SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
จัดทำโดย
นำงจตุพร สีขำว
กลุ่มงำนเคมีบำบัด
 สภาวะการรั่วซึมของยา      หรือสารเคมีออกนอกหลอดเลือดดาใน
  ระหว่างให้ ยาทางหลอดเลือดดา
 ยาหรือสารเคมีน้นจะทาลายเนือเยือ
                   ั            ้ ้
 ระดับความรุ นแรงมาก / น้ อยขึนกับชนิดของยาหรือสารเคมีน้น
                                 ้                            ั
 รุ นแรงถึงขนาดทาให้ เกิดเนือตายอย่ างรุ นแรง ( tissue necrosis ) อาจ
                             ้
  ต้ องผ่ าตัด หรือปลูกถ่ายเซลล์ผิวหนังใหม่
 สู ญเสียการทางานของอวัยวะส่ วนทีเ่ กิดเนือตาย
                                            ้
ระดับความรุนแรงของการเกิดExtravasetion

 ระดับ 0 = ผิวหนังไม่มีกำรเปลียนแปลงใดๆ
                               ่
 ระดับ 1 = ผิวหนังมีผื่นแดงแต่ไม่คน ั
 ระดับ 2 = มีกำรอักเสบของเส้นเลือดและอำกำรคัน
 ระดับ 3 = ผิวหนังเกิดถุงน้ ำ เกิดแผล
 ระดับ 4 = ผิวหนังอักเสบรุนแรง แผลมีเนื้อตำย มีกำรรักษำด้ำนศัลยกรรม
1.บุคลากร
 ขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในคลินิก
 ไม่ ตระหนักถึงความเสี่ยงทีอาจเกิดขึนได้
                                 ่           ้
2.ผู้ป่วย
 ให้ ยามาหลายครั้ง
 ไม่ มีเส้ น หาเส้ นยาก
 เคยได้ รับการฉายรังสีหรือผ่ าตัด
 ผิวหนังบวม ตึง จากการอุดตันของโรค เช่ น SVC, Lymphoedema
3.เป็ นเด็ก หรือ ผู้สูงอายุ หรื อผู้ ที่มีระดับความรู้ สึกตัวไม่ ดี มีการไหลเวียนเลือด
     ผิดปกติ
 ใช้ เข็มโลหะทีมีความแข็ง
                ่              ไม่ ยืดหยุ่น เลือกเส้ นเลือดและ
  ตาแหน่ งแทงเข็มไม่ เหมาะสม เช่ น ข้ อพับ ข้ อต่ อต่ าง ๆ และ
  บริเวณปุ่ มกระดูก
 ใช้ เส้ นเลือดเดิมทีแทงเส้ นมานาน และการแทงเส้ นหลายๆครั้ง
                      ่
 เป็ นบริเวณทีเ่ คยฉายรังสีมาก่อน หรือได้ รับการผ่ าตัด
 ปวด เจ็บ บวม แดง     หรือพองบริเวณใกล้เคียง
 มีการบวม หรือรั่ว ของยาออกนอกหลอดเลือดดาในระหว่างการบริหารยา
 ไม่ มีการไหลย้ อนกลับของเลือด
 เกิดแรงต้ านต่ อ Syringe ระหว่างการบริหารยา
 ไม่ มี Free flow ระหว่างการบริหารยาทาง Infusion Erythema
 ควรแยกความแตกต่ างของ Extravasation กับ Flare reaction
 Flare reaction เป็ นปฏิกริยาการแพ้เฉพาะทีในการให้ ยาทางหลอดเลือดดา
                            ิ                 ่
  มักเกิดตามแนวเส้ นของหลอดเลือดดา จะคันมักไม่ ปวดไม่ มีอาการบวมแดง
  หรือสู ญเสีย Blood return
 ควรDilute เพิมในกรณี Flare reaction
                 ่
1. ผู้ปฏิบัติต้องมีความรู้ ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ์ในการบริหารยา
    เคมีบาบัดทางหลอดเลือดเป็ นอย่ างดี เพราะระดับความรู้ และความ
    ชานาญเป็ นสิ่งสาคัญมากของการลดภาวการณ์เกิด Extravasation
2. ผู้ปฏิบัติต้องมีความตระหนักถึงความสาคัญของภาวะเสี่ยงในการบริหาร
    ยากลุ่ม Vesicant และยากลุ่ม Vesicant ควรให้ เป็ นอันดับแรกของชุดยา
    เคมีบาบัด เพือลดปัจจัยเสี่ยงทีจะเกิดขึนให้ น้อยทีสุด หรือไม่ เกิดเลย
                   ่                ่      ้           ่
3.ใช้ เข็มทีเ่ หมาะสมไม่ ส้ันหรือยาวเกินไป ควรใช้ เข็ม เบอร์ 22 -24 ทีมีความ
                                                                      ่
    ยืดหยุ่นในกรณีในทาง Peripheral vein และใช้ เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ไม่
    ใช้ เข็มเหล็ก
4. การเลือกเส้ นเลือด
 เลือกใช้ เส้ นเลือดดาทีมองเห็นได้ ชัด หรือสามารถคลาได้ ชัดเจนมีขนาด
                           ่
    พอเหมาะสมกับเข็ม ควรเป็ นเส้ นเลือดดาทีหลังมือ เพราะมองเห็น
                                               ่
    ชัดเจนประเมินความผิดปกติได้ ง่าย มีความยืดหยุ่นดีและลดความเสี่ยง
    ของการหลุดของเข็มบริเวณข้ อต่ อได้
 ควรใช้ เส้ นเลือดใหม่ ทียังไม่ ผ่านการเจาะเลือด ฉีดยา ให้ สารนา หรือ
