SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
- 1 -
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสาหรับสัตว์ป่ า
(Guideline for Habitat Linkage Management)
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การแตกเป็นหย่อมป่ า (Forest Fragmentation)
ในช่วงครึ่งศตวรรษที่ผ่านมาประมาณว่าครึ่งหนึ่งของพื้นที่ระบบนิเวศบนบกของโลกได้มี
การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้และเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างถาวร สาเหตุดังกล่าวนี้
เป็นภัยคุกคามหลักต่อความเป็นอยู่ของความหลากหลายทางชีวภาพ (SCBD, 2001) การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพพื้นที่ป่าไม้จนกลายเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอื่นๆ อาทิเช่น พื้นที่เพื่อการเพาะปลูกและ
การปศุสัตว์ พื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรม แหล่งน้าถาวรขนาดใหญ่ ตลอดจนเป็นพื้นที่เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของ
มนุษย์ถือได้ว่าเป็นปัญหาสาคัญต่อการสูญเสียถิ่นที่อาศัยของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ที่สามารถพบเห็นได้
ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก การสูญเสียถิ่นที่อาศัย (Habitat loss) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของขนาดพื้นที่
ป่าไม้หรือพื้นที่ธรรมชาติที่ในอดีตเคยเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่และต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน กลับกลายเป็นผืนป่า
ที่มีการแตกเป็นหย่อมๆ (Fragmentation) เกิดเป็นหย่อมป่าที่มีขนาดใหญ่บ้าง ขนาดเล็กบ้างกระจายอยู่
ท่ามกลางสภาพพื้นที่โดยรอบที่เป็นการพัฒนามาจากกิจกรรมของมนุษย์ ผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว
ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อรูปแบบของสภาพภูมิประเทศ (Landscape pattern) ของระบบนิเวศโดยรวม
โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ตามธรรมชาติและการเพิ่มขึ้นของระยะห่างระหว่างหย่อมป่ า
เป็นหย่อม
Bennett (2003) ได้ชี้ให้เห็นถึงกระบวนการการเกิดการแตกกระจายของผืนป่าว่าเป็น
พลวัตรการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบถิ่นที่อาศัยตามระยะเวลาที่ปลี่ยนแปลงไป การแตกเป็นหย่อมป่ า
เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายถึงภาวะของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ที่ถูกปกคลุมด้วยพืชพรรณ
จากการทาลายที่ยังไม่สมบูรณ์ก่อให้เกิดการเหลือหย่อมพื้นที่ที่มีพืชพรรณขนาดเล็กๆ ที่ถูกแบ่งแยกออกจากกัน
ฉะนั้น การแตกเป็นหย่อมป่าจึงมีความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อาศัยที่อดีตเคยต่อเนื่องที่เป็น
ผืนเดียวกันกลายเป็นหย่อมที่อาศัยที่มีความผันแปรทั้งทางด้านขนาดและรูปลักษณ์ทางภูมิประเทศ
(Landscape configuration)
- 2 -
การเกิดการแตกเป็นหย่อมป่ า (Forest Fragmentation Process)
จากการศึกษาของ Bennett (2003) พบว่าการเกิดการแตกเป็นหย่อมป่าประกอบด้วยส่วน
ที่สาคัญ 3 ประการ คือ
1. การเกิดการสูญเสียถิ่นที่อาศัย (Habitat loss) ได้แก่ การลดลงของพื้นที่ถิ่นที่อาศัยภาย
หลังจากเกิดการแบ่งแยกของพื้นที่และการทาลายพื้นที่บางส่วนออกไป (Habitat reduction)
2. การเพิ่มระดับความโดดเดี่ยวของถิ่นที่อาศัยโดยการเพิ่มขึ้นของระยะทางระหว่างหย่อมป่า
ที่เหลืออยู่ ขณะที่การใช้ประโยชน์พื้นที่ดินประเภทอื่นๆ เกิดขึ้นมาแทนที่ระหว่างหย่อมป่า (Habitat isolation)
3. การแตกเป็นหย่อมป่าถือได้ว่ามีผลกระทบต่อระบบนิเวศทั้งในระดับท้องถิ่น (Local
landscape) และระดับภูมิภาค (Regional Landscape) อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อโครงสร้าง (Structure) และ
หน้าที่ (Function) ของระบบนิเวศอีกด้วย
สาหรับกระบวนการเกิดการแตกเป็ นหย่อมป่ ามีกระบวนการตามขั้นตอนต่างๆ
สรุปได้ดังนี้
1. การตัดผ่าน (Dissection) ขั้นแรกของการเริ่มต้นการเกิดการแตกเป็นหย่อมป่ า
มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมประเภทต่างๆ ได้แก่ ถนน ทางเกวียน ทางเดินเท้า หรือทางรถไฟ เป็นการเพิ่ม
ความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ป่าของมนุษย์ กล่าวได้ว่าการเข้ามาของเส้นทางคมนาคมเป็นจุดเริ่มต้นของ
การเกิดการสูญเสียถิ่นที่อาศัย
2. การกลายเป็ นรูทะลุของผืนป่ า (Perforation) เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์
โดยการทาลายพื้นที่ขนาดเล็กๆ เป็นที่อาศัยหรือปลูกพืชเกษตรในป่าเสมือนเป็นการเจาะเป็นรูทะลุในพื้นที่
ธรรมชาติ มีการสร้างทางเดินเท้าหรือทางเกวียนและการสร้างถนนเพื่อการคมนาคม อัตราการสูญเสีย
ถิ่นที่อาศัยจะเร็วหรือช้าผันแปรไปตามระดับความเข้มข้นของกิจกรรมของมนุษย์
3. การแตกเป็นหย่อมป่า (Fragmentation) เมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เกิดขึ้น การขยาย
พื้นที่เป็นเขตหมู่บ้าน ตาบลหรือเขตเมืองและพื้นที่เกษตรกรรมเป็นไปอย่างรวดเร็วทาให้พื้นที่ธรรมชาติเริ่ม
แยกตัวห่างออกจากกันและท้ายที่สุดเกิดเป็นหย่อมป่าขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามพื้นที่ ส่วนใหญ่ที่อยู่โดยรวม
ยังคงมีสภาพเป็นป่าธรรมชาติอยู่
4. การลดจานวนพื้นที่ป่ า (Attrition) ในระยะเวลาที่ผ่านไปตามรุ่นต่างๆ ของมนุษย์
การขยายพื้นที่ที่ทากินของมนุษย์ทาให้พื้นที่หย่อมป่าขนาดใหญ่กลายเป็นหย่อมป่าขนาดเล็ก ขณะที่พื้นที่
โดยรอบมีการเปลี่ยนแปลงสภาพไปเป็นพื้นที่การใช้ประโยชน์ของมนุษย์ประเภทอื่นๆ มากยิ่งขึ้น เช่น พื้นที่
เพื่อการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์และเขตชานเมือง เป็นต้น ในที่สุดพื้นที่ป่าธรรมชาติส่วนใหญ่ก็ถูกพัฒนา
กลายเป็นพื้นที่สาหรับการอยู่อาศัยและประกอบกิจกรรมต่างๆ สาหรับมนุษย์นั่นเอง
- 3 -
= เส้นทางคมนาคม
= พื้นที่ที่อาศัยและพื้นที่การเกษตรของมนุษย์
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแตกเป็นหย่อมป่ า
โดยทั่วไปแล้วพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินของมนุษย์อย่างเข้มข้น มักจะเป็นพื้นที่ที่เคยมี
ความเหมาะสมต่อการอยู่อาศัยของสัตว์ป่า เป็นพื้นที่ที่มีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม หรือในที่ราบหุบเขา
ขนาดใหญ่ มีความลาดชันไม่มากนักและไม่ไกลจากแหล่งน้า มักจะถูกยึดครองโดยชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกับ
พื้นที่ป่าไม้ การลดลงของขนาดหย่อมป่าที่เหมาะสมต่อการเป็นถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าและการเพิ่มขึ้นของ
บริเวณขอบป่า (Forest edge) ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องกับพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ โดยรอบ
พบว่าในระยะยาว พื้นที่หย่อมป่ าที่เหลือมีแนวโน้มจะลดขนาดลงอีกและอาจจะหายไปในที่สุดหรือ
กลายเป็นพื้นที่ป่าชุมชนที่มีการอนุรักษ์โดยชุมชน การเปลี่ยนแปลงทางด้านองค์ประกอบของนิเวศของ
ถิ่นที่อาศัยเกิดจากความกดดันจากการใช้ประโยชน์ที่ดินในรูปแบบต่างๆ ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
การบุกรุกดังกล่าวมิได้เกิดโดยบังเอิญ แต่เป็นความตั้งใจของมนุษย์ที่ต้องการเปลี่ยนสภาพการใช้ประโยชน์
ที่ดิน เช่น การเลือกพื้นที่เพื่อการเกษตรที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินสูง ทาให้เกิดพื้นที่เกษตรกรรมใกล้เคียง
กับพื้นที่หย่อมป่า เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของหย่อมป่าเนื่องจากแรงกดดันจากการใช้ประโยชน์ของ
มนุษย์รอบพื้นที่ พบว่า หย่อมป่าที่มีรูปร่างไม่สม่าเสมอย่อมมีเส้นรอบรูปยาวกว่าหย่อมป่าที่มีรูปร่างกลม
หรือสี่เหลี่ยม และพื้นที่หย่อมป่าดังกล่าวมักมีความเสี่ยงต่อการถูกคุกคามที่สูงขึ้น เนื่องจากความขัดแย้ง
ระหว่างหย่อมป่าและพื้นที่ขอบโดยรอบมีมากขึ้นตามช่วงเวลาที่ผ่านไป
ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแตกเป็นหย่อมป่า หย่อมป่าที่กระจัดกระจายตัวอยู่ทั่วไปมักมี
ความใกล้เคียงกันในระดับที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่และผันแปรไปตามแรงกดดันจากความต้องการใช้
ประโยชน์ที่ดินโดยรอบของชุมชน หย่อมป่าจะไม่เหมาะสมต่อการเป็นถิ่นที่อาศัยของพืชพรรรณหรือทาให้
สัตว์ป่ าอยู่ห่างกันมากขึ้น หรือหย่อมป่ าเหล่านั้นมีขนาดเล็กลง ประชากรของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่มักมี
ความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เร็วขึ้น เป็นไปตามทฤษฎีชีวกลายเป็นเกาะทางภูมิภาคของเกาะ (Island
biogeography theory)โดย McArthur&Willis (1967)และ Levins (1969)กล่าวว่า ทฤษฎีการเกิดประชากรย่อย
(Metapopulation) ภายหลังที่พื้นที่เกิดหย่อมป่า สิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ป่าไม่สามารถเคลื่อนที่ไปมา
อย่างอิสระระหว่างถิ่นที่อาศัยได้เช่นในอดีต ประชากรสิ่งมีชีวิตมีแนวโน้มถูกกักให้อาศัยอยู่ในเฉพาะหย่อม
พื้นที่ป่า
- 4 -
ป่านั้นๆ ก่อให้เกิดปัญหาการผสมเลือดชิด (Inbreeding) หรือการผสมพันธุ์ภายในประชากรที่มีลักษณะคอย
ทางพันธุกรรม เป็นเหตุให้พันธุกรรมของประชากรย่อยนั้นๆ ขาดความหลากหลาย อ่อนแอและมีจานวน
ลดลงในที่สุด จากทฤษฎีผลกระทบดังกล่าวนี้เองเป็นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญที่ทาให้นักอนุรักษ์ด้าน
การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพหันมาให้ความสนใจในการออกแบบและจัดทาทางเชื่อมต่อระหว่าง
หย่อมป่า โดยเฉพาะการให้น้าหนักไปกับการออกแบบทางเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่าที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อ
การสูญพันธุ์มากกว่าสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆ ทั้งนี้ เนื่องจากสัตว์ป่ามีการเคลื่อนที่ไม่อยู่นิ่งกับที่ การแตกเป็น
