SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล
เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเว (PES)
การประชุมเชิงปฏิบัติการผู้ประกอบการในพื้นที่อุทยานแห่งชาติทางทะเลและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
4-5 สิงหาคม 2558 ณ สหกรณ์ออมทรัพย์กรมป่ าไม้ กรุงเทพ
กรอบการนาเสนอ
กลไกและหลักการของ PES
ประเภทและองค์ประกอบของ PES
เงื่อนไขความสาเร็จของ PES
PES กับอุทยานแห่งชาติทางทะเล กรณีต่างประเท
แนวทางแทนคุณระบบนิเว ทางทะเล ของประเท ไทย
กลไกตอบแทนคุณระบบนิเว (PES)
Ecosystem
Service
= ประโยชน์ที่มนุษย์
ได้รับจากระบบนิเว
ระบบนิเว =
ทรัพยากรธรรมชาติ :
สินค้าสาธารณะ
(Public
Goods)
สินค้าสาธารณะ
ไม่มีผู้หนึ่งผู้ใดเป็นเจ้าของ
ทุกคนเข้าถึงได้ ไม่มีใครมี
สิทธิเหนือใคร รัฐจัดสรรให้
ทุกคนทั้งผู้ที่เต็มใจจ่ายและ
คนทั่วไปเสมอกัน
ราคาต่า ใช้เยอะ
ราคาสูงใช้น้อย #
ไม่ตรงกับมูลค่าเ รษฐกิจ
ที่แท้จริง
ของระบบนิเว
Payment for Ecosystem Service
หลักการของการตอบแทนคุณระบบนิเว (PES)
ผู้ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
Service Provider/Sellers
ผู้ที่ได้รับประโยชน์จากระบบนิเว
Buyers
ข้อตกลง
ประเภทของโครงการ PES
บริษัท
เอกชน
ภาคเอก
ชนที่เป็น
ตัวกลาง
รัฐบาล
องค์กร
ผู้ให้ทุน
องค์กร
พัฒนา
เอกชน
บุคคล
ทั่วไป
ผู้ซื้อ
องค์ประกอบของโครงการ PES
ที่มา: ประยุกต์จาก Marit Kragt, Michale Renton and Gabriela Scheufele, short course introduction to Payments for Environmental services( P
กิจกรรมอนุรักษ์และฟื้ นฟู
(ที่แตกต่างจากปกติ : Additionally)
เจรจาต่อรอง และมีข้อตกลง
ร่วมกันระหว่างผู้ดูแลและผู้ได้รับ
ประโยชน์
ระบบนิเวศ
Ecosystem
Service
ประโยชน์ที่ได้รับจากนิเว บริการ
(ข้อมูลฐาน)
ระบบนิเวศที่ดีขึ้น
ประโยชน์ที่ได้รับเพิ่มขึ้น
เพราะมีกิจกรรมการอนุรักษ์
ปัจจัยความสาเร็จของโครงการ PES
ความโปร่งใส
(Transparen
cy)
กิจกรรมการ
อนุรักษ์และฟื้ นฟู
ทรัพยากรที่
นอกเหนือจาก
มาตรการที่ผู้ดูแล
ดาเนินการอยู่แล้ว
(Additionall
y)
การให้ค่าตอบแทน
ควรจะมีเงื่อนไข
(Conditiona
lity)
ความสมัครใจ
(Voluntary)
ตัวอย่างของโครงการ PES: ฝรั่งเ ส
Service Provider:
เกษตรกรเลี้ยงโคนมและเจ้าของ
ที่ดินบนพื้นที่ต้นน้า
บริษัทจ่ายเงินให้เกษตรกร
230 ดอลล่าร์ต่อเฮกแตร์ต่อปี
เป็นระยะเวลา 7 ปี
(15,500 ต่อคน
/ต้องจ่าย 3.8 ล้านเหรียญ)
ข้อตกลง
Buyer:
บริษัท Perrier Vittel (Nestle)
โครงการจัดการลุ่มน้า Rhine-
Meuse
• ปรับปรุงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
• ปลูกป่าเพื่อซับมลพิษในพื้นที่
เปราะบาง
ตัวอย่างของโครงการ PES : แม๊กซิโก
Service Provider:
ชุมชนรอบผืนป่ า
เท บาลตั้งองค์กรอิสระ เพื่อจัดการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ชื่อ
Profauna ให้ระดมทุนจากผู้สมัคร
ใจบริจาคตั้งแต่ 1-1000 เปโซ
ข้อตกลง
Buyer:
ผู้ใช้น้าในเขตเท บาล SALTILLO
จัดการ
สิ่งแวดล้อม
50%กองทุน
อนุรักษ์น้า
10%
ให้ความรู้
ด้านสวล.
10%
พัฒนาชุมชน
และสังคม
