SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
SNAKE BITE
[object Object],[object Object],งูพิษที่มีในประเทศไทย 1 .  งูที่ผลิต  Neurotoxin Sign & symptom Local  Systemic ,[object Object],[object Object],[object Object]
กลไกพิษของงูต่อระบบประสาท   ไม่ได้เป็นพิษต่อสมองหรือเส้นประสาท   แต่มีต่อระบบประสากล้ามเนื้อ  ( neuromuscular junction)  โดยแบ่งเป็น    1. Post-synaptic block  ได้แก่ พิษงูเห่าและงูจงอางโดยที่พิษจะไปจับกับตัวรับ  acetyl choline receptor  ที่  motor end-plate  ทำให้  acetyl choline  ที่เป็น  neurotransmitter  จากเส้นประสาทไปจับกับ  motor end-plate  ไม่ได้  ( รูปที่ 1)    2. Pre-synaptic block  ได้แก่ พิษงูทับสมิงคลาโดยที่พิษจะจับบริเวณปลายเส้นประสาททำให้หลั่ง  neuro-transmitter  ออกไม่ได้  ( รูปที่  2)   อาการทางระบบประสาทของพิษทั้ง  2  ชนิดไม่ต่างกัน    รูปที่  1 Post-synaptic block   รูปที่  2 Post-synaptic block
[object Object],2 .  งูที่ผลิต  Hematotoxin Sign & symptom Local Systemic ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
กลไก การเป็นพิษต่อระบบเลือด   คือการทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย   (bleeding tendency)  -  viper   พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น  thromboplastin-like  กล่าวคือ จะกระตุ้น  factor X  และเปลี่ยน  Prothrombin   ให้กลายเป็น  thrombin ใน  common pathway  ของกระบวนการ  แข็งตัวของเลือด  thrombin   ที่เกิดขึ้นจะไปกระตุ้น  Fibrinogen   ให้เป็น  Fibrin   และไปกระตุ้น factor   XIII  ซึ่งจะทำให้  Fibrin   ที่เกิดขึ้นกลายเป็น  cross-linked fibrin  และเกิดเป็นลิ่มเลือด  ทั่วทั้งร่างกายที่เรียกว่าภาวะเลือดจับลิ่มในหลอดเลือด   (disseminated intravascular coagulation : DIC)  จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปรกติ เพราะปัจจัยการจับลิ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง  factor   II,V,X  ถูกใช้ไปจนหมด และยังมีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ  DIC  อีกด้วย  
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
      ได้แก่  งูทะเล 3 .  งูที่ผลิต  Myotoxin กลไกการเป็นพิษของงู  จะไปทำลายเซลล์กล้ามเนื้อ เกิดภาวะ   rhabdomyolysis  มีการแตกสลายของเซลล์  ปล่อย  Myoglobin   และโปแตสเสียมออกมาในกระแสเลือด  Myoglobin   จะขับออกทางปัสสาวะ เป็นภาวะปัสสาวะมี มัยโอโกลบิน  ( myoglobinuria)  ซึ่งจะตกตะกอนในท่อใด ทำให้มีการอุดตัน เกิดเป็นภาวะไตล้มเหลวเฉียบพลัน Sign& symptom Local Systemic ,[object Object],[object Object],[object Object]
4 .  อื่น ๆ ,[object Object],[object Object],Sign & symptom Local Systemic ,[object Object],[object Object]
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ขั้นตอนการดูแลผู้ป่วยที่ถูกงูพิษกัด
2.3   การตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการ ในกรณีสงสัยงูที่ผลิต  Hematotoxin  ให้ตรวจ                  - CBC Platelet count  ลดลง                  - Venous clotting time (VCT) pro – longed  ซึ่งการตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไป             แยกการเป็นพิษจากงูกะปะออกจากงูเขียวหางไหม้ไม่ได้ ส่วนงูแมวเซาแยกได้โดยการมีภาวะ               disseminated intravascular coagulation (DIC),  ไตวายฉับพลัน , factor X  activity  ลดลง        การเป็นพิษจากงูทะเลพบภาวะไตวายฉับพลันร่วมกับ  rhabdomyolysis   และ  hyperkalemia  serodingnosis   ปัจจุบันอาจทำได้โดยใช้วิธี  ELLSA, passive hemagglutination,  และ    latex aggluti-nation  แต่ยังไม่ได้นำมาใช้แพร่หลายทางคลินิก                
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],ตารางประเมินความรุนแรง Severity Echymosis เกร็ดเลือด VCT Systemic bleeding Mild ไม่มี ปกติ ปกติ ไม่มี Moderate มี ต่ำ ยาว ไม่มี Severe มี ต่ำ > 30  นาที มี
