SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
การแทนคุณระบบนิเวศ
ที่ปรึกษา ธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
Martin Hart-Hansen United Nations Development Programme
สุธาริน คูณผล Programme Specialist – Team Leader/UNDP
เรื่อง ทรงธรรม สุขสวาง ผูตรวจราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
รักษาราชการแทนผูอำนวยการสำนักอุทยานแหงชาติ
ผูอำนวยการโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบ
การจัดการพื้นที่คุมครอง (CATSPA)
คณะทำงาน หทัยรัตน นุกูล คมกริช เศรษบุบผา ทวี หนูทอง กัญจนสุรีย ยิ้มสาลี
มลวิภา ณ นรงค อรญา รอดขวัญ วิไลวรรณ แสนภักดี วรรณพร ภารสงัด
จิตวดี ขุนวงษา สุปราณี กองทัพ
ปรับปรุงจาก Journal of Thailand Protected Area Volume 1 Number 1
(January – December 2014)
คำนำ
ทิศทางของการจัดการพื้นที่คุมครองแนวใหมของประเทศไทย กำลังหาวิธีในการสรางความยั่งยืนทาง
ดานการเงินใหกับพื้นที่คุมครอง และมีความคาดหวังใหประสบความสำเร็จในบริบทของเศรษฐกิจระดับประเทศ
ที่กำลังเจริญเติบโต ซึ่งมีนโยบายหลายแบบเปนตัวผลักดันในการสรางแหลงเงินทุนแหลงใหมใหกับพื้นที่คุมครอง
แตหลักการ “ผูสรางมลพิษเปนผูจาย” กลาวไววา ผูที่กอใหเกิดความเสียหายควรจายเงินสำหรับการซอมแซม
ความเสียหายตางๆที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุมครอง โดยเฉพาะคาปรับซึ่งกำหนดโดยกฎหมายของพื้นที่คุมครองที่
เกี่ยวของนั้น ยังไมเพียงพอตอการเปนรายไดที่มีนัยสำคัญตอการจัดการพื้นที่คุมครอง และไมเพียงพอตอการ
เปนเงื่อนไขที่ใชบังคับทางกฎหมายอยางเขมงวด อยางไรก็ตามในปจจุบันยังไมมีนโยบายใดที่เหมาะสมมากพอ
ที่จะนำหลักการ “ผูสรางมลพิษเปนผูจาย” มาปฏิบัติใชกับการจัดการดานการเงินในพื้นที่คุมครอง
แตหลักการ “ผูใชเปนผูจาย” นักอนุรักษหลายฝายไดเสนอวา กลุมคนที่ไดรับผลประโยชนจากพื้นที่
คุมครองควรเปนผูจายเงินเพื่อการจัดการพื้นที่คุมครองอยางยั่งยืน และหลักการนี้สามารถเรียกรองการจายเงิน
จำนวนมากจากผูที่ไดรับผลประโยชนจากบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุมครองได แตปจจัยทางการเมือง
หลายประการอาจเปนอุปสรรคในการดำเนินการตามหลักการพื้นฐานดังกลาวนี้ และเปนปญหาที่เกิดขึ้นกับ
พื้นที่คุมครองทุกแหงของโลก
แนวคิดเรื่อง 'การแทนคุณระบบนิเวศ' ไดรับความสนใจอยางมากในวงการนักอนุรักษ และนักจัดการ
ทรัพยากร ทั้งนี้เนื่องมาจากมันมีลักษณะของภาษาที่เปนเอกลักษณที่รวมเอาเรื่องของ เศรษฐกิจ ธุรกิจ และ
สิ่งแวดลอมชุมชน มาผนวกเขาดวยกัน โดยสามารถระบุมูลคาของผลประโยชนจากบริการระบบนิเวศที่ไดรับได
ในขณะที่ผูที่มีสวนไดเสียที่ไมเคยเกี่ยวของมากอน ก็ไดรับการยอมรับใหเขามีสวนรวมในการอนุรักษสภาพแวดลอม
ดังนั้น หนังสือเลมนี้จะอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง 'บริการของระบบนิเวศ หรือ Ecosystem services'
และแนวทางการแทนคุณระบบนิเวศ ซึ่งเพิ่งจะเริ่มกันขึ้นเมื่อไมกี่ปมานี้ โดยไดมีการอภิปรายถกเถียงกัน
ในประเด็นของการรักษาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะในเรื่อง “การประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium
Ecosystem Assessment ,MEA)” เรื่องนี้เปนที่สนใจมากขึ้น และมีมุมมองที่หลากหลายในการที่จะทำให
ระบบนิเวศ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพสามารถค้ำจุนชีวิตมนุษยใหยั่งยืน
มากยิ่งขึ้น ผูเขียนหวังวา แนวคิดเรื่อง คาแทนคุณระบบนิเวศในหนังสือเลมนี้ จะเปนประโยชนกับภาคสวนตางๆ
โดยเฉพาะใหผูมีหนาที่กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ และภาคเอกชนที่กำลังรวมตัวกันในนามของ
“ประชารัฐ”ซึ่งสามารถจะนำแนวคิดและบทเรียนจากการดำเนินงานของประเทศตางๆที่มีอยูในหนังสือเลมนี้
ไปใชในการสรางกลยุทธขับเคลื่อนทั้งการอนุรักษและจัดการเชิงธุรกิจในพื้นที่คุมครองของสำหรับประเทศไทย
ในอนาคตไดชัดเจนขึ้น
ดร.ทรงธรรม สุขสวาง
ผูอำนวยการสำนักงานโครงการ CATSPA
กProtected Area Sustainability
สารบัญ
หนา
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญภาพ ค
บทนำ 1
ความหมายของการจายคาแทนคุณระบบนิเวศ 2
แนวคิดของการจายคาแทนคุณระบบนิเวศ 4
หลักการคาแทนคุณระบบนิเวศ 7
กลไกการแทนคุณระบบนิเวศ 10
การประเมินมูลคาบริการของระบบนิเวศกับความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ 11
แนวทางการดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศในระบบนิเวศ 14
บทเรียนการดำเนินโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศลุมน้ำในประเทศตางๆ 16
การดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศในประเทศไทย 20
สรุป 22
เอกสารและสิ่งอางอิง 23
สารบัญตาราง
1 การประเมินมูลคาระบบนิเวศของโลก 12
2 ตัวอยางโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที่เกี่ยวกับระบบนิเวศปาไม 19
และระบบนิเวศลุมน้ำในภูมิภาคตางๆ ของโลก
ตารางที่
ข
สารบัญภาพ
1 บริการนิเวศ (Ecosystem Service) จากพื้นที่ตนน้ำลำธารที่ใหบริการน้ำ 2
กับชุมชนและในเมือง พื้นที่ลุมน้ำตอนลาง
2 กรอบมโนทัศนการประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ 4
3 แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำ 8
(Basic watershed-based PES model)
4 การเชื่อมโยงระหวางโครงสรางและการทำงานของระบบนิเวศบริการ 12
นโยบายและมูลคาของระบบนิเวศ
5 บริการของระบบนิเวศลุมน้ำดานทรัพยากรน้ำ 21
หนาภาพที่
คProtected Area Sustainability
ระบบนิเวศตางๆเปนสวนที่เกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิต
บนโลกนี้ เชื่อกันวาระบบนิเวศสามารถทำหนาที่
ของระบบไดเองและมีบทบาทในการพัฒนาและ
รักษาองคประกอบของสังคมมนุษย ความอุดมสมบูรณ
ของระบบนิเวศจะอำนวยความผาสุกพื้นฐานของสังคม
เชน การที่มีน้ำสะอาดและเพียงพอทั้งในระดับปริมาณ
และคุณภาพใหแกมนุษย ระบบนิเวศมีสวนสำคัญที่
ทำใหมนุษย และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตดำรง
ชีวิตอยูไดอยางมีความสุข สาเหตุที่ทำใหบริการของ
ระบบนิเวศลดลงเกิดจากปจจัยที่เกี่ยวของ คือ มนุษย
มีความตองการปจจัยสี่และใชทรัพยากรธรรมชาติ
เพิ่มมากขึ้น เชน ตองการเนื้อไมสรางบาน ตองการ
น้ำเพื่ออุปโภคบริโภค ตองการอาหารและเชื้อเพลิง
เพื่อดำรงชีพ เปนตน ความตองการดังกลาวของมนุษย
ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการ
สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากนี้การ
เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศจะมีผลกระทบกับการ
พัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม การดำรงชีวิตของมนุษย
การลดลงของระบบนิเวศนำไปสูการขาดบริการทาง
ระบบนิเวศสงผลใหประชากรโลกมีความอดอยาก
มากขึ้น มีความเสี่ยงตอการดำรงชีวิตที่ตองอาศัย
การบริการของระบบนิเวศ ถาหากมนุษยเรายังมีการ
ใชทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศที่อาศัยอยูอยาง
ไมฉลาด ผลกระทบก็จะเกิดขึ้นกับมนุษยเองหรือ
ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม เชน ปญหาภัยแลง
น้ำทวม แผนดินถลม ซึ่งจะทำใหเกิดปญหาความ
ขัดแยงในสังคมตามมาแนนอน
ดังนั้น ในอนาคตประเทศไทยตองนำเอา
หลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศหรือ Payments
for Ecosystem Services (PES) มาใชในการจัดการ
ระบบนิเวศ เพื่อเปนแนวทางที่จะพัฒนาการหามูลคา
ทางเศรษฐกิจของระบบนิเวศของประเทศ ซึ่งจะมี
ผลตอการสรางรายไดของประเทศและชุมชนที่มี
หนาที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะใน
พื้นที่คุมครองที่กำหนดใหเปนอุทยานแหงชาติหรือ
เขตรักษาพันธุสัตวปา เพื่อเปนเครื่องมือหนึ่งในการ
จัดการพื้นที่อนุรักษของประเทศ อันจะเปนบทเรียน
พื้นฐานในการกำหนดแนวทางและมาตรการที่จะเรงเสริม
ใหมีการจัดการและการใชประโยชนระบบนิเวศที่ยั่งยืน
การแทนคุณระบบนิเวศ
บทนำ
เหตุผลความจำเปนในการจัดการ
คาแทนคุณระบบนิเวศ
เรามีความจำเปนตองจายเงินคาตอบแทนคุณ
ระบบนิเวศ เพื่อที่จะหยุดยั้งการลดลงและความ
เสียหายของระบบนิเวศตลอดจนดูแลรักษาการ
บริการของระบบนิเวศ รัฐบาลของประเทศตางๆ ได
ดำเนินการการสนับสนุนนโยบายขององคการ
สหประชาชาติวาดวยการใชประโยชนสิ่งแวดลอม
อยางยั่งยืน โดยกำหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา
โครงการการปองกันการลดลงหรือการสูญหายของ
ทรัพยากรสิ่งแวดลอม ทำการปรับปรุงกระบวนการ
จัดการที่ถูกตอง เชน โครงการปรับปรุงและดูแลรักษา
แหลงน้ำที่สะอาดใหแกประชาชน ซึ่งประกอบไปดวย
หลักสองประการ คือ มาตรการในการควบคุมดูแล
รักษาแหลงน้ำและการใชแหลงน้ำเพื่อประโยชน
ทางเศรษฐกิจ
1
ความหมายของการจายคาแทนคุณ
ระบบนิเวศ
อยางไรก็ดีวิธีการปองกันความเสียหายของสิ่งแวดลอม
สามารถกระทำไดโดยการออกกฎหมายหรือกฎขอบังคับ
หรือมีการสรางระเบียบที่เขมงวด มีคำสั่งหรือนโยบาย
การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ เชน การควบคุมน้ำเสีย
จากแหลงตนน้ำลำธาร หรือการสรางโรงงานบำบัด
น้ำเสียที่ทำใหน้ำเสียลดนอยลง แตก็ยังมีน้ำที่มีมลพิษ
เกิดขึ้นจากผูที่อาศัยอยูตามแหลงตนน้ำ เชน น้ำที่เกิด
จากการเลี้ยงปศุสัตวและการเกษตร ซึ่งผูใชน้ำที่อาศัย
อยูปลายน้ำจะไดรับน้ำที่ไมสะอาดเพื่อการบริโภคดวย
จึงจำเปนตองออกกฎหมายควบคุม
ดังนั้น การจัดการระบบนิเวศ เพื่อใหมีการบริการ
ที่ดีจำเปนตองใชกลไกทางเศรษฐศาสตรเพื่อนำไปสู
กระบวนการคาแทนคุณระบบนิเวศ เปนการสนับสนุน
การอนุรักษอยางยั่งยืน หลักการใชคาแทนคุณระบบ
นิเวศเปนวิธีการที่ไดนำมาใชในหลายประเทศทั้งระดับ
ทองถิ่น ภูมิภาค หรือระดับชาติ โดยมีการกำหนดราคา
ของระบบนิเวศและมีการจัดสรรคาตอบแทนใหแก
ชุมชนหรือผูใชประโยชนทางเศรษฐกิจจากที่ดินที่อาศัย
อยูในพื้นที่ที่มีการดูแลระบบนิเวศนั้นๆ
ระบบนิเวศประกอบดวยสวนที่ผูไดรับผลประโยชน
ซึ่งอาศัยอยูภายนอกจะเปนผูจายคาแทนคุณระบบนิเวศ
ใหกับชุมชนซึ่งอาศัยอยูภายในระบบนิเวศชวยสนับสนุน
ดูแลและรักษาระบบนิเวศนั้นๆ ทั้งสองเปรียบเสมือน
สะพานเชื่อมตอกันจากการที่ไดรับผลประโยชนทั้ง
สองกลุมซึ่งจะเรียกวาผูขาย (Sellers) และผูซื้อ (Buyers)
ยกตัวอยาง การบริการของระบบนิเวศในเรื่องการใชน้ำ
เชน การดำเนินการของชุมชนในพื้นที่ตนน้ำจะเปน
ผูขายบริการ และประชาชนที่อยูปลายน้ำและที่ใช
ประโยชนจากน้ำที่มาจากพื้นที่ตนน้ำ จะเปนผูซื้อ
บริการ ซึ่งการดำเนินการดังกลาวนี้สามารถที่จะนำ
ไปใชในโครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแบบอื่นๆ
ไดดวย
ภาพที่ 1 บริการนิเวศ (Ecosystem Service)
จากพื้นที่ตนน้ำลำธารที่ใหบริการน้ำกับ
ชุมชนและในเมือง พื้นที่ลุมน้ำตอนลาง
มีผูใหความหมายของคำวา Payment for
Ecosystem Services (PES) ในบริบทของภาษาไทย
หลายความหมาย เชน คาใชจายในการรับบริการจาก
ระบบนิเวศ คาบริการระบบนิเวศ คาตอบแทนคุณ
ระบบนิเวศ คาแทนคุณระบบนิเวศ แตในหนังสือ
เลมนี้ขอใชคำวา “คาแทนคุณระบบนิเวศ” เนื่องจาก
คาแทนคุณระบบนิเวศยังเปนแนวคิดใหมสำหรับ
ประเทศไทย คำนิยามที่กำหนดขึ้นอาจมีความแตกตาง
กันอยูบาง เชน European Environmental Agency
ใหคำจำกัดความวา คาแทนคุณระบบนิเวศ คือ
การจัดสรรเงินคาตอบแทนใหกับชุมชนหรือผูที่ดูแล
รักษาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเปนหลักประกัน
ความยั่งยืนของการบริการของระบบนิเวศ เปนตน
2Protected Area Sustainability
อยางไรก็ดี การจายคาแทนคุณของระบบนิเวศ
ไดเริ่มมีการพูดคุยกันในเรื่องบริการของระบบนิเวศ
เมื่อไมกี่ปมานี้เมื่อมีการอภิปรายกันในประเด็น
ของการรักษาสิ่งแวดลอม การศึกษาในเรื่องการประเมิน
ระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem
Assessment , MEA) ที่เพิ่งเสร็จสิ้น ทำใหหัวขอนี้
เปนที่สนใจมากขึ้นและมีมุมมองที่หลากหลายในการ
ที่จะทำใหสภาพแวดลอมทางธรรมชาติสามารถ
ค้ำจุนชีวิตมนุษยใหยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ตัวอยางของ
มุมมองเรื่องบริการของระบบนิเวศก็คือการเปน
ทรัพยากรพันธุกรรมสำหรับการแพทย (genetic
resources for medicine) และเทคโนโลยีชีวภาพ
(biotechnology) การผสมเกสรพืช (plant
pollination) การกักเก็บคารบอน (carbon
sequestration) และการพัฒนารูปแบบของดิน
(soil formation) จะเห็นไดวาความหลากหลายทาง
ชีวภาพซึ่งเปนสวนหนึ่งของการทำงานแบบบูรณาการ
ของระบบนิเวศถือเปนบทบาทพื้นฐานสำคัญที่ระบบนิเวศ
ธรรมชาติสงมอบบริการใหกับโลกมนุษย คำนิยาม
ของบริการของระบบนิเวศที่ยอมรับกันทั่วไป คือ
การพิจารณาใหการบริการระบบนิเวศเปนกระบวนการ
ทางธรรมชาติโดยตระหนักอยูเสมอวาระบบนิเวศที่มี
องคประกอบของพืชและสัตว ทำใหเกิดระบบที่ชวย
รักษาและเติมเต็มใหกับชีวิตมนุษย (Daily et al, 1997)
อีกนิยามที่ยอมรับทั่วไปก็คือ นิยามที่ใชในการ
ประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium
Ecosystem Assessment, MEA, 2005) กลาววา
ซึ่งเปนผลประโยชนที่ประชาชนไดรับจากระบบนิเวศ
โดย MEA ไดจำแนกระบบนิเวศลงไปถึงบริการใน
ดานการจัดเตรียม (provisioning) การควบคุม
(regulating) การสนับสนุน (supporting) หรือ
บริการทางวัฒนธรรม (cultural services)
(ภาพที่ 2) MEA ไดรายงานวา 60-70 เปอรเซ็นต
ของบริการของระบบนิเวศของโลกเรากำลังลดนอย
ถอยลง และผลกระทบที่ตามมาก็ทวีความรุนแรง
มากขึ้นโดยเฉพาะกับผูคนสวนใหญที่ขึ้นอยูกับการ
พึ่งพาธรรมชาติโดยตรง (steady provision) เชน
การดำรงชีวิตของเกษตรกร ดวยหลักการของ MEA
แนวคิดเรื่องบริการของระบบนิเวศจึงถูกนำมาใชเพื่อ
เนนความสัมพันธระหวางบริการของระบบนิเวศและ
ความเปนอยูที่ดีของมนุษยระหวางสวัสดิการของ
มนุษยและความมั่นคงในชีวิต
เนื่องจากคาแทนคุณระบบนิเวศ หมายถึง การ
จัดสรรเงินคาตอบแทนหรือเงินทุนใหกับชุมชนหรือ
ผูที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เพื่อเปน
หลักประกันความยั่งยืนของระบบนิเวศ และประโยชน
หรือบริการที่มนุษยไดรับจากระบบนิเวศเปนมูลคาที่
เกิดจากการใชประโยชนทั้งทางตรงและทางออมที่
แสดงใหเห็นถึงความสำคัญของระบบนิเวศกับ
สวัสดิภาพและความเปนอยูของมนุษย
การจายคาแทนคุณระบบนิเวศใหแกชุมชนหรือ
ผูดูแลรักษาระบบนิเวศเปนเครื่องมือในการสนับสนุน
ใหมีการอนุรักษระบบนิเวศที่มุงไปสูการพัฒนาที่มี
ความมั่นคงทางดานการอยูดีกินดีของมนุษยเพื่อ
รักษาสมดุลของระบบนิเวศ เชน การอนุรักษความ
หลากหลายทางชีวภาพ การควบคุมปริมาณและ
คุณภาพน้ำในพื้นที่ตนน้ำลำธารและการลดผลกระทบ
จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
3
ภาพที่ 2 กรอบมโนทัศนการประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ
ที่มา : http://cmsdata.iucn.org/downloads/a_gateway_to_pes_d_huberman.pdf (2008)
แนวคิดของการจายคาแทนคุณ
ระบบนิเวศ
ในโลกของการจัดการพื้นที่คุมครองแนวใหม
เชื่อวาคาแทนคุณระบบนิเวศจะเปนเครื่องมือและ
นวัตกรรมใหมในการอนุรักษ แตก็ยังคงไมมีฉันทามติ