10%
งานวิจัย
10%
บริหารจัดการ
10%
กิจกรรมหลัก
• ป้ องกันไฟป่า
• ปลูกป่า
• ตรวจสอบคุณภาพน้าและ
ดิน
PES กับระบบนิเว ทะลและชายฝั่ง
https://www.youtube.com/watch?v=lVMV3StvLCs
PES กับระบบนิเว ทะเลและชายฝั่ง
การเพาะเลี้ยงไข่มุกปาปัว ประเทศอินโดนีเซีย
บริษัท PT Cendana Indopearls (CIP) บริษัทลูกของบริษัท
South Sea Pearlได้ทาสัญญา 30 ปีกับ กลุ่มชาติพันธุ์กาวี
(Kawe) การเพาะเลี้ยงไข่มุกในทะเลเพื่อแลกเปลี่ยนกับการพัฒนาชุมชน
(โรงเรียนใหม่ ยารักษาโรค) การจ้างงานและการสร้างจิตสานึกต่อทรัพยากร
ทางทะเล โดยบริษัทประสานตรงกับชาวกาวี ครอบครัวเจ้าของที่ดิน การ ึกษา
วิถีชีวิตชาวกาวีของนักมนุษยวิทยา ทาให้ CIP เรียนรู้วิธีที่ทางานกับชุมชนได้
ดีที่สุด ความร่วมมือระหว่าง CIP กับชุมชนชาวกาวีนี้ช่วยสร้างโอกาสด้าน
เ รษฐกิจและการ ึกษาภายในราชาอัมพัด (Raja Ampat) และส่งเสริม
การเพาะเลี้ยงไข่มุกปาปัวอย่างยั่งยืน
เต่าหญ้า (Olive Ridley
Sea Turtle) ขึ้นวางไข่ที่หาด
Gahirmatha
ทางตะวันออกของอินเดีย
โครงการท่าเรือ Dhmra ประเท อินเดีย
2006: DCPL&IUCN ลง
นามความร่วมมือเพื่อหาแนวทางการ
ดาเนินธุรกิจที่ลดผลกระทบต่อระบบ
นิเว หาดทรายและเต่าทะเล (5 ปี)
พัฒนาแผนการจัดการสื่งแวดล้อม
โดยเน้นการลดผลกระทบที่เกิดจาก
การขุดลอกร่องน้าและความเข้มของ
แสงไฟ
ข้อตกลง
กิจกรรมหลัก
• การขุดลอกร่องน้า
• ระบบไฟฟ้ าในท่าเรือ
• มวลชนสัมพันธ์
• แผนการจัดการสิ่งแวดล้อม
Service
Provider:
IUCN/องค์กร
พัฒนาเอกชน
Buyer:
DPCL (L&T และ
TATA Steel):
1998
ที่มา: Protecting the Olive Ridley Turtle the Story of the Dhamra Port (2014) IUCN, Scoping mission to the Dahmra Port Project (2006) IU
การเช่าแนวปะการัง ที่ประเทศฟิจิ
ชุมชนท้องถิ่นชาวฟิจิก่อตั้งการจัดการพื้นที่ทางทะเลโดยชุมชนท้องถิ่น
(Community Locally Managed Marine Areas
(LMMs) ซึ่งทาสัญญาเช่าระยะสั้น (2-5 ปี) เพื่อใช้ประโยชน์ในพื้นที่แนว
ปะการังและทรัพยากรทางทะเล โดยเฉพาะด้านการค้นหาตัวยา การเพาะเลี้ยงและ
การเก็บหินตกแต่งตู้ปลา ทั้งนี้มีการบริหารจัดการโดยชุมชน การให้ความรับผิดชอบ
ในพื้นที่ทางทะเล การสารวจติดตามและการจัดการร่วมกับชุมชน เพื่อให้เกิด
กระบวนการซื้อขายความยั่งยืน โดยมหาวิทยาลัย South Pacific มีบทบาท
ในการเป็นคนกลางเพื่อเจรจาตกลงระหว่าง LMMAs กับบริษัทเอกชน เพื่อยัง
ประโยชน์ด้านเ รษฐกิจและส่งเสริมการจัดการแนวปะการังอย่างยั่งยืน
นับจากปีเริ่มต้น (1997) หนึ่งหมู่บ้าน เครือข่ายการจัดการพื้นที่ทางทะเลโดยชุมชน ของ
ประเท ฟิจิ เป็น 250 แห่งในปี 2009 ที่มีกว่า 279 หมู่บ้าน ครอบคลุม 10,745
ตร.กม. ของการทาประมงชายฝั่ง และขยายผลไปในประเท อินโดนีเซีย ไมโครนีเซีย
ปาปัวนิวกีนี ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะโซโลมอน
ตัวอย่างของโครงการ PES ในระบบนิเว ทะลและชายฝั่ง
Chumbe Island Coral park ประเทศ
Tanzania
กระทรวงเกษตร ป ุสัตว์และทรัพยากรธรรมชาติของประเท
ทานเซเนีย จัดตั้งอุทยานแห่งชาติทางทะเลรอบเกาะ
Chumbe เมื่อปี 1995 โดยให้ทางบริษัท