หย่อมป่าผลต่อสัตว์ป่าสามารถสรุปได้ว่า เหตุผลและความจาเป็นของสิ่งมีชีวิตที่ต้องการมีการเคลี่อนที่ไปมา
ระหว่างถิ่นที่อาศัยที่แตกต่างกัน เช่น
1. การเคลื่อนที่เพื่อเสาะแสวงหาแหล่งอาหารที่เกิดขึ้นอยู่ในหย่อมป่าในแต่ละวัน
2. การเคลื่อนที่เพื่อใช้แหล่งทรัพยากรในบางช่วงเวลาอาจจะเป็นรอบวันหรือรอบเดือน
3. การเคลื่อนที่เพื่อการใช้สภาพแวดล้อมเฉพาะในบางฤดูกาล เป็นการย้ายถิ่นหรืออพยพ
ย้ายถิ่นตามฤดูกาล
4. การเคลื่อนที่เพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยในช่วงชีวิตที่แตกต่างกันตามฤดูกาล
5. การเคลื่อนที่เพื่อกลับมาสืบพันธุ์ให้ลูกในรอบปี
6. การเคลื่อนที่เพื่ออพยพไปตั้งถิ่นฐานในสภาพแวดล้อมใหม่
7. การเคลื่อนที่เพื่อการขยายพื้นที่การแพร่กระจาย
8. การเคลื่อนที่เพื่อหาที่อยู่ใหม่ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
9. การเคลื่อนที่เพื่อการอพยพระหว่างเกาะหรือทวีป
จากความต้องการของสิ่งมีชีวิตในการเคลื่อนที่หาแหล่งถิ่นที่อาศัยในระบบนิเวศบนพื้นดิน
นั้น พบว่าสิ่งมีชีวิตต่างๆ โดยเฉพาะสัตว์ป่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้จะมีความสามารถใน
การเคลื่อนที่สูงเพื่อเสาะแสวงหาแหล่งอาหาร แสดงให้เห็นว่าสัตว์ป่าประสบปัญหาในการเคลื่อนที่ที่เห็นได้
ชัดเจน ในสภาวการณ์ปัจจุบันสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางหรือขนาดใหญ่มักจะถูกจากัดให้หากินอยู่
ในพื้นที่ที่มีขนาดเล็ก โดยทั่วไปแล้วพื้นที่หย่อมป่าขนาดเล็กดังกล่าวไม่สามารถตอบสนองความต้องการ
ขั้นพื้นฐานต่อการดารงชีวิตของประชากรสัตว์ป่าได้ ฉะนั้นจึงถือได้ว่าสภาพการแตกเป็นหย่อมป่าที่พบอยู่
ในปัจจุบัน เป็นอุปสรรคสาคัญต่อการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่าในธรรมชาติและจัดให้เป็นภัยคุกคามที่สาคัญที่สุด
ต่อความหลากหลายทางชีวภาพทุกระดับ
ความหมายและแนวคิดของแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัย (Definitions and Concepts of Habitat Linkage)
คาว่า ทางเชื่อมต่อหรือแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัย (Habitat Linkage) มีการใช้กันมากมายใน
หลายสาขาวิชา แต่ก็มีการให้ความหมายที่ใกล้เคียงกัน เช่น Beier et.al. (2005) ได้ให้ความหมายของคาว่า
Habitat Linkage ไว้ว่า “a swath of land that is best expected ot serve movement needs of an individual
species after the remaining matrix has been converted to other uses” แต่ถ้าหากจะให้ความหมายใน
- 5 -
ภาษาไทย จากหลายบทนิยามตามที่ได้ศึกษามา จึงให้ความหมายของคาว่าแนวเชื่อมต่อไว้ว่า “ทางแนว
เชื่อมต่อ หมายถึง พื้นที่ขนาดเล็กโดยมากมักมีรูปร่างเป็นแถบยาวช่วยทาหน้าที่ตอบสนองความต้องการของ
ชนิดพันธุ์เฉพาะที่ต้องการเคลื่อนที่ระหว่างหย่อมป่าที่แตกต่างกันได้ โดยแนวเชื่อมต่อมักมีชนิดพันธุ์พืช
ใกล้เคียงกับถิ่นที่อาศัยหลักที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง”
จะเห็นได้ว่าคาจากัดความดังกล่าวได้เน้นย้าถึงความสาคัญของความสามารถในการเคลื่อนที่ของ
ชนิดพันธุ์จากถิ่นที่อาศัยแห่งหนึ่งผ่านแนวเชื่อมต่อไปยังถิ่นที่อาศัยอยู่ห่างไกลออกไปโดยแนวเชื่อมต่อนี้อาจเป็น
ที่ต้องการของชนิดพันธุ์เฉพาะในบางช่วงเวลาหนึ่งหรือทุกช่วงเวลาของวงจรชีวิตขณะที่ความหมายของถิ่นที่อาศัย
(Habitat)หมายถึงบริเวณพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งในแง่ของการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานต่างๆในการดารงชีวิต
เช่นแหล่งอาหารแหล่งหลบภัยแหล่งน้าและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยให้ชนิดพันธุ์สามารถอยู่รอดและ
สามารถสืบพันธุ์ออกลูกออกหลานต่อไปได้
มุมมองของแนวเชื่อมต่อที่สาคัญสามารถแยกออกได้ 2 ประการคือ
1. มุมมองทางด้านโครงสร้าง (Structure perspective) เป็นการพิจารณาแนวเชื่อมต่อโดย
เน้นไปที่ลักษณะหรือรูปลักษณ์ภายนอกของแนวเชื่อมต่อ เช่น ความยาว ความกว้าง หรือความโค้งของทาง
เชื่อมต่อหรืออีกนัยหนึ่งคือการพิจารณาถึงการมีการเชื่อมต่อทางด้านโครงสร้างเท่านั้น
2. มุมมองทางด้านบทบาทหน้าที่ (Function perspective) เป็นการพิจารณาเชื่อมต่อใน
ฐานะของความสามารถที่ทาให้มีการเชื่อมต่อกันได้ (Connectivity) โดยความสามารถในการเชื่อมต่อนั้นเป็น
สิ่งที่บอกได้ว่าพืชหรือสัตว์สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างหย่อมป่าหรือหมู่เกาะไปได้ด้วยความยากง่ายเพียงใด
ฉะนั้น นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อมีความจาเป็นอย่างยิ่ง
ที่จะต้องพิจารณาถึงความสามารถในการเคลื่อนที่ของชนิดพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่จะผ่านไปมาตามทางเชื่อมต่อ
และต้องจดจาไว้ว่าสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันย่อมมีความสามารถในการเคลื่อนที่ที่แตกต่างกัน มีความจาเป็น
ที่จะต้องออกแบบทางเชื่อมต่อให้เหมาะสมกับพฤติกรรมของชนิดพันธุ์นั้นๆ Bennett (2003) ได้ย้าให้เห็นถึง
ความสาคัญของการส่งเสริมให้เกิดความสามารถในการจัดการเชื่อมต่อกับทางด้านหน้าที่ (Functional
connectivity) มากกว่าที่จะมุ่งเน้นการเชื่อมต่อเฉพาะทางด้านกายภาพเท่านั้น (Physical connectivity)
ให้พิจารณาถึงคุณภาพและสภาพแวดล้อมของแนวเชื่อมต่อที่ชนิดพันธุ์นั้นๆ จะสามารถผ่านไปมาได้หรือไม่
อาจจะกล่าวได้ว่าการเข้าใจถึงองค์ประกอบทางด้านพฤติกรรมอย่างแท้จริงของชนิดพันธุ์แต่ละชนิดที่เป็น
เป้ าหมายการอนุรักษ์ เป็นสิ่งสาคัญอันดับแรกที่สุดที่จะรับประกันถึงความสาเร็จของการใช้แนวเชื่อมต่อ
ระหว่างผืนป่าเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
เป้ าหมายของแนวเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อาศัยในผืนป่ า (Habitat Linkage)
มีความจาเป็นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของทางเชื่อมที่มีต่อ
ระบบนิเวศ หน้าที่หลักของแนวเชื่อมคือ การสนับสนุน (Enhance) ให้เกิดความสามารถในการเชื่อมต่อ
(Connectivity) กันของสิ่งมีชีวิตระหว่างหย่อมป่าที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป กล่าวคือเป็นการสนับสนุนหรือ
ช่วยเหลือให้เกิดการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะสัตว์ป่ าสามารถเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างหย่อม
- 6 -
ถิ่นที่อาศัยที่มีระยะทางห่างจากกันได้ การสนับสนุนให้เกิดมีความเชื่อมต่อกันระหว่างหย่อมป่าต่างๆ นั้นจะ
ช่วยให้สิ่งมีชีวิตมีโอกาสแลกเปลี่ยนพันธุกรรมระหว่างประชากรที่แยกจากกันมากขึ้นเปิดโอกาสให้
ประชากรสิ่งมีชีวิตตั้งถิ่นฐานในพื้นที่แห่งใหม่ รวมทั้งการเพิ่มโอกาสในการเสาะแสวงหาปัจจัยสาคัญหลัก
ในการดารงชีวิต (Keystone resources) ได้มากขึ้น การจัดการพื้นที่คุ้มครองในลักษณะกลุ่มป่าโดยการจัดให้
มีการเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าต่างๆ ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในกลยุทธ์หลักสาคัญในการจัดการพื้นที่คุ้มครองแบบ
เป็นระบบ (Systematic conservation) ฉะนั้นข้อดีของการจัดให้มีแนวเชื่อมต่อระหว่างหย่อมป่าสามารถสรุป
ได้ดังนี้
1. เพิ่มอัตราการอพยพเข้าสู่พื้นที่คุ้มครอง โดยช่วยให้เกิดการ
1.1 เพิ่มหรือรักษาความหลากหลายของชนิดพันธุ์
1.2 เพิ่มขนาดของประชากรแต่ละชนิดพันธุ์และช่วยลดโอกาสสูญพันธุ์ เกิดการตั้ง
ถิ่นฐานใหม่ของบางประชากรในระดับท้องถิ่นซึ่งได้สูญพันธุ์ไปก่อนในอดีต
1.3 ป้องกันไม่ให้เกิดความกดดันภายในประชากรจนเกิดการผสมพันธุ์ในสายเลือดที่
ใกล้ชิดกันและขณะเดียวกันเป็นการดารงไว้ซึ่งความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากร
2. เพิ่มพื้นที่ในการเสาะแสวงหาอาหาร เป็นการช่วยให้ชนิดพันธุ์ที่เคยอยู่ในถิ่นที่อาศัยที่
ไม่เหมาะสมได้ผ่านไปยังพื้นที่ที่มีความเหมาะสมกว่า
3. ทาหน้าที่เป็นพื้นที่คุ้มกันภัย (Cover) สาหรับชนิดพันธุ์ในขณะที่มีการเคลื่อนที่ระหว่าง
หย่อมป่า
4. ก่อให้เกิดความหลากหลายของถิ่นที่อาศัยเพื่อช่วยให้สิ่งมีชีวิตในแต่ละช่วงชีวิต
สามารถเลือกใช้ถิ่นที่อาศัยที่เหมาะสมในพื้นที่และช่วงเวลาที่ต้องการตามวงจรชีวิตของสัตว์ชนิดพันธุ์นั้น
5. จัดหาพื้นที่ที่เป็นทางเลือกสาหรับการหลบภัยของสิ่งมีชีวิตในช่วงที่เผชิญกับ
การรบกวนที่มีความรุนแรงมาก เช่น ภัยจากไฟป่า หรือน้าท่วม เป็นต้น
6. เกิดทางสีเขียว (Green belt) ช่วยชะลอการเติบโตของเขตบ้านเมืองในทางอ้อม ส่งเสริม
ให้เกิดโอกาสทางด้านนันทนาการและช่วยพัฒนาทิวทัศน์ให้เกิดความร่มรื่นเป็นการเพิ่มคุณค่าทางอ้อม
ให้กับพื้นที่
7. ให้มีการดูแลคุณภาพของแหล่งน้าและการจัดการแหล่งน้าที่ดีขึ้น
หน้าที่ทางด้านนิเวศวิทยาของแนวเชื่อมต่อ (Ecological Function of Corridor)
บทบาทของแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือการสนับสนุนให้สิ่งมีชีวิต
สามารถกระจายและเคลื่อนตัวไปตามหย่อมที่อาศัยที่อยู่ห่างไกลออกไปได้ Forman & Gordon (1986)
ได้กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ทางนิเวศวิทยาของแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ
1. การเป็นถิ่นที่อาศัย (Habitat)
2. การเป็นทางเชื่อมผ่าน (Conduit)
3. การเป็นตัวกรอง (Filter)
- 7 -
4. การเป็นตัวขัดขวาง (Barrier)
5. การเป็นแหล่งผลิต (Sources)
6. การเป็นแหล่งกาจัด (Sink)
นอกจากนี้ Hess & Fischer (2001) ได้เน้นถึงบทบาทของทางเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยที่มี
ความสาคัญที่นักจัดการพื้นที่คุ้มครองต้องการ
1. บทบาทของทางเชื่อมต่อที่ทาหน้าที่ช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของชนิดพันธุ์(Conduit
function)
2. บทบาทของทางเชื่อมต่อที่ช่วยเหลือชนิดพันธุ์ในแง่การเป็นแหล่งอาหารและแหล่ง
