเป็ นแถบสี ขาวที่สังเกตได้บน ท้องฟ้ า คล้ายเมฆที่พาดผ่านขอบฟ้ าไป มองเห็นได้ชดในฤดูหนาว ั - กาแล็กซี ทางช้างเผือก :: ระบบขนาดใหญ่ของดาวฤกษ์เป็ นที่ อยู่ของระบบสุ ริยะ ประกอบด้วยดาวฤกษ์ กระจุกดาว เนบิวลา แก็ส และฝุ่ นธุ ลีกาแล็กซี - เอกภพ :: ระบบซึ่ งเป็ นที่รวมของกาแล็กซี ท้ งหมด ั - ดาวเคราะห์น้อย :: วัตถุแข็งขนาดเล็ก มีจานวนมากกว่า 10,000 ดวง และสะเก็ดดาว ่ (อุกกาบาต) อยูระหว่างดาวอังคารกับดาวพฤหัสบดี
  • 4. - ดาวตก :: อุกกาบาตที่เข้ามาในแรงโน้มถ่วงของโลก ตกผ่านชั้นบรรยากาศเกิดลุกไหม้ เป็ นแสงสว่างวาบเป็ นดาวตก 2.4 ขั้นขยายความรู้ 1. ครู มอบหมายให้แต่ละกลุ่มจัดทาโปสเตอร์ แสดงเนื้ อหาเกี่ยวกับอิทธิ พลของดวงดาวใน ระบบสุ ริยะที่มีต่อโลกทันทีที่เราเห็นดวงอาทิตย์และดวงดาวต่างๆ ในระบบสุ ริยะ 2. ให้นกเรี ยนศึกษาค้นคว้าความรู ้ เพิ่มเติม ในเรื่ อง จันทรุ ปราคาและสุ ริยุปราคา โดยให้ ั นักเรี ยนที่เคยเห็นปรากฏการณ์ดงกล่าว ออกมาเล่าประสบการณ์ให้เพื่อนฟัง ั 3. ให้นกเรี ยนสื บค้นเกี่ยวกับเหตุการณ์การเกิ ดสุ ริยุปราคาเต็มดวง เมื่อวันที่ 18 สิ งหาคม ั 2411 ที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูหวทรงคานวณไว้ล่วงหน้า 2 ปี ว่าจะเกิด แล้วก็เกิดขึ้น ่ ั ตามที่พระองค์ทรงคานวณไว้ทุกประการ จากนั้นนาข้อมูลและภาพประกอบมาจัดเป็ นป้ ายนิ เทศ หน้าชั้นเรี ยน 2.5 ขั้นประเมิน 1. ครู ให้นกเรี ยนแต่ละคนพิจารณาว่าในหัวข้อที่เรี ยนมา และในการปฏิบติกิจกรรมมีจุดใด ั ั ที่ ยง เข้าใจไม่ ชัดเจนหรื อยัง มี ขอสงสัย ถ้า มี ครู ช่วยอธิ บายเพิ่ มเติ ม และทดสอบความเข้า ใจของ ั ้ นักเรี ยนโดยการให้ตอบคาถาม 2. นัก เรี ย นร่ วมกันแสดงความคิ ดเห็ นถึ ง ประโยชน์ ที่ ไ ด้จากการเรี ย นและการปฏิ บ ติ ั กิจกรรมและการนาความรู ้ท่ีได้ไปใช้ประโยชน์ 3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันประเมินการจัดกิจกรรมกลุ่ม ว่ามีปัญหา อุปสรรคใดและได้มีการ แก้ไขอย่างไร ครู ให้คาชมเชยกลุ่มที่ทางานได้ดี ให้กาลังใจและข้อเสนอแนะแก่กลุ่มที่ควรปรับปรุ ง 3. ขั้นสรุ ป 1. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันสรุ ปการกาเนิ ดระบบสุ ริยะ ดวงอาทิตย์ และอิทธิ พลของดวง อาทิตย์ต่อโลก 2. ครู แนะนานักเรี ยนให้ศึกษาค้นคว้ารายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับระบบสุ ริยะจากหนังสื อ วารสาร เอกสาร ในห้องสมุด หรื อทางอินเทอร์เน็ต 3. ครู ให้นกเรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน ั สื่ อและแหล่ งการเรียนรู้ 1. หนังสื อเรี ยนสาระการเรี ยนรู ้พ้ืนฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ ของสถาบันส่ งเสริ ม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) 2. เอกสารประกอบการสอน/ใบความรู้ 3. แบบทดสอบหลังเรี ยน 4. สื่ อสิ่ งพิมพ์และเว็บไซต์ต่างๆ ทางอินเตอร์ เน็ตที่เกี่ยวข้อง