Chumbe Island Coral Park เช่าบริหารจัดการ
มีระยะเวลาที่ต่ออายุทุกๆ 10 ปี
กิจกรรมหลักเพื่อการจัดการพื้นที่
คุ้มครอง ด้านการท่องเที่ยวเชิง
อนุรักษ์ การ ึกษาวิจัยและการสร้าง
โอกาสทางการ ึกษา ภายใต้แผนการ
จัดการ CHICOP (1995-
2016)
อุทยานทางทะเลบอแนร์ เนเธอร์แลนด์
อุทยานทางทะเลบอแนร์ในทะเลแคริบเบียน ตั้งขึ้นในปี 1979 เพื่อ
อนุรักษ์ถิ่นที่อยู่อา ัยทางทะเลและชายฝั่งที่นับว่าเป็นแหล่งดาน้าที่มี
ชื่อเสียงมากที่สุดของโลก การเก็บค่าธรรมเนียมการดาน้า ทาให้อุทยาน
สามารถบริษัทจัดการตัวเองได้ทั้งหมด นับแต่ปี 1992 รวมทั้ง
เจ้าหน้าที่เพื่อการสารวจติดตาม การฝึกตารวจเพื่อปราบการบุกรุก
ลักลอบ ล่าจับสัตว์ การทิ้งสมอบนแนวปะการังและการวิจัย สารวจ
ติดตามระยะยาว และเน้นการให้การความรู้แก่นักท่องเที่ยว คนงานและ
คนที่อา ัยอยู่ในพื้นที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์ทางทะเล ซึ่งเป็นที่รับรู้กันใน
ระดับโลก ปัจจุบันมีการเพิ่มแหล่งเก็บเงินรายได้ คือค่าธรรมเนียมการ
จอดเรือ ค่าธรรมเนียมเรือที่เข้ามาในพื้นที่
The Dutch Caribbean
Nature Alliance (DCNA) The Dutch Ministry of the Interior contributes €750,000
annually (until 2016).
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken อินโดนีเซีย
ประกา จัดตั้งเมื่อปี
1991
พื้นที่ประมาณ 900 ตร.กม.
มีพื้นที่อยู่บนฝั่ง และ 5 เกาะ
22 หมู่บ้านอา ัยอยู่ใน
อุทยาน ประมาณ 3 หมื่นคน
แหล่งท่องเที่ยวทางทะเลที่มีการพัฒนา
เป็ นอย่างดี
• ผู้ประกอบการดาน้า 20 แห่ง ทั้งอยู่บนฝั่ง
และออกดาแบบ Day trip ในอุทยาน
• ที่พักมีตั้งแต่ระดับ 5 ดาวจนถึงกระต๊อบ
สาหรับ Backpackers
• นักท่องเที่ยวประมาณ 25,000 คนต่อปีที่มา: Developing a diversified portfolio of sustainable financing options for Bunaken National marine Park, MV Erdmam, USAID’s Natura
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken อินโดนีเซีย
รัฐบาลสนับสนุน
งบประมาณประจาปี
ระบบการจัดเก็บค่าธรรมเนียม
แบบกระจายอานาจ
การสนับสนุน
จากภาคเอกชน
งบประมาณ
จากหน่วยงานภาครัฐ
ระบบอาสาสมัคร
ต่างประเท
ทุนสนับสนุน
จากแหล่งทุน
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken อินโดนีเซีย
ชุมชน
ผู้ประกอบการ
ร้านดาน้า
นักวิชาการ
องค์กร
พัฒนา
เอกชน
การ
ท่องเที่ยว
ท้องถิ่น
กรม
ประมง
ท้องถิ่น
หน่วยงาน
ด้าน
สิ่งแวดล้อม
แนวทางโครงการ PES ในระบบนิเว ทะลและชายฝั่ง
แนวทางโครงการ PES ในระบบนิเว ทะลและชายฝั่ง
กองทุนอนุรักษ์ตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ด้านการเงิน
(Business Plan for
แผนการจัดการสิ่งแวดล้อมตะรุ
เตา
(Tarutao Management
Plan)
หน่วยงาน
ภาครัฐ
(งบจังหวัด อบจ.)
%
ค่าธรรมเนียม
พิเ ษ
ค่าบารุงสวล.
จากผู้ประกอบการ
โรงแรม ที่พัก
% สมาคมธุรกิจ
ท่องเที่ยว
/ระดมทุน% ประมูลเลขทะเบียนสวย
รักษ์อันดามัน
กิจกรรมอนุรักษ์ ฟื้ นฟู สารวจวิจัย
สร้างจิตสานึก ให้ความรู้ เฝ้ าระวัง
% บริษัทนาเที่ยวของ
มาเลเซีย
radda.larpnun@undp.org
ขอบคุณค่ะ