         2.  การรักษา              2.1  การรักษาทั่วไป              2.2  การรักษางูพิษเฉพาะกลุ่ม              2.3  การให้  antivenom   2.1  การรักษาทั่วไป          การรักษาก่อนมาโรงพยาบาล  ( Pre-hospital treatment)             1.  นำผู้ป่วยมาพบแพทย์โดยเร็วที่สุด และนำงูที่กัดมาด้วยถ้าเป็นไปได้               2.  พยายามให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ถูกงูกัด              3.  ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ห้ามกรีด ตัด ดูด ไฟจี้ พอกทายาแผลที่ถูกงูกัด              4.   ใช้ผ้าหรือเชือกขนาดประมาณนิ้วก้อย รัดให้เหนือแผลที่ถูกกัดแน่นพอให้ สอดนิ้วได้  1  นิ้ว    ถ้าหากสามารถไปถึงโรงพยาบาลได้ภายในครึ่งชั่วโมง ไม่จำเป็นต้องใช้ผ้าหรือเชือกรัด                 
การรักษาในโรงพยาบาล         1.  รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น  anaphylactic shock, apnea, shock        2.  ทำความสะอาดบริเวณถูกงูกัด         3.  อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าอย่าตกใจมาก เนื่องจากมาถึงโรงพยาบาลแล้ว แพทย์พร้อมจะรักษาอาการที่เกิดจากงูพิษกัดได้    4.  ให้ผู้ป่วยพัก อย่าเคลื่อนไหวบริเวณที่ถูกงูกัด ในกรณีที่มีอาการบวมมากให้ยกบริเวณนั้นสูง         5.  ให้ดื่มน้ำให้เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่มีอาการบวมมาก         6.  ควรมี  flow sheet  ในการติดตามอาการผู้ป่วย   7.  ให้ยาแก้ปวด เช่น  acetaminophen  ไม่ควรให้ยาที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแก่ผู้ป่วย ที่ถูกงูที่ผลิต  Neurotoxin  กัด และห้ามให้  aspirin  ในผู้ป่วยที่ถูกงูผลิต  hematotoxin  กัด 8.  ยาปฏิชีวนะ พิจารณา  broad spectrum antibiotics  ที่ครอบคลุมเชื้อ ที่เป็นกรัมบวก กรัมลบ และ  anaerobic  เมื่อมีอาการแสดงของการติดเชื้อที่แผลชัดเจน 9.  ควรให้  tetanus prophylaxis  แต่ควรให้หลังจากอาการทาง  systemic  ต่างๆ ไม่มีแล้ว
2.2   การักษางูพิษเฉพาะกลุ่ม        งูที่ผลิต   Neurotoxin         1.   การช่วยการหายใจเป็นหัวใจสำคัญของการรักษา ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับการติดตาม อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างใกล้ชิดเป็นระยะๆ ทุก  1  ชั่วโมง เพื่อเตรียมพร้อมการใส่  endotracheal tube  และการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลา  12-24  ชั่วโมง   2.  การให้  antivenom   จะมีประโยชน์ลดระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจ แต่ไม่สามารถป้องกันการเกิด   respiratory failure             2.1  ข้อบ่งชี้ในการให้  antivenom  คือการมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มตั้งแต่หนังตาตก  พบว่าการให้  antivenom  จะช่วยลดระยะเวลาการใช้  ventilator             2.2  ขนาดที่ใช้คือ  100  มล . ( 10 vials)  ในงูเห่าและ  50-100  มล .  ในงูจงอาง และงูสามเหลี่ยม  โดยทั่วไปไม่ต้องให้   ซ้ำ      ส่วนงูทับสมิงคลายังไม่มี   antivenom          2.3  การติดตามผู้ป่วย ให้ดูอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ระยะเฉลี่ยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ประมาณ  10-12  ชั่วโมง   3.  ในกรณีงูเห่าและงูจงอาง ให้ทำ  early debridement  บริเวณที่มี  necrosis  ก่อนที่จะลุกลามเป็นบริเวณกว้าง และพิจารณาทำ  skin graft  ถ้าจำเป็น