ที่ชัดเจนในความหมายที่แนนอน อยางไรก็ตามมีการ
ยอมรับรวมกันอยางหนึ่งที่นำเสนอโดย Wunder
(2005) โดยเขาไดเสนอรูปแบบที่แพรหลายมากที่สุด
และเขาใจไดงายของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การ
ทำธุรกรรมระหวางผูใชน้ำที่อยูในพื้นที่ตอนลางของ
ลุมน้ำ (downstream water users) และผูที่อยู
ตนน้ำ (upstream landowners) เพื่อรักษาความ
มั่นคงและความปลอดภัยของผลประโยชนที่เกี่ยวของ
กับน้ำในลุมน้ำที่มีการจัดการอยางยั่งยืน หรืออธิบาย
ไดวา การจายเงินใหกับผูดูแลระบบนิเวศหรือผูขาย
บริการเพื่อรักษาความมั่นคงของระบบนิเวศ
โดยความสมัครใจ จะตองสอดคลองกับการดำรงอยู
ของระบบนิเวศเพื่อประโยชนของผูซื้อโดยสมัครใจ
เชนกัน
นอกจากนี้แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศ
(PES model) ไดรับการประยุกตใชในวงกวางมากขึ้น
ไดแกโครงการกักเก็บคารบอน(Carbonsequestration
projects) ที่ผานกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean
Development Mechanism : CDM) ในพิธี
สารเกียวโต กิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาดานชีวภาพ
(Bioprospecting deal) และแมกระทั่งคาเขาชม
อุทยานแหงชาติทุกคนก็ไดรับการติดปายคาแทนคุณ
ระบบนิเวศ (tagged with a PES label) การรับรู
อยางกวางขวางเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศวาเปน
ทั้งนวัตกรรมและเครื่องมือสรางนโยบายที่สำคัญยิ่ง
ความสำเร็จของคาแทนคุณระบบนิเวศสวนใหญขึ้นอยู
กับความสามารถในการทำงานรวมกันของทุกภาคสวน
เชน การบูรณาการความรวมมืออยางยั่งยืนขององคกร
4Protected Area Sustainability
5
ตางๆ ในการจัดการระบบนิเวศในทุกระดับ ถือวา
เปนงานที่สำคัญยิ่งสำหรับการดำเนินงานดานการ
จัดการคาแทนคุณระบบนิเวศ โดยเฉพาะการจัดการ
ระบบนิเวศลุมน้ำมโนทัศนหรือแนวคิดเรื่องบริการ
ของระบบนิเวศไดรับความสนใจอยางมากเนื่องจาก
เปนภาษาที่เปนเอกลักษณที่รวมเอาเรื่องของเศรษฐกิจ
ธุรกิจและสิ่งแวดลอมชุมชนมาผนวกเขาดวยกัน โดย
สามารถระบุมูลคาของผลประโยชนจากบริการที่ไดรับได
ในขณะที่ผูที่มีสวนไดเสียที่ไมเคยเกี่ยวของมากอน
ไดรับการยอมรับใหเขามามีสวนรวมในการอนุรักษ
สภาพแวดลอม ดังนั้น แนวคิดเรื่องบริการของระบบ
นิเวศนี้จึงเปนโอกาสใหผูมีหนาที่กำหนดนโยบายทาง
เศรษฐกิจของภาคราชการและภาคเอกชนสามารถ
สรางกลยุทธขับเคลื่อนทั้งการอนุรักษและจัดการเชิง
ธุรกิจสำหรับอนาคตไดชัดเจนมากขึ้น โดยภาคธุรกิจ
จะเปนฝายสนับสนุนภาคราชการในการดำเนินการ
จัดการบริการระบบนิเวศในอนาคต
ในปจจุบันกลาวไดวา แนวคิดเรื่องการใหบริการ
ระบบนิเวศเปนเสมือนหนึ่งตัวเชื่อมที่ชัดเจนระหวาง
ความเปนอยูที่ดีของมนุษยหรือมิติดานเศรษฐศาสตร
กับกระบวนการธรรมชาติหรือมิติดานนิเวศวิทยา
แนวความคิดนี้นับวาเปนประโยชนอยางมากที่จะสื่อ
ใหเห็นอยางงายๆ ถึงวิธีการอยูรวมกันระหวางผูใช
ทรัพยากรกับนักอนุรักษทรัพยากร การพัฒนาภาษา
ที่เขาใจรวมกัน คือคำวา “บริการของระบบนิเวศ”
จะทำใหเกิดดุลยภาพระหวางกลุมผูมีสวนไดเสีย
กลุมตางๆที่ไดรับประโยชนจากระบบนิเวศเหลานี้
กลาวโดยสรุปแลว การจัดการระบบนิเวศจะชวยทำให
เกิดดุลภาพในมิติทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม
ดังนั้น การนำเสนอในสวนนี้เปนความพยายามที่จะ
เนนถึง วิธีการ แนวคิดการพัฒนาที่ผานมาของเรื่อง
บริการของระบบนิเวศเพื่อนำไปประยุกตใชกับงาน
การจัดการระบบนิเวศใหกวางขวางขึ้น ชวงเวลา
ที่ผานมาการใชภูมิทัศนเปนแนวคิดในการจัดการ
บริการของระบบนิเวศ อาจมีปญหาในเรื่องขนาดของ
พื้นที่ทางภูมิศาสตรที่จะนำมาประเมินมูลคาของการ
บริการของระบบนิเวศ เนื่องจากมักจะมีความเห็นที่
ไมตรงกันระหวางสถาบันทางสังคมและกระบวนการ
ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งที่ทาทายก็คือตองหาวิธีการ
ที่ดีที่สุดที่สามารถเติมเต็มความตองการทั้งสองฝาย
คือเรื่องขนาดของพื้นที่ตามลักษณะภูมิทัศนซึ่งกำหนด
โดย IUCN ที่เชื่อมเอาเรื่องของวิถีชีวิตชุมชนเขากับ
กลยุทธภูมิทัศน (IUCN’s Livelihoods and
Landscape Strategy,LLS) ซึ่งนาจะเหมาะสมกับ
การดำเนินการตามนโยบายในเรื่องการบริการของ
ระบบนิเวศมากที่สุด การบูรณาการนำเรื่องทุนทาง
ธรรมชาติเขามารวมกับเรื่องกระบวนการผลิตทาง
เศรษฐกิจนาจะเปนวิธีการที่ดำเนินการไดดีที่สุด
ซึ่งไมเพียงแตเกี่ยวของกับบริบทเฉพาะกระบวนการ
ทางนิเวศวิทยาตามบริการของระบบนิเวศที่มีมูลคา
เทานั้น แตยังคำนึงถึงมิติที่ทำใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ
ของชุมชนอยางยั่งยืนผานการมีสวนรวมในวงกวางและ
เสมอภาคดวย ดังนั้น การใชภูมิทัศนระบบนิเวศลุมน้ำ
เปนแนวคิดในการจัดการบริการของระบบนิเวศที่
เกี่ยวของอยูกับการรวมกันของการบริหารจัดการ
แบบบนลงลาง (top - down) ของการลงทุนที่มีการ
ยอมรับทางวัฒนธรรมแบบลางขึ้นบน (bottom - up)
จากการดำเนินนโยบายเปนสิ่งจำเปนที่ตองดำเนินการ
ใหไดเพื่อนำไปสูการจัดการคาแทนคุณของระบบนิเวศ
อยางยั่งยืน
นอกจากเปนเครื่องมือที่ใชในการสรางแรงจูงใจ
การอนุรักษ (Incentive-based conservation tools)
ในทางปฏิบัติแลว แนวคิดเรื่องบริการของระบบนิเวศ
ถูกนำมาประยุกตไดงายๆ ในการใหรางวัลแกผูให
บริการระบบนิเวศ โดยผานการจัดเงินทุนใหอยาง
ยั่งยืนอันที่แทจริงแลว คำวาบริการก็มีบุญญานุภาพ
ตอมนุษยทุกคนอยูแลว ในขณะที่การชำระเงินสำหรับ
บริการของระบบนิเวศสวนใหญมักจะเปนรูปแบบ
6Protected Area Sustainability
ของการถายโอนทางการเงิน ซึ่งสามารถนำไปใชในการ
กำหนดการใหรางวัลกับผูดูแลบริการของระบบนิเวศ
รวมทั้งการถายทอดเทคโนโลยี การเสริมสรางศักยภาพ
และการบรรเทาหนี้ดวยการนำเสนอสิ่งจูงใจทาง
เศรษฐกิจในการบำรุงรักษาบริการของระบบนิเวศ
อยางไรก็ดีคาแทนคุณระบบนิเวศสามารถดำเนินงาน
บนพื้นฐานของกลไกการตลาดในทางเศรษฐศาสตร
โดยการนำเสนอวิธีการที่มีประสิทธิภาพและมี
ประสิทธิผลในการสนับสนุนวัตถุประสงคของการ
พัฒนาที่ยั่งยืน อยางไรก็ตาม คาแทนคุณระบบนิเวศ
อาจเปนเครื่องมือกำหนดนโยบายที่เฉพาะเจาะจง
เทานั้นไมไดเปนรูปแบบของแบบจำลองแบบเดียวที่
เหมาะสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน
หลักการคาแทนคุณระบบนิเวศ
หลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การมี
ระบบการทำงานอยางมีสวนรวม ผูที่มีบทบาทในการ
ดูแลรักษาระบบนิเวศหรือผูใหบริการควรไดรับ
คาตอบแทนจากผูใชประโยชนจากระบบนิเวศหรือ
ผูที่ไดรับประโยชนจากการบริการของระบบนิเวศ
ควรที่จะตองจายเพื่อแลกกับการบริการทางดาน
ระบบนิเวศหรือประโยชนที่ไดรับ โดยจายเปน
คาตอบแทนใหกับผูมีบทบาทในการดูแลรักษา
ระบบนิเวศ อาจจะอยูในรูปตัวเงินหรือสิ่งตอบแทนอื่นๆ
ที่ไมเปนตัวเงิน อันไดแก การลดหยอนภาษีเงินไดหรือ
คาธรรมเนียมทำใหมีความมั่นคงในการจัดการที่ดิน
และทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งคาแทนคุณของระบบนิเวศจะ
มีองคประกอบที่สำคัญ คือ ผูที่ทำหนาที่ดูแลรักษา
ระบบนิเวศหรือผูขาย ผูที่ไดรับประโยชนและบริการ
จากระบบนิเวศหรือผูซื้อ และการบริการของระบบนิเวศ
ที่ใหบริการแกมนุษยผูรับประโยชน ดังนั้น คาแทนคุณ
ระบบนิเวศเปนวิธีการที่วางอยูบนหลักการผูที่ไดรับ
ประโยชนเปนผูจาย ซึ่งจะสงผลใหเกิดแรงจูงใจใน
การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการ
สรางแรงจูงใจทางเศรษฐกิจเพื่อใหเกิดการอนุรักษ
ฟนฟูระบบนิเวศอยางยั่งยืน โดยใหผูที่ไดรับบริการ
จากระบบนิเวศจายผลประโยชนตอบแทนใหแกผู
ทำหนาที่อนุรักษ ซึ่งโดยทั่วไปไดแก ชุมชน กลไก
คาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปนประโยชนตอการอนุรักษ
ระบบนิเวศ ในขณะเดียวกันก็ชวยสนับสนุนชุมชน
หรือเกษตรกรในชนบทใหมีรายไดเพิ่มขึ้นโดยเชื่อมโยง
กับนักลงทุนจากภายนอกพื้นที่ นอกจากนั้นคาแทนคุณ
ระบบนิเวศยังเปนเครื่องมือในการสรางความเขาใจ
เกี่ยวกับการใชประโยชนทรัพยากรอยางยั่งยืน
ซึ่งจะเกิดผลระยะยาวตอความอุดมสมบูรณของ
ระบบนิเวศ และนำไปสูการเพิ่มผลผลิตดานตางๆ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและประโยชน
หรือบริการที่มนุษยจะไดจากระบบนิเวศ ไมจำเปน
ที่จะตองเปนสินคาที่มีการซื้อขายกันในตลาด อาจเปน
มูลคาที่เกิดจากประโยชนทางออม (Indirect Used)
และมูลคาที่ไมไดเกิดจากการใช (Non-used Value)
ก็ได แตก็เปนบริการที่จำเปนตอการอยูรอดของ
มนุษยดวย
7
; แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำในประเทศไทย
ระบบนิเวศปาไม(ผูใหบริการ)
ระบบนิเวศเกษตร
ระบบนิเวศเมือง
ระบบนิเวศขนาดเล็กอื่นๆ
องคประกอบระบบนิเวศลุมน้ำ
(ผูดูแลรักษาพื้นที่ตนน้ำ)
(แมน้ำ)
(ชุมชนเมือง)
(ผูรับประโยชน)
ภาพที่ 3 แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำ (Basic watershed-based PES model)
ที่มา : ดัดแปลงจาก Heal et al., (1999)
8Protected Area Sustainability
9
กลไกการแทนคุณระบบนิเวศ
ถึงแมวาหลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศไดมี
การนำมาใชเปนเวลานานแลวก็ตาม เชน มีการนำมา
ใชในประเทศโบลิเวีย บราซิล โคลัมเบีย และเวียดนาม
รวมทั้งไดมีการนำไปใชกันในบางพื้นที่แตประสบการณ
หรือแนวทางการดำเนินงานยังไมประสบผลสำเร็จ
เทาที่ควร ซึ่งจะตองใชเวลาในการดำเนินงานที่อาจ
ยาวนานเพื่อที่จะใหเห็นผลที่แทจริง อยางไรก็ดีหลักการ
ของคาแทนคุณระบบนิเวศไดมีการนำไปใชในหลายๆ
ภาคสวนของระบบนิเวศ เชน ระบบนิเวศลุมน้ำ
ระบบนิเวศปาไม รวมทั้งนำไปใชไดดีในกระบวนการ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติในหลายๆ ทองที่ โดยมี
นโยบายกฎหมายและสถาบันรับผิดชอบที่แนนอน
ขณะที่แนวโนมการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ
ในหลายทองที่ไดเจริญขึ้นทรัพยากรธรรมชาติ ไดถูก
นำมาใชจนทำใหเกิดปญหาในหลายๆดาน เชน
เรื่องของน้ำ หลายๆประเทศที่ไดนำหลักการของ
คาแทนคุณระบบนิเวศมาใชมีการจัดตั้งหนวยงานหรือ
สถาบันขึ้นมารับผิดชอบโดยตรง มีการวิเคราะหและ
ออกกฎหมาย หรือกฎระเบียบที่จะนำมาใชบังคับ
อยางไรก็ดี ในการศึกษาถึงเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศ
ในหลายๆพื้นที่มีการวิเคราะหและอภิปรายในเรื่อง
ของกฎระเบียบที่ใชในการปฏิบัติรวมทั้งสถาบันหรือ
หนวยงานที่ตองรับผิดชอบในบทบาทที่แตกตางกัน
แลวแตสถานการณของแตละประเทศนั้นๆ
ดังที่ไดกลาวมาแลววาคาแทนคุณระบบนิเวศเปน
แนวทางใหมเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ
พื้นที่ที่เปนโครงการนำรองหลายๆ แหงมีความเขาใจ
กันดวยดี ตกลงกันได การดำเนินงานก็เปนไปดวยดี
แตสวนใหญเปนการยากที่จะเปนไปได ถาหากวาไมมี
กรอบการทำงานหรือไมมีกฎระเบียบและหนวยงาน
รับผิดชอบที่แนนอน การนำโครงการคาแทนคุณ
ระบบนิเวศไปใชทำใหเกิดเปนกระบวนการที่มีประโยชน
ดังที่หลายประเทศในทวีปอเมริกาใต เชน บราซิล
โบลิเวีย และโคลัมเบีย นำไปใชแลวไดผลที่มีประสิทธิภาพ
มากในการดูแลรักษาระบบนิเวศของประเทศ
อยางไรก็ตาม คาแทนคุณระบบนิเวศก็ยังเปนการ
พูดถึงกันอยางกวางขวางวานาจะมีกลไกที่สามารถ
จูงใจใหผูซื้อและผูขาย หันมาดำเนินกิจกรรมรวมกัน
เพื่อสนับสนุนการปองกันและการดูแลรักษาระบบนิเวศ
ตามธรรมชาติ กลไกของคาแทนคุณระบบนิเวศจะ
ตองพึ่งพากฎระเบียบและการปฏิบัติที่เปนไปได
ฉะนั้น กฎระเบียบและสถาบันผูรับผิดชอบเปน
เปาหมายที่สำคัญของการดำเนินงาน โดยจะตองทำ
เปนขั้นตอน กลาวคือ
1. การสรางความเขาใจเกี่ยวกับคาแทนคุณ
ระบบนิเวศโดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศ
2. การกำหนดกรอบนโยบาย กฎหมาย และ
สถาบันผูรับผิดชอบ
3. การกำหนดขอตกลงในการบริหารจัดการ
เพื่อที่จะใหหลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศ
ไดถูกนำมาใชใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ จำเปนตอง
กำหนดวัตถุประสงคหรือนำบทเรียนจากตางประเทศ
ที่ทำไดแลวมาศึกษาวิเคราะหความเปนไปไดในแตละ
พื้นที่ โดยสามารถดำเนินการตามกระบวนการ
ดังตอไปนี้ คือ
1. การกำหนดกรอบกฎหมายและสถาบันที่
รับผิดชอบในการดำเนินการในปจจุบันและในอนาคต
2. การกำหนดสิทธิภายใตกฎหมายและแนวทาง
ปฏิบัติ
3. การกำหนดรูปแบบของคาแทนคุณระบบนิเวศ
4. การคนหาความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการ
ดำเนินการ
5. การดำเนินการเจรจาระหวางผูซื้อกับผูขาย
บริการระบบนิเวศ
6. การติดตามและการบังคับใชกฎหมาย
10Protected Area Sustainability
7. การวิเคราะหผลจากการดำเนินการคาตอบ
แทนคุณระบบนิเวศ
8. การกำหนดการมีสวนรวมของประชาชน
การประเมินมูลคาบริการของระบบนิเวศ
กับความหลากหลายทางชีวภาพของ
ระบบนิเวศ
ในการคนหาดุลยภาพที่ยั่งยืนระหวางผูแสวงหา
ผลประโยชน (exploitationists) และนักอนุรักษ
(conservationists) นั้น ภาษาที่จะตองใชรวมกันก็
คือ ทำอยางไรจึงจะหาวิธีการเปรียบเทียบมูลคาของ
ทรัพยากรที่ขัดแยงกันอยูใหชัดเจน สิ่งที่ตองคำนึงถึง
ก็คือ การประเมินคาเชิงปริมาณของธรรมชาตินั้น
มีอุปสรรคอยูมาก มีคำถามมากมายไดแก เหมาะสม
หรือที่จะตีมูลคาความหลากหลายทางชีวภาพออกมา
เปนตัวเงิน เปนความตองการจริงๆหรือ เปนไปไดแนหรือ
เหลานี้เปนเพียงบางสวนของคำถามที่สำคัญที่ยังไมได
คำตอบที่ชัดเจน ในป ค.ศ.1997 สิ่งพิมพที่ออกมาจาก
สำนักพิมพที่มีชื่อเสียงไดตีมูลคารวมของระบบนิเวศ
ของโลกออกมาอยูที่ประมาณ 30 พันลานลานดอลลาร
(Costanzaetal.,1997)ตัวเลขดังกลาวนี้ชวยจุดประกาย
ใหเกิดคลื่นความกระตือรือรนที่ตามมาของนักอนุรักษ
และความขัดแยงในแวดวงของการประเมินมูลคาทาง
เศรษฐศาสตรของระบบนิเวศ ในขณะที่อาจจะดู
เหมือนไรสาระในการคนหาวิธีการวัดคาเชิงปริมาณ
ของคาอันประเมินมิไดของระบบนิเวศตางๆในโลก
แนวคิดเรื่องบริการของระบบนิเวศนี้ทำใหเกิดศัพทตัวใหม
คือมูลคาของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม ที่นำเขาสูการ
อภิปรายเกี่ยวกับการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมอีกครั้ง
อุปสรรคที่ขัดขวางแนวคิดที่สำคัญของความ
พยายามในการพัฒนาการประเมินมูลคาระบบนิเวศ
และสิ่งแวดลอมในปจจุบันก็คือ การยึดเอาความ
หลากหลายทางชีวภาพมาเปนจุดยืน แมวาความ
หลากหลายทางชีวภาพเปนแนวคิดที่ใชกันอยางแพร
หลายก็ไมไดหมายความวาเปนตัวชี้คาทางเศรษฐกิจ
ที่ดีพอ นอกจากนี้เรื่องของการเชื่อมโยงของกระบวนการ
ระบบนิเวศและการบริการยังคงจะตองมีการอภิปราย
กันอยางกวางขวางตอไป Heal (1999) ไดจำแนกมูลคา
ของความหลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวของกับผลผลิต
ของระบบนิเวศ (ecosystem productivity) ไดแก
การผสมเกสรพืช มูลคาเชิงปองกันภัย เชน การเปน
แนวกันชนของมลพิษการเปนแนวปะทะพายุการควบคุม
การชะลางพังทลายของดิน การสนับสนุนใหความรู
แกมนุษย การวิจัยทางการแพทยดวยการตระหนักถึง
องคความรูในเรื่องมูลคาของความหลากหลายทางชีวภาพ
จึงทำใหการประเมินมูลคากลายเปนเรื่องยุงยากที่ตอง
ใชลักษณะพิเศษในการประเมินโดยเฉพาะ และมักจะ
มองบริการของระบบนิเวศดานวัฒนธรรมไปอีกมุมหนึ่ง
ของความพยายามในการประเมินมูลคา อยางไรก็ดี
นักนิเวศวิทยาจะตองคิดอยูในใจเสมอวาวิถีชีวิตใน
ทองถิ่นตองมีสวนรวมที่สำคัญในการบำรุงรักษาการ