More Related Content

What's hot

สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการPop Punkum
 
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpointการแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ PowerpointYotsaporn Rodmuang
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1yah2527
 
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งUNDP
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนssuser66968f
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_socPrachoom Rangkasikorn
 
โครงการสหกรณ์สันกำแพง
โครงการสหกรณ์สันกำแพงโครงการสหกรณ์สันกำแพง
โครงการสหกรณ์สันกำแพงBeam Kulsawadpakdee
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์koorimkhong
 
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Utai Sukviwatsirikul
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียKwandjit Boonmak
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555Sircom Smarnbua
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptpronprom11
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pertpop Jaturong
 
กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรYosiri
 

What's hot (20)

สื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการสื่อสำหรับผู้พิการ
สื่อสำหรับผู้พิการ
 
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpointการแทรกรูปภาพ Powerpoint
การแทรกรูปภาพ Powerpoint
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1
 
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอนชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้นตอน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.1-3 หน่วยที่ 5+443+dltvsocp3+T2 p1 3-u5_soc
 
โครงการสหกรณ์สันกำแพง
โครงการสหกรณ์สันกำแพงโครงการสหกรณ์สันกำแพง
โครงการสหกรณ์สันกำแพง
 
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
การนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
บท2
บท2บท2
บท2
 
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
 
สอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชียสอนทวีปเอเชีย
สอนทวีปเอเชีย
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
 
สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์สื่อผังมโนทัศน์
สื่อผังมโนทัศน์
 
Stem workshop summary
Stem workshop summaryStem workshop summary
Stem workshop summary
 
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPptเศรษฐกิจพอเพียงPpt
เศรษฐกิจพอเพียงPpt
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
7เทคนิคบริหารโครงการด้วยcpm pert
 
กฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากรกฎหมายภาษีอากร
กฎหมายภาษีอากร
 

Similar to แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)

ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3บัณฑิต ป้านสวาท
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557Narong Jaiharn
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)AmPere Si Si
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติyah2527
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programguestd73ff2
 

Similar to แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) (7)

ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
ปัญหาการรื้อถอนโพงพางทั่วประเทศ3
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
การทำโครงการเหมืองแร่(กรณีศึกษาบริษัท ตะกั่ว คอนเซนเตรทส์(ประเทศไทย) จำกัด)
 
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติอุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
 
Chanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami programChanyuth slide on Tsunami program
Chanyuth slide on Tsunami program
 

แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)