งูที่ผลิต  Hematotoxin   1. Bleeding precaution  มีการติดตามเฝ้าระวังภาวะ  bleeding tendency  ทั้งอาการแสดงและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ  ( CBC, platelet count, VCT)  ทุกวัน เป็นเวลา  72  ชั่วโมง โดยติดตามแบบผู้ป่วยนอกได้ถ้าอาการไม่รุนแรง และรับผู้ป่วยเข้าไว้ในโรงพยาบาล ในกรณีที่เป็น  moderate  และ  severe   2.  การให้  antivenom  คือ            2.1  ข้อบ่งชี้   : systemic bleeding ,VCT >   30  นาทีในผู้ใหญ่ และ  > 20  นาที ในเด็ก ,  ในกรณีที่  platelet count  น้อยกว่า  10,000/cu.mm.  อาจพิจารณาให้  2.2  ขนาดที่ใช่คือ  5 0  มล . (5  vials)           2.3  การติดตามผู้ป่วย   -  ภาวะเลือดออก             - VCT  ทุก  6  ชั่วโมง ถ้ายังมากกว่า  30  นาที ให้ซ้ำได้อีก ในรายที่เลือดออกต้องการเฉลี่ย  2 dose  ถ้าต้องการเกิน  4 dose  ให้คิดไว้ว่าอาจวินิจฉัยผิด บางรายเมื่อ  VCT  กับมาปกติแล้ว อาจกลับยาวขึ้นอีก จึงควรตรวจ  VCT  อีกครั้งที่  12-24  ชั่วโมงหลังจาก  VCT  กลับมาปกติ
3.  การให้  platelet  และ / หรือ  coagulation factor  จะได้ประโยชน์น้อย เนื่องจาก จะถูกพิษงูทำลายหมด พิจารณาให้ในกรณีที่มี  severe, lifethreatening bleeding  ร่วมกับการใช้  antivenom        4.  ในกรณีงูแมวเซาให้รักษาภาวะ   acute renal failure  เหมือนกรณีทั่วไป  รวมทั้งการพิจารณา ทำ  hemodialysis  ถ้ามีข้อบ่งชี้   5.  ในกรณีงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ให้ทำการ  debride  และ  unroof hemorrhagic bleb  บริเวณนิ้วและทำ  fasciotomy  ในกรณี  compart-ment syndrome  แต่ทั้งนี้จะทำได้ต่อเมื่อ  VCT  ปกติ
   งูที่ผลิต   Myotoxin          เนื่องจากในประเทศไทยยังไม่มี  antivenom  การรักษาที่สำคัญคือการรักษา  acute renal failure rhabdomyolysis  และ  hyperkalemia  โดยการแก้ไข  metabolic acidosis และที่สำคัญคือการทำ   hemodialysis 2.3  การให้  antivenom            สถานเสาวภา สภากาชาดไทยได้ผลิตเซรุ่มแก้พิษงูไว้ทั้งสิ้น  7  ชนิด ทุกชนิดเป็น   monovalent antivenom  โดยในเซรุ่มแต่ละชนิดจะผลิตจากพิษงู  species  เดียวกันเท่านั้น  ขณะบรรจุเป็นผงบรรจุใน  vial  ก่อนใช้  dilute  เป็น  10 ml.  ต่อ  1 vial  และควรทำ  skin test  ก่อน การให้เสมอโดยเจือจาง  1:100 intradermal 0.02 ml.  อ่านผลที่  15  นาที โดย   positive skin test  คือ  wheal  ใหญ่กว่าเดิม  2  เท่า รวมกับมี  flare  ล้อมรอบ ถ้าได้ผลบวกต้อง  admit ICU  เพื่อทำ  desensitzation  ผสมใน  5% D/NSS/2 100-200 ml.  ให้ใน  30  นาที  –  1  ชม .
วิธีบริหารเซรุ่มแก้พิษงูชนิดต่าง ๆ     ชนิดงู   ข้อบ่งชี้   วิธีบริหาร งูเห่า   หนังตาตก ,  กลืนลำบาก   100  มล .   งูเห่าพ่นพิษ   หายใจลำบาก   100  มล . งูจงอาง หนังตาตก ,  กลืนลำบาก , หายใจลำบาก     50 – 100  มล .     งูสามเหลี่ยม หนังตาตก ,  กลืนลำบาก , หายใจลำบาก   50 – 100  มล .     งูแมวเซา   ตกเลือดทั่วตัว ไตล้มเหลวเฉียบพลัน VCT>30  นาที 60  มล .  ให้ซ้ำทุก  6  ชั่วโมง จนกว่า  VCT  ลดลงต่ำกว่า  30  นาที งูกะปะ ตกเลือดทั่วตัว เกล็ดเลือดน้อยมาก  น้อยกว่า  20,000 /   ลบ . มม .  VCT>30  นาที 50  มล .  ให้ซ้ำทุก  6  ชั่วโมง จนกว่า  VCT  ลดลงต่ำกว่า  30  นาที   งูเขียวหางไหม้ ตกเลือดทั่วตัว เกล็ดเลือดน้อยมาก น้อยกว่า  20,000 /  ลบ . มม .    **  VCT> 30  นาที   50  มล .  ให้ซ้ำทุก  6  ชั่วโมง จนกว่า  VCT  ลดลงต่ำกว่า  30  นาที  
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
แหล่งที่อยู่ของงู  งูเห่า   -  มักจะพบในภาคกลาง ได้แก่ สมุทรปราการ ,  นนทบุรี ,  ปทุมธานี ,  นครปฐม ,  อยุธยา ,  นครนายก ,  อ่างทอง ,  สิงห์บุรี ,  ลพบุรี ,  สระบุรี   งูจงอาง   -  มักพบในป่าแถบนครสวรรค์ ,  เพชรบูรณ์ ,  นครศรีธรรมราช   งูสามเหลี่ยม   -  พบมากในภาคกลาง ได้แก่ ธนบุรี ,  นครปฐม ,  อยุธยา ,  อ่างทอง ,  สระบุรี ,  นนทบุรี   งูแมวเซา   -  มักพบในภาคกลางในแถบธนบุรี ,  สมุทรปราการ ,  สระบุรี ,  ลพบุรี ,  อยุธยา อ่างทอง   งูกะปะ   -  มักพบในจังหวัดแถบชายทะเล ได้แก่ ชลบุรี ,  ระยอง ,  จันทบุรี ,  ตราด ,  ประจวบคีรีขันธ์ ,  ชุมพร                   และจังหวัดต่างๆ ในภาคใต้   งูเขียวหางไหม้   -  พบในเขตพระนครและธนบุรี   งูคออ่อน   -  พบในทะเลบริเวณอ่าวไทย แถบจังหวัดสมุทรปราการ ,  สมุทรสาคร ,  สมุทรสงคราม  
งูเห่า
งูจงอาง
งูสามเหลี่ยม
งูทับสมิงคลา
งูแมวเซา
งูกะปะ
งูเขียวหางไหม้
งูทะเล
THANK YOU