                             ่                                  ้
    สารอาหารมาใหม่ ๆ เพราะอาจไม่ สมบูรณ์พอ ทาให้ ยาเคมีบาบัดซึม
    ผ่ านผนังเส้ นเลือดได้ ง่าย
 เลือกเส้ นเลือดทีใหญ่ เรียบ ตรง มีความยืดหยุ่น ไม่ มีการอักเสบ
                     ่
 เส้ นเลือดทีได้ รับการเจาะเลือดออกใหม่ ๆ
              ่
 เส้ นเลือดบริเวณข้ อมือ   ข้ อพับ และข้ อมือด้ านใน เนื่องจากมีเนือเยื่อคลุม
                                                                    ้
   น้ อยเกินไป
 เส้ นเลือดบริเวณทีมีการไหลเวียนของเลือดและนาเหลืองไม่ ดี เช่ น ชา เป็ น
                     ่                          ้
   อัมพฤกษ์
 อัมพาต แขนทีทาผ่ าตัด MRM หรือบริเวณทีมะเร็งแพร่ กระจายไป
                 ่                           ่
 เส้ นเลือดทีแข็ง ไม่ ตรง บวม แดง มีการอักเสบ หรือมีความเจ็บปวด
              ่
 เส้ นเลือดบริเวณขา เพราะมีโอกาสเกิด Thrombosis และ Embolism
 ไม่ ควรให้ ยาเคมีบาบัดบริเวณข้ อพับแขน เพราะเส้ นเลือดอยู่ลกมาก ทาให้
                                                             ึ
   ประเมินอาการจากการรั่วของยาได้ ล่าช้ าเกินไป
 หลีกเลียงผิวหนังทีบวม
         ่          ่      ตึงจากการอุดตันของโรค เช่ น Lymphoedema ,SVC
   syndrome
 ถ้าประเมินว่าหาเส้ นเลือดไม่ ได้ ให้ รายงานแพทย์ เพือพิจารณาใส่ Port A Cath
                                                        ่
5.การสอนผู้ป่วย
 สอนให้ ผู้ปวยรายงานความรู้ สึกทันที เมื่อรู้ สึก เจ็บ ปวด บวม แสบร้ อนบริเวณ
             ่
   เข็ม และ หลอดเลือดดาส่ วนปลาย หรือบริเวณหน้ าอก คอ ไหล่ จากหลอด
   เลือดส่ วนกลาง
6.ทดสอบตาแหน่ งของเข็มให้ อยู่ในเส้ นเลือด
 หลอดเลือดดาส่ วนปลาย ดูการไหลย้ อนกลับของเลือดและอัตราการไหลของ
   นาเกลือ ต้ อง free flow
       ้
 หลอดเลือดดาส่ วนกลางต้ องดูดเลือดจากสาย Catheter ได้ ดีและต่ อสายด้ วย
   นาเกลือไหลได้ สะดวก free flow
     ้
 ประเมินตาแหน่ งของเข็มทุกขณะทีให้ ยา
                                ่
 บริเวณทีแทงเข็มต้ องติดด้ วย Transparent เพือสังเกตการรั่วซึมของยา
          ่                                   ่
  อาการบวมแดงได้ ชัดเจน และแก้ไขได้ ทนที
                                       ั
 ตรวจสอบการไหลเวียนย้ อนกลับของเลือดเป็ นระยะๆ บ่ อยๆ
 การใช้ Infusion pump ในการบริหารยาต้ องเฝาระวังอย่ างใกล้ชิด
                                            ้
 ขณะฉีดยาถ้ามีแรงต้ าน ทาให้ ไม่ สามารถฉีดยาเข้ าหลอดเลือดได้ หรืออัตรา
  การไหลของนาเกลือ ช้ ากว่าปกติให้ พจารณาถึงตาแหน่ งของเข็มทันทีและ
                ้                    ิ
  เปลียนตาแหน่ งใหม่ สังเกตอาการเจ็บ ปวด แดง ร้ อน
      ่
7. ติดตามเฝาระวังอย่ างใกล้ชิดเป็ นพิเศษในผู้ป่วยกลุ่มต่ อไปนี้
                ้
 ผู้ทสื่อสารไม่ ได้ หรือไม่ รู้ สึกตัว
          ี่
 มีปัญหาชา ปลายมือปลายเท้า การไหลเวียนเลือดไม่ ดี ผู้ปวยเบาหวาน
                                                             ่
    และผู้ป่วย SVC obstruction
 ผู้ปวยผ่ าตัดเต้ านม แขนบวมหรือต่ อมนาเหลืองอุดตัน
      ่                                   ้
 ผู้ทหาเส้ นยาก และต้ องแทงเส้ นหลายครั้ง
             ี่
 ผู้ปวยเด็ก หรือผู้สูงอายุ
        ่
8. แยกระหว่างอาการ Flare reactionกับอาการ Extravasation ให้ ได้
   FLare reaction เป็ นปฏิกริยาของยาเคมีบาบัดเฉพาะที่ พบตุ่ม ผื่นแดง คัน
                               ิ
    ระคายเคืองผิวหนังไม่ ปวดExtravasation เกิดการรั่วซึมของยาเคมีบาบัด
    ถ้ารู้ สึก เจ็บ ปวด ต้ องสงสัยว่าอาจเกิดการรั่วของยา
9. บันทึกของการพยาบาล
 ตาแหน่ งเข็ม
 ขนาดของเข็ม
 อัตราการไหลเวียนของสารนา          ้
 ข้ อจากัดในการแทงเส้ น
 ความเสี่ยงทีมีโอกาสเกิด Extravasation
                    ่
 ยืนยันตาแหน่ งของเข็ม และความรู้ สึกของผู้ปวย     ่
ข้ อควรจาระหว่างฉีดยา