ผสมพันธุ์ด้วย (Habitat function) โดยจะเรียกกลุ่มของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าเหล่านี้ว่าเป็นผู้อาศัยในทางเชื่อมต่อ
(Corridor dwellers) บางชนิดพันธุ์อาจมีความสามารถในการเคลื่อนที่ต่า จาเป็นต้องใช้เวลาหลายชั่วอายุเพื่อ
การขยายหรือ/และย้ายถิ่นฐานออกไปจากถิ่นเดิม แนวเชื่อมที่มีความกว้างมากๆ อาจจะช่วยให้สังคมแห่งชีวิต
และระบบนิเวศสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคง สัตว์ป่าและพืชพรรณที่เป็นอาหารของสัตว์ป่าชนิดพันธุ์สัตว์ป่า
สามารถเคลื่อนที่ไปมาระหว่างพื้นที่คุ้มครองที่มีขนาดใหญ่ได้ในช่วงเวลาหลายชั่วอายุของสิ่งชีวิต
ในทางตรงกันข้ามบทบาทการเป็ นตัวกรองและตัวขัดขวางของทางเชื่อมต่อเป็ น
การพิจารณาบทบาทของบริเวณพื้นที่ด้านนอกของแนวเชื่อมต่อขั้นกลาง พื้นที่ที่อยู่ตรงข้ามกันของสองฝั่ง
ทางเชื่อมต่อถูกแบ่งแยกออกจากกัน ฉะนั้น หน้าที่ของแนวทางเชื่อมต่อเสมือนเป็นอุปสรรคที่ไม่ให้สิ่งมีชีวิต
บางประเภทข้ามไปมาได้โดยง่าย อาจมีการยอมให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่มีคุณลักษณะเฉพาะสามารถผ่านไปได้
เท่านั้น หรืออาจไม่ยอมให้สิ่งมีชีวิตใดๆ ผ่านไปเลยก็ได้ เช่น การใช้ลาน้าเป็นแนวเชื่อมต่อกันระหว่าง
ทะเลสาบสองแห่งที่ทาให้สัตว์บกขนาดเล็กไม่สามารถข้ามไปมาได้
ขณะที่บทบาทในแง่ของการเป็นแหล่งผลิตและแหล่งกาจัดสิ่งมีชีวิตนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ค่อย
ได้รับความสนใจต่อการพิจารณาการออกแบบแนวเชื่อมต่อ เนื่องจากบทบาททางของแนวเชื่อมต่อที่มี
อิทธิพลต่อด้านนี้ไม่ชัดเจนมากนัก แหล่งผลิตเป็นการอธิบายถึงถิ่นที่อาศัยที่มีการส่งเสริมการเพิ่มของ
ประชากรมากกว่าในการลดจานวนของประชากรโดยที่แหล่งกาจัดหมายถึงถิ่นที่อาศัยที่มักพบมีการที่ลดลง
ของประชากรมากกว่าภาวะเพิ่มของประชากร
ความสามารถในการเชื่อมถึงกันของพื้นที่กับการอนุรักษ์สัตว์ป่ า (Landscape Connectivity and Wildlife
Conservation)
Landscape connectivity คือ ความสามารถของพื้นที่ที่สามารถส่งเสริมหรือขัดขวาง
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตที่ผ่านไปมาระหว่างหย่อมป่าที่เหมาะสมต่อการเป็นถิ่นที่อาศัยและการสืบพันธุ์
สัตว์ป่าในเขตร้อนเช่นประเทศไทยโดยมากเป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่มีความต้องการปัจจัยใน
การดารงชีวิตที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปสัตว์ป่า
เหล่านี้มีการตอบสนองต่อการเลือกใช้ถิ่นที่อาศัยแตกต่างกันไปตามระดับความเหมาะสมของถิ่นที่อาศัยนั้นๆ
- 8 -
ทั้งนี้เนื่องจากมีสัตว์ป่ าต่างชนิดกันมีระดับความทนทานที่ไม่เท่ากัน หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า
การเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่ามีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อการรับรู้ของสัตว์ป่าและความทนทานที่ไม่
เท่ากัน ส่งผลต่อความสามารถในการเคลื่อนที่ไปตามหย่อมป่าที่เหลืออยู่นั้นไม่เท่ากันในแต่ละชนิด บางชนิด
มีการปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อมใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม ทาให้ชนิดพันธุ์นั้นมีความสามารถในการเสาะ
แสวงหาหย่อมป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์กว่าได้ไม่ยากนัก ขณะที่สัตว์ป่าอีกหลายชนิดโดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่
ถูกคุกคามส่วนใหญ่มักพบว่าด้อยความสามารถหรือไม่มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับถิ่นที่อาศัยที่
เปลี่ยนสภาพไปจากเดิมได้ ทาให้สัตว์ป่านั้นไม่สามารถเดินทางผ่านพื้นที่ข้างเคียงที่มีกิจกรรมของมนุษย์
รบกวนอย่างรุนแรงและต่อเนื่องได้ ในกรณีนี้พบว่าการรักษาไว้ซึ่งรูปแบบการกระจายของหย่อมป่า รวมถึง
การจัดเรียงตัวของหย่อมป่ามีผลกระทบโดยตรงต่อระดับความสามารถในการเชื่อมต่อกันของภูมิภาพ
โดยรวม
Bennett (2003) ได้เสนอแนวทางในการสร้างทางเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า โดยสามารถ
กระทาได้สองแนวทางหลัก คือ
1. การจัดการทั้งพื้นที่ถิ่นที่อาศัยแบบโมเสก (Landscape or Habitat mosaic) เป็น
การจัดการถิ่นที่อยู่อาศัยทั้งพื้นที่ที่มีสภาพทางด้านนิเวศวิทยาไม่สม่าเสมอกัน เช่น ถิ่นที่อาศัยที่ประกอบไป
ด้วยสังคมพืชหลากหลายประเภท มีระดับความสูงและสภาพภูมิประเทศแตกต่างกันหรือมีสภาพสังคมพืช
คลุมดินที่หลากหลาย โดยสัตว์ป่ารับรู้ถึงถิ่นที่อาศัยว่าเป็นถิ่นที่อาศัยผืนใหญ่ต่อเนื่องกัน แต่ความเข้มข้นใน
การใช้ประโยชน์สังคมพืชแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันไปตามอุปนิสัยและพฤติกรรมของชนิดพันธุ์
นั้นๆ โดยสภาพของสังคมพืชหรือการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายดังกล่าวไม่เป็นอุปสรรคแต่อย่างใดต่อ
การดารงชีวิตของสัตว์ป่า อาจกล่าวได้ว่าการจัดให้มีแนวเชื่อมต่อกันโดยใช้ทั้งผืนป่าที่มีลักษณะดังกล่าว
สามารถตอบสนองต่อมาตรการในการอนุรักษ์ได้ทั้งในระดับพันธุกรรม ชนิดพันธุ์และขบวนการทาง
นิเวศวิทยาของถิ่นที่อาศัย เนื่องจากแนวเชื่อมต่อมีความหลากหลายทางระบบนิเวศและมักเป็นแนวเชื่อมที่มี
ความกว้างมาก
ภาพแสดงความสามารถในการเชื่อมต่อกันภายในพื้นที่ (Landscape connectivity)
โดยการจัดการทั้งพื้นที่โมเสกเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนที่
- 9 -
2. การสร้างแนวเชื่อมต่อขนาดเล็ก แนวเชื่อมลักษณะนี้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์ป่าที่
รับรู้ตนเองว่ากาลังตกอยู่ในหย่อมป่าที่กระจัดกระจายทั่วไปในภูมิภาค สภาพถิ่นที่อาศัยที่เหมาะสมมีขนาด
ค่อนข้างจากัดโดยเฉพาะในหย่อมพื้นที่อาศัยขนาดเล็ก ดังนั้นการช่วยจัดหาทางเชื่อมต่อระหว่างหย่อมป่า
เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในการจัดการจะเป็นรูปแบบของทางเชื่อมต่อเป็นแบบ Stepping stone หมายถึง
หย่อมถิ่นที่อาศัยขนาดเล็กจานวนตั้งแต่หนึ่งหย่อมขึ้นไปโดยหย่อมป่าเหล่านี้มีการจัดเรียงตัวอย่างเหมาะสม
และเอื้ออานวยต่อการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่า (ภาพ ก.) หรืออาจเป็นแถบถิ่นที่อาศัยที่เป็นพื้นที่เล็กๆ (Habitat
corridor) หมายถึง หย่อมถิ่นที่อาศัยขนาดเล็กที่มีลักษณะเป็นแถบทางยาวที่ต่อเนื่องกันระหว่างหย่อมป่า
ขนาดใหญ่ ทางเชื่อมดังกล่าวจาเป็นต้องมีความกว้างของแนวในระดับหนึ่งที่สามารถเกื้อหนุนให้สัตว์ป่า
เคลื่อนที่ผ่านไปมาได้ระหว่างผืนป่า (ภาพ ข.)
ทางเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าอาจจะแบ่งแยกได้ตามลักษณะของการเกิดทาง
เชื่อมที่อาจจะมีอยู่แล้วในธรรมชาติหรือเป็นแนวทางเชื่อมต่อที่ถูกทาขึ้นมาใหม่
1. แนวเชื่อมต่อตามธรรมชาติหรือแนวเชื่อมที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์โดยไม่ได้ตั้งใจ
โดยที่แนวเชื่อมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศที่มีอยู่แล้ว แนวเชื่อมประเภทนี้มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
การช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตแต่อย่างใด แต่ในทางพฤตินัยสิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่ผ่านไปมาตาม
แนวทางเชื่อมนี้อยู่แล้ว ทางเชื่อมประเภทนี้ ได้แก่ แนวรั้วต้นไม้ แนวกันลม ต้นไม้ตามหัวไร่ปลายนา
พืชพรรณที่ปลูกไว้สองข้างถนน และแนวคลองขุดเพื่อการระบายน้า พื้นที่ดังกล่าวมักจะมีสังคมพืชปกคลุม
อยู่ในระดับหนึ่ง โดยที่สัตว์ป่าสามารถใช้เป็นที่หลบภัยและเป็นแนวเชื่อมต่อสาหรับการเคลื่อนที่เพื่อเสาะ
แสวงหาถิ่นที่อาศัยแห่งใหม่ต่อได้ กรณีแนวเชื่อมต่อของสองข้างถนนเป็นแนวเชื่อมต่อที่สัตว์ป่ามีการใช้อยู่
- 10 -
เป็นประจามักจะเป็นถนนที่มีกิจกรรมของมนุษย์ไม่มากนัก อาจจะเป็นถนนสายรองหรือเป็นถนนที่ใช้สัญจร
ของประชาชนในท้องถิ่นมากกว่าเป็นถนนสายหลักที่เชื่อมต่อระหว่างเมืองใหญ่ๆ สัตว์ป่าที่พบว่ามีการใช้
แนวเชื่อมต่อสองข้างถนนมักจะเป็นชนิดพันธุ์ที่ปรับตัวได้ดี (Generalist) มีความทนทานสูงต่อสภาพพื้นที่
ที่เปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติเดิม สามารถใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ที่ถูกรบกวนจากกิจกรรมของมนุษย์ได้
และไม่มีความเจาะจงในการเลือกใช้ปัจจัยแวดล้อมที่พิเศษ อย่างไรก็ตามสัตว์ป่าที่ใช้ทางเชื่อมสองฝั่งถนน
อาจจะประสบอุบัติเหตุจากรถยนต์ที่ผ่านไปมาได้ง่าย ขณะที่พื้นที่หัวไร่ปลายนา พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ทา
การปศุสัตว์แนวรั้วต้นไม้แนวกันลม แนวคูคลองระบายน้าที่ไม่ได้มีการจัดการใช้ประโยชน์อย่างเข้มข้นมัก
พบว่ามีสัตว์ป่าขนาดเล็กใช้เป็นพื้นที่ในการเคลื่อนที่ไปหาถิ่นที่อาศัย หรือหาอาหาร สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
ขนาดเล็ก นกขนาดเล็กที่หากินตามเรือนยอดต้นไม้ สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จะมี
ศักยภาพในการใช้ทางเชื่อมต่อเหล่านี้เพื่อการเคลื่อนที่
2. แนวทางเชื่อมที่ถูกออกแบบมาเพื่อวัตถุประสงค์หลักสาหรับการเชื่อมต่อระหว่าง
ถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่า โดยเฉพาะ พบว่าในปัจจุบันในหลายประเทศมีการจัดทาแนวพื้นที่สีเขียวขึ้นเพื่อ
ตอบสนองวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย โดยเฉพาะเพื่อการตอบสนองด้านนันทนาการของประชาชนที่อาศัยอยู่
ในเขตชานเมืองและเขตเมือง รวมถึงวัตถุประสงค์รองเพื่อใช้เป็นทางเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า การจัดทาแนว
เชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าจะถูกสร้างขึ้นมาในลักษณะที่จัดทาในพื้นที่ที่มีการสร้างถนนผ่าน
เช่น ทาเป็นเส้นทางยกระดับเพื่อให้สัตว์ป่าเคลื่อนที่ผ่านไปมาได้หรืทาเป็นเส้นทางลอดใต้พื้นดิน ซึ่งจะมี
ความกว้างยาวแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญในด้านการจัดการสัตว์ป่า
ความกว้างของแนวเชื่อม (Habitat Linkage Width)
การออกแบบแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยจาเป็นต้องคานึงถึงคุณภาพของแนวเชื่อมต่อว่ามีความ
เหมาะสมในการช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่ามากน้อยเพียงใด แนวเชื่อมต่อที่มีประสิทธิภาพจาเป็น
อย่างยิ่งที่ต้องมีส่วนพื้นที่ที่เป็นแกนกลางของถิ่นที่อาศัย กล่าวคือแนวเชื่อมต่อที่มีความกว้างมาก จะเป็นการ
เพิ่มประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่และส่งเสริมให้ชนิดพันธุ์ที่หลากหลายสามารถใช้แนวเชื่อมต่อได้อย่างไรก็
ตามแรงกดดันจากพื้นที่ที่มิใช่ป่าไม้จะเป็นอุปสรรคหลักที่สาคัญต่อการจัดการแนวเชื่อมต่อให้มีความกว้าง
ได้ในระดับที่เหมาะสม มีงานวิจัยมากมายแต่ยังมิได้มีคาตอบหลักที่ว่าความกว้างของแนวเชื่อมต่อควรมี
ความกว้างเท่าใด เพื่อให้สัตว์ป่ากลุ่มเป้าหมายสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิภาพ
ของทางแนวเชื่อมมักผันแปรไปตามความยาวของแนวเชื่อม ต่อเนื่องของถิ่นที่อาศัยและคุณภาพของ
ถิ่นที่อาศัย โดยทั่วไปของความกว้างของแนวเชื่อมต่อกับประสิทธิภาพในเคลื่อนที่ของสัตว์ป่ ามี
ความสัมพันธ์กันดังนี้
1. ชนิดพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่จาเป็นต้องใช้แนวเชื่อมต่อที่มีความกว้างมาก เพื่อช่วยเหลือใน
การเคลื่อนที่และเป็นถิ่นที่อาศัยชั่วคราว
- 11 -
2. ความยาวของแนวเชื่อมต่อจาเป็นต้องกาหนดให้มีความสัมพันธ์กันความกว้างของแนว
เชื่อมที่เหมาะสม แนวเชื่อมต่อที่มีระยะสั้นๆ มีความเป็นไปได้ที่จะช่วยให้ระดับความต่อเนื่องของพื้นที่มากขึ้น
3. แนวเชื่อมต่อจาเป็นที่จะต้องมีขนาดกว้าง ขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกยึดครองของ
ประชาชน
4. หากมีการวางแผนให้แนวเชื่อมต่อมีการใช้ประโยชน์ในระยะยาวนานควรออกแบบให้
แนวเชื่อมต่อมีความกว้างมากขึ้น
Bennett (2003) ได้แนะนาว่าการใช้ความกว้างของแนวเชื่อมต่อที่เหมาะสมสาหรับสัตว์ป่า
แต่ละประเภทไว้ดังนี้
ความกว้างของแนวเชื่อมต่อที่เหมาะสมสาหรับชนิดพันธุ์สัตว์ป่า (Bennett, 2003)
การจัดทาแนวเชื่อมต่อของสัตว์ป่ าในประเทศไทย (Wildlife Habitat Linkage in Thailand)
แนวคิดในการจัดทาแนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่าในประเทศไทย ยังคงเป็นคาถามในหมู่ผู้
ที่เกี่ยวข้องว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ในการกาหนดแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่า เนื่องจากแนวคิด
ด้านการทาแนวเชื่อมต่อของสัตว์ป่าได้ถือกาเนิดมาจากประเทศในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะในประเทศ
แคนาดาและอเมริกา และได้แพร่หลายไปในหลายประเทศที่มีระดับของพื้นที่ที่มีการแตกเป็นหย่อมป่า
ที่ค่อนข้างสูง ประกอบกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่มีระดับต่าซึ่งแตกต่างจากสถานการณ์ในประเทศไทย
เนื่องจากสภาพพื้นที่ป่าธรรมชาติมีระดับของการเป็นพื้นที่ที่มีการแตกแยกเป็นหย่อมป่าน้อยพื้นที่ธรรมชาติ
ส่วนใหญ่มีประชาชนเข้าถึงได้ง่ายไม่ยากนัก โดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตพื้นที่คุ้มครองมักจะมีการตั้งถิ่นฐาน
ของชุมชนที่หนาแน่น และพื้นที่ป่าธรรมชาติของรัฐที่ตั้งอยู่นอกพื้นที่คุ้มครองก็ถูกบุกรุกอย่างหนักและ
มีการยึดถือครอบครองที่ดินที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย รวมถึงเครือข่ายของเส้นทางคมนาคมที่มีอยู่อย่าง
หนาแน่นทั่วทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังมีถนนอีกหลายสายที่ตัดผ่านพื้นที่ป่าคุ้มครองและสร้างความเสียหาย
ให้แก่พื้นที่ป่ าและสัตว์ป่ าเป็นจานวนมาก เส้นทางคมนาคมเป็นอุปสรรคในการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่ า
- 12 -
การสร้างทางลอดหรือทางข้ามดังกล่าวนับได้ว่าเป็นปัญหาที่สาคัญยิ่ง เนื่องจากต้องมีการก่อสร้างในพื้นที่
ธรรมชาติและมีต้นทุนสูง แต่แนวทางในการกาหนดแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าของประเทศไทยอาจจะ
เกิดขึ้นได้ยาก อย่างไรก็ตามนักวิชาการและผู้บริหารพื้นที่คุ้มครองเห็นว่าประเทศไทยยังคงมีความ
จาเป็นต้องศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดทาแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าหรือระหว่างพื้นที่คุ้มครอง
โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่มีสถานภาพถูกคุกคามและมีแนวโน้มต่อการสูญพันธุ์ เพื่อให้
กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนเชื่อมต่อดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพทันต่อเหตุการณ์จะต้องพิจารณาถึงสัตว์ป่า
ที่ยังอยู่ภายใต้การถูกคุกคามของมนุษย์จาเป็นต้องมีแนวทางการศึกษาอีกมาก เช่น
1. การศึกษาผืนป่าที่มีศักยภาพเป็นแนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่าที่ยังคงเหลืออยู่ในสภาพ
ธรรมชาติ ก่อนที่สภาพแนวเชื่อมต่อจะถูกเปลี่ยนแปลงจากสังคมพืชไปเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท
อื่นๆ ที่ไม่เหมาะสมสาหรับการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่า การออกแบบแนวเชื่อมต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
ให้สัตว์ป่ามีการเคลื่อนที่ระหว่างกลุ่มป่า การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทาแนวเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่
คุ้มครอง เช่น พื้นที่ระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวงและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน เป็นที่น่า
สังเกตุว่าภายในกลุ่มพื้นที่คุ้มครองที่มีขอบเขตเชื่อมต่อกันหรือใกล้เคียงกันมาก เสมือนว่าเป็นผืนป่าต่อเนื่อง
ขนาดใหญ่แต่พบว่าสัตว์ป่าประสบปัญหาในการเคลื่อนที่ไปหากินตามแหล่งที่อาศัยที่เหมาะสมได้ที่กระจาย
อยู่ทั่วไปในผืนป่า เนื่องจากการเคลื่อนที่ไม่สามารถผ่านอุปสรรคที่สาคัญที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ เช่น ทางหลวง
หมายเลข 304 ที่อยู่ระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่กับอุทยานแห่งชาติทับลาน จึงได้มีแนวคิดและแนวทาง
จัดทาแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าสาหรับ
ภาพแสดงการกระจายของกลุ่มป่าในประเทศไทย
- 13 -
ช้างป่าที่กระจายอยู่ในกลุ่มป่าตะวันตก ซึ่งดูเหมือนว่าช้างป่าอาศัยอยู่ในถิ่นที่อาศัยที่มีขนาดใหญ่และต่อเนื่อง
กลุ่มป่าตะวันตกถูกแบ่งแยกออกเป็นถิ่นที่อาศัย 2 ผืน คือทางหลวงหมายเลข 323 (ทางผาภูมิ-สังขลบุรี)
กล่าวคือผืนป่าที่เป็นอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์
อุทยานแห่งชาติลาคลองงู เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จะตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทางหลวง ส่วนทางทิศตะวันตกของทางหลวงเป็นอุทยาน
แห่งชาติไทรโยค อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ นอกจากนีน้ยังมีแหล่งน้าถาวร เขื่อนเขาแหลมที่ตั้งอยู่
ในอุทยานแห่งชาติ เขื่อนเขาแหลมจัดได้ว่าเป็นอุปสรรคในการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่า
2. สาหรับหย่อมป่าถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปจาเป็นต้องค้นหาสร้าง
ทางแนวเชื่อมต่อที่มีศักยภาพระหว่างพื้นที่คุ้มครองต่างๆ ตั้งอยู่ที่ประชากรของสัตว์ป่าถูกแบ่งแยกออก
จากกัน ถือว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่จะต้องกระทาควบคู่กันไปกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
3. ทาการค้นหาแนวเชื่อมต่อที่มีความสาคัญต่อการเป็นแนวเชื่อมต่อของผืนป่าระหว่างพื้นที่
คุ้มครองของประเทศรวมถึงพื้นที่คุ้มครองของประเทศเพื่อนบ้านที่ปรากฏว่าเป็นเครือข่ายพื้นที่คุ้มครองที่มี
ความสาคัญในระดับนานาชาติ เช่น การศึกษาแนวทางเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าของกลุ่มป่าพนมดงรักกับพื้นที่
คุ้มครองของประเทศสาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาวหรือของประเทศกัมพูชา
4. การประยุกต์แนวความคิดขอเส้นทางสีเขียว หรือกลุ่มป่าขนาดเล็ก หรือกลุ่มป่าชุมชน
ระหว่างพื้นที่กลุ่มที่กาหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่สองฝั่งของลาน้าลาห้วย ถนนที่ผ่านไปตามเมืองต่างๆ
หรือการปลูกต้นไม้ในพื้นที่ป่าชุมชนเป็นการส่งเสริมการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น สัตว์เลี้ยงลูก
ด้วยนมขนาดเล็ก นก สัตว์เลื้อยคลาน ตลอดจนสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกและสัตว์น้า
ความเหมาะสมของการเลือกประเภทของแนวเชื่อมต่อไม่ว่าจะเป็นแบบใดจะต้องพิจารณา
ถึงความกว้าง ความยาวของแนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า จาเป็นต้องมีการศึกษาต่อไป ความสาเร็จของแนว
เชื่อมต่างๆ ดังกล่าวแล้วยังไม่มีหลักประกันว่าจะประสบความสาเร็จเมื่อใด จาเป็นต้องศึกษาและติดตามผล
ทุกระยะเวลาตามที่กาหนด
- 14 -
เอกสารอ้างอิง
1. Beier, P., D.Majka&J,Jenness (2005) An online document. Conceptual Steps for
DesigningWildlife Corridors. Available sources:
http://corridordesign.org/dl/docs/Conceptualsteps For Designing Corridors.pdf
2. Bennett, A.F. (2003)Linkages in the Landscapes: The Role of Corridors and Connectivity in
Wildlife Conservation. IUCN, Gland, Switzerland and Cambridge, UK.
3. Hess, G.R. & R.A. Fischer (2001) Communicating clearly about conservation corridors.
Landscape and Urban Planning 55:195-208.
4. Levins, R. (1969) Some demographic and Genetic consequences of environmental
heterogeneity for biological control. Bull. Entomol Soc. Am.15:237-240.
5. Secretariat of the Convention on Biological Diversity (SCBD) (2001). Global Biodiversity
OutlookⅠ, Montreal.
………………………………………………………………………