More Related Content

What's hot

Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักAiman Sadeeyamu
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentsAphisit Aunbusdumberdor
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Utai Sukviwatsirikul
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentAuMi Pharmaza
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiThorsang Chayovan
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นSutthiluck Kaewboonrurn
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)piyarat wongnai
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนักPediatric dosage table   ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
Pediatric dosage table ขนาดการใช้ในเด็กแบ่งตามอายุ+น้ำหนัก
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing studentspathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
pathophysiology of lower gastrointestinal for nursing students
 
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวทางเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
Clinical practice guidelines for anaphylaxis 2017
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Drug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation presentDrug in pregnancy and lactation present
Drug in pregnancy and lactation present
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in ThaiPediatric upper urinary tract infection in Thai
Pediatric upper urinary tract infection in Thai
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 
Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)Central venous pressure (cvp)
Central venous pressure (cvp)
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 

Viewers also liked

การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์CUPress
 
Lesson 3 4 Laboratory Pt
Lesson 3 4 Laboratory PtLesson 3 4 Laboratory Pt
Lesson 3 4 Laboratory PtMiami Dade
 
Modern Aspects of Snake Venom
Modern Aspects of Snake VenomModern Aspects of Snake Venom
Modern Aspects of Snake VenomJeeshan Ali
 
Management of snake bite victims
Management of snake bite victimsManagement of snake bite victims
Management of snake bite victimsSmruti Patanaik
 
Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management
Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management
Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management Sãñjãyã Weerasinghe
 
SNAKE BITE MANAGEMENT
SNAKE BITE MANAGEMENTSNAKE BITE MANAGEMENT
SNAKE BITE MANAGEMENTabhija babuji
 
Fixatives used in histopathology
Fixatives used in histopathologyFixatives used in histopathology
Fixatives used in histopathologyHitendra Prajapati
 

Viewers also liked (11)

การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
การพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
 
Lesson 3 4 Laboratory Pt
Lesson 3 4 Laboratory PtLesson 3 4 Laboratory Pt
Lesson 3 4 Laboratory Pt
 
Modern Aspects of Snake Venom
Modern Aspects of Snake VenomModern Aspects of Snake Venom
Modern Aspects of Snake Venom
 
Management of snake bite victims
Management of snake bite victimsManagement of snake bite victims
Management of snake bite victims
 