1. สังเกตอาการ สอบถามผู้ป่วยเป็ นระยะ ว่ามีอาการเจ็บปวด หรือมีอาการ
ผิดปกติหรือไม่
2. ถ้าแม้ เพียงสงสัยว่ามีอาการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือดดาให้ หยุดฉีก
ยาทีตาแหน่ งนั้นทันที
     ่
3. และจัดการดูแลช่ วยเหลือผู้ป่วยทันทีเช่ นกัน
Extavasation



                           หยุดการบริหารยาทันที

ประเมินตาแหน่ งทีเ่ กิดพร้ อมพยาบาลอีก 1คน + ถ่ายรู ป/ขีดบริเวณตาแหน่ งทีเ่ กิด

                     ให้ ข้อมูลผู้ป่วยเพือลดความวิตกกังวล
                                         ่

                 ยังไม่ ต้องดึงเข็มออก+ดูดยาออกให้ มากทีสุด
                                                        ่
ดึงเข็มออก ปิ ดไว้ ห้ ามกดคลึง

                               รายงานแพทย์

ให้ การรักษาพยาบาลตาม WI ของ Extravasation และคาสั่งการรักษาของแพทย์

    วัดขนาดบริเวณทีเ่ กิด Extravasation บันทึกในเวชระเบียนอย่ างละเอียด

                รายงานอุบัติการณ์และรายงานหัวหน้ าหน่ วย
ให้ คาแนะนาผู้ป่วยเพือดูแลตนเองต่ อทีบ้าน 24 ชั่วโมง
                              ่               ่

                           นัด Follow up



* Extravasation Guideline ต้ องมีรายละเอียดชื่อยาเคมีบาบัด ยา
   Antidote และวิธีการประคบร้ อน หรือประคบเย็น
 วัน เดือน   ปี และเวลาทีเ่ กิดเหตุการณ์
 ชนิดของเข็มฉีดยา
 บริเวณทีเ่ กิด Extravasation และความกว้างของการรั่วซึม
 ขออนุญาตผู้ปวยเพือถ่ายภาพจดวันทีและเวลาทีถ่ายภาพเป็ นระยะ เพือ
                  ่    ่                  ่   ่                   ่
  ติดตามการเปลียนแปลง
                    ่
 บันทึกชนิดของยา ความเข้ มข้ น ปริมาณยาทีรั่วซึม วิธีบริหารยาแบบ
                                            ่
  IV push หรือ ทาง Iv drip
 อาการแสดงที่ผู้ป่วยบอกความรู้ สึก เช่ น ปวด แสบ ร้ อน หรือ ชา
 จดรายละเอียดที่สังเกต ตรวจพบ เช่ น บวม แดง ร้ อน ไม่ สุขสบาย
  จากการเคลือนไหว
             ่
 ลาดับขั้นตอนปฏิบัติการช่ วยเหลือ เมื่อเกิดเหตุการณ์ท้งหมด
                                                       ั
 ให้ คาแนะนาสอนผู้ป่วยให้ ประเมินผล ผิวหนัง วัดไข้ บันทึก
  อาการปวด และนัดมาติดตามอาการภายใน 48 ชั่วโมง
vesicant      Irritant       Nonvesicant
Actinomycin    Dacarbazine       Bleomycin
Doxorubicin     Docetaxel       Carbopatin
 Epirubicin     Etoposide         Cisplatin
 Idarubicin    Oxariplatin   Cyclophosphamide
 Mitomycin                       Cytarbine
  Paclitaxel                        5-FU
Vinblastine                     Gemcitabin
Vincristine                      Ifosfamide
vinorelbine                      Irinotecan
                               Methotrexate
                                 Topotecan
ประคบร้ อน                           ประคบเย็น
      กลุ่ม Vinca alkaloids          กลุ่ม Alkylating agent
      กลุ่ม Plant alkaloide          กลุ่ม mechlorethamin
                                     กลุ่ม Antracycline