ทำงานของระบบนิเวศโดยเฉพาะคาแทนคุณระบบนิเวศ
ถึงแมจะเปนที่ตระหนักวา การใหบริการของระบบ
นิเวศมีคุณคาอยางมากตอระบบเศรษฐกิจและชีวิต
ความเปนอยูของประชาชน แตในการวิเคราะหเชิง
เศรษฐศาสตรและการเงินกลับพบวามูลคาของระบบ
นิเวศไมไดรับการประเมินอยางเหมาะสม มีชองวาง
ที่สำคัญ เชน ไมมีระบบตลาดและราคารองรับ ไมได
รับการสนับสนุนจากนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ คาใชจาย
ของภาครัฐในการบริหารจัดการเพื่อการอนุรักษมีจำกัด
และมีแนวโนมลดลงในสวนของผูที่ดำเนินการเพื่อ
อนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืน เชน การจัดการ
ปาไม การทำการเกษตรอยางยั่งยืน การทองเที่ยว
เชิงนิเวศหรือธุรกิจสีเขียวก็ไมไดรับผลประโยชน
ตอบแทนที่เหมาะสมเมื่อเทียบกับกิจกรรมเศรษฐกิจ
11
หรือการตลาดในกระแสหลัก นอกจากนั้น ยังมี
ปจจัยประกอบอื่นๆที่ลดทอนแรงจูงใจการอนุรักษ
ระบบนิเวศโดยรวม
ดังที่ไดกลาวมาแลววา Constanza,et al. (1997)
ทำการศึกษาเพื่อประเมินมูลคาการใหบริการ
ของระบบนิเวศของโลกโดยระบุวามูลคา GNP ของ
ทั้งโลกเฉลี่ยราว 18,000 ลานลานเหรียญสหรัฐตอป
ในขณะที่การใหบริการของระบบนิเวศทั่วโลกมีมูลคา
ทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงถึง 33,000 ลานลานเหรียญสหรัฐ
ตอป การประเมินมูลคาการใหบริการของระบบนิเวศนี้
เปนความพยายามที่ชวยสรางแนวคิดใหมเกี่ยวกับ
มูลคาทางเศรษฐศาสตรของระบบนิเวศและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งนำไปสูการพัฒนาเครื่องมือ
การจัดการในเชิงนโยบายเพื่อสรางรายไดหรือการ
จายคาบริการใหกับระบบนิเวศ (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 การประเมินมูลคาระบบนิเวศของโลก
หนาที่ : เชน การกำกับควบคุม
แหลงที่อยูอาศัย/การผลิตเพื่อ
บริโภค-อุปโภค
โครงสราง
มูลคาจากการ
นำมาใช
ใชในการบริโภค:เชน
อาหาร ไม เชื้อเพลิง น้ำ
(ประปา,ชลประทาน)
ทรัพยากรทางพันธุกรรม
และยา
Nonuse values: เชน การ
ดำรงอยูของสรรพสิ่ง การรักษา
สายพันธุพืช-สัตว ความหลาก
หลายทางชีวภาพ มรดกทาง
วัฒนธรรม
มูลคาจากการ
ไมนำมาใช
โดยออม: เชน การปองกันรังสี
ยูวีบี เปนที่อยูอาศัยของสรรพ
ชีวิตการควบคุมอุทกภัยและ
มลพิษ การปองกันการกัด
เซาะดิน
โดยตรง: เชน การนันทนาการ
การขนสง ความสวยงามของ
ธรรมชาติ, การดูนก
ภาพที่ 4 การเชื่อมโยงระหวางโครงสรางและการ
ทำงานของระบบนิเวศบริการ นโยบาย
และมูลคาของระบบนิเวศ
ที่มา : Constanza, et al. (1997)
ระบบนิเวศ มูลคาพันลานเหรียญสหรัฐ
ชายฝง
ปาเขตรอน
ปาเขตอบอุน
ทุงหญา
ปาชายเลน
พื้นที่ชุมน้ำ
ทะเลสาบ
พื้นที่เกษตรกรรม
รวม
มหาสมุทร 8,318,000
12,568,000
3.813,000
894,000
906,000
1,648,000
3,231,000
1,700,000
128,000
33,268,000
12Protected Area Sustainability
13
การดำเนินการ
แนวทางการดำเนินการโครงการ
คาแทนคุณระบบนิเวศในระบบนิเวศ
การดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศโดยการ
วางแผนใหชุมชนในชนบทเปนหัวใจของแผนการ
ตอบแทนคุณระบบนิเวศทำใหรูสึกวา คาแทนคุณ
ระบบนิเวศเปนเครื่องมือการจัดการระบบนิเวศโดย
เฉพาะที่ใชในการแกไขความลมเหลวของการจัดการ
ความหลากหลายทางชีวภาพและผลกระทบเชิงลบใน
ระบบนิเวศ วัตถุประสงคของคาแทนคุณระบบนิเวศ
ประกอบดวยการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน
ผานการรูถึงคุณคาและบุญคุณของความหลากหลาย
ทางชีวภาพและระบบนิเวศที่มีตอมนุษยชาติความพยายาม
ของการพัฒนาคาแทนคุณระบบนิเวศนั้น ทายที่สุดก็
จะตองระมัดระวังในเรื่อง trade-offs คือ การที่จะตอง
เลือกเอาทางใดทางหนึ่ง เนื่องจากโครงการอนุรักษที่
สนับสนุนการสงมอบบริการของระบบนิเวศที่ตองการ
นั้นอาจขัดแยงกับการใหบริการของระบบนิเวศรูปแบบ
อื่นๆ หรืออาจเปนอุปสรรคตอกิจกรรมการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศดานอื่นๆได
ดังนั้น สิ่งสำคัญที่จะตองพิจารณาการใชงาน
คาแทนคุณระบบนิเวศไมเพียงแตใชเปนการสรางแรง
จูงใจเพื่อการอนุรักษเทานั้น แตตองมีกิจกรรมมากกวา
การสรางแรงจูงใจใหเกิดการใชประโยชนระบบนิเวศ
ใหเกิดความยั่งยืนเหนือสิ่งอื่นใด คาแทนคุณระบบนิเวศ
ควรจะนำมาใชเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอยางยั่งยืนใน
ชุมชนชนบทมากยิ่งขึ้น อีกนัยหนึ่งชุมชนที่อาศัยอยู
ในพื้นที่ที่ถูกกำหนดใหเปนแหลงบริการของระบบ
นิเวศควรที่จะนำเอาคาแทนคุณระบบนิเวศเขามา
ประยุกตใชในการพัฒนาชุมชน การวางชุมชนในชนบท
ใหเปนหัวใจของแผนการคาแทนคุณระบบนิเวศ และ
เหตุผลที่สำคัญที่สุด คือ การชำระเงินสำหรับบริการ
ของระบบนิเวศภายใตแนวคิดของวิถีชุมชนและการ
จัดการเชิงระบบนิเวศจะตองสามารถชวยใหบรรลุ
วัตถุประสงคของการอนุรักษและการทำมาหากิน
ของชุมชนรวมกับการชำระเงินคาแทนคุณระบบนิเวศ
ดังกลาว จึงควรกระจายลงไปในลักษณะที่เปนสิ่งจูงใจ
ทั้งเพื่อการอนุรักษระบบนิเวศและการพัฒนาชนบท
ในมุมมองการพัฒนาชนบทอาจจะมีความเหมาะสม
ที่จะพิจารณาวาระบบคาแทนคุณระบบนิเวศเปน
วิธีการใหรางวัลแกผูที่รักษาระบบธรรมชาติ ซึ่งวิถีชีวิต
ของชุมชนชนบทหรือในเมืองสมัยใหมยังตองพึ่งพา
อาศัยอยู การดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปน
การเชื่อมโยงไปถึงการตีมูลคาของความหลากหลาย
ทางชีวภาพที่มีอยูในพื้นที่ของชนบทที่ผูบริโภคในเมือง
สามารถใชสรางความรื่นรมยใหแกชีวิตไดเมื่อตองการ
นอกจากนี้ การวางแผนเพื่อการแทนคุณระบบนิเวศ
จะตองมีแผนการระดับทองถิ่นที่เกี่ยวของกับคาแทนคุณ
ระบบนิเวศในเกือบทุกกรณีของคาแทนคุณระบบนิเวศ
โดยผูที่ไดรับผลประโยชนและผูทำใหเกิดบริการของ
ระบบนิเวศมักจะอยูในพื้นที่เดียวกัน แมวาจะเปน
เรื่องยากที่จะปรับขนาดพื้นที่ทางนิเวศวิทยาและ
ขนาดพื้นที่ของการบริหารจัดการใหสอดคลองกันแต
ก็ยอมรับกันวาพื้นที่ลุมน้ำ (Watersheds) เปนตัวแทน
ของหนวยที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโครงการ
คาแทนคุณระบบนิเวศ ดังนั้น จึงนับเปนจุดเริ่มตนที่ดี
สำหรับการคิดเกี่ยวกับการดำเนินการใชคาแทนคุณ
ระบบนิเวศในพื้นที่ลุมน้ำเปนหลัก
14Protected Area Sustainability
15
สำหรับแผนการระดับนานาชาติที่เกี่ยวของกับ
คาแทนคุณระบบนิเวศนั้น คาแทนคุณระบบนิเวศได
ขยายขอบเขตที่เกินกวาแผนในระดับลุมน้ำ กลไกการ
พัฒนาที่สะอาด (CleaningDevelopmentMechanism)
ภายใตพิธีสารเกียวโตและโครงการ REDD (Reducing
Emissions From Deforestation and Degradation)
และ REDD plus เปนตัวอยางของโครงการคาแทนคุณ
ระบบนิเวศระดับนานาชาติอยางแทจริง โดยโครงการ
คารบอนในประเทศที่กำลังพัฒนาจะไดรับเงินจาก
ประเทศพัฒนาที่เปนผูกอมลพิษ ในขณะที่โครงการ
กลไกการพัฒนาที่สะอาด ไดรับคำวิพากษอยางนาสนใจ
นั้นก็มีความหวังวาจะเปนแนวคิดพื้นฐานที่เปนชองทาง
ที่นำไปสูการลงทุนที่ยั่งยืน โดยเสริมพลังความมุงมั่น
ผานระบบคาแทนคุณระบบนิเวศระหวางประเทศ
ซึ่งสามารถทำใหเกิดความเขาใจไดในสองระดับที่
แตกตางกันขึ้นอยูกับวาเรากำลังพิจารณาวาบริการของ
ระบบนิเวศที่มีความสำคัญในระดับโลก เชน การจัดหา
ขอมูลทางพันธุกรรม การควบคุมสภาพภูมิอากาศหรือ
บริการของระบบนิเวศที่มีผลกระทบมากกวาในระดับ
ภูมิภาค เชน การปองกันลุมน้ำ แนวปองกันพายุ การนำ
เอาทั้งสองระดับความสำคัญเขามาบูรณาการอยูในกรอบ
คาแทนคุณระบบนิเวศเดียวกันยอมหลีกเลียงไมไดที่
จะตองใชวิธีการแบบบูรณาการ เมื่อการเปลี่ยนแปลง
สภาพภูมิอากาศมีผลในการเพิ่มจิตสำนึกในระดับตนๆ
ของสาธารณชนทั่วโลกมากขึ้นอยางตอเนื่อง จึงเปน
โอกาสอันดีในการสรางแรงผลักดันใหมทั้งเพื่อทำให
เกิดการอนุรักษและเสริมความพยายามในการพัฒนา
ที่ยั่งยืน ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในการกักเก็บคารบอน
และการอนุรักษคารบอนที่เก็บกักโดยธรรมชาติใน
โครงการ REDD+ สามารถนำมาใชเปนกาวที่สำคัญ
ในการดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศ
ในระดับสากล (InternationalPaymentforEcosystem
Services) ดวยการจัดตั้งตลาดสำหรับการปลอย
กาซคารบอนยอมมีเหตุผลที่ทำใหเชื่อไดวาวาระเรื่อง
การกักเก็บคารบอนอาจจะกลายเปนแหลงสำคัญของ
เงินทุนเพื่อการอนุรักษระบบนิเวศ อยางไรก็ตามความเชื่อ
ดังกลาวขึ้นอยูกับความสามารถของประชาคมระหวาง
ประเทศที่ทำใหบรรลุถึงฉันทามติเกี่ยวกับ วิธีการลด
ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทำลายปา
และความเสื่อมโทรมของปาในโครงการ REDD+
ปจจุบันมีประเทศตางๆ ใหความสนใจเรื่องคาแทนคุณ
ระบบนิเวศมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมประเทศลาตินอเมริกา
และกลุมประเทศแคริบเบียนมีการทดลองใชวิธีนี้เพื่อ
ทดสอบศักยภาพการจัดการทรัพยากรน้ำในลุมน้ำผาน
กลไกตลาด ซึ่งมีการจายคาชดเชยใหกับเจาของที่ดิน
ดานตนน้ำเพื่อคงไวหรือปรับปรุงรูปแบบการใชที่ดิน
เพื่อประโยชนดานสิ่งแวดลอมที่คำนึงถึงผูใชทายน้ำดวย
คอสตาริกาเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาระบบ
คาแทนคุณระบบนิเวศมาอยางยาวนานกวาศตวรรษ
สำหรับประเทศในกลุมอาเซียนที่จะรวมตัวเปน
ประชาคมอาเซียนในเร็ววันนี้ กำลังเผชิญกับปญหาการ
พัฒนาดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และการขยายตัว
ของประชากร ซึ่งสงผลใหระบบนิเวศถูกทำลายอยางมาก
และมีกระแสการตื่นตัวดานการอนุรักษอยางกวางขวาง
องคกรระหวางประเทศหลายองคกรไดรวมกันจัด
ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง คาแทนคุณระบบนิเวศ
เพื่อใหเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนประสบการณและ
แนวคิดเกี่ยวกับการริเริ่มดำเนินงาน เรื่อง คาแทนคุณ
ระบบนิเวศ ในกลุมประเทศภูมิภาคเอเชียแปซิฟก
โดยมีผูเขารวมการประชุมซึ่งเปนผูแทนจากประเทศ
ตางๆ ในภูมิภาคเอเชีย ไดแก อินโดนีเซีย อินเดีย
ศรีลังกา เนปาล ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว กัมพูชา
บทเรียนการดำเนินโครงการคาแทนคุณ
ระบบนิเวศลุมน้ำในประเทศตางๆ
16Protected Area Sustainability
บรูไน ฟจิ คาซัคสถาน และไทย การประชุมมี
วัตถุประสงค เพื่อรายงานความกาวหนาการดำเนินงาน
เรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศของประเทศในภูมิภาค
และรวมสรุปบทเรียนวิเคราะหประเด็นทาทายในการ
ประเมินความตองการดานเทคนิควิชาการ การพัฒนา
ศักยภาพขององคกรกลไก รวมทั้งการสรางเครือขาย
คาแทนคุณระบบนิเวศในภูมิภาคและการจัดทำแผน
ปฏิบัติการเพื่อผลักดันการดำเนินการเรื่องคาแทนคุณ
ระบบนิเวศอยางตอเนื่องในประเทศตางๆ ในการประชุม
ครั้งนั้นหลายประเทศไดนำเสนอบทเรียนจากการริเริ่ม
ดำเนินงานเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศในประเทศตางๆ
ไดแก
ประเทศเวียดนาม
เวียดนามมีการออกกฎหมายวาดวยความหลากหลาย
ทางชีวภาพซึ่งบังคับใชเมื่อเดือน กรกฎาคม 2552
กำหนดใหมีการจายคาบริการที่ไดจากทรัพยากรชีวภาพ
และระบบนิเวศ มีโครงการนำรองในกิจการโรงไฟฟา
พลังน้ำและธุรกิจทองเที่ยวซึ่งทำสัญญาจายคาดูแล
รักษาระบบนิเวศ จำนวน 2.7 ลานเหรียญตอปใหกับ
ชุมชนจำนวน 2,700 ครัวเรือนและอยูระหวางการจัดทำ
แผนธุรกิจอีก 2 โครงการ วงเงิน 15 ลานเหรียญสหรัฐ
โดยรัฐบาลกลางและองคกรสวนทองถิ่นรวมกันบริหาร
จัดการและจัดสรรรายไดใหกับชุมชน
โครงการนำรองที่จังหวัดแลมดอง (Lam Dong)
เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกำหนดเปาหมายการเพิ่มพื้นที่
ปลูกปาจาก 12.7 ลานเฮกตารในป 2008 เปน 16
ลานเฮกตารในป 2020 แตประสบปญหางบประมาณ
ดังนั้น โครงการคาแทนคุณระบบนิเวศจะเปดโอกาส
ใหภาคเอกชนสนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงานการ
จายคาตอบแทนเปนลักษณะการจายตรง โดยชาวบาน
จะไดรับเงินรอยละ 80 องคกรปกครองสวนทองถิ่น
ไดรับรอยละ 20 ของมูลคาที่กำหนดไวในสัญญา
โครงการโรงไฟฟาพลังน้ำดานิมห (Danhim)
เวียดนามไดทำการประเมินมูลคาการใหบริการเชิงนิเวศ
ของปาไม โดยใชแบบจำลองจากการศึกษาของ
มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประเทศไทย ในเบื้องตนพบวา
การอนุรักษปาตนน้ำชวยลดคาใชจายในการกำจัด
ตะกอน (2.45 ลานเหรียญสหรัฐตอป) และตนทุน
ปริมาณน้ำที่ใชในระบบ (1.06 ลานเหรียญสหรัฐตอป)
ปริมาณการสูญเสียหนาดินลดลง 4 เทา และอายุของ
โรงไฟฟาพลังน้ำดานิมห จะลดลงรอยละ 50 (30 ป)
หากไมมีปาตนน้ำ ขอสรุปจากการดำเนินโครงการ
พบวา การประเมินมูลคาการใหบริการเชิงนิเวศของ
ปาตนน้ำยังมีขอจำกัด แตถือเปนการสรางเครื่องมือ
เชิงประจักษที่ทำใหสาธารณชนผูประกอบการ และ
ผูกำหนดนโยบายมีความเขาใจที่ตรงกัน
ประเทศอินโดนีเซีย
การดำเนินงานเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศใน
อินโดนีเซียถือเปนเครื่องมือแบบสมัครใจในการจายคา
บริการของระบบนิเวศระหวางผูไดรับประโยชน และ
ชุมชนที่ทำหนาที่อนุรักษ (Provider) โดยประเทศ
อินโดนีเซียมีการดำเนินงานหลายรูปแบบ เชน การ
จัดการปาชุมชน การจายคาบริการใหชุมชนที่ดูแล
อนุรักษพื้นที่ตนน้ำ การจายคาชดเชยใหเกษตรกรที่
ปรับเปลี่ยนจากพืชเชิงเดี่ยวมาเปนเกษตรอินทรีย
การสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การพัฒนาระบบ
เกษตรบนพื้นที่สูง การพัฒนาตลาดซื้อขายคารบอน
แบบสมัครใจ เปนตน
17
โครงการ RUPES(RewardsforUseandShared
Investment in Pro-Poor Environmental Services)
เปนโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที่สำคัญใน
ประเทศอินโดนีเซีย มีหลักเกณฑการใหรางวัลสำหรับ
การใหบริการของระบบนิเวศที่คำนึงถึงคนจนเปนหลัก
ตัวอยางโครงการ เชน การอนุรักษตนยางปา เพื่อการ
อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว
โดยรัฐใหโรงงานและบริษัทผลิตยางรถยนตเปนผูให
รางวัลซึ่งมีผลทำใหการตัดไมลดลง นอกจากนี้ยังมี
โครงการคาแทนคุณระบบนิเวศลุมน้ำมอนตาลา
(Montala Basin) เปนหนึ่งในโครงการนำรองคาแทนคุณ
ระบบนิเวศของประเทศอินโดนีเซียโครงการไดจัดทำ
ขอตกลงรวมระหวางการประปาทองถิ่น กับชุมชน
ที่อยูอาศัยในเขตพื้นที่ตนน้ำมอนตาลา โดยบริษัทจะ
จัดสรรกำไรสุทธิประมาณรอยละ 1 เพื่อใหชุมชนใช
ในกิจกรรมอนุรักษปาตนน้ำ เชน การตรวจเฝายาม
ปองกันการลักลอบตัดไมทำลายปาและการอบรมให
กับประชาชน โครงการมีระยะเวลาดำเนินงาน 3 ป
ผลประโยชนที่บริษัทคาดวาจะไดรับคือการควบคุม
ปริมาณน้ำและการผลิตพลังงานไฟฟาขนาดเล็กรวม
ทั้งชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น
ประเทศกัมพูชาอยูระหวางการเริ่มดำเนินงาน
แตมีปญหาการจัดการเรื่องความไมชัดเจนของ
กรรมสิทธิ์ในทรัพยากร การคิดคำนวณมูลคาทาง
เศรษฐกิจของการใหบริการของระบบนิเวศ การหา
ตลาดผูซื้อ และคาใชจายในการบริหารจัดการ ใน
ประเทศลาวไดริเริ่มโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศ
ในโครงการอนุรักษแนวเชื่อมตอความหลากหลาย
ทางชีวภาพในอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง (GMS-BCI) สวนใน
ประเทศพมาก็มีการริเริ่มในโครงการอนุรักษปาไม
บางโครงการ เชน การจัดการพื้นที่คุมครองขาม
พรมแดนกับประเทศไทยจะมีโครงการคาตอบแทนคุณ
ดำเนินการอยูดวย
18Protected Area Sustainability
PES book
PES book
PES book
PES book
PES book
PES book
PES book
PES book