Fixatives
FixativesFixatives
Fixatives
 
Tests of bleeding disorders
Tests of bleeding disordersTests of bleeding disorders
Tests of bleeding disorders
 
Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management
Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management
Snake bite,first aid, anti-venom treatment and ward management
 
SNAKE BITE MANAGEMENT
SNAKE BITE MANAGEMENTSNAKE BITE MANAGEMENT
SNAKE BITE MANAGEMENT
 
Fixatives used in histopathology
Fixatives used in histopathologyFixatives used in histopathology
Fixatives used in histopathology
 
Animal Poisons
Animal PoisonsAnimal Poisons
Animal Poisons
 
toxins
toxinstoxins
toxins
 

Similar to Snake Bite

หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx pop Jaturong
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียนายสามารถ เฮียงสุข
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116vora kun
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีtechno UCH
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)สำเร็จ นางสีคุณ
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conferenceMy Parents
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน Ming Gub Yang
 

Similar to Snake Bite (20)

Zoonosis
ZoonosisZoonosis
Zoonosis
 
Hemorrhoid
HemorrhoidHemorrhoid
Hemorrhoid
 
Asthma
AsthmaAsthma
Asthma
 
Leptospirosis
LeptospirosisLeptospirosis
Leptospirosis
 
Lesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasisLesson 1 homeostasis
Lesson 1 homeostasis
 
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
หลักพยาธิบ.5การอักเสบ pptx
 
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรียสอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
สอบสวนผู้ป่วยเสียชีวิตโรคไข้มาลาเรีย
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Urticaria
UrticariaUrticaria
Urticaria
 
Osce examination si116
Osce examination si116Osce examination si116
Osce examination si116
 
Shock (Thai)
Shock (Thai)Shock (Thai)
Shock (Thai)
 
Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Blunt chest injury
Blunt chest injuryBlunt chest injury
Blunt chest injury
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
Septic abortion
Septic abortionSeptic abortion
Septic abortion
 
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมีการจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี
 
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
10แบบทดสอบภูมิคุ้มกันของร่างกาย (ตอนที่ 1)
 
Interhospital chest conference
Interhospital chest conferenceInterhospital chest conference
Interhospital chest conference
 
คุณหมอนาโน
 คุณหมอนาโน    คุณหมอนาโน
คุณหมอนาโน
 

More from Asst.Prof.Dr.Terdsak Rojsurakitti (20)

CA Cervix
CA CervixCA Cervix
CA Cervix
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
DUB
DUBDUB
DUB
 
Laboratory Testing
Laboratory TestingLaboratory Testing
Laboratory Testing
 
Shock
ShockShock
Shock
 
Nephrotic Syndrome
Nephrotic SyndromeNephrotic Syndrome
Nephrotic Syndrome
 
Kidney & Urinary System
Kidney & Urinary SystemKidney & Urinary System
Kidney & Urinary System
 
Stroke
StrokeStroke
Stroke
 
Osteoporosis
OsteoporosisOsteoporosis
Osteoporosis
 
Chronic Back Pain
Chronic Back PainChronic Back Pain
Chronic Back Pain
 
Low Back Pain
Low Back PainLow Back Pain
Low Back Pain
 
Brachial Plexus Injury
Brachial Plexus InjuryBrachial Plexus Injury
Brachial Plexus Injury
 
Bile Duct Tumor
Bile Duct TumorBile Duct Tumor
Bile Duct Tumor
 
Appendicitis
AppendicitisAppendicitis
Appendicitis
 
Organ Transplant
Organ TransplantOrgan Transplant
Organ Transplant
 
Thyroid Noudle
Thyroid NoudleThyroid Noudle
Thyroid Noudle
 
Deep Vein Thrombosis
Deep Vein ThrombosisDeep Vein Thrombosis
Deep Vein Thrombosis
 
Gastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal TumorsGastrointestional Stromal Tumors
Gastrointestional Stromal Tumors
 