  • 5. การวัดและประเมินผล การวัดผลประเมินผลด้าน วิธีการวัด เครื่ องมือวัด เกณฑ์การผ่าน 1. ด้านความรู ้ความเข้าใจ 1.วัดจากแบบทดสอบปรนัย 4 1.แบบทดสอบปรนัย 4 1. ทาแบบทดสอบถูก ตัวเลือก จานวน12 ข้อ ตัวเลือก จานวน12 ข้อ มากกว่าหรื อ เท่ากับ 7 ข้อขึ้นไป 2. ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตจากการปฏิบติกิจกรรม แบบสังเกตพฤติกรรมการ ั ได้คะแนนในระดับ 2 ในชั้นเรี ยน ทางาน ขึ้นไป 3. ด้านคุณลักษณะที่พึง การสังเกตพฤติกรรมความ แบบสังเกตพฤติกรรมความ ได้คะแนนในระดับ 2 ประสงค์ สนใจ และตั้งใจเรี ยน สนใจและตั้งใจเรี ยน ขึ้นไป กิจกรรมเสนอแนะ ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ความคิดเห็นของผู้บังคับบัญชา ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระ ความเห็นหัวหน้า ความเห็นรองผูอานวยการ ้ การเรี ยนรู้วทยาศาสตร์ ิ กลุ่มบริ หารวิชาการ กลุ่มบริ หารวิชาการ ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ................................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... ลงชื่อ....................................... (นางจิรารัตน์ เชื่อมกระโทก) (นางเพิมศิริ งามยิง) ่ ่ (นายประเสริ ฐ สันทอง) ความเห็นของผู้บริ หารโรงเรี ยน ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ลงชื่อ.......................................................... ( นายทันใจ ชูทรงเดช ) ผูอานวยการโรงเรี ยนนารายณ์คาผงวิทยา ้ .................../....................../.......................
  • 6. แบบทดสอบก่ อนเรียน เรื่อง ระบบสุ ริยะ 1. พลังงานความร้ อนของดวงอาทิตย์ เป็ นพลังงานชนิดใด ก นิวเคลียร์ ข นิวเคลียร์ฟิวชัน ค นิวเคลียร์ฟิชชัน ง ทุกชนิ ด 2. อ่านข้ อความต่ อไปนีแล้วตอบคาถาม ้ 1. ดาวฤกษ์มีแสงสว่างและความร้อนในตัวเอง 2. แสงสว่างของดาวเคราะห์เกิดจากแสงสะท้อนของดวงอาทิตย์ 3. ดาวฤกษ์มีขนาดไม่แน่นอน ส่ วนดาวเคราะห์มีขนาดเล็กและขนาดเท่ากัน ข้ อใดคือความแตกต่ างของดาวฤกษ์ และดาวเคราะห์ ก 1 และ 2 ข 2 และ 3 ค 1 และ 3 ง 1 , 2 และ 3 3. โลกได้ รับพลังงานจากดวงอาทิตย์ ในรู ปของอะไร ก อนุภาคและแสง ค ความร้อนและพายุแม่เหล็ก ข แสงและความร้อน ง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าและอนุภาค 4. ผู้ททางานกลางแดดแล้ งผิวหนังดาเกรียมและอาจทาให้ เป็ นมะเร็งผิวหนังได้ ทั้งนี้เนื่องจาก ี่ ผิวหนังได้ รับสิ่ งใดมากทีสุด่ ก รังสี เอกซ์ ข รังสี แกมมา ค แสงธรรมดา ง รังสี อลตราไวโอเลต ั 5. ข้ อใด ไม่ใช่ พลังงานทีมีต้นกาเนิดจากพลังงานแสงอาทิตย์ ่ ก พลังงานความร้อนจากการเผาถ่านหิ น ข พลังงานความร้อนจากแหล่งน้ าร้อนใต้ดิน ค พลังงานความร้อนจากการเผาผลาญอาหารของร่ างกาย ง พลังงานความร้อนจากเตาไฟฟ้ าที่ใช้ไฟฟ้ าจากโรงไฟฟ้ าพลังน้ า 6. ข้ อใดกล่าว ไม่ ถูกต้ อง ก ปรากฏการณ์เรื อนกระจกทาให้โลกร้อนขึ้น ข