More Related Content

What's hot

การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...Suradet Sriangkoon
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTUNDP
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1Mameaw Pawa
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1yah2527
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacityyah2527
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยwittawat_name
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3Arisa Srising
 
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพงานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพSujanya Inchana
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานBest Naklai
 
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงคำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงเกม เกม
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์Srinthip Chaiya
 
THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642Jainn JNz
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราIam Champooh
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoonSuradet Sriangkoon
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน Ningnoi Ohlunla
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelSircom Smarnbua
 

What's hot (20)

การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร  - Suradet...
การบริหารจัดการความเสี่ยงคือการ่วมด้วย และช่วยกันของทุกๆคนในองค์กร - Suradet...
 
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
การเมืองก...Pptx กลุ่ม 2
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
 
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
บทนมัสการมาตาปิตุคุณ1
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
โครงงานIs3
โครงงานIs3โครงงานIs3
โครงงานIs3
 
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพงานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
งานนำเสนอ รร ส่งเสริมสุขภาพ
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริงคำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
คำมูล คำประสมปี55ใช้สอนจริง
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642THESIS-BOOK5105642
THESIS-BOOK5105642
 
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการ จิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon3 P for Quality and Happy v.2   suradet sriangkoon
3 P for Quality and Happy v.2 suradet sriangkoon
 
มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน มลพิษทางดิน
มลพิษทางดิน
 
โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5          โครงงาน1 - 5
โครงงาน1 - 5
 
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs modelแนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model
 

Viewers also liked

การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยUNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศUNDP
 

Viewers also liked (19)

การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 

Similar to PES book

นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Areayah2527
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยUNDP
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติUNDP
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตyah2527
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54sciencefaiiz011132
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ UNDP
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrctrattapol
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกWichai Likitponrak
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติyah2527
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 

Similar to PES book (20)

นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Area
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
Heritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54scienceHeritage ok 05-01-54science
Heritage ok 05-01-54science
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
04
0404
04
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
Kick off nrct
Kick off nrctKick off nrct
Kick off nrct
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 