Head Injury
Head InjuryHead Injury
Head Injury
 
Circumcision
CircumcisionCircumcision
Circumcision
 

Snake Bite

  • 2.
  • 3. กลไกพิษของงูต่อระบบประสาท ไม่ได้เป็นพิษต่อสมองหรือเส้นประสาท แต่มีต่อระบบประสากล้ามเนื้อ ( neuromuscular junction) โดยแบ่งเป็น   1. Post-synaptic block ได้แก่ พิษงูเห่าและงูจงอางโดยที่พิษจะไปจับกับตัวรับ acetyl choline receptor ที่ motor end-plate ทำให้ acetyl choline ที่เป็น neurotransmitter จากเส้นประสาทไปจับกับ motor end-plate ไม่ได้ ( รูปที่ 1)  2. Pre-synaptic block ได้แก่ พิษงูทับสมิงคลาโดยที่พิษจะจับบริเวณปลายเส้นประสาททำให้หลั่ง neuro-transmitter ออกไม่ได้ ( รูปที่ 2) อาการทางระบบประสาทของพิษทั้ง 2 ชนิดไม่ต่างกัน   รูปที่ 1 Post-synaptic block รูปที่ 2 Post-synaptic block
  • 4.
  • 5. กลไก การเป็นพิษต่อระบบเลือด คือการทำให้เกิดภาวะเลือดออกง่าย (bleeding tendency) - viper พิษของงูชนิดนี้มีลักษณะเป็น thromboplastin-like กล่าวคือ จะกระตุ้น factor X และเปลี่ยน Prothrombin ให้กลายเป็น thrombin ใน common pathway ของกระบวนการ แข็งตัวของเลือด thrombin ที่เกิดขึ้นจะไปกระตุ้น Fibrinogen ให้เป็น Fibrin และไปกระตุ้น factor XIII ซึ่งจะทำให้ Fibrin ที่เกิดขึ้นกลายเป็น cross-linked fibrin และเกิดเป็นลิ่มเลือด ทั่วทั้งร่างกายที่เรียกว่าภาวะเลือดจับลิ่มในหลอดเลือด (disseminated intravascular coagulation : DIC) จึงเกิดภาวะเลือดออกผิดปรกติ เพราะปัจจัยการจับลิ่ม โดยเฉพาะอย่างยิ่ง factor II,V,X ถูกใช้ไปจนหมด และยังมีการลดลงของเกล็ดเลือดจากภาวะ DIC อีกด้วย  
  • 6.
  • 7.
  • 8.
  • 9.
  • 10. 2.3 การตรวจสอบทางห้องปฏิบัติการ ในกรณีสงสัยงูที่ผลิต Hematotoxin ให้ตรวจ                 - CBC Platelet count ลดลง                 - Venous clotting time (VCT) pro – longed ซึ่งการตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไป            แยกการเป็นพิษจากงูกะปะออกจากงูเขียวหางไหม้ไม่ได้ ส่วนงูแมวเซาแยกได้โดยการมีภาวะ              disseminated intravascular coagulation (DIC), ไตวายฉับพลัน , factor X activity ลดลง       การเป็นพิษจากงูทะเลพบภาวะไตวายฉับพลันร่วมกับ rhabdomyolysis  และ hyperkalemia serodingnosis ปัจจุบันอาจทำได้โดยใช้วิธี ELLSA, passive hemagglutination, และ   latex aggluti-nation แต่ยังไม่ได้นำมาใช้แพร่หลายทางคลินิก                
  • 11.
  • 12.         2. การรักษา             2.1 การรักษาทั่วไป             2.2 การรักษางูพิษเฉพาะกลุ่ม             2.3 การให้ antivenom 2.1 การรักษาทั่วไป         การรักษาก่อนมาโรงพยาบาล ( Pre-hospital treatment)             1. นำผู้ป่วยมาพบแพทย์โดยเร็วที่สุด และนำงูที่กัดมาด้วยถ้าเป็นไปได้             2. พยายามให้ผู้ป่วยเคลื่อนไหวน้อยที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งบริเวณที่ถูกงูกัด             3. ล้างแผลด้วยน้ำสะอาด ห้ามกรีด ตัด ดูด ไฟจี้ พอกทายาแผลที่ถูกงูกัด             4. ใช้ผ้าหรือเชือกขนาดประมาณนิ้วก้อย รัดให้เหนือแผลที่ถูกกัดแน่นพอให้ สอดนิ้วได้ 1 นิ้ว   ถ้าหากสามารถไปถึงโรงพยาบาลได้ภายในครึ่งชั่วโมง ไม่จำเป็นต้องใช้ผ้าหรือเชือกรัด                