* ประคบร้ อน/เย็น ใน 24 ชั่วโมงแรก
ครั้งละ 15-20 นาที ทุก 4 ชั่วโมง
1. การป้ องกัน Extravasation เป็ นสิ่งสาคัญ
2. การบันทึกเหตุการณ์ และการช่ วยเหลือผู้ป่วย จาเป็ นมาก
3. สาคัญทีสุดคือ พยาบาลต้ องมีความตะหนักว่า ภาวะนีต้องไม่ เกิด
           ่                                          ้
   เพราะเป็ นความทุกข์ ทรมาน เพิ่มเติมให้ ผู้ป่วย
ก่อนให้ ยาเคมีบาบัด
1. ซักประวัติการเกิดภาวะ Hypersensitivity
   ในการให้ ยารอบทีผ่านมา่
2. ให้ ความรู้ แก่ผู้ป่วยเกียวกับอาการ Hypersensitivity เช่ น หน้ าแดง แน่ น
                            ่
    หน้ าอก หายใจไม่ สะดวก
3. เตรียมยาและอุปกรณ์ต่างๆ เช่ น ออกซิเจน อุปกรณ์
    suction,Hypersensitivity Kit,รถEmergencyเป็ นต้ น
4. Check V/S เพือประเมินก่อนและหลังให้ ยาเคมีบาบัดขณะให้ ยาเคมี
                      ่
    บาบัด
1. บริหารยาเคมีบาบัดโดยการใช้ Infusion pump โดยค่อยๆ ปรับ drop
    จาก KVO จนถึง drop ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพือประเมิน
                                                        ่
    ผู้ป่วยว่าสามารถรับยาเคมีบาบัดได้โดยไม่ เกิดภาวะ
    Hypersensitivity
2. อยู่กบผู้ป่วยในการบริหารยา เคมีบาบัดประมาณ 10 -15 นาที แรก
          ั
    เพือการช่ วยเหลืออย่ างทันท่ วงที
        ่
3. Check V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ,ทุก 30 นาที 2ครั้ ง ,
   และ1 ชั่วโมงจนกระทั้งยาหมด
เมื่อเกิดภาวะ Hypersensitivity
1. หยุดการให้ ยาเคมีบาบัดทันที
2. ให้ สารนาเพือคงเส้ นไว้
           ้ ่
3. ให้ ออกซิเจน
4. ประเมินสภาพอย่ างรวดเร็วและรายงานแพทย์
5. เตรียมรถ Emergency และ Hypersensitivity kit
6. ให้ การพยาบาลตามการรักษาของแพทย์
จบแล้ วค่ ะ

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม Parinya Damrongpokkapun
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์Utai Sukviwatsirikul
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ ICwichudaice
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลpiyarat wongnai
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalfreelance
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesAphisit Aunbusdumberdor
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายชนิกานต์ บุญชู
 

What's hot (20)

Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม  การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
การพยาบาลผู้ป่วยผ่าตัดมะเร็งเต้านม
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
การให้ยาฉีด
การให้ยาฉีดการให้ยาฉีด
การให้ยาฉีด
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาลแนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
แนวปฏิบัติการพยาบาลการเคลื่อนย้ายผู้ป่วยวิกฤตภายในโรงพยาบาล
 
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างานตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
ตัวอย่างการเขียนประเมินค่างาน
 
Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
Septic shock guideline
Septic shock guidelineSeptic shock guideline
Septic shock guideline
 
Week 9 emergency medical
Week 9 emergency medicalWeek 9 emergency medical
Week 9 emergency medical
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายการดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
การดูแลเส้นฟอกเลือด (Vascular access) ในผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้าย
 

Viewers also liked

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital Parinya Damrongpokkapun
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดJumpon Utta
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดkalzitem
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012Jumpon Utta
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...MedicineAndHealth
 
2 why 4 life(th)
2   why 4 life(th)2   why 4 life(th)
2 why 4 life(th)pyopyo
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว techno UCH
 
Neonatal guidelines NHS 2011 2013
Neonatal guidelines NHS 2011 2013Neonatal guidelines NHS 2011 2013
Neonatal guidelines NHS 2011 2013palpeds
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Utai Sukviwatsirikul
 

Viewers also liked (20)

การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital  Port a cath  By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
Port a cath By Oncology Center Bangkok Phuket Hospital
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัดกลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
กลไกการออกฤทธิ์ของยาเคมีบำบัด
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัดมาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
มาตรฐานการปฏิบัติงานด้านการผสม และจ่ายยาเคมีบำบัด
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
เภสัชกร ผู้เตรียมยาเคมีบำบัด2012
 
Doxorubicin
DoxorubicinDoxorubicin
Doxorubicin
 
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...Adverse Drug Reactions and Drug Allergy 	 Adverse Drug Reactions and Drug All...
Adverse Drug Reactions and Drug Allergy Adverse Drug Reactions and Drug All...
 