More from UNDP (16)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 

PES book

  • 1.
  • 2. การแทนคุณระบบนิเวศ ที่ปรึกษา ธัญญา เนติธรรมกุล อธิบดีกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช Martin Hart-Hansen United Nations Development Programme สุธาริน คูณผล Programme Specialist – Team Leader/UNDP เรื่อง ทรงธรรม สุขสวาง ผูตรวจราชการกรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช รักษาราชการแทนผูอำนวยการสำนักอุทยานแหงชาติ ผูอำนวยการโครงการเรงเสริมความยั่งยืนของระบบ การจัดการพื้นที่คุมครอง (CATSPA) คณะทำงาน หทัยรัตน นุกูล คมกริช เศรษบุบผา ทวี หนูทอง กัญจนสุรีย ยิ้มสาลี มลวิภา ณ นรงค อรญา รอดขวัญ วิไลวรรณ แสนภักดี วรรณพร ภารสงัด จิตวดี ขุนวงษา สุปราณี กองทัพ ปรับปรุงจาก Journal of Thailand Protected Area Volume 1 Number 1 (January – December 2014)
  • 3.
  • 4.
  • 5. คำนำ ทิศทางของการจัดการพื้นที่คุมครองแนวใหมของประเทศไทย กำลังหาวิธีในการสรางความยั่งยืนทาง ดานการเงินใหกับพื้นที่คุมครอง และมีความคาดหวังใหประสบความสำเร็จในบริบทของเศรษฐกิจระดับประเทศ ที่กำลังเจริญเติบโต ซึ่งมีนโยบายหลายแบบเปนตัวผลักดันในการสรางแหลงเงินทุนแหลงใหมใหกับพื้นที่คุมครอง แตหลักการ “ผูสรางมลพิษเปนผูจาย” กลาวไววา ผูที่กอใหเกิดความเสียหายควรจายเงินสำหรับการซอมแซม ความเสียหายตางๆที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุมครอง โดยเฉพาะคาปรับซึ่งกำหนดโดยกฎหมายของพื้นที่คุมครองที่ เกี่ยวของนั้น ยังไมเพียงพอตอการเปนรายไดที่มีนัยสำคัญตอการจัดการพื้นที่คุมครอง และไมเพียงพอตอการ เปนเงื่อนไขที่ใชบังคับทางกฎหมายอยางเขมงวด อยางไรก็ตามในปจจุบันยังไมมีนโยบายใดที่เหมาะสมมากพอ ที่จะนำหลักการ “ผูสรางมลพิษเปนผูจาย” มาปฏิบัติใชกับการจัดการดานการเงินในพื้นที่คุมครอง แตหลักการ “ผูใชเปนผูจาย” นักอนุรักษหลายฝายไดเสนอวา กลุมคนที่ไดรับผลประโยชนจากพื้นที่ คุมครองควรเปนผูจายเงินเพื่อการจัดการพื้นที่คุมครองอยางยั่งยืน และหลักการนี้สามารถเรียกรองการจายเงิน จำนวนมากจากผูที่ไดรับผลประโยชนจากบริการของระบบนิเวศจากพื้นที่คุมครองได แตปจจัยทางการเมือง หลายประการอาจเปนอุปสรรคในการดำเนินการตามหลักการพื้นฐานดังกลาวนี้ และเปนปญหาที่เกิดขึ้นกับ พื้นที่คุมครองทุกแหงของโลก แนวคิดเรื่อง 'การแทนคุณระบบนิเวศ' ไดรับความสนใจอยางมากในวงการนักอนุรักษ และนักจัดการ ทรัพยากร ทั้งนี้เนื่องมาจากมันมีลักษณะของภาษาที่เปนเอกลักษณที่รวมเอาเรื่องของ เศรษฐกิจ ธุรกิจ และ สิ่งแวดลอมชุมชน มาผนวกเขาดวยกัน โดยสามารถระบุมูลคาของผลประโยชนจากบริการระบบนิเวศที่ไดรับได ในขณะที่ผูที่มีสวนไดเสียที่ไมเคยเกี่ยวของมากอน ก็ไดรับการยอมรับใหเขามีสวนรวมในการอนุรักษสภาพแวดลอม ดังนั้น หนังสือเลมนี้จะอธิบายเกี่ยวกับเรื่อง 'บริการของระบบนิเวศ หรือ Ecosystem services' และแนวทางการแทนคุณระบบนิเวศ ซึ่งเพิ่งจะเริ่มกันขึ้นเมื่อไมกี่ปมานี้ โดยไดมีการอภิปรายถกเถียงกัน ในประเด็นของการรักษาสิ่งแวดลอม โดยเฉพาะในเรื่อง “การประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem Assessment ,MEA)” เรื่องนี้เปนที่สนใจมากขึ้น และมีมุมมองที่หลากหลายในการที่จะทำให ระบบนิเวศ สภาพแวดลอมทางธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพสามารถค้ำจุนชีวิตมนุษยใหยั่งยืน มากยิ่งขึ้น ผูเขียนหวังวา แนวคิดเรื่อง คาแทนคุณระบบนิเวศในหนังสือเลมนี้ จะเปนประโยชนกับภาคสวนตางๆ โดยเฉพาะใหผูมีหนาที่กำหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ และภาคเอกชนที่กำลังรวมตัวกันในนามของ “ประชารัฐ”ซึ่งสามารถจะนำแนวคิดและบทเรียนจากการดำเนินงานของประเทศตางๆที่มีอยูในหนังสือเลมนี้ ไปใชในการสรางกลยุทธขับเคลื่อนทั้งการอนุรักษและจัดการเชิงธุรกิจในพื้นที่คุมครองของสำหรับประเทศไทย ในอนาคตไดชัดเจนขึ้น ดร.ทรงธรรม สุขสวาง ผูอำนวยการสำนักงานโครงการ CATSPA กProtected Area Sustainability
  • 6. สารบัญ หนา คำนำ ก สารบัญ ข สารบัญภาพ ค บทนำ 1 ความหมายของการจายคาแทนคุณระบบนิเวศ 2 แนวคิดของการจายคาแทนคุณระบบนิเวศ 4 หลักการคาแทนคุณระบบนิเวศ 7 กลไกการแทนคุณระบบนิเวศ 10 การประเมินมูลคาบริการของระบบนิเวศกับความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศ 11 แนวทางการดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศในระบบนิเวศ 14 บทเรียนการดำเนินโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศลุมน้ำในประเทศตางๆ 16 การดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศในประเทศไทย 20 สรุป 22 เอกสารและสิ่งอางอิง 23 สารบัญตาราง 1 การประเมินมูลคาระบบนิเวศของโลก 12 2 ตัวอยางโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที่เกี่ยวกับระบบนิเวศปาไม 19 และระบบนิเวศลุมน้ำในภูมิภาคตางๆ ของโลก ตารางที่ ข
  • 7. สารบัญภาพ 1 บริการนิเวศ (Ecosystem Service) จากพื้นที่ตนน้ำลำธารที่ใหบริการน้ำ 2 กับชุมชนและในเมือง พื้นที่ลุมน้ำตอนลาง 2 กรอบมโนทัศนการประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ 4 3 แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำ 8 (Basic watershed-based PES model) 4 การเชื่อมโยงระหวางโครงสรางและการทำงานของระบบนิเวศบริการ 12 นโยบายและมูลคาของระบบนิเวศ 5 บริการของระบบนิเวศลุมน้ำดานทรัพยากรน้ำ 21 หนาภาพที่ คProtected Area Sustainability
  • 8. ระบบนิเวศตางๆเปนสวนที่เกี่ยวของกับสิ่งมีชีวิต บนโลกนี้ เชื่อกันวาระบบนิเวศสามารถทำหนาที่ ของระบบไดเองและมีบทบาทในการพัฒนาและ รักษาองคประกอบของสังคมมนุษย ความอุดมสมบูรณ ของระบบนิเวศจะอำนวยความผาสุกพื้นฐานของสังคม เชน การที่มีน้ำสะอาดและเพียงพอทั้งในระดับปริมาณ และคุณภาพใหแกมนุษย ระบบนิเวศมีสวนสำคัญที่ ทำใหมนุษย และความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตดำรง ชีวิตอยูไดอยางมีความสุข สาเหตุที่ทำใหบริการของ ระบบนิเวศลดลงเกิดจากปจจัยที่เกี่ยวของ คือ มนุษย มีความตองการปจจัยสี่และใชทรัพยากรธรรมชาติ เพิ่มมากขึ้น เชน ตองการเนื้อไมสรางบาน ตองการ น้ำเพื่ออุปโภคบริโภค ตองการอาหารและเชื้อเพลิง เพื่อดำรงชีพ เปนตน ความตองการดังกลาวของมนุษย ทำใหเกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศและการ สูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ นอกจากนี้การ เปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศจะมีผลกระทบกับการ พัฒนาดานเศรษฐกิจและสังคม การดำรงชีวิตของมนุษย การลดลงของระบบนิเวศนำไปสูการขาดบริการทาง ระบบนิเวศสงผลใหประชากรโลกมีความอดอยาก มากขึ้น มีความเสี่ยงตอการดำรงชีวิตที่ตองอาศัย การบริการของระบบนิเวศ ถาหากมนุษยเรายังมีการ ใชทรัพยากรธรรมชาติและระบบนิเวศที่อาศัยอยูอยาง ไมฉลาด ผลกระทบก็จะเกิดขึ้นกับมนุษยเองหรือ ความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม เชน ปญหาภัยแลง น้ำทวม แผนดินถลม ซึ่งจะทำใหเกิดปญหาความ ขัดแยงในสังคมตามมาแนนอน ดังนั้น ในอนาคตประเทศไทยตองนำเอา หลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศหรือ Payments for Ecosystem Services (PES) มาใชในการจัดการ ระบบนิเวศ เพื่อเปนแนวทางที่จะพัฒนาการหามูลคา ทางเศรษฐกิจของระบบนิเวศของประเทศ ซึ่งจะมี ผลตอการสรางรายไดของประเทศและชุมชนที่มี หนาที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติโดยเฉพาะใน พื้นที่คุมครองที่กำหนดใหเปนอุทยานแหงชาติหรือ เขตรักษาพันธุสัตวปา เพื่อเปนเครื่องมือหนึ่งในการ จัดการพื้นที่อนุรักษของประเทศ อันจะเปนบทเรียน พื้นฐานในการกำหนดแนวทางและมาตรการที่จะเรงเสริม ใหมีการจัดการและการใชประโยชนระบบนิเวศที่ยั่งยืน การแทนคุณระบบนิเวศ บทนำ เหตุผลความจำเปนในการจัดการ คาแทนคุณระบบนิเวศ เรามีความจำเปนตองจายเงินคาตอบแทนคุณ ระบบนิเวศ เพื่อที่จะหยุดยั้งการลดลงและความ เสียหายของระบบนิเวศตลอดจนดูแลรักษาการ บริการของระบบนิเวศ รัฐบาลของประเทศตางๆ ได ดำเนินการการสนับสนุนนโยบายขององคการ สหประชาชาติวาดวยการใชประโยชนสิ่งแวดลอม อยางยั่งยืน โดยกำหนดแผนยุทธศาสตรการพัฒนา โครงการการปองกันการลดลงหรือการสูญหายของ ทรัพยากรสิ่งแวดลอม ทำการปรับปรุงกระบวนการ จัดการที่ถูกตอง เชน โครงการปรับปรุงและดูแลรักษา แหลงน้ำที่สะอาดใหแกประชาชน ซึ่งประกอบไปดวย หลักสองประการ คือ มาตรการในการควบคุมดูแล รักษาแหลงน้ำและการใชแหลงน้ำเพื่อประโยชน ทางเศรษฐกิจ 1
  • 9. ความหมายของการจายคาแทนคุณ ระบบนิเวศ อยางไรก็ดีวิธีการปองกันความเสียหายของสิ่งแวดลอม สามารถกระทำไดโดยการออกกฎหมายหรือกฎขอบังคับ หรือมีการสรางระเบียบที่เขมงวด มีคำสั่งหรือนโยบาย การควบคุมที่มีประสิทธิภาพ เชน การควบคุมน้ำเสีย จากแหลงตนน้ำลำธาร หรือการสรางโรงงานบำบัด น้ำเสียที่ทำใหน้ำเสียลดนอยลง แตก็ยังมีน้ำที่มีมลพิษ เกิดขึ้นจากผูที่อาศัยอยูตามแหลงตนน้ำ เชน น้ำที่เกิด จากการเลี้ยงปศุสัตวและการเกษตร ซึ่งผูใชน้ำที่อาศัย อยูปลายน้ำจะไดรับน้ำที่ไมสะอาดเพื่อการบริโภคดวย จึงจำเปนตองออกกฎหมายควบคุม ดังนั้น การจัดการระบบนิเวศ เพื่อใหมีการบริการ ที่ดีจำเปนตองใชกลไกทางเศรษฐศาสตรเพื่อนำไปสู กระบวนการคาแทนคุณระบบนิเวศ เปนการสนับสนุน การอนุรักษอยางยั่งยืน หลักการใชคาแทนคุณระบบ นิเวศเปนวิธีการที่ไดนำมาใชในหลายประเทศทั้งระดับ ทองถิ่น ภูมิภาค หรือระดับชาติ โดยมีการกำหนดราคา ของระบบนิเวศและมีการจัดสรรคาตอบแทนใหแก ชุมชนหรือผูใชประโยชนทางเศรษฐกิจจากที่ดินที่อาศัย อยูในพื้นที่ที่มีการดูแลระบบนิเวศนั้นๆ ระบบนิเวศประกอบดวยสวนที่ผูไดรับผลประโยชน ซึ่งอาศัยอยูภายนอกจะเปนผูจายคาแทนคุณระบบนิเวศ ใหกับชุมชนซึ่งอาศัยอยูภายในระบบนิเวศชวยสนับสนุน ดูแลและรักษาระบบนิเวศนั้นๆ ทั้งสองเปรียบเสมือน สะพานเชื่อมตอกันจากการที่ไดรับผลประโยชนทั้ง สองกลุมซึ่งจะเรียกวาผูขาย (Sellers) และผูซื้อ (Buyers) ยกตัวอยาง การบริการของระบบนิเวศในเรื่องการใชน้ำ เชน การดำเนินการของชุมชนในพื้นที่ตนน้ำจะเปน ผูขายบริการ และประชาชนที่อยูปลายน้ำและที่ใช ประโยชนจากน้ำที่มาจากพื้นที่ตนน้ำ จะเปนผูซื้อ บริการ ซึ่งการดำเนินการดังกลาวนี้สามารถที่จะนำ ไปใชในโครงการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติแบบอื่นๆ ไดดวย ภาพที่ 1 บริการนิเวศ (Ecosystem Service) จากพื้นที่ตนน้ำลำธารที่ใหบริการน้ำกับ ชุมชนและในเมือง พื้นที่ลุมน้ำตอนลาง มีผูใหความหมายของคำวา Payment for Ecosystem Services (PES) ในบริบทของภาษาไทย หลายความหมาย เชน คาใชจายในการรับบริการจาก ระบบนิเวศ คาบริการระบบนิเวศ คาตอบแทนคุณ ระบบนิเวศ คาแทนคุณระบบนิเวศ แตในหนังสือ เลมนี้ขอใชคำวา “คาแทนคุณระบบนิเวศ” เนื่องจาก คาแทนคุณระบบนิเวศยังเปนแนวคิดใหมสำหรับ ประเทศไทย คำนิยามที่กำหนดขึ้นอาจมีความแตกตาง กันอยูบาง เชน European Environmental Agency ใหคำจำกัดความวา คาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การจัดสรรเงินคาตอบแทนใหกับชุมชนหรือผูที่ดูแล รักษาทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อเปนหลักประกัน ความยั่งยืนของการบริการของระบบนิเวศ เปนตน 2Protected Area Sustainability