  • 13. การรักษาในโรงพยาบาล         1. รักษาภาวะฉุกเฉิน เช่น anaphylactic shock, apnea, shock        2. ทำความสะอาดบริเวณถูกงูกัด         3. อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าอย่าตกใจมาก เนื่องจากมาถึงโรงพยาบาลแล้ว แพทย์พร้อมจะรักษาอาการที่เกิดจากงูพิษกัดได้    4. ให้ผู้ป่วยพัก อย่าเคลื่อนไหวบริเวณที่ถูกงูกัด ในกรณีที่มีอาการบวมมากให้ยกบริเวณนั้นสูง         5. ให้ดื่มน้ำให้เพียงพอ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ป่วยที่มีอาการบวมมาก         6. ควรมี flow sheet ในการติดตามอาการผู้ป่วย 7. ให้ยาแก้ปวด เช่น acetaminophen ไม่ควรให้ยาที่มีฤทธิ์กดประสาทส่วนกลางแก่ผู้ป่วย ที่ถูกงูที่ผลิต Neurotoxin กัด และห้ามให้ aspirin ในผู้ป่วยที่ถูกงูผลิต hematotoxin กัด 8. ยาปฏิชีวนะ พิจารณา broad spectrum antibiotics ที่ครอบคลุมเชื้อ ที่เป็นกรัมบวก กรัมลบ และ anaerobic เมื่อมีอาการแสดงของการติดเชื้อที่แผลชัดเจน 9. ควรให้ tetanus prophylaxis แต่ควรให้หลังจากอาการทาง systemic ต่างๆ ไม่มีแล้ว
  • 14. 2.2 การักษางูพิษเฉพาะกลุ่ม      งูที่ผลิต Neurotoxin        1. การช่วยการหายใจเป็นหัวใจสำคัญของการรักษา ผู้ป่วยทุกรายควรได้รับการติดตาม อาการกล้ามเนื้ออ่อนแรงอย่างใกล้ชิดเป็นระยะๆ ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อเตรียมพร้อมการใส่ endotracheal tube และการใช้เครื่องช่วยหายใจเป็นเวลา 12-24 ชั่วโมง 2. การให้ antivenom จะมีประโยชน์ลดระยะเวลาการใช้เครื่องช่วยหายใจ แต่ไม่สามารถป้องกันการเกิด respiratory failure             2.1 ข้อบ่งชี้ในการให้ antivenom คือการมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มตั้งแต่หนังตาตก พบว่าการให้ antivenom จะช่วยลดระยะเวลาการใช้ ventilator             2.2 ขนาดที่ใช้คือ 100 มล . ( 10 vials) ในงูเห่าและ 50-100 มล . ในงูจงอาง และงูสามเหลี่ยม โดยทั่วไปไม่ต้องให้ ซ้ำ      ส่วนงูทับสมิงคลายังไม่มี antivenom         2.3 การติดตามผู้ป่วย ให้ดูอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ระยะเฉลี่ยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ ประมาณ 10-12 ชั่วโมง 3. ในกรณีงูเห่าและงูจงอาง ให้ทำ early debridement บริเวณที่มี necrosis ก่อนที่จะลุกลามเป็นบริเวณกว้าง และพิจารณาทำ skin graft ถ้าจำเป็น
  • 15. งูที่ผลิต Hematotoxin 1. Bleeding precaution มีการติดตามเฝ้าระวังภาวะ bleeding tendency ทั้งอาการแสดงและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ ( CBC, platelet count, VCT) ทุกวัน เป็นเวลา 72 ชั่วโมง โดยติดตามแบบผู้ป่วยนอกได้ถ้าอาการไม่รุนแรง และรับผู้ป่วยเข้าไว้ในโรงพยาบาล ในกรณีที่เป็น moderate และ severe 2. การให้ antivenom คือ           2.1 ข้อบ่งชี้ : systemic bleeding ,VCT > 30 นาทีในผู้ใหญ่ และ > 20 นาที ในเด็ก , ในกรณีที่ platelet count น้อยกว่า 10,000/cu.mm. อาจพิจารณาให้ 2.2 ขนาดที่ใช่คือ 5 0 มล . (5 vials)           2.3 การติดตามผู้ป่วย - ภาวะเลือดออก            - VCT ทุก 6 ชั่วโมง ถ้ายังมากกว่า 30 นาที ให้ซ้ำได้อีก ในรายที่เลือดออกต้องการเฉลี่ย 2 dose ถ้าต้องการเกิน 4 dose ให้คิดไว้ว่าอาจวินิจฉัยผิด บางรายเมื่อ VCT กับมาปกติแล้ว อาจกลับยาวขึ้นอีก จึงควรตรวจ VCT อีกครั้งที่ 12-24 ชั่วโมงหลังจาก VCT กลับมาปกติ