2 why 4 life(th)
2   why 4 life(th)2   why 4 life(th)
2 why 4 life(th)
 
Chemo ebookสงขลา
Chemo ebookสงขลาChemo ebookสงขลา
Chemo ebookสงขลา
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
 
รักษามะเร็ง
รักษามะเร็งรักษามะเร็ง
รักษามะเร็ง
 
Chemotherapy
ChemotherapyChemotherapy
Chemotherapy
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอุปกรณ์ติดตัว
 
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสีการพยาบาลก่อนฉายรังสี
การพยาบาลก่อนฉายรังสี
 
Neonatal guidelines NHS 2011 2013
Neonatal guidelines NHS 2011 2013Neonatal guidelines NHS 2011 2013
Neonatal guidelines NHS 2011 2013
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
Palliative Care คู่มือ การดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้ายแบบประคับประคอง
 

Similar to การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบWan Ngamwongwan
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuNantawan Tippayanate
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นguest8be8a6
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นJanjira Majai
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123Janjira Majai
 
ยาสลบการใช้งานยาสลบ
ยาสลบการใช้งานยาสลบยาสลบการใช้งานยาสลบ
ยาสลบการใช้งานยาสลบJovan Balibalita
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยNakhon Pathom Rajabhat University
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพFone Rati
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfpraphan khunti
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี (20)

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
 
Hemorrhoid
HemorrhoidHemorrhoid
Hemorrhoid
 
การดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msuการดูดเสมหะ Paramedic msu
การดูดเสมหะ Paramedic msu
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้นเรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น
 
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับการปฐมพยาบาลเบื้องต้น123
 
ยาสลบการใช้งานยาสลบ
ยาสลบการใช้งานยาสลบยาสลบการใช้งานยาสลบ
ยาสลบการใช้งานยาสลบ
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วยการให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
การให้ยารับประทาน และยาทาภายนอกแก่ผู้ป่วย
 
Skilllab2
Skilllab2Skilllab2
Skilllab2
 
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพคู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
คู่มือเวชปฏิบัติหัตถการสำหรับ นศพ
 
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdfการปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
การปฐมพยาบาลขั้นต้น 65.pdf
 
Breast cancer
Breast cancerBreast cancer
Breast cancer
 
PACU
PACUPACU
PACU
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Adr skin
Adr skinAdr skin
Adr skin
 
Rr rx
Rr rxRr rx
Rr rx
 

More from techno UCH

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc techno UCH
 

More from techno UCH (20)

ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc
 

การจัดการเมื่อผู้ป่วยเกิดภาวะฉุกเฉินทางเคมี

  • 2.  สภาวะการรั่วซึมของยา หรือสารเคมีออกนอกหลอดเลือดดาใน ระหว่างให้ ยาทางหลอดเลือดดา  ยาหรือสารเคมีน้นจะทาลายเนือเยือ ั ้ ้  ระดับความรุ นแรงมาก / น้ อยขึนกับชนิดของยาหรือสารเคมีน้น ้ ั  รุ นแรงถึงขนาดทาให้ เกิดเนือตายอย่ างรุ นแรง ( tissue necrosis ) อาจ ้ ต้ องผ่ าตัด หรือปลูกถ่ายเซลล์ผิวหนังใหม่  สู ญเสียการทางานของอวัยวะส่ วนทีเ่ กิดเนือตาย ้
  • 3. ระดับความรุนแรงของการเกิดExtravasetion  ระดับ 0 = ผิวหนังไม่มีกำรเปลียนแปลงใดๆ ่  ระดับ 1 = ผิวหนังมีผื่นแดงแต่ไม่คน ั  ระดับ 2 = มีกำรอักเสบของเส้นเลือดและอำกำรคัน  ระดับ 3 = ผิวหนังเกิดถุงน้ ำ เกิดแผล  ระดับ 4 = ผิวหนังอักเสบรุนแรง แผลมีเนื้อตำย มีกำรรักษำด้ำนศัลยกรรม
  • 4. 1.บุคลากร  ขาดความรู้ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ในคลินิก  ไม่ ตระหนักถึงความเสี่ยงทีอาจเกิดขึนได้ ่ ้ 2.ผู้ป่วย  ให้ ยามาหลายครั้ง  ไม่ มีเส้ น หาเส้ นยาก  เคยได้ รับการฉายรังสีหรือผ่ าตัด  ผิวหนังบวม ตึง จากการอุดตันของโรค เช่ น SVC, Lymphoedema 3.เป็ นเด็ก หรือ ผู้สูงอายุ หรื อผู้ ที่มีระดับความรู้ สึกตัวไม่ ดี มีการไหลเวียนเลือด ผิดปกติ
  • 5.  ใช้ เข็มโลหะทีมีความแข็ง ่ ไม่ ยืดหยุ่น เลือกเส้ นเลือดและ ตาแหน่ งแทงเข็มไม่ เหมาะสม เช่ น ข้ อพับ ข้ อต่ อต่ าง ๆ และ บริเวณปุ่ มกระดูก  ใช้ เส้ นเลือดเดิมทีแทงเส้ นมานาน และการแทงเส้ นหลายๆครั้ง ่  เป็ นบริเวณทีเ่ คยฉายรังสีมาก่อน หรือได้ รับการผ่ าตัด
  • 6.  ปวด เจ็บ บวม แดง หรือพองบริเวณใกล้เคียง  มีการบวม หรือรั่ว ของยาออกนอกหลอดเลือดดาในระหว่างการบริหารยา  ไม่ มีการไหลย้ อนกลับของเลือด  เกิดแรงต้ านต่ อ Syringe ระหว่างการบริหารยา  ไม่ มี Free flow ระหว่างการบริหารยาทาง Infusion Erythema  ควรแยกความแตกต่ างของ Extravasation กับ Flare reaction  Flare reaction เป็ นปฏิกริยาการแพ้เฉพาะทีในการให้ ยาทางหลอดเลือดดา ิ ่ มักเกิดตามแนวเส้ นของหลอดเลือดดา จะคันมักไม่ ปวดไม่ มีอาการบวมแดง หรือสู ญเสีย Blood return  ควรDilute เพิมในกรณี Flare reaction ่
  • 7. 1. ผู้ปฏิบัติต้องมีความรู้ ทักษะ ความสามารถ ประสบการณ์ในการบริหารยา เคมีบาบัดทางหลอดเลือดเป็ นอย่ างดี เพราะระดับความรู้ และความ ชานาญเป็ นสิ่งสาคัญมากของการลดภาวการณ์เกิด Extravasation 2. ผู้ปฏิบัติต้องมีความตระหนักถึงความสาคัญของภาวะเสี่ยงในการบริหาร ยากลุ่ม Vesicant และยากลุ่ม Vesicant ควรให้ เป็ นอันดับแรกของชุดยา เคมีบาบัด เพือลดปัจจัยเสี่ยงทีจะเกิดขึนให้ น้อยทีสุด หรือไม่ เกิดเลย ่ ่ ้ ่ 3.ใช้ เข็มทีเ่ หมาะสมไม่ ส้ันหรือยาวเกินไป ควรใช้ เข็ม เบอร์ 22 -24 ทีมีความ ่ ยืดหยุ่นในกรณีในทาง Peripheral vein และใช้ เพียงครั้งเดียวเท่านั้น ไม่ ใช้ เข็มเหล็ก
  • 8. 4. การเลือกเส้ นเลือด  เลือกใช้ เส้ นเลือดดาทีมองเห็นได้ ชัด หรือสามารถคลาได้ ชัดเจนมีขนาด ่ พอเหมาะสมกับเข็ม ควรเป็ นเส้ นเลือดดาทีหลังมือ เพราะมองเห็น ่ ชัดเจนประเมินความผิดปกติได้ ง่าย มีความยืดหยุ่นดีและลดความเสี่ยง ของการหลุดของเข็มบริเวณข้ อต่ อได้  ควรใช้ เส้ นเลือดใหม่ ทียังไม่ ผ่านการเจาะเลือด ฉีดยา ให้ สารนา หรือ ่ ้ สารอาหารมาใหม่ ๆ เพราะอาจไม่ สมบูรณ์พอ ทาให้ ยาเคมีบาบัดซึม ผ่ านผนังเส้ นเลือดได้ ง่าย  เลือกเส้ นเลือดทีใหญ่ เรียบ ตรง มีความยืดหยุ่น ไม่ มีการอักเสบ ่