  • 10. อยางไรก็ดี การจายคาแทนคุณของระบบนิเวศ ไดเริ่มมีการพูดคุยกันในเรื่องบริการของระบบนิเวศ เมื่อไมกี่ปมานี้เมื่อมีการอภิปรายกันในประเด็น ของการรักษาสิ่งแวดลอม การศึกษาในเรื่องการประเมิน ระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem Assessment , MEA) ที่เพิ่งเสร็จสิ้น ทำใหหัวขอนี้ เปนที่สนใจมากขึ้นและมีมุมมองที่หลากหลายในการ ที่จะทำใหสภาพแวดลอมทางธรรมชาติสามารถ ค้ำจุนชีวิตมนุษยใหยั่งยืนมากยิ่งขึ้น ตัวอยางของ มุมมองเรื่องบริการของระบบนิเวศก็คือการเปน ทรัพยากรพันธุกรรมสำหรับการแพทย (genetic resources for medicine) และเทคโนโลยีชีวภาพ (biotechnology) การผสมเกสรพืช (plant pollination) การกักเก็บคารบอน (carbon sequestration) และการพัฒนารูปแบบของดิน (soil formation) จะเห็นไดวาความหลากหลายทาง ชีวภาพซึ่งเปนสวนหนึ่งของการทำงานแบบบูรณาการ ของระบบนิเวศถือเปนบทบาทพื้นฐานสำคัญที่ระบบนิเวศ ธรรมชาติสงมอบบริการใหกับโลกมนุษย คำนิยาม ของบริการของระบบนิเวศที่ยอมรับกันทั่วไป คือ การพิจารณาใหการบริการระบบนิเวศเปนกระบวนการ ทางธรรมชาติโดยตระหนักอยูเสมอวาระบบนิเวศที่มี องคประกอบของพืชและสัตว ทำใหเกิดระบบที่ชวย รักษาและเติมเต็มใหกับชีวิตมนุษย (Daily et al, 1997) อีกนิยามที่ยอมรับทั่วไปก็คือ นิยามที่ใชในการ ประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ (Millennium Ecosystem Assessment, MEA, 2005) กลาววา ซึ่งเปนผลประโยชนที่ประชาชนไดรับจากระบบนิเวศ โดย MEA ไดจำแนกระบบนิเวศลงไปถึงบริการใน ดานการจัดเตรียม (provisioning) การควบคุม (regulating) การสนับสนุน (supporting) หรือ บริการทางวัฒนธรรม (cultural services) (ภาพที่ 2) MEA ไดรายงานวา 60-70 เปอรเซ็นต ของบริการของระบบนิเวศของโลกเรากำลังลดนอย ถอยลง และผลกระทบที่ตามมาก็ทวีความรุนแรง มากขึ้นโดยเฉพาะกับผูคนสวนใหญที่ขึ้นอยูกับการ พึ่งพาธรรมชาติโดยตรง (steady provision) เชน การดำรงชีวิตของเกษตรกร ดวยหลักการของ MEA แนวคิดเรื่องบริการของระบบนิเวศจึงถูกนำมาใชเพื่อ เนนความสัมพันธระหวางบริการของระบบนิเวศและ ความเปนอยูที่ดีของมนุษยระหวางสวัสดิการของ มนุษยและความมั่นคงในชีวิต เนื่องจากคาแทนคุณระบบนิเวศ หมายถึง การ จัดสรรเงินคาตอบแทนหรือเงินทุนใหกับชุมชนหรือ ผูที่ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่เพื่อเปน หลักประกันความยั่งยืนของระบบนิเวศ และประโยชน หรือบริการที่มนุษยไดรับจากระบบนิเวศเปนมูลคาที่ เกิดจากการใชประโยชนทั้งทางตรงและทางออมที่ แสดงใหเห็นถึงความสำคัญของระบบนิเวศกับ สวัสดิภาพและความเปนอยูของมนุษย การจายคาแทนคุณระบบนิเวศใหแกชุมชนหรือ ผูดูแลรักษาระบบนิเวศเปนเครื่องมือในการสนับสนุน ใหมีการอนุรักษระบบนิเวศที่มุงไปสูการพัฒนาที่มี ความมั่นคงทางดานการอยูดีกินดีของมนุษยเพื่อ รักษาสมดุลของระบบนิเวศ เชน การอนุรักษความ หลากหลายทางชีวภาพ การควบคุมปริมาณและ คุณภาพน้ำในพื้นที่ตนน้ำลำธารและการลดผลกระทบ จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 3
  • 11. ภาพที่ 2 กรอบมโนทัศนการประเมินระบบนิเวศแหงสหัสวรรษ ที่มา : http://cmsdata.iucn.org/downloads/a_gateway_to_pes_d_huberman.pdf (2008) แนวคิดของการจายคาแทนคุณ ระบบนิเวศ ในโลกของการจัดการพื้นที่คุมครองแนวใหม เชื่อวาคาแทนคุณระบบนิเวศจะเปนเครื่องมือและ นวัตกรรมใหมในการอนุรักษ แตก็ยังคงไมมีฉันทามติ ที่ชัดเจนในความหมายที่แนนอน อยางไรก็ตามมีการ ยอมรับรวมกันอยางหนึ่งที่นำเสนอโดย Wunder (2005) โดยเขาไดเสนอรูปแบบที่แพรหลายมากที่สุด และเขาใจไดงายของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การ ทำธุรกรรมระหวางผูใชน้ำที่อยูในพื้นที่ตอนลางของ ลุมน้ำ (downstream water users) และผูที่อยู ตนน้ำ (upstream landowners) เพื่อรักษาความ มั่นคงและความปลอดภัยของผลประโยชนที่เกี่ยวของ กับน้ำในลุมน้ำที่มีการจัดการอยางยั่งยืน หรืออธิบาย ไดวา การจายเงินใหกับผูดูแลระบบนิเวศหรือผูขาย บริการเพื่อรักษาความมั่นคงของระบบนิเวศ โดยความสมัครใจ จะตองสอดคลองกับการดำรงอยู ของระบบนิเวศเพื่อประโยชนของผูซื้อโดยสมัครใจ เชนกัน นอกจากนี้แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศ (PES model) ไดรับการประยุกตใชในวงกวางมากขึ้น ไดแกโครงการกักเก็บคารบอน(Carbonsequestration projects) ที่ผานกลไกการพัฒนาที่สะอาด (Clean Development Mechanism : CDM) ในพิธี สารเกียวโต กิจกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาดานชีวภาพ (Bioprospecting deal) และแมกระทั่งคาเขาชม อุทยานแหงชาติทุกคนก็ไดรับการติดปายคาแทนคุณ ระบบนิเวศ (tagged with a PES label) การรับรู อยางกวางขวางเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศวาเปน ทั้งนวัตกรรมและเครื่องมือสรางนโยบายที่สำคัญยิ่ง ความสำเร็จของคาแทนคุณระบบนิเวศสวนใหญขึ้นอยู กับความสามารถในการทำงานรวมกันของทุกภาคสวน เชน การบูรณาการความรวมมืออยางยั่งยืนขององคกร 4Protected Area Sustainability
  • 12. 5
  • 13. ตางๆ ในการจัดการระบบนิเวศในทุกระดับ ถือวา เปนงานที่สำคัญยิ่งสำหรับการดำเนินงานดานการ จัดการคาแทนคุณระบบนิเวศ โดยเฉพาะการจัดการ ระบบนิเวศลุมน้ำมโนทัศนหรือแนวคิดเรื่องบริการ ของระบบนิเวศไดรับความสนใจอยางมากเนื่องจาก เปนภาษาที่เปนเอกลักษณที่รวมเอาเรื่องของเศรษฐกิจ ธุรกิจและสิ่งแวดลอมชุมชนมาผนวกเขาดวยกัน โดย สามารถระบุมูลคาของผลประโยชนจากบริการที่ไดรับได ในขณะที่ผูที่มีสวนไดเสียที่ไมเคยเกี่ยวของมากอน ไดรับการยอมรับใหเขามามีสวนรวมในการอนุรักษ สภาพแวดลอม ดังนั้น แนวคิดเรื่องบริการของระบบ นิเวศนี้จึงเปนโอกาสใหผูมีหนาที่กำหนดนโยบายทาง เศรษฐกิจของภาคราชการและภาคเอกชนสามารถ สรางกลยุทธขับเคลื่อนทั้งการอนุรักษและจัดการเชิง ธุรกิจสำหรับอนาคตไดชัดเจนมากขึ้น โดยภาคธุรกิจ จะเปนฝายสนับสนุนภาคราชการในการดำเนินการ จัดการบริการระบบนิเวศในอนาคต ในปจจุบันกลาวไดวา แนวคิดเรื่องการใหบริการ ระบบนิเวศเปนเสมือนหนึ่งตัวเชื่อมที่ชัดเจนระหวาง ความเปนอยูที่ดีของมนุษยหรือมิติดานเศรษฐศาสตร กับกระบวนการธรรมชาติหรือมิติดานนิเวศวิทยา แนวความคิดนี้นับวาเปนประโยชนอยางมากที่จะสื่อ ใหเห็นอยางงายๆ ถึงวิธีการอยูรวมกันระหวางผูใช ทรัพยากรกับนักอนุรักษทรัพยากร การพัฒนาภาษา ที่เขาใจรวมกัน คือคำวา “บริการของระบบนิเวศ” จะทำใหเกิดดุลยภาพระหวางกลุมผูมีสวนไดเสีย กลุมตางๆที่ไดรับประโยชนจากระบบนิเวศเหลานี้ กลาวโดยสรุปแลว การจัดการระบบนิเวศจะชวยทำให เกิดดุลภาพในมิติทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดลอม ดังนั้น การนำเสนอในสวนนี้เปนความพยายามที่จะ เนนถึง วิธีการ แนวคิดการพัฒนาที่ผานมาของเรื่อง บริการของระบบนิเวศเพื่อนำไปประยุกตใชกับงาน การจัดการระบบนิเวศใหกวางขวางขึ้น ชวงเวลา ที่ผานมาการใชภูมิทัศนเปนแนวคิดในการจัดการ บริการของระบบนิเวศ อาจมีปญหาในเรื่องขนาดของ พื้นที่ทางภูมิศาสตรที่จะนำมาประเมินมูลคาของการ บริการของระบบนิเวศ เนื่องจากมักจะมีความเห็นที่ ไมตรงกันระหวางสถาบันทางสังคมและกระบวนการ ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้น สิ่งที่ทาทายก็คือตองหาวิธีการ ที่ดีที่สุดที่สามารถเติมเต็มความตองการทั้งสองฝาย คือเรื่องขนาดของพื้นที่ตามลักษณะภูมิทัศนซึ่งกำหนด โดย IUCN ที่เชื่อมเอาเรื่องของวิถีชีวิตชุมชนเขากับ กลยุทธภูมิทัศน (IUCN’s Livelihoods and Landscape Strategy,LLS) ซึ่งนาจะเหมาะสมกับ การดำเนินการตามนโยบายในเรื่องการบริการของ ระบบนิเวศมากที่สุด การบูรณาการนำเรื่องทุนทาง ธรรมชาติเขามารวมกับเรื่องกระบวนการผลิตทาง เศรษฐกิจนาจะเปนวิธีการที่ดำเนินการไดดีที่สุด ซึ่งไมเพียงแตเกี่ยวของกับบริบทเฉพาะกระบวนการ ทางนิเวศวิทยาตามบริการของระบบนิเวศที่มีมูลคา เทานั้น แตยังคำนึงถึงมิติที่ทำใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ ของชุมชนอยางยั่งยืนผานการมีสวนรวมในวงกวางและ เสมอภาคดวย ดังนั้น การใชภูมิทัศนระบบนิเวศลุมน้ำ เปนแนวคิดในการจัดการบริการของระบบนิเวศที่ เกี่ยวของอยูกับการรวมกันของการบริหารจัดการ แบบบนลงลาง (top - down) ของการลงทุนที่มีการ ยอมรับทางวัฒนธรรมแบบลางขึ้นบน (bottom - up) จากการดำเนินนโยบายเปนสิ่งจำเปนที่ตองดำเนินการ ใหไดเพื่อนำไปสูการจัดการคาแทนคุณของระบบนิเวศ อยางยั่งยืน นอกจากเปนเครื่องมือที่ใชในการสรางแรงจูงใจ การอนุรักษ (Incentive-based conservation tools) ในทางปฏิบัติแลว แนวคิดเรื่องบริการของระบบนิเวศ ถูกนำมาประยุกตไดงายๆ ในการใหรางวัลแกผูให บริการระบบนิเวศ โดยผานการจัดเงินทุนใหอยาง ยั่งยืนอันที่แทจริงแลว คำวาบริการก็มีบุญญานุภาพ ตอมนุษยทุกคนอยูแลว ในขณะที่การชำระเงินสำหรับ บริการของระบบนิเวศสวนใหญมักจะเปนรูปแบบ 6Protected Area Sustainability
  • 14. ของการถายโอนทางการเงิน ซึ่งสามารถนำไปใชในการ กำหนดการใหรางวัลกับผูดูแลบริการของระบบนิเวศ รวมทั้งการถายทอดเทคโนโลยี การเสริมสรางศักยภาพ และการบรรเทาหนี้ดวยการนำเสนอสิ่งจูงใจทาง เศรษฐกิจในการบำรุงรักษาบริการของระบบนิเวศ อยางไรก็ดีคาแทนคุณระบบนิเวศสามารถดำเนินงาน บนพื้นฐานของกลไกการตลาดในทางเศรษฐศาสตร โดยการนำเสนอวิธีการที่มีประสิทธิภาพและมี ประสิทธิผลในการสนับสนุนวัตถุประสงคของการ พัฒนาที่ยั่งยืน อยางไรก็ตาม คาแทนคุณระบบนิเวศ อาจเปนเครื่องมือกำหนดนโยบายที่เฉพาะเจาะจง เทานั้นไมไดเปนรูปแบบของแบบจำลองแบบเดียวที่ เหมาะสำหรับการพัฒนาที่ยั่งยืน หลักการคาแทนคุณระบบนิเวศ หลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศ คือ การมี ระบบการทำงานอยางมีสวนรวม ผูที่มีบทบาทในการ ดูแลรักษาระบบนิเวศหรือผูใหบริการควรไดรับ คาตอบแทนจากผูใชประโยชนจากระบบนิเวศหรือ ผูที่ไดรับประโยชนจากการบริการของระบบนิเวศ ควรที่จะตองจายเพื่อแลกกับการบริการทางดาน ระบบนิเวศหรือประโยชนที่ไดรับ โดยจายเปน คาตอบแทนใหกับผูมีบทบาทในการดูแลรักษา ระบบนิเวศ อาจจะอยูในรูปตัวเงินหรือสิ่งตอบแทนอื่นๆ ที่ไมเปนตัวเงิน อันไดแก การลดหยอนภาษีเงินไดหรือ คาธรรมเนียมทำใหมีความมั่นคงในการจัดการที่ดิน และทรัพยากรอื่นๆ ซึ่งคาแทนคุณของระบบนิเวศจะ มีองคประกอบที่สำคัญ คือ ผูที่ทำหนาที่ดูแลรักษา ระบบนิเวศหรือผูขาย ผูที่ไดรับประโยชนและบริการ จากระบบนิเวศหรือผูซื้อ และการบริการของระบบนิเวศ ที่ใหบริการแกมนุษยผูรับประโยชน ดังนั้น คาแทนคุณ ระบบนิเวศเปนวิธีการที่วางอยูบนหลักการผูที่ไดรับ ประโยชนเปนผูจาย ซึ่งจะสงผลใหเกิดแรงจูงใจใน การใชทรัพยากรอยางมีประสิทธิภาพมากขึ้น โดยการ สรางแรงจูงใจทางเศรษฐกิจเพื่อใหเกิดการอนุรักษ ฟนฟูระบบนิเวศอยางยั่งยืน โดยใหผูที่ไดรับบริการ จากระบบนิเวศจายผลประโยชนตอบแทนใหแกผู ทำหนาที่อนุรักษ ซึ่งโดยทั่วไปไดแก ชุมชน กลไก คาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปนประโยชนตอการอนุรักษ ระบบนิเวศ ในขณะเดียวกันก็ชวยสนับสนุนชุมชน หรือเกษตรกรในชนบทใหมีรายไดเพิ่มขึ้นโดยเชื่อมโยง กับนักลงทุนจากภายนอกพื้นที่ นอกจากนั้นคาแทนคุณ ระบบนิเวศยังเปนเครื่องมือในการสรางความเขาใจ เกี่ยวกับการใชประโยชนทรัพยากรอยางยั่งยืน ซึ่งจะเกิดผลระยะยาวตอความอุดมสมบูรณของ ระบบนิเวศ และนำไปสูการเพิ่มผลผลิตดานตางๆ ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและประโยชน หรือบริการที่มนุษยจะไดจากระบบนิเวศ ไมจำเปน ที่จะตองเปนสินคาที่มีการซื้อขายกันในตลาด อาจเปน มูลคาที่เกิดจากประโยชนทางออม (Indirect Used) และมูลคาที่ไมไดเกิดจากการใช (Non-used Value) ก็ได แตก็เปนบริการที่จำเปนตอการอยูรอดของ มนุษยดวย 7