การใช้สารทาลายชั้นบรรยากาศมีโอกาสทาให้โลกร้อนขึ้น ค ในตอนเที่ยงพื้นราบได้รับพลังงานแสงอาทิตย์ต่อพื้นที่มากกว่าพื้นที่ที่เป็ นภูเขา ง บรรยากาศโลกถูกทาลาย แสงอาทิตย์จึงผ่านเข้าสู่ ผวโลกได้มากขึ้นเป็ นปรากฏการณ์ ิ เรื อนกระจก 7. ปรากฏการณ์ ใดเกิดจากลมสุ ริยะ ก สุ ริยปราคา ข พายุแม่เหล็ก ค แสงเหนือ-แสงใต้ ง ข้อ ก และ ค ถูก ุ 8. การเกิดปรากฏการณ์แสงเหนือ - แสงใต้ มีสาเหตุมาจากอะไร ก รังสี อลตราไวโอเลตจากดวงอาทิตย์ทาปฏิกิริยากับบรรยากาศชั้นบนบริ เวณ ั
  • 7. ขั้วโลกเหนือและใต้ ข คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ าจากดวงอาทิตย์ทาปฏิกิริยากับบรรยากาศชั้นบนบริ เวณ ขั้วโลกเหนื อและใต้ ค อนุภาคโปรตอนพลังงานสู งจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ตามแนวเส้นแรงแม่เหล็ก มาชนกับอะตอมของแก๊สที่บริ เวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ ง อนุภาคอิเล็กตรอนและไอออนจากดวงอาทิตย์เคลื่อนที่ตามแนวเส้นแรงแม่เหล็ก มาชนกับอะตอมของแก๊สที่บริ เวณขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ 9. การที่ ไม่ เกิดปรากฏการณ์ อุปราคาให้ ผ้ ูสังเกตบนโลกเห็นทุกๆ เดือน เนื่องจากสาเหตุใด ก วงโคจรของโลกและดวงจันทร์ เป็ นวงรี ข โลกและดวงจันทร์ เคลื่อนที่ดวยอัตราเร็ วที่ต่างกัน ้ ค ระนาบวงโคจรของโลกและดวงจันทร์ อยูคนละระนาบ ่ ง ดวงจันทร์ โคจรรอบโลกเร็ วกว่าโลกโคจรรอบดวงจันทร์ 10. เพราะเหตุใดการเกิดอุปราคาแต่ ละครั้งจึงมักเกิดทีตาแหน่ งทีเ่ รี ยกว่ า จุดโนด ่ ก ตาแหน่งนี้ ผสังเกตบนโลก มีโอกาสมองเห็นได้ชดเจนที่สุด ู้ ั ข ตาแหน่งนี้ดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ อยูใกล้กนมากที่สุด ่ ั ค ตาแหน่งนี้ระนาบวงโคจรของโลกและดวงจันทร์ เกือบซ้อนกันมากที่สุด ่ ง ตาแหน่งดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์ อยูในแนวเส้นตรงเดียวกันมากที่สุด 11. ดาวหางฮัลเลย์ ซึ่งเป็ นดาวหางทีมีความสว่ างมากทีสุด มีลกษณะโคจรแบบใด ่ ่ ั ก วงรี ข วงกลม ค พาราโบลา ง ข้อ ข และ ค ถูก 12. จงพิจารณาข้ อความต่ อไปนีแล้วตอบคาถาม ้ 1. แสงสว่างจากดาวหางทั้งหมดเกิดจากการสะท้อนแสงจากดวงอาทิตย์ เช่นเดียวกับแสงสว่าง จากดวงจันทร์ ่ 2. ส่ วนหางจะชี้ในแนวเกือบตรงกันข้ามกับดวงอาทิตย์ ไม่วาขณะดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวง อาทิตย์ หรื อขณะดาวหางเคลื่อนที่ออกห่างดวงอาทิตย์ ่ ่ 3. ส่ วนหางจะปรากฏยาวเพิ่มขึ้นเมื่ออยูใกล้ดวงอาทิตย์ ไม่วาขณะดาวหางเคลื่อนที่เข้าหาดวง อาทิตย์ หรื อขณะดาวหางเคลื่อนที่ออกห่างดวงอาทิตย์ ข้ อใดสรุ ปเกียวกับดาวหางได้ ถูกต้ อง ่ ก 1 และ 2 ข 1 และ 3 ค 2 และ 3 ง 3 เท่านั้น --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เฉลยแบบทดสอบก่ อนเรี ยน เรื่อง ระบบสุ ริยะ 1) ข. 2) ก. 3) ง. 4) ง. 5) ข. 6) ง. 7) ง. 8) ง. 9) ค. 10) ง. 11) ก. 12) ก.