  • 9.  เส้ นเลือดทีได้ รับการเจาะเลือดออกใหม่ ๆ ่  เส้ นเลือดบริเวณข้ อมือ ข้ อพับ และข้ อมือด้ านใน เนื่องจากมีเนือเยื่อคลุม ้ น้ อยเกินไป  เส้ นเลือดบริเวณทีมีการไหลเวียนของเลือดและนาเหลืองไม่ ดี เช่ น ชา เป็ น ่ ้ อัมพฤกษ์ อัมพาต แขนทีทาผ่ าตัด MRM หรือบริเวณทีมะเร็งแพร่ กระจายไป ่ ่  เส้ นเลือดทีแข็ง ไม่ ตรง บวม แดง มีการอักเสบ หรือมีความเจ็บปวด ่  เส้ นเลือดบริเวณขา เพราะมีโอกาสเกิด Thrombosis และ Embolism  ไม่ ควรให้ ยาเคมีบาบัดบริเวณข้ อพับแขน เพราะเส้ นเลือดอยู่ลกมาก ทาให้ ึ ประเมินอาการจากการรั่วของยาได้ ล่าช้ าเกินไป
  • 10.  หลีกเลียงผิวหนังทีบวม ่ ่ ตึงจากการอุดตันของโรค เช่ น Lymphoedema ,SVC syndrome  ถ้าประเมินว่าหาเส้ นเลือดไม่ ได้ ให้ รายงานแพทย์ เพือพิจารณาใส่ Port A Cath ่ 5.การสอนผู้ป่วย  สอนให้ ผู้ปวยรายงานความรู้ สึกทันที เมื่อรู้ สึก เจ็บ ปวด บวม แสบร้ อนบริเวณ ่ เข็ม และ หลอดเลือดดาส่ วนปลาย หรือบริเวณหน้ าอก คอ ไหล่ จากหลอด เลือดส่ วนกลาง 6.ทดสอบตาแหน่ งของเข็มให้ อยู่ในเส้ นเลือด  หลอดเลือดดาส่ วนปลาย ดูการไหลย้ อนกลับของเลือดและอัตราการไหลของ นาเกลือ ต้ อง free flow ้  หลอดเลือดดาส่ วนกลางต้ องดูดเลือดจากสาย Catheter ได้ ดีและต่ อสายด้ วย นาเกลือไหลได้ สะดวก free flow ้
  • 11.  ประเมินตาแหน่ งของเข็มทุกขณะทีให้ ยา ่  บริเวณทีแทงเข็มต้ องติดด้ วย Transparent เพือสังเกตการรั่วซึมของยา ่ ่ อาการบวมแดงได้ ชัดเจน และแก้ไขได้ ทนที ั  ตรวจสอบการไหลเวียนย้ อนกลับของเลือดเป็ นระยะๆ บ่ อยๆ  การใช้ Infusion pump ในการบริหารยาต้ องเฝาระวังอย่ างใกล้ชิด ้  ขณะฉีดยาถ้ามีแรงต้ าน ทาให้ ไม่ สามารถฉีดยาเข้ าหลอดเลือดได้ หรืออัตรา การไหลของนาเกลือ ช้ ากว่าปกติให้ พจารณาถึงตาแหน่ งของเข็มทันทีและ ้ ิ เปลียนตาแหน่ งใหม่ สังเกตอาการเจ็บ ปวด แดง ร้ อน ่
  • 12. 7. ติดตามเฝาระวังอย่ างใกล้ชิดเป็ นพิเศษในผู้ป่วยกลุ่มต่ อไปนี้ ้  ผู้ทสื่อสารไม่ ได้ หรือไม่ รู้ สึกตัว ี่  มีปัญหาชา ปลายมือปลายเท้า การไหลเวียนเลือดไม่ ดี ผู้ปวยเบาหวาน ่ และผู้ป่วย SVC obstruction  ผู้ปวยผ่ าตัดเต้ านม แขนบวมหรือต่ อมนาเหลืองอุดตัน ่ ้  ผู้ทหาเส้ นยาก และต้ องแทงเส้ นหลายครั้ง ี่  ผู้ปวยเด็ก หรือผู้สูงอายุ ่
  • 13. 8. แยกระหว่างอาการ Flare reactionกับอาการ Extravasation ให้ ได้ FLare reaction เป็ นปฏิกริยาของยาเคมีบาบัดเฉพาะที่ พบตุ่ม ผื่นแดง คัน ิ ระคายเคืองผิวหนังไม่ ปวดExtravasation เกิดการรั่วซึมของยาเคมีบาบัด ถ้ารู้ สึก เจ็บ ปวด ต้ องสงสัยว่าอาจเกิดการรั่วของยา 9. บันทึกของการพยาบาล  ตาแหน่ งเข็ม  ขนาดของเข็ม  อัตราการไหลเวียนของสารนา ้  ข้ อจากัดในการแทงเส้ น  ความเสี่ยงทีมีโอกาสเกิด Extravasation ่  ยืนยันตาแหน่ งของเข็ม และความรู้ สึกของผู้ปวย ่
  • 14. ข้ อควรจาระหว่างฉีดยา 1. สังเกตอาการ สอบถามผู้ป่วยเป็ นระยะ ว่ามีอาการเจ็บปวด หรือมีอาการ ผิดปกติหรือไม่ 2. ถ้าแม้ เพียงสงสัยว่ามีอาการรั่วซึมของยาออกนอกหลอดเลือดดาให้ หยุดฉีก ยาทีตาแหน่ งนั้นทันที ่ 3. และจัดการดูแลช่ วยเหลือผู้ป่วยทันทีเช่ นกัน
  • 15. Extavasation หยุดการบริหารยาทันที ประเมินตาแหน่ งทีเ่ กิดพร้ อมพยาบาลอีก 1คน + ถ่ายรู ป/ขีดบริเวณตาแหน่ งทีเ่ กิด ให้ ข้อมูลผู้ป่วยเพือลดความวิตกกังวล ่ ยังไม่ ต้องดึงเข็มออก+ดูดยาออกให้ มากทีสุด ่