More Related Content

What's hot

การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คนThitiporn Parama
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)Krishna Rama
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต FURD_RSU
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานratanapornwichadee
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กGed Gis
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475kulrisa777_999
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกThanyamon Chat.
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยLilrat Witsawachatkun
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfNoeyWipa
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีChanthawan Suwanhitathorn
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย Kran Sirikran
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01kroojaja
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54Oui Nuchanart
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลThipwaree Tobangpa
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกลthanakit553
 

What's hot (20)

การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
การอนุรักษ์นาฏศิลป์กับภูมิปัญญาท้องถิ่น และเทคนิคการจัดการแสดง ม.6 ปี2557
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
502การย่อยอาหารจุลทรีย์ สัตว คน
 
Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10Minibookanimalgroup10
Minibookanimalgroup10
 
ปก
ปกปก
ปก
 
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
ระบบงาน HR บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน)
 
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
PPT Urbanization ของนครขอนแก่นในปัจจุบัน และอนาคต
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
ทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงานทรัพยากรพลังงาน
ทรัพยากรพลังงาน
 
สมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็กสมุดเล่มเล็ก
สมุดเล่มเล็ก
 
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
การเปลี่ยนแปลงการปกครองพ.ศ. 2475
 
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอกระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
ระบบประสาทส่วนกลางและรอบนอก
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdfชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
ชีทสรุป ม.4 เทอม 2 โดยครูเนยวิภา.pdf
 
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสีการสลายของธาตุกัมมันตรังสี
การสลายของธาตุกัมมันตรังสี
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
03อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ0103อัตราส่วนและร้อยละ01
03อัตราส่วนและร้อยละ01
 
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
กลไกการรักษาดุลยภาพ 54
 
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเลโครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
โครงร่างโครงงาน เรื่อง ขยะทางทะเล
 
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
เรื่องที่ 11  คลื่นกลเรื่องที่ 11  คลื่นกล
เรื่องที่ 11 คลื่นกล
 

Viewers also liked

Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณAuraphin Phetraksa
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุDaDame Parinan
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรUNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวBituey Boonkanan
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติUNDP
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557Auraphin Phetraksa
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practiceSomyot Ongkhluap
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 

Viewers also liked (20)

Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยวการอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
การอนุรักษ์ทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุการอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
การอนุรักษ์โบราณสถานและโบราณวัตถุ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยวผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
ผลกระทบแหล่งท่องเที่ยว
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
Tourism principles and practice
Tourism principles and practiceTourism principles and practice
Tourism principles and practice
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 

แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า

  • 1.
  • 2. - 1 - แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสาหรับสัตว์ป่ า (Guideline for Habitat Linkage Management) โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA --------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การแตกเป็นหย่อมป่ า (Forest Fragmentation) ในช่วงครึ่งศตวรรษที่ผ่านมาประมาณว่าครึ่งหนึ่งของพื้นที่ระบบนิเวศบนบกของโลกได้มี การสูญเสียพื้นที่ป่าไม้และเกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพจากการใช้ประโยชน์ที่ดินอย่างถาวร สาเหตุดังกล่าวนี้ เป็นภัยคุกคามหลักต่อความเป็นอยู่ของความหลากหลายทางชีวภาพ (SCBD, 2001) การเปลี่ยนแปลงของ สภาพพื้นที่ป่าไม้จนกลายเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทอื่นๆ อาทิเช่น พื้นที่เพื่อการเพาะปลูกและ การปศุสัตว์ พื้นที่เพื่อการอุตสาหกรรม แหล่งน้าถาวรขนาดใหญ่ ตลอดจนเป็นพื้นที่เพื่อเป็นที่อยู่อาศัยของ มนุษย์ถือได้ว่าเป็นปัญหาสาคัญต่อการสูญเสียถิ่นที่อาศัยของชนิดพันธุ์พืชและสัตว์ป่า ที่สามารถพบเห็นได้ ในประเทศต่างๆ ทั่วโลก การสูญเสียถิ่นที่อาศัย (Habitat loss) ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของขนาดพื้นที่ ป่าไม้หรือพื้นที่ธรรมชาติที่ในอดีตเคยเป็นพื้นที่ขนาดใหญ่และต่อเนื่องเป็นผืนเดียวกัน กลับกลายเป็นผืนป่า ที่มีการแตกเป็นหย่อมๆ (Fragmentation) เกิดเป็นหย่อมป่าที่มีขนาดใหญ่บ้าง ขนาดเล็กบ้างกระจายอยู่ ท่ามกลางสภาพพื้นที่โดยรอบที่เป็นการพัฒนามาจากกิจกรรมของมนุษย์ ผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อรูปแบบของสภาพภูมิประเทศ (Landscape pattern) ของระบบนิเวศโดยรวม โดยเฉพาะอย่างยิ่งการลดลงของพื้นที่ป่าไม้ตามธรรมชาติและการเพิ่มขึ้นของระยะห่างระหว่างหย่อมป่ า เป็นหย่อม Bennett (2003) ได้ชี้ให้เห็นถึงกระบวนการการเกิดการแตกกระจายของผืนป่าว่าเป็น พลวัตรการเปลี่ยนแปลงของรูปแบบถิ่นที่อาศัยตามระยะเวลาที่ปลี่ยนแปลงไป การแตกเป็นหย่อมป่ า เป็นคาที่ใช้ในการอธิบายถึงภาวะของการเปลี่ยนแปลงพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ที่ถูกปกคลุมด้วยพืชพรรณ จากการทาลายที่ยังไม่สมบูรณ์ก่อให้เกิดการเหลือหย่อมพื้นที่ที่มีพืชพรรณขนาดเล็กๆ ที่ถูกแบ่งแยกออกจากกัน ฉะนั้น การแตกเป็นหย่อมป่าจึงมีความหมายถึงการเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อาศัยที่อดีตเคยต่อเนื่องที่เป็น ผืนเดียวกันกลายเป็นหย่อมที่อาศัยที่มีความผันแปรทั้งทางด้านขนาดและรูปลักษณ์ทางภูมิประเทศ (Landscape configuration)
  • 3. - 2 - การเกิดการแตกเป็นหย่อมป่ า (Forest Fragmentation Process) จากการศึกษาของ Bennett (2003) พบว่าการเกิดการแตกเป็นหย่อมป่าประกอบด้วยส่วน ที่สาคัญ 3 ประการ คือ 1. การเกิดการสูญเสียถิ่นที่อาศัย (Habitat loss) ได้แก่ การลดลงของพื้นที่ถิ่นที่อาศัยภาย หลังจากเกิดการแบ่งแยกของพื้นที่และการทาลายพื้นที่บางส่วนออกไป (Habitat reduction) 2. การเพิ่มระดับความโดดเดี่ยวของถิ่นที่อาศัยโดยการเพิ่มขึ้นของระยะทางระหว่างหย่อมป่า ที่เหลืออยู่ ขณะที่การใช้ประโยชน์พื้นที่ดินประเภทอื่นๆ เกิดขึ้นมาแทนที่ระหว่างหย่อมป่า (Habitat isolation) 3. การแตกเป็นหย่อมป่าถือได้ว่ามีผลกระทบต่อระบบนิเวศทั้งในระดับท้องถิ่น (Local landscape) และระดับภูมิภาค (Regional Landscape) อีกทั้งยังมีผลกระทบต่อโครงสร้าง (Structure) และ หน้าที่ (Function) ของระบบนิเวศอีกด้วย สาหรับกระบวนการเกิดการแตกเป็ นหย่อมป่ ามีกระบวนการตามขั้นตอนต่างๆ สรุปได้ดังนี้ 1. การตัดผ่าน (Dissection) ขั้นแรกของการเริ่มต้นการเกิดการแตกเป็นหย่อมป่ า มีการพัฒนาเส้นทางคมนาคมประเภทต่างๆ ได้แก่ ถนน ทางเกวียน ทางเดินเท้า หรือทางรถไฟ เป็นการเพิ่ม ความสามารถในการเข้าถึงพื้นที่ป่าของมนุษย์ กล่าวได้ว่าการเข้ามาของเส้นทางคมนาคมเป็นจุดเริ่มต้นของ การเกิดการสูญเสียถิ่นที่อาศัย 2. การกลายเป็ นรูทะลุของผืนป่ า (Perforation) เกิดจากกิจกรรมต่างๆ ของมนุษย์ โดยการทาลายพื้นที่ขนาดเล็กๆ เป็นที่อาศัยหรือปลูกพืชเกษตรในป่าเสมือนเป็นการเจาะเป็นรูทะลุในพื้นที่ ธรรมชาติ มีการสร้างทางเดินเท้าหรือทางเกวียนและการสร้างถนนเพื่อการคมนาคม อัตราการสูญเสีย ถิ่นที่อาศัยจะเร็วหรือช้าผันแปรไปตามระดับความเข้มข้นของกิจกรรมของมนุษย์ 3. การแตกเป็นหย่อมป่า (Fragmentation) เมื่อมีการตั้งถิ่นฐานของมนุษย์เกิดขึ้น การขยาย พื้นที่เป็นเขตหมู่บ้าน ตาบลหรือเขตเมืองและพื้นที่เกษตรกรรมเป็นไปอย่างรวดเร็วทาให้พื้นที่ธรรมชาติเริ่ม แยกตัวห่างออกจากกันและท้ายที่สุดเกิดเป็นหย่อมป่าขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามพื้นที่ ส่วนใหญ่ที่อยู่โดยรวม ยังคงมีสภาพเป็นป่าธรรมชาติอยู่ 4. การลดจานวนพื้นที่ป่ า (Attrition) ในระยะเวลาที่ผ่านไปตามรุ่นต่างๆ ของมนุษย์ การขยายพื้นที่ที่ทากินของมนุษย์ทาให้พื้นที่หย่อมป่าขนาดใหญ่กลายเป็นหย่อมป่าขนาดเล็ก ขณะที่พื้นที่ โดยรอบมีการเปลี่ยนแปลงสภาพไปเป็นพื้นที่การใช้ประโยชน์ของมนุษย์ประเภทอื่นๆ มากยิ่งขึ้น เช่น พื้นที่ เพื่อการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์และเขตชานเมือง เป็นต้น ในที่สุดพื้นที่ป่าธรรมชาติส่วนใหญ่ก็ถูกพัฒนา กลายเป็นพื้นที่สาหรับการอยู่อาศัยและประกอบกิจกรรมต่างๆ สาหรับมนุษย์นั่นเอง
  • 4. - 3 - = เส้นทางคมนาคม = พื้นที่ที่อาศัยและพื้นที่การเกษตรของมนุษย์ ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแตกเป็นหย่อมป่ า โดยทั่วไปแล้วพื้นที่ที่มีการใช้ประโยชน์ที่ดินของมนุษย์อย่างเข้มข้น มักจะเป็นพื้นที่ที่เคยมี ความเหมาะสมต่อการอยู่อาศัยของสัตว์ป่า เป็นพื้นที่ที่มีสภาพภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม หรือในที่ราบหุบเขา ขนาดใหญ่ มีความลาดชันไม่มากนักและไม่ไกลจากแหล่งน้า มักจะถูกยึดครองโดยชุมชนที่อยู่ใกล้เคียงกับ พื้นที่ป่าไม้ การลดลงของขนาดหย่อมป่าที่เหมาะสมต่อการเป็นถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าและการเพิ่มขึ้นของ บริเวณขอบป่า (Forest edge) ที่มีอยู่อย่างต่อเนื่องกับพื้นที่การใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทต่างๆ โดยรอบ พบว่าในระยะยาว พื้นที่หย่อมป่ าที่เหลือมีแนวโน้มจะลดขนาดลงอีกและอาจจะหายไปในที่สุดหรือ กลายเป็นพื้นที่ป่าชุมชนที่มีการอนุรักษ์โดยชุมชน การเปลี่ยนแปลงทางด้านองค์ประกอบของนิเวศของ ถิ่นที่อาศัยเกิดจากความกดดันจากการใช้ประโยชน์ที่ดินในรูปแบบต่างๆ ที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ การบุกรุกดังกล่าวมิได้เกิดโดยบังเอิญ แต่เป็นความตั้งใจของมนุษย์ที่ต้องการเปลี่ยนสภาพการใช้ประโยชน์ ที่ดิน เช่น การเลือกพื้นที่เพื่อการเกษตรที่มีความอุดมสมบูรณ์ของดินสูง ทาให้เกิดพื้นที่เกษตรกรรมใกล้เคียง กับพื้นที่หย่อมป่า เกิดการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของหย่อมป่าเนื่องจากแรงกดดันจากการใช้ประโยชน์ของ มนุษย์รอบพื้นที่ พบว่า หย่อมป่าที่มีรูปร่างไม่สม่าเสมอย่อมมีเส้นรอบรูปยาวกว่าหย่อมป่าที่มีรูปร่างกลม หรือสี่เหลี่ยม และพื้นที่หย่อมป่าดังกล่าวมักมีความเสี่ยงต่อการถูกคุกคามที่สูงขึ้น เนื่องจากความขัดแย้ง ระหว่างหย่อมป่าและพื้นที่ขอบโดยรอบมีมากขึ้นตามช่วงเวลาที่ผ่านไป ผลกระทบที่เกิดขึ้นจากการแตกเป็นหย่อมป่า หย่อมป่าที่กระจัดกระจายตัวอยู่ทั่วไปมักมี ความใกล้เคียงกันในระดับที่แตกต่างกันไปในแต่ละพื้นที่และผันแปรไปตามแรงกดดันจากความต้องการใช้ ประโยชน์ที่ดินโดยรอบของชุมชน หย่อมป่าจะไม่เหมาะสมต่อการเป็นถิ่นที่อาศัยของพืชพรรรณหรือทาให้ สัตว์ป่ าอยู่ห่างกันมากขึ้น หรือหย่อมป่ าเหล่านั้นมีขนาดเล็กลง ประชากรของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่มักมี ความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์เร็วขึ้น เป็นไปตามทฤษฎีชีวกลายเป็นเกาะทางภูมิภาคของเกาะ (Island biogeography theory)โดย McArthur&Willis (1967)และ Levins (1969)กล่าวว่า ทฤษฎีการเกิดประชากรย่อย (Metapopulation) ภายหลังที่พื้นที่เกิดหย่อมป่า สิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่งสัตว์ป่าไม่สามารถเคลื่อนที่ไปมา อย่างอิสระระหว่างถิ่นที่อาศัยได้เช่นในอดีต ประชากรสิ่งมีชีวิตมีแนวโน้มถูกกักให้อาศัยอยู่ในเฉพาะหย่อม พื้นที่ป่า