  • 15. ; แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำในประเทศไทย ระบบนิเวศปาไม(ผูใหบริการ) ระบบนิเวศเกษตร ระบบนิเวศเมือง ระบบนิเวศขนาดเล็กอื่นๆ องคประกอบระบบนิเวศลุมน้ำ (ผูดูแลรักษาพื้นที่ตนน้ำ) (แมน้ำ) (ชุมชนเมือง) (ผูรับประโยชน) ภาพที่ 3 แบบจำลองคาแทนคุณระบบนิเวศบนพื้นฐานของพื้นที่ลุมน้ำ (Basic watershed-based PES model) ที่มา : ดัดแปลงจาก Heal et al., (1999) 8Protected Area Sustainability
  • 16. 9
  • 17. กลไกการแทนคุณระบบนิเวศ ถึงแมวาหลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศไดมี การนำมาใชเปนเวลานานแลวก็ตาม เชน มีการนำมา ใชในประเทศโบลิเวีย บราซิล โคลัมเบีย และเวียดนาม รวมทั้งไดมีการนำไปใชกันในบางพื้นที่แตประสบการณ หรือแนวทางการดำเนินงานยังไมประสบผลสำเร็จ เทาที่ควร ซึ่งจะตองใชเวลาในการดำเนินงานที่อาจ ยาวนานเพื่อที่จะใหเห็นผลที่แทจริง อยางไรก็ดีหลักการ ของคาแทนคุณระบบนิเวศไดมีการนำไปใชในหลายๆ ภาคสวนของระบบนิเวศ เชน ระบบนิเวศลุมน้ำ ระบบนิเวศปาไม รวมทั้งนำไปใชไดดีในกระบวนการ รักษาทรัพยากรธรรมชาติในหลายๆ ทองที่ โดยมี นโยบายกฎหมายและสถาบันรับผิดชอบที่แนนอน ขณะที่แนวโนมการพัฒนาทางสังคมและเศรษฐกิจ ในหลายทองที่ไดเจริญขึ้นทรัพยากรธรรมชาติ ไดถูก นำมาใชจนทำใหเกิดปญหาในหลายๆดาน เชน เรื่องของน้ำ หลายๆประเทศที่ไดนำหลักการของ คาแทนคุณระบบนิเวศมาใชมีการจัดตั้งหนวยงานหรือ สถาบันขึ้นมารับผิดชอบโดยตรง มีการวิเคราะหและ ออกกฎหมาย หรือกฎระเบียบที่จะนำมาใชบังคับ อยางไรก็ดี ในการศึกษาถึงเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศ ในหลายๆพื้นที่มีการวิเคราะหและอภิปรายในเรื่อง ของกฎระเบียบที่ใชในการปฏิบัติรวมทั้งสถาบันหรือ หนวยงานที่ตองรับผิดชอบในบทบาทที่แตกตางกัน แลวแตสถานการณของแตละประเทศนั้นๆ ดังที่ไดกลาวมาแลววาคาแทนคุณระบบนิเวศเปน แนวทางใหมเกี่ยวกับการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ พื้นที่ที่เปนโครงการนำรองหลายๆ แหงมีความเขาใจ กันดวยดี ตกลงกันได การดำเนินงานก็เปนไปดวยดี แตสวนใหญเปนการยากที่จะเปนไปได ถาหากวาไมมี กรอบการทำงานหรือไมมีกฎระเบียบและหนวยงาน รับผิดชอบที่แนนอน การนำโครงการคาแทนคุณ ระบบนิเวศไปใชทำใหเกิดเปนกระบวนการที่มีประโยชน ดังที่หลายประเทศในทวีปอเมริกาใต เชน บราซิล โบลิเวีย และโคลัมเบีย นำไปใชแลวไดผลที่มีประสิทธิภาพ มากในการดูแลรักษาระบบนิเวศของประเทศ อยางไรก็ตาม คาแทนคุณระบบนิเวศก็ยังเปนการ พูดถึงกันอยางกวางขวางวานาจะมีกลไกที่สามารถ จูงใจใหผูซื้อและผูขาย หันมาดำเนินกิจกรรมรวมกัน เพื่อสนับสนุนการปองกันและการดูแลรักษาระบบนิเวศ ตามธรรมชาติ กลไกของคาแทนคุณระบบนิเวศจะ ตองพึ่งพากฎระเบียบและการปฏิบัติที่เปนไปได ฉะนั้น กฎระเบียบและสถาบันผูรับผิดชอบเปน เปาหมายที่สำคัญของการดำเนินงาน โดยจะตองทำ เปนขั้นตอน กลาวคือ 1. การสรางความเขาใจเกี่ยวกับคาแทนคุณ ระบบนิเวศโดยเฉพาะการบริการของระบบนิเวศ 2. การกำหนดกรอบนโยบาย กฎหมาย และ สถาบันผูรับผิดชอบ 3. การกำหนดขอตกลงในการบริหารจัดการ เพื่อที่จะใหหลักการของคาแทนคุณระบบนิเวศ ไดถูกนำมาใชใหไดผลอยางมีประสิทธิภาพ จำเปนตอง กำหนดวัตถุประสงคหรือนำบทเรียนจากตางประเทศ ที่ทำไดแลวมาศึกษาวิเคราะหความเปนไปไดในแตละ พื้นที่ โดยสามารถดำเนินการตามกระบวนการ ดังตอไปนี้ คือ 1. การกำหนดกรอบกฎหมายและสถาบันที่ รับผิดชอบในการดำเนินการในปจจุบันและในอนาคต 2. การกำหนดสิทธิภายใตกฎหมายและแนวทาง ปฏิบัติ 3. การกำหนดรูปแบบของคาแทนคุณระบบนิเวศ 4. การคนหาความเสี่ยงที่จะเกิดขึ้นจากการ ดำเนินการ 5. การดำเนินการเจรจาระหวางผูซื้อกับผูขาย บริการระบบนิเวศ 6. การติดตามและการบังคับใชกฎหมาย 10Protected Area Sustainability
  • 18. 7. การวิเคราะหผลจากการดำเนินการคาตอบ แทนคุณระบบนิเวศ 8. การกำหนดการมีสวนรวมของประชาชน การประเมินมูลคาบริการของระบบนิเวศ กับความหลากหลายทางชีวภาพของ ระบบนิเวศ ในการคนหาดุลยภาพที่ยั่งยืนระหวางผูแสวงหา ผลประโยชน (exploitationists) และนักอนุรักษ (conservationists) นั้น ภาษาที่จะตองใชรวมกันก็ คือ ทำอยางไรจึงจะหาวิธีการเปรียบเทียบมูลคาของ ทรัพยากรที่ขัดแยงกันอยูใหชัดเจน สิ่งที่ตองคำนึงถึง ก็คือ การประเมินคาเชิงปริมาณของธรรมชาตินั้น มีอุปสรรคอยูมาก มีคำถามมากมายไดแก เหมาะสม หรือที่จะตีมูลคาความหลากหลายทางชีวภาพออกมา เปนตัวเงิน เปนความตองการจริงๆหรือ เปนไปไดแนหรือ เหลานี้เปนเพียงบางสวนของคำถามที่สำคัญที่ยังไมได คำตอบที่ชัดเจน ในป ค.ศ.1997 สิ่งพิมพที่ออกมาจาก สำนักพิมพที่มีชื่อเสียงไดตีมูลคารวมของระบบนิเวศ ของโลกออกมาอยูที่ประมาณ 30 พันลานลานดอลลาร (Costanzaetal.,1997)ตัวเลขดังกลาวนี้ชวยจุดประกาย ใหเกิดคลื่นความกระตือรือรนที่ตามมาของนักอนุรักษ และความขัดแยงในแวดวงของการประเมินมูลคาทาง เศรษฐศาสตรของระบบนิเวศ ในขณะที่อาจจะดู เหมือนไรสาระในการคนหาวิธีการวัดคาเชิงปริมาณ ของคาอันประเมินมิไดของระบบนิเวศตางๆในโลก แนวคิดเรื่องบริการของระบบนิเวศนี้ทำใหเกิดศัพทตัวใหม คือมูลคาของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอม ที่นำเขาสูการ อภิปรายเกี่ยวกับการประเมินมูลคาสิ่งแวดลอมอีกครั้ง อุปสรรคที่ขัดขวางแนวคิดที่สำคัญของความ พยายามในการพัฒนาการประเมินมูลคาระบบนิเวศ และสิ่งแวดลอมในปจจุบันก็คือ การยึดเอาความ หลากหลายทางชีวภาพมาเปนจุดยืน แมวาความ หลากหลายทางชีวภาพเปนแนวคิดที่ใชกันอยางแพร หลายก็ไมไดหมายความวาเปนตัวชี้คาทางเศรษฐกิจ ที่ดีพอ นอกจากนี้เรื่องของการเชื่อมโยงของกระบวนการ ระบบนิเวศและการบริการยังคงจะตองมีการอภิปราย กันอยางกวางขวางตอไป Heal (1999) ไดจำแนกมูลคา ของความหลากหลายทางชีวภาพที่เกี่ยวของกับผลผลิต ของระบบนิเวศ (ecosystem productivity) ไดแก การผสมเกสรพืช มูลคาเชิงปองกันภัย เชน การเปน แนวกันชนของมลพิษการเปนแนวปะทะพายุการควบคุม การชะลางพังทลายของดิน การสนับสนุนใหความรู แกมนุษย การวิจัยทางการแพทยดวยการตระหนักถึง องคความรูในเรื่องมูลคาของความหลากหลายทางชีวภาพ จึงทำใหการประเมินมูลคากลายเปนเรื่องยุงยากที่ตอง ใชลักษณะพิเศษในการประเมินโดยเฉพาะ และมักจะ มองบริการของระบบนิเวศดานวัฒนธรรมไปอีกมุมหนึ่ง ของความพยายามในการประเมินมูลคา อยางไรก็ดี นักนิเวศวิทยาจะตองคิดอยูในใจเสมอวาวิถีชีวิตใน ทองถิ่นตองมีสวนรวมที่สำคัญในการบำรุงรักษาการ ทำงานของระบบนิเวศโดยเฉพาะคาแทนคุณระบบนิเวศ ถึงแมจะเปนที่ตระหนักวา การใหบริการของระบบ นิเวศมีคุณคาอยางมากตอระบบเศรษฐกิจและชีวิต ความเปนอยูของประชาชน แตในการวิเคราะหเชิง เศรษฐศาสตรและการเงินกลับพบวามูลคาของระบบ นิเวศไมไดรับการประเมินอยางเหมาะสม มีชองวาง ที่สำคัญ เชน ไมมีระบบตลาดและราคารองรับ ไมได รับการสนับสนุนจากนโยบายพัฒนาเศรษฐกิจ คาใชจาย ของภาครัฐในการบริหารจัดการเพื่อการอนุรักษมีจำกัด และมีแนวโนมลดลงในสวนของผูที่ดำเนินการเพื่อ อนุรักษและใชประโยชนอยางยั่งยืน เชน การจัดการ ปาไม การทำการเกษตรอยางยั่งยืน การทองเที่ยว เชิงนิเวศหรือธุรกิจสีเขียวก็ไมไดรับผลประโยชน ตอบแทนที่เหมาะสมเมื่อเทียบกับกิจกรรมเศรษฐกิจ 11
  • 19. หรือการตลาดในกระแสหลัก นอกจากนั้น ยังมี ปจจัยประกอบอื่นๆที่ลดทอนแรงจูงใจการอนุรักษ ระบบนิเวศโดยรวม ดังที่ไดกลาวมาแลววา Constanza,et al. (1997) ทำการศึกษาเพื่อประเมินมูลคาการใหบริการ ของระบบนิเวศของโลกโดยระบุวามูลคา GNP ของ ทั้งโลกเฉลี่ยราว 18,000 ลานลานเหรียญสหรัฐตอป ในขณะที่การใหบริการของระบบนิเวศทั่วโลกมีมูลคา ทางเศรษฐกิจเฉลี่ยสูงถึง 33,000 ลานลานเหรียญสหรัฐ ตอป การประเมินมูลคาการใหบริการของระบบนิเวศนี้ เปนความพยายามที่ชวยสรางแนวคิดใหมเกี่ยวกับ มูลคาทางเศรษฐศาสตรของระบบนิเวศและ ทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งนำไปสูการพัฒนาเครื่องมือ การจัดการในเชิงนโยบายเพื่อสรางรายไดหรือการ จายคาบริการใหกับระบบนิเวศ (ตารางที่ 1) ตารางที่ 1 การประเมินมูลคาระบบนิเวศของโลก หนาที่ : เชน การกำกับควบคุม แหลงที่อยูอาศัย/การผลิตเพื่อ บริโภค-อุปโภค โครงสราง มูลคาจากการ นำมาใช ใชในการบริโภค:เชน อาหาร ไม เชื้อเพลิง น้ำ (ประปา,ชลประทาน) ทรัพยากรทางพันธุกรรม และยา Nonuse values: เชน การ ดำรงอยูของสรรพสิ่ง การรักษา สายพันธุพืช-สัตว ความหลาก หลายทางชีวภาพ มรดกทาง วัฒนธรรม มูลคาจากการ ไมนำมาใช โดยออม: เชน การปองกันรังสี ยูวีบี เปนที่อยูอาศัยของสรรพ ชีวิตการควบคุมอุทกภัยและ มลพิษ การปองกันการกัด เซาะดิน โดยตรง: เชน การนันทนาการ การขนสง ความสวยงามของ ธรรมชาติ, การดูนก ภาพที่ 4 การเชื่อมโยงระหวางโครงสรางและการ ทำงานของระบบนิเวศบริการ นโยบาย และมูลคาของระบบนิเวศ ที่มา : Constanza, et al. (1997) ระบบนิเวศ มูลคาพันลานเหรียญสหรัฐ ชายฝง ปาเขตรอน ปาเขตอบอุน ทุงหญา ปาชายเลน พื้นที่ชุมน้ำ ทะเลสาบ พื้นที่เกษตรกรรม รวม มหาสมุทร 8,318,000 12,568,000 3.813,000 894,000 906,000 1,648,000 3,231,000 1,700,000 128,000 33,268,000 12Protected Area Sustainability
  • 20. 13