  • 16. 3. การให้ platelet และ / หรือ coagulation factor จะได้ประโยชน์น้อย เนื่องจาก จะถูกพิษงูทำลายหมด พิจารณาให้ในกรณีที่มี severe, lifethreatening bleeding ร่วมกับการใช้ antivenom        4. ในกรณีงูแมวเซาให้รักษาภาวะ acute renal failure เหมือนกรณีทั่วไป รวมทั้งการพิจารณา ทำ hemodialysis ถ้ามีข้อบ่งชี้ 5. ในกรณีงูกะปะและงูเขียวหางไหม้ให้ทำการ debride และ unroof hemorrhagic bleb บริเวณนิ้วและทำ fasciotomy ในกรณี compart-ment syndrome แต่ทั้งนี้จะทำได้ต่อเมื่อ VCT ปกติ
  • 17.    งูที่ผลิต Myotoxin          เนื่องจากในประเทศไทยยังไม่มี antivenom การรักษาที่สำคัญคือการรักษา acute renal failure rhabdomyolysis และ hyperkalemia โดยการแก้ไข metabolic acidosis และที่สำคัญคือการทำ hemodialysis 2.3 การให้ antivenom            สถานเสาวภา สภากาชาดไทยได้ผลิตเซรุ่มแก้พิษงูไว้ทั้งสิ้น 7 ชนิด ทุกชนิดเป็น monovalent antivenom โดยในเซรุ่มแต่ละชนิดจะผลิตจากพิษงู species เดียวกันเท่านั้น ขณะบรรจุเป็นผงบรรจุใน vial ก่อนใช้ dilute เป็น 10 ml. ต่อ 1 vial และควรทำ skin test ก่อน การให้เสมอโดยเจือจาง 1:100 intradermal 0.02 ml. อ่านผลที่ 15 นาที โดย positive skin test คือ wheal ใหญ่กว่าเดิม 2 เท่า รวมกับมี flare ล้อมรอบ ถ้าได้ผลบวกต้อง admit ICU เพื่อทำ desensitzation ผสมใน 5% D/NSS/2 100-200 ml. ให้ใน 30 นาที – 1 ชม .
  • 18. วิธีบริหารเซรุ่มแก้พิษงูชนิดต่าง ๆ     ชนิดงู   ข้อบ่งชี้   วิธีบริหาร งูเห่า   หนังตาตก , กลืนลำบาก   100 มล .   งูเห่าพ่นพิษ   หายใจลำบาก   100 มล . งูจงอาง หนังตาตก , กลืนลำบาก , หายใจลำบาก     50 – 100 มล .     งูสามเหลี่ยม หนังตาตก , กลืนลำบาก , หายใจลำบาก   50 – 100 มล .     งูแมวเซา   ตกเลือดทั่วตัว ไตล้มเหลวเฉียบพลัน VCT>30 นาที 60 มล . ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที งูกะปะ ตกเลือดทั่วตัว เกล็ดเลือดน้อยมาก น้อยกว่า 20,000 / ลบ . มม . VCT>30 นาที 50 มล . ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที   งูเขียวหางไหม้ ตกเลือดทั่วตัว เกล็ดเลือดน้อยมาก น้อยกว่า 20,000 / ลบ . มม .   ** VCT> 30 นาที   50 มล . ให้ซ้ำทุก 6 ชั่วโมง จนกว่า VCT ลดลงต่ำกว่า 30 นาที  
  • 19.
  • 20. แหล่งที่อยู่ของงู งูเห่า - มักจะพบในภาคกลาง ได้แก่ สมุทรปราการ , นนทบุรี , ปทุมธานี , นครปฐม , อยุธยา , นครนายก ,  อ่างทอง , สิงห์บุรี , ลพบุรี , สระบุรี   งูจงอาง - มักพบในป่าแถบนครสวรรค์ , เพชรบูรณ์ , นครศรีธรรมราช   งูสามเหลี่ยม - พบมากในภาคกลาง ได้แก่ ธนบุรี , นครปฐม , อยุธยา , อ่างทอง , สระบุรี , นนทบุรี   งูแมวเซา - มักพบในภาคกลางในแถบธนบุรี , สมุทรปราการ , สระบุรี , ลพบุรี , อยุธยา อ่างทอง   งูกะปะ - มักพบในจังหวัดแถบชายทะเล ได้แก่ ชลบุรี , ระยอง , จันทบุรี , ตราด , ประจวบคีรีขันธ์ , ชุมพร                  และจังหวัดต่างๆ ในภาคใต้   งูเขียวหางไหม้ - พบในเขตพระนครและธนบุรี   งูคออ่อน - พบในทะเลบริเวณอ่าวไทย แถบจังหวัดสมุทรปราการ , สมุทรสาคร , สมุทรสงคราม