  • 5. - 4 - ป่านั้นๆ ก่อให้เกิดปัญหาการผสมเลือดชิด (Inbreeding) หรือการผสมพันธุ์ภายในประชากรที่มีลักษณะคอย ทางพันธุกรรม เป็นเหตุให้พันธุกรรมของประชากรย่อยนั้นๆ ขาดความหลากหลาย อ่อนแอและมีจานวน ลดลงในที่สุด จากทฤษฎีผลกระทบดังกล่าวนี้เองเป็นแรงขับเคลื่อนที่สาคัญที่ทาให้นักอนุรักษ์ด้าน การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพหันมาให้ความสนใจในการออกแบบและจัดทาทางเชื่อมต่อระหว่าง หย่อมป่า โดยเฉพาะการให้น้าหนักไปกับการออกแบบทางเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่าที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อ การสูญพันธุ์มากกว่าสิ่งมีชีวิตประเภทอื่นๆ ทั้งนี้ เนื่องจากสัตว์ป่ามีการเคลื่อนที่ไม่อยู่นิ่งกับที่ การแตกเป็น หย่อมป่าผลต่อสัตว์ป่าสามารถสรุปได้ว่า เหตุผลและความจาเป็นของสิ่งมีชีวิตที่ต้องการมีการเคลี่อนที่ไปมา ระหว่างถิ่นที่อาศัยที่แตกต่างกัน เช่น 1. การเคลื่อนที่เพื่อเสาะแสวงหาแหล่งอาหารที่เกิดขึ้นอยู่ในหย่อมป่าในแต่ละวัน 2. การเคลื่อนที่เพื่อใช้แหล่งทรัพยากรในบางช่วงเวลาอาจจะเป็นรอบวันหรือรอบเดือน 3. การเคลื่อนที่เพื่อการใช้สภาพแวดล้อมเฉพาะในบางฤดูกาล เป็นการย้ายถิ่นหรืออพยพ ย้ายถิ่นตามฤดูกาล 4. การเคลื่อนที่เพื่อเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยในช่วงชีวิตที่แตกต่างกันตามฤดูกาล 5. การเคลื่อนที่เพื่อกลับมาสืบพันธุ์ให้ลูกในรอบปี 6. การเคลื่อนที่เพื่ออพยพไปตั้งถิ่นฐานในสภาพแวดล้อมใหม่ 7. การเคลื่อนที่เพื่อการขยายพื้นที่การแพร่กระจาย 8. การเคลื่อนที่เพื่อหาที่อยู่ใหม่ตามการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ 9. การเคลื่อนที่เพื่อการอพยพระหว่างเกาะหรือทวีป จากความต้องการของสิ่งมีชีวิตในการเคลื่อนที่หาแหล่งถิ่นที่อาศัยในระบบนิเวศบนพื้นดิน นั้น พบว่าสิ่งมีชีวิตต่างๆ โดยเฉพาะสัตว์ป่าเป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้จะมีความสามารถใน การเคลื่อนที่สูงเพื่อเสาะแสวงหาแหล่งอาหาร แสดงให้เห็นว่าสัตว์ป่าประสบปัญหาในการเคลื่อนที่ที่เห็นได้ ชัดเจน ในสภาวการณ์ปัจจุบันสัตว์ป่าเลี้ยงลูกด้วยนมขนาดกลางหรือขนาดใหญ่มักจะถูกจากัดให้หากินอยู่ ในพื้นที่ที่มีขนาดเล็ก โดยทั่วไปแล้วพื้นที่หย่อมป่าขนาดเล็กดังกล่าวไม่สามารถตอบสนองความต้องการ ขั้นพื้นฐานต่อการดารงชีวิตของประชากรสัตว์ป่าได้ ฉะนั้นจึงถือได้ว่าสภาพการแตกเป็นหย่อมป่าที่พบอยู่ ในปัจจุบัน เป็นอุปสรรคสาคัญต่อการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่าในธรรมชาติและจัดให้เป็นภัยคุกคามที่สาคัญที่สุด ต่อความหลากหลายทางชีวภาพทุกระดับ ความหมายและแนวคิดของแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัย (Definitions and Concepts of Habitat Linkage) คาว่า ทางเชื่อมต่อหรือแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัย (Habitat Linkage) มีการใช้กันมากมายใน หลายสาขาวิชา แต่ก็มีการให้ความหมายที่ใกล้เคียงกัน เช่น Beier et.al. (2005) ได้ให้ความหมายของคาว่า Habitat Linkage ไว้ว่า “a swath of land that is best expected ot serve movement needs of an individual species after the remaining matrix has been converted to other uses” แต่ถ้าหากจะให้ความหมายใน
  • 6. - 5 - ภาษาไทย จากหลายบทนิยามตามที่ได้ศึกษามา จึงให้ความหมายของคาว่าแนวเชื่อมต่อไว้ว่า “ทางแนว เชื่อมต่อ หมายถึง พื้นที่ขนาดเล็กโดยมากมักมีรูปร่างเป็นแถบยาวช่วยทาหน้าที่ตอบสนองความต้องการของ ชนิดพันธุ์เฉพาะที่ต้องการเคลื่อนที่ระหว่างหย่อมป่าที่แตกต่างกันได้ โดยแนวเชื่อมต่อมักมีชนิดพันธุ์พืช ใกล้เคียงกับถิ่นที่อาศัยหลักที่ตั้งอยู่ใกล้เคียง” จะเห็นได้ว่าคาจากัดความดังกล่าวได้เน้นย้าถึงความสาคัญของความสามารถในการเคลื่อนที่ของ ชนิดพันธุ์จากถิ่นที่อาศัยแห่งหนึ่งผ่านแนวเชื่อมต่อไปยังถิ่นที่อาศัยอยู่ห่างไกลออกไปโดยแนวเชื่อมต่อนี้อาจเป็น ที่ต้องการของชนิดพันธุ์เฉพาะในบางช่วงเวลาหนึ่งหรือทุกช่วงเวลาของวงจรชีวิตขณะที่ความหมายของถิ่นที่อาศัย (Habitat)หมายถึงบริเวณพื้นที่ที่มีความเหมาะสมทั้งในแง่ของการสนับสนุนปัจจัยพื้นฐานต่างๆในการดารงชีวิต เช่นแหล่งอาหารแหล่งหลบภัยแหล่งน้าและอยู่ในสภาพแวดล้อมที่เอื้ออานวยให้ชนิดพันธุ์สามารถอยู่รอดและ สามารถสืบพันธุ์ออกลูกออกหลานต่อไปได้ มุมมองของแนวเชื่อมต่อที่สาคัญสามารถแยกออกได้ 2 ประการคือ 1. มุมมองทางด้านโครงสร้าง (Structure perspective) เป็นการพิจารณาแนวเชื่อมต่อโดย เน้นไปที่ลักษณะหรือรูปลักษณ์ภายนอกของแนวเชื่อมต่อ เช่น ความยาว ความกว้าง หรือความโค้งของทาง เชื่อมต่อหรืออีกนัยหนึ่งคือการพิจารณาถึงการมีการเชื่อมต่อทางด้านโครงสร้างเท่านั้น 2. มุมมองทางด้านบทบาทหน้าที่ (Function perspective) เป็นการพิจารณาเชื่อมต่อใน ฐานะของความสามารถที่ทาให้มีการเชื่อมต่อกันได้ (Connectivity) โดยความสามารถในการเชื่อมต่อนั้นเป็น สิ่งที่บอกได้ว่าพืชหรือสัตว์สามารถเคลื่อนย้ายระหว่างหย่อมป่าหรือหมู่เกาะไปได้ด้วยความยากง่ายเพียงใด ฉะนั้น นักวิชาการที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่แนวเชื่อมต่อมีความจาเป็นอย่างยิ่ง ที่จะต้องพิจารณาถึงความสามารถในการเคลื่อนที่ของชนิดพันธุ์สิ่งมีชีวิตที่จะผ่านไปมาตามทางเชื่อมต่อ และต้องจดจาไว้ว่าสิ่งมีชีวิตต่างชนิดกันย่อมมีความสามารถในการเคลื่อนที่ที่แตกต่างกัน มีความจาเป็น ที่จะต้องออกแบบทางเชื่อมต่อให้เหมาะสมกับพฤติกรรมของชนิดพันธุ์นั้นๆ Bennett (2003) ได้ย้าให้เห็นถึง ความสาคัญของการส่งเสริมให้เกิดความสามารถในการจัดการเชื่อมต่อกับทางด้านหน้าที่ (Functional connectivity) มากกว่าที่จะมุ่งเน้นการเชื่อมต่อเฉพาะทางด้านกายภาพเท่านั้น (Physical connectivity) ให้พิจารณาถึงคุณภาพและสภาพแวดล้อมของแนวเชื่อมต่อที่ชนิดพันธุ์นั้นๆ จะสามารถผ่านไปมาได้หรือไม่ อาจจะกล่าวได้ว่าการเข้าใจถึงองค์ประกอบทางด้านพฤติกรรมอย่างแท้จริงของชนิดพันธุ์แต่ละชนิดที่เป็น เป้ าหมายการอนุรักษ์ เป็นสิ่งสาคัญอันดับแรกที่สุดที่จะรับประกันถึงความสาเร็จของการใช้แนวเชื่อมต่อ ระหว่างผืนป่าเพื่อการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ เป้ าหมายของแนวเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อาศัยในผืนป่ า (Habitat Linkage) มีความจาเป็นที่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องต้องเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของทางเชื่อมที่มีต่อ ระบบนิเวศ หน้าที่หลักของแนวเชื่อมคือ การสนับสนุน (Enhance) ให้เกิดความสามารถในการเชื่อมต่อ (Connectivity) กันของสิ่งมีชีวิตระหว่างหย่อมป่าที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไป กล่าวคือเป็นการสนับสนุนหรือ ช่วยเหลือให้เกิดการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตโดยเฉพาะสัตว์ป่ าสามารถเคลื่อนย้ายไปมาระหว่างหย่อม