  • 21. การดำเนินการ แนวทางการดำเนินการโครงการ คาแทนคุณระบบนิเวศในระบบนิเวศ การดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศโดยการ วางแผนใหชุมชนในชนบทเปนหัวใจของแผนการ ตอบแทนคุณระบบนิเวศทำใหรูสึกวา คาแทนคุณ ระบบนิเวศเปนเครื่องมือการจัดการระบบนิเวศโดย เฉพาะที่ใชในการแกไขความลมเหลวของการจัดการ ความหลากหลายทางชีวภาพและผลกระทบเชิงลบใน ระบบนิเวศ วัตถุประสงคของคาแทนคุณระบบนิเวศ ประกอบดวยการสนับสนุนใหเกิดการพัฒนาอยางยั่งยืน ผานการรูถึงคุณคาและบุญคุณของความหลากหลาย ทางชีวภาพและระบบนิเวศที่มีตอมนุษยชาติความพยายาม ของการพัฒนาคาแทนคุณระบบนิเวศนั้น ทายที่สุดก็ จะตองระมัดระวังในเรื่อง trade-offs คือ การที่จะตอง เลือกเอาทางใดทางหนึ่ง เนื่องจากโครงการอนุรักษที่ สนับสนุนการสงมอบบริการของระบบนิเวศที่ตองการ นั้นอาจขัดแยงกับการใหบริการของระบบนิเวศรูปแบบ อื่นๆ หรืออาจเปนอุปสรรคตอกิจกรรมการพัฒนา เศรษฐกิจของประเทศดานอื่นๆได ดังนั้น สิ่งสำคัญที่จะตองพิจารณาการใชงาน คาแทนคุณระบบนิเวศไมเพียงแตใชเปนการสรางแรง จูงใจเพื่อการอนุรักษเทานั้น แตตองมีกิจกรรมมากกวา การสรางแรงจูงใจใหเกิดการใชประโยชนระบบนิเวศ ใหเกิดความยั่งยืนเหนือสิ่งอื่นใด คาแทนคุณระบบนิเวศ ควรจะนำมาใชเพื่อสนับสนุนการพัฒนาอยางยั่งยืนใน ชุมชนชนบทมากยิ่งขึ้น อีกนัยหนึ่งชุมชนที่อาศัยอยู ในพื้นที่ที่ถูกกำหนดใหเปนแหลงบริการของระบบ นิเวศควรที่จะนำเอาคาแทนคุณระบบนิเวศเขามา ประยุกตใชในการพัฒนาชุมชน การวางชุมชนในชนบท ใหเปนหัวใจของแผนการคาแทนคุณระบบนิเวศ และ เหตุผลที่สำคัญที่สุด คือ การชำระเงินสำหรับบริการ ของระบบนิเวศภายใตแนวคิดของวิถีชุมชนและการ จัดการเชิงระบบนิเวศจะตองสามารถชวยใหบรรลุ วัตถุประสงคของการอนุรักษและการทำมาหากิน ของชุมชนรวมกับการชำระเงินคาแทนคุณระบบนิเวศ ดังกลาว จึงควรกระจายลงไปในลักษณะที่เปนสิ่งจูงใจ ทั้งเพื่อการอนุรักษระบบนิเวศและการพัฒนาชนบท ในมุมมองการพัฒนาชนบทอาจจะมีความเหมาะสม ที่จะพิจารณาวาระบบคาแทนคุณระบบนิเวศเปน วิธีการใหรางวัลแกผูที่รักษาระบบธรรมชาติ ซึ่งวิถีชีวิต ของชุมชนชนบทหรือในเมืองสมัยใหมยังตองพึ่งพา อาศัยอยู การดำเนินการคาแทนคุณระบบนิเวศจึงเปน การเชื่อมโยงไปถึงการตีมูลคาของความหลากหลาย ทางชีวภาพที่มีอยูในพื้นที่ของชนบทที่ผูบริโภคในเมือง สามารถใชสรางความรื่นรมยใหแกชีวิตไดเมื่อตองการ นอกจากนี้ การวางแผนเพื่อการแทนคุณระบบนิเวศ จะตองมีแผนการระดับทองถิ่นที่เกี่ยวของกับคาแทนคุณ ระบบนิเวศในเกือบทุกกรณีของคาแทนคุณระบบนิเวศ โดยผูที่ไดรับผลประโยชนและผูทำใหเกิดบริการของ ระบบนิเวศมักจะอยูในพื้นที่เดียวกัน แมวาจะเปน เรื่องยากที่จะปรับขนาดพื้นที่ทางนิเวศวิทยาและ ขนาดพื้นที่ของการบริหารจัดการใหสอดคลองกันแต ก็ยอมรับกันวาพื้นที่ลุมน้ำ (Watersheds) เปนตัวแทน ของหนวยที่เหมาะสมสำหรับการพัฒนาโครงการ คาแทนคุณระบบนิเวศ ดังนั้น จึงนับเปนจุดเริ่มตนที่ดี สำหรับการคิดเกี่ยวกับการดำเนินการใชคาแทนคุณ ระบบนิเวศในพื้นที่ลุมน้ำเปนหลัก 14Protected Area Sustainability
  • 22. 15
  • 23. สำหรับแผนการระดับนานาชาติที่เกี่ยวของกับ คาแทนคุณระบบนิเวศนั้น คาแทนคุณระบบนิเวศได ขยายขอบเขตที่เกินกวาแผนในระดับลุมน้ำ กลไกการ พัฒนาที่สะอาด (CleaningDevelopmentMechanism) ภายใตพิธีสารเกียวโตและโครงการ REDD (Reducing Emissions From Deforestation and Degradation) และ REDD plus เปนตัวอยางของโครงการคาแทนคุณ ระบบนิเวศระดับนานาชาติอยางแทจริง โดยโครงการ คารบอนในประเทศที่กำลังพัฒนาจะไดรับเงินจาก ประเทศพัฒนาที่เปนผูกอมลพิษ ในขณะที่โครงการ กลไกการพัฒนาที่สะอาด ไดรับคำวิพากษอยางนาสนใจ นั้นก็มีความหวังวาจะเปนแนวคิดพื้นฐานที่เปนชองทาง ที่นำไปสูการลงทุนที่ยั่งยืน โดยเสริมพลังความมุงมั่น ผานระบบคาแทนคุณระบบนิเวศระหวางประเทศ ซึ่งสามารถทำใหเกิดความเขาใจไดในสองระดับที่ แตกตางกันขึ้นอยูกับวาเรากำลังพิจารณาวาบริการของ ระบบนิเวศที่มีความสำคัญในระดับโลก เชน การจัดหา ขอมูลทางพันธุกรรม การควบคุมสภาพภูมิอากาศหรือ บริการของระบบนิเวศที่มีผลกระทบมากกวาในระดับ ภูมิภาค เชน การปองกันลุมน้ำ แนวปองกันพายุ การนำ เอาทั้งสองระดับความสำคัญเขามาบูรณาการอยูในกรอบ คาแทนคุณระบบนิเวศเดียวกันยอมหลีกเลียงไมไดที่ จะตองใชวิธีการแบบบูรณาการ เมื่อการเปลี่ยนแปลง สภาพภูมิอากาศมีผลในการเพิ่มจิตสำนึกในระดับตนๆ ของสาธารณชนทั่วโลกมากขึ้นอยางตอเนื่อง จึงเปน โอกาสอันดีในการสรางแรงผลักดันใหมทั้งเพื่อทำให เกิดการอนุรักษและเสริมความพยายามในการพัฒนา ที่ยั่งยืน ความสนใจที่เพิ่มขึ้นในการกักเก็บคารบอน และการอนุรักษคารบอนที่เก็บกักโดยธรรมชาติใน โครงการ REDD+ สามารถนำมาใชเปนกาวที่สำคัญ ในการดำเนินการโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศ ในระดับสากล (InternationalPaymentforEcosystem Services) ดวยการจัดตั้งตลาดสำหรับการปลอย กาซคารบอนยอมมีเหตุผลที่ทำใหเชื่อไดวาวาระเรื่อง การกักเก็บคารบอนอาจจะกลายเปนแหลงสำคัญของ เงินทุนเพื่อการอนุรักษระบบนิเวศ อยางไรก็ตามความเชื่อ ดังกลาวขึ้นอยูกับความสามารถของประชาคมระหวาง ประเทศที่ทำใหบรรลุถึงฉันทามติเกี่ยวกับ วิธีการลด ปริมาณการปลอยกาซเรือนกระจกจากการทำลายปา และความเสื่อมโทรมของปาในโครงการ REDD+ ปจจุบันมีประเทศตางๆ ใหความสนใจเรื่องคาแทนคุณ ระบบนิเวศมากขึ้น โดยเฉพาะกลุมประเทศลาตินอเมริกา และกลุมประเทศแคริบเบียนมีการทดลองใชวิธีนี้เพื่อ ทดสอบศักยภาพการจัดการทรัพยากรน้ำในลุมน้ำผาน กลไกตลาด ซึ่งมีการจายคาชดเชยใหกับเจาของที่ดิน ดานตนน้ำเพื่อคงไวหรือปรับปรุงรูปแบบการใชที่ดิน เพื่อประโยชนดานสิ่งแวดลอมที่คำนึงถึงผูใชทายน้ำดวย คอสตาริกาเปนประเทศหนึ่งที่มีการพัฒนาระบบ คาแทนคุณระบบนิเวศมาอยางยาวนานกวาศตวรรษ สำหรับประเทศในกลุมอาเซียนที่จะรวมตัวเปน ประชาคมอาเซียนในเร็ววันนี้ กำลังเผชิญกับปญหาการ พัฒนาดานเศรษฐกิจอยางรวดเร็ว และการขยายตัว ของประชากร ซึ่งสงผลใหระบบนิเวศถูกทำลายอยางมาก และมีกระแสการตื่นตัวดานการอนุรักษอยางกวางขวาง องคกรระหวางประเทศหลายองคกรไดรวมกันจัด ประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง คาแทนคุณระบบนิเวศ เพื่อใหเปนเวทีในการแลกเปลี่ยนประสบการณและ แนวคิดเกี่ยวกับการริเริ่มดำเนินงาน เรื่อง คาแทนคุณ ระบบนิเวศ ในกลุมประเทศภูมิภาคเอเชียแปซิฟก โดยมีผูเขารวมการประชุมซึ่งเปนผูแทนจากประเทศ ตางๆ ในภูมิภาคเอเชีย ไดแก อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ฟลิปปนส เวียดนาม ลาว กัมพูชา บทเรียนการดำเนินโครงการคาแทนคุณ ระบบนิเวศลุมน้ำในประเทศตางๆ 16Protected Area Sustainability
  • 24. บรูไน ฟจิ คาซัคสถาน และไทย การประชุมมี วัตถุประสงค เพื่อรายงานความกาวหนาการดำเนินงาน เรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศของประเทศในภูมิภาค และรวมสรุปบทเรียนวิเคราะหประเด็นทาทายในการ ประเมินความตองการดานเทคนิควิชาการ การพัฒนา ศักยภาพขององคกรกลไก รวมทั้งการสรางเครือขาย คาแทนคุณระบบนิเวศในภูมิภาคและการจัดทำแผน ปฏิบัติการเพื่อผลักดันการดำเนินการเรื่องคาแทนคุณ ระบบนิเวศอยางตอเนื่องในประเทศตางๆ ในการประชุม ครั้งนั้นหลายประเทศไดนำเสนอบทเรียนจากการริเริ่ม ดำเนินงานเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศในประเทศตางๆ ไดแก ประเทศเวียดนาม เวียดนามมีการออกกฎหมายวาดวยความหลากหลาย ทางชีวภาพซึ่งบังคับใชเมื่อเดือน กรกฎาคม 2552 กำหนดใหมีการจายคาบริการที่ไดจากทรัพยากรชีวภาพ และระบบนิเวศ มีโครงการนำรองในกิจการโรงไฟฟา พลังน้ำและธุรกิจทองเที่ยวซึ่งทำสัญญาจายคาดูแล รักษาระบบนิเวศ จำนวน 2.7 ลานเหรียญตอปใหกับ ชุมชนจำนวน 2,700 ครัวเรือนและอยูระหวางการจัดทำ แผนธุรกิจอีก 2 โครงการ วงเงิน 15 ลานเหรียญสหรัฐ โดยรัฐบาลกลางและองคกรสวนทองถิ่นรวมกันบริหาร จัดการและจัดสรรรายไดใหกับชุมชน โครงการนำรองที่จังหวัดแลมดอง (Lam Dong) เกิดขึ้นจากการที่รัฐบาลกำหนดเปาหมายการเพิ่มพื้นที่ ปลูกปาจาก 12.7 ลานเฮกตารในป 2008 เปน 16 ลานเฮกตารในป 2020 แตประสบปญหางบประมาณ ดังนั้น โครงการคาแทนคุณระบบนิเวศจะเปดโอกาส ใหภาคเอกชนสนับสนุนเงินทุนในการดำเนินงานการ จายคาตอบแทนเปนลักษณะการจายตรง โดยชาวบาน จะไดรับเงินรอยละ 80 องคกรปกครองสวนทองถิ่น ไดรับรอยละ 20 ของมูลคาที่กำหนดไวในสัญญา โครงการโรงไฟฟาพลังน้ำดานิมห (Danhim) เวียดนามไดทำการประเมินมูลคาการใหบริการเชิงนิเวศ ของปาไม โดยใชแบบจำลองจากการศึกษาของ มหาวิทยาลัยเชียงใหม ประเทศไทย ในเบื้องตนพบวา การอนุรักษปาตนน้ำชวยลดคาใชจายในการกำจัด ตะกอน (2.45 ลานเหรียญสหรัฐตอป) และตนทุน ปริมาณน้ำที่ใชในระบบ (1.06 ลานเหรียญสหรัฐตอป) ปริมาณการสูญเสียหนาดินลดลง 4 เทา และอายุของ โรงไฟฟาพลังน้ำดานิมห จะลดลงรอยละ 50 (30 ป) หากไมมีปาตนน้ำ ขอสรุปจากการดำเนินโครงการ พบวา การประเมินมูลคาการใหบริการเชิงนิเวศของ ปาตนน้ำยังมีขอจำกัด แตถือเปนการสรางเครื่องมือ เชิงประจักษที่ทำใหสาธารณชนผูประกอบการ และ ผูกำหนดนโยบายมีความเขาใจที่ตรงกัน ประเทศอินโดนีเซีย การดำเนินงานเรื่องคาแทนคุณระบบนิเวศใน อินโดนีเซียถือเปนเครื่องมือแบบสมัครใจในการจายคา บริการของระบบนิเวศระหวางผูไดรับประโยชน และ ชุมชนที่ทำหนาที่อนุรักษ (Provider) โดยประเทศ อินโดนีเซียมีการดำเนินงานหลายรูปแบบ เชน การ จัดการปาชุมชน การจายคาบริการใหชุมชนที่ดูแล อนุรักษพื้นที่ตนน้ำ การจายคาชดเชยใหเกษตรกรที่ ปรับเปลี่ยนจากพืชเชิงเดี่ยวมาเปนเกษตรอินทรีย การสนับสนุนการทองเที่ยวเชิงนิเวศ การพัฒนาระบบ เกษตรบนพื้นที่สูง การพัฒนาตลาดซื้อขายคารบอน แบบสมัครใจ เปนตน 17
  • 25. โครงการ RUPES(RewardsforUseandShared Investment in Pro-Poor Environmental Services) เปนโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศที่สำคัญใน ประเทศอินโดนีเซีย มีหลักเกณฑการใหรางวัลสำหรับ การใหบริการของระบบนิเวศที่คำนึงถึงคนจนเปนหลัก ตัวอยางโครงการ เชน การอนุรักษตนยางปา เพื่อการ อนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพของพืชและสัตว โดยรัฐใหโรงงานและบริษัทผลิตยางรถยนตเปนผูให รางวัลซึ่งมีผลทำใหการตัดไมลดลง นอกจากนี้ยังมี โครงการคาแทนคุณระบบนิเวศลุมน้ำมอนตาลา (Montala Basin) เปนหนึ่งในโครงการนำรองคาแทนคุณ ระบบนิเวศของประเทศอินโดนีเซียโครงการไดจัดทำ ขอตกลงรวมระหวางการประปาทองถิ่น กับชุมชน ที่อยูอาศัยในเขตพื้นที่ตนน้ำมอนตาลา โดยบริษัทจะ จัดสรรกำไรสุทธิประมาณรอยละ 1 เพื่อใหชุมชนใช ในกิจกรรมอนุรักษปาตนน้ำ เชน การตรวจเฝายาม ปองกันการลักลอบตัดไมทำลายปาและการอบรมให กับประชาชน โครงการมีระยะเวลาดำเนินงาน 3 ป ผลประโยชนที่บริษัทคาดวาจะไดรับคือการควบคุม ปริมาณน้ำและการผลิตพลังงานไฟฟาขนาดเล็กรวม ทั้งชุมชนมีรายไดเพิ่มขึ้น ประเทศกัมพูชาอยูระหวางการเริ่มดำเนินงาน แตมีปญหาการจัดการเรื่องความไมชัดเจนของ กรรมสิทธิ์ในทรัพยากร การคิดคำนวณมูลคาทาง เศรษฐกิจของการใหบริการของระบบนิเวศ การหา ตลาดผูซื้อ และคาใชจายในการบริหารจัดการ ใน ประเทศลาวไดริเริ่มโครงการคาแทนคุณระบบนิเวศ ในโครงการอนุรักษแนวเชื่อมตอความหลากหลาย ทางชีวภาพในอนุภูมิภาคลุมน้ำโขง (GMS-BCI) สวนใน ประเทศพมาก็มีการริเริ่มในโครงการอนุรักษปาไม บางโครงการ เชน การจัดการพื้นที่คุมครองขาม พรมแดนกับประเทศไทยจะมีโครงการคาตอบแทนคุณ ดำเนินการอยูดวย 18Protected Area Sustainability