  • 16. ดึงเข็มออก ปิ ดไว้ ห้ ามกดคลึง รายงานแพทย์ ให้ การรักษาพยาบาลตาม WI ของ Extravasation และคาสั่งการรักษาของแพทย์ วัดขนาดบริเวณทีเ่ กิด Extravasation บันทึกในเวชระเบียนอย่ างละเอียด รายงานอุบัติการณ์และรายงานหัวหน้ าหน่ วย
  • 17. ให้ คาแนะนาผู้ป่วยเพือดูแลตนเองต่ อทีบ้าน 24 ชั่วโมง ่ ่ นัด Follow up * Extravasation Guideline ต้ องมีรายละเอียดชื่อยาเคมีบาบัด ยา Antidote และวิธีการประคบร้ อน หรือประคบเย็น
  • 18.  วัน เดือน ปี และเวลาทีเ่ กิดเหตุการณ์  ชนิดของเข็มฉีดยา  บริเวณทีเ่ กิด Extravasation และความกว้างของการรั่วซึม  ขออนุญาตผู้ปวยเพือถ่ายภาพจดวันทีและเวลาทีถ่ายภาพเป็ นระยะ เพือ ่ ่ ่ ่ ่ ติดตามการเปลียนแปลง ่  บันทึกชนิดของยา ความเข้ มข้ น ปริมาณยาทีรั่วซึม วิธีบริหารยาแบบ ่ IV push หรือ ทาง Iv drip
  • 19.  อาการแสดงที่ผู้ป่วยบอกความรู้ สึก เช่ น ปวด แสบ ร้ อน หรือ ชา  จดรายละเอียดที่สังเกต ตรวจพบ เช่ น บวม แดง ร้ อน ไม่ สุขสบาย จากการเคลือนไหว ่  ลาดับขั้นตอนปฏิบัติการช่ วยเหลือ เมื่อเกิดเหตุการณ์ท้งหมด ั  ให้ คาแนะนาสอนผู้ป่วยให้ ประเมินผล ผิวหนัง วัดไข้ บันทึก อาการปวด และนัดมาติดตามอาการภายใน 48 ชั่วโมง
  • 20. vesicant Irritant Nonvesicant Actinomycin Dacarbazine Bleomycin Doxorubicin Docetaxel Carbopatin Epirubicin Etoposide Cisplatin Idarubicin Oxariplatin Cyclophosphamide Mitomycin Cytarbine Paclitaxel 5-FU Vinblastine Gemcitabin Vincristine Ifosfamide vinorelbine Irinotecan Methotrexate Topotecan
  • 21. ประคบร้ อน ประคบเย็น กลุ่ม Vinca alkaloids กลุ่ม Alkylating agent กลุ่ม Plant alkaloide กลุ่ม mechlorethamin กลุ่ม Antracycline * ประคบร้ อน/เย็น ใน 24 ชั่วโมงแรก ครั้งละ 15-20 นาที ทุก 4 ชั่วโมง
  • 22. 1. การป้ องกัน Extravasation เป็ นสิ่งสาคัญ 2. การบันทึกเหตุการณ์ และการช่ วยเหลือผู้ป่วย จาเป็ นมาก 3. สาคัญทีสุดคือ พยาบาลต้ องมีความตะหนักว่า ภาวะนีต้องไม่ เกิด ่ ้ เพราะเป็ นความทุกข์ ทรมาน เพิ่มเติมให้ ผู้ป่วย
  • 23. ก่อนให้ ยาเคมีบาบัด 1. ซักประวัติการเกิดภาวะ Hypersensitivity ในการให้ ยารอบทีผ่านมา่ 2. ให้ ความรู้ แก่ผู้ป่วยเกียวกับอาการ Hypersensitivity เช่ น หน้ าแดง แน่ น ่ หน้ าอก หายใจไม่ สะดวก 3. เตรียมยาและอุปกรณ์ต่างๆ เช่ น ออกซิเจน อุปกรณ์ suction,Hypersensitivity Kit,รถEmergencyเป็ นต้ น 4. Check V/S เพือประเมินก่อนและหลังให้ ยาเคมีบาบัดขณะให้ ยาเคมี ่ บาบัด
  • 24. 1. บริหารยาเคมีบาบัดโดยการใช้ Infusion pump โดยค่อยๆ ปรับ drop จาก KVO จนถึง drop ตามแผนการรักษาของแพทย์ เพือประเมิน ่ ผู้ป่วยว่าสามารถรับยาเคมีบาบัดได้โดยไม่ เกิดภาวะ Hypersensitivity 2. อยู่กบผู้ป่วยในการบริหารยา เคมีบาบัดประมาณ 10 -15 นาที แรก ั เพือการช่ วยเหลืออย่ างทันท่ วงที ่ 3. Check V/S ทุก 15 นาที 4 ครั้ง ,ทุก 30 นาที 2ครั้ ง , และ1 ชั่วโมงจนกระทั้งยาหมด
  • 25. เมื่อเกิดภาวะ Hypersensitivity 1. หยุดการให้ ยาเคมีบาบัดทันที 2. ให้ สารนาเพือคงเส้ นไว้ ้ ่ 3. ให้ ออกซิเจน 4. ประเมินสภาพอย่ างรวดเร็วและรายงานแพทย์ 5. เตรียมรถ Emergency และ Hypersensitivity kit 6. ให้ การพยาบาลตามการรักษาของแพทย์