  • 7. - 6 - ถิ่นที่อาศัยที่มีระยะทางห่างจากกันได้ การสนับสนุนให้เกิดมีความเชื่อมต่อกันระหว่างหย่อมป่าต่างๆ นั้นจะ ช่วยให้สิ่งมีชีวิตมีโอกาสแลกเปลี่ยนพันธุกรรมระหว่างประชากรที่แยกจากกันมากขึ้นเปิดโอกาสให้ ประชากรสิ่งมีชีวิตตั้งถิ่นฐานในพื้นที่แห่งใหม่ รวมทั้งการเพิ่มโอกาสในการเสาะแสวงหาปัจจัยสาคัญหลัก ในการดารงชีวิต (Keystone resources) ได้มากขึ้น การจัดการพื้นที่คุ้มครองในลักษณะกลุ่มป่าโดยการจัดให้ มีการเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าต่างๆ ถือได้ว่าเป็นหนึ่งในกลยุทธ์หลักสาคัญในการจัดการพื้นที่คุ้มครองแบบ เป็นระบบ (Systematic conservation) ฉะนั้นข้อดีของการจัดให้มีแนวเชื่อมต่อระหว่างหย่อมป่าสามารถสรุป ได้ดังนี้ 1. เพิ่มอัตราการอพยพเข้าสู่พื้นที่คุ้มครอง โดยช่วยให้เกิดการ 1.1 เพิ่มหรือรักษาความหลากหลายของชนิดพันธุ์ 1.2 เพิ่มขนาดของประชากรแต่ละชนิดพันธุ์และช่วยลดโอกาสสูญพันธุ์ เกิดการตั้ง ถิ่นฐานใหม่ของบางประชากรในระดับท้องถิ่นซึ่งได้สูญพันธุ์ไปก่อนในอดีต 1.3 ป้องกันไม่ให้เกิดความกดดันภายในประชากรจนเกิดการผสมพันธุ์ในสายเลือดที่ ใกล้ชิดกันและขณะเดียวกันเป็นการดารงไว้ซึ่งความหลากหลายทางพันธุกรรมภายในประชากร 2. เพิ่มพื้นที่ในการเสาะแสวงหาอาหาร เป็นการช่วยให้ชนิดพันธุ์ที่เคยอยู่ในถิ่นที่อาศัยที่ ไม่เหมาะสมได้ผ่านไปยังพื้นที่ที่มีความเหมาะสมกว่า 3. ทาหน้าที่เป็นพื้นที่คุ้มกันภัย (Cover) สาหรับชนิดพันธุ์ในขณะที่มีการเคลื่อนที่ระหว่าง หย่อมป่า 4. ก่อให้เกิดความหลากหลายของถิ่นที่อาศัยเพื่อช่วยให้สิ่งมีชีวิตในแต่ละช่วงชีวิต สามารถเลือกใช้ถิ่นที่อาศัยที่เหมาะสมในพื้นที่และช่วงเวลาที่ต้องการตามวงจรชีวิตของสัตว์ชนิดพันธุ์นั้น 5. จัดหาพื้นที่ที่เป็นทางเลือกสาหรับการหลบภัยของสิ่งมีชีวิตในช่วงที่เผชิญกับ การรบกวนที่มีความรุนแรงมาก เช่น ภัยจากไฟป่า หรือน้าท่วม เป็นต้น 6. เกิดทางสีเขียว (Green belt) ช่วยชะลอการเติบโตของเขตบ้านเมืองในทางอ้อม ส่งเสริม ให้เกิดโอกาสทางด้านนันทนาการและช่วยพัฒนาทิวทัศน์ให้เกิดความร่มรื่นเป็นการเพิ่มคุณค่าทางอ้อม ให้กับพื้นที่ 7. ให้มีการดูแลคุณภาพของแหล่งน้าและการจัดการแหล่งน้าที่ดีขึ้น หน้าที่ทางด้านนิเวศวิทยาของแนวเชื่อมต่อ (Ecological Function of Corridor) บทบาทของแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยที่เห็นได้ชัดเจนที่สุดคือการสนับสนุนให้สิ่งมีชีวิต สามารถกระจายและเคลื่อนตัวไปตามหย่อมที่อาศัยที่อยู่ห่างไกลออกไปได้ Forman & Gordon (1986) ได้กล่าวถึงบทบาทหน้าที่ทางนิเวศวิทยาของแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยมีอยู่หลายประการ กล่าวคือ 1. การเป็นถิ่นที่อาศัย (Habitat) 2. การเป็นทางเชื่อมผ่าน (Conduit) 3. การเป็นตัวกรอง (Filter)
  • 8. - 7 - 4. การเป็นตัวขัดขวาง (Barrier) 5. การเป็นแหล่งผลิต (Sources) 6. การเป็นแหล่งกาจัด (Sink) นอกจากนี้ Hess & Fischer (2001) ได้เน้นถึงบทบาทของทางเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยที่มี ความสาคัญที่นักจัดการพื้นที่คุ้มครองต้องการ 1. บทบาทของทางเชื่อมต่อที่ทาหน้าที่ช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของชนิดพันธุ์(Conduit function) 2. บทบาทของทางเชื่อมต่อที่ช่วยเหลือชนิดพันธุ์ในแง่การเป็นแหล่งอาหารและแหล่ง ผสมพันธุ์ด้วย (Habitat function) โดยจะเรียกกลุ่มของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าเหล่านี้ว่าเป็นผู้อาศัยในทางเชื่อมต่อ (Corridor dwellers) บางชนิดพันธุ์อาจมีความสามารถในการเคลื่อนที่ต่า จาเป็นต้องใช้เวลาหลายชั่วอายุเพื่อ การขยายหรือ/และย้ายถิ่นฐานออกไปจากถิ่นเดิม แนวเชื่อมที่มีความกว้างมากๆ อาจจะช่วยให้สังคมแห่งชีวิต และระบบนิเวศสามารถอยู่ได้อย่างมั่นคง สัตว์ป่าและพืชพรรณที่เป็นอาหารของสัตว์ป่าชนิดพันธุ์สัตว์ป่า สามารถเคลื่อนที่ไปมาระหว่างพื้นที่คุ้มครองที่มีขนาดใหญ่ได้ในช่วงเวลาหลายชั่วอายุของสิ่งชีวิต ในทางตรงกันข้ามบทบาทการเป็ นตัวกรองและตัวขัดขวางของทางเชื่อมต่อเป็ น การพิจารณาบทบาทของบริเวณพื้นที่ด้านนอกของแนวเชื่อมต่อขั้นกลาง พื้นที่ที่อยู่ตรงข้ามกันของสองฝั่ง ทางเชื่อมต่อถูกแบ่งแยกออกจากกัน ฉะนั้น หน้าที่ของแนวทางเชื่อมต่อเสมือนเป็นอุปสรรคที่ไม่ให้สิ่งมีชีวิต บางประเภทข้ามไปมาได้โดยง่าย อาจมีการยอมให้สิ่งมีชีวิตบางชนิดที่มีคุณลักษณะเฉพาะสามารถผ่านไปได้ เท่านั้น หรืออาจไม่ยอมให้สิ่งมีชีวิตใดๆ ผ่านไปเลยก็ได้ เช่น การใช้ลาน้าเป็นแนวเชื่อมต่อกันระหว่าง ทะเลสาบสองแห่งที่ทาให้สัตว์บกขนาดเล็กไม่สามารถข้ามไปมาได้ ขณะที่บทบาทในแง่ของการเป็นแหล่งผลิตและแหล่งกาจัดสิ่งมีชีวิตนั้นเป็นสิ่งที่ไม่ค่อย ได้รับความสนใจต่อการพิจารณาการออกแบบแนวเชื่อมต่อ เนื่องจากบทบาททางของแนวเชื่อมต่อที่มี อิทธิพลต่อด้านนี้ไม่ชัดเจนมากนัก แหล่งผลิตเป็นการอธิบายถึงถิ่นที่อาศัยที่มีการส่งเสริมการเพิ่มของ ประชากรมากกว่าในการลดจานวนของประชากรโดยที่แหล่งกาจัดหมายถึงถิ่นที่อาศัยที่มักพบมีการที่ลดลง ของประชากรมากกว่าภาวะเพิ่มของประชากร ความสามารถในการเชื่อมถึงกันของพื้นที่กับการอนุรักษ์สัตว์ป่ า (Landscape Connectivity and Wildlife Conservation) Landscape connectivity คือ ความสามารถของพื้นที่ที่สามารถส่งเสริมหรือขัดขวาง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตที่ผ่านไปมาระหว่างหย่อมป่าที่เหมาะสมต่อการเป็นถิ่นที่อาศัยและการสืบพันธุ์ สัตว์ป่าในเขตร้อนเช่นประเทศไทยโดยมากเป็นชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่มีความต้องการปัจจัยใน การดารงชีวิตที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ไม่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปสัตว์ป่า เหล่านี้มีการตอบสนองต่อการเลือกใช้ถิ่นที่อาศัยแตกต่างกันไปตามระดับความเหมาะสมของถิ่นที่อาศัยนั้นๆ
  • 9. - 8 - ทั้งนี้เนื่องจากมีสัตว์ป่ าต่างชนิดกันมีระดับความทนทานที่ไม่เท่ากัน หรืออาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้ว่า การเปลี่ยนแปลงของถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่ามีอิทธิพลอย่างยิ่งต่อการรับรู้ของสัตว์ป่าและความทนทานที่ไม่ เท่ากัน ส่งผลต่อความสามารถในการเคลื่อนที่ไปตามหย่อมป่าที่เหลืออยู่นั้นไม่เท่ากันในแต่ละชนิด บางชนิด มีการปรับตัวได้ดีกับสภาพแวดล้อมใหม่ที่เปลี่ยนไปจากเดิม ทาให้ชนิดพันธุ์นั้นมีความสามารถในการเสาะ แสวงหาหย่อมป่าที่มีความอุดมสมบูรณ์กว่าได้ไม่ยากนัก ขณะที่สัตว์ป่าอีกหลายชนิดโดยเฉพาะชนิดพันธุ์ที่ ถูกคุกคามส่วนใหญ่มักพบว่าด้อยความสามารถหรือไม่มีความสามารถในการปรับตัวให้เข้ากับถิ่นที่อาศัยที่ เปลี่ยนสภาพไปจากเดิมได้ ทาให้สัตว์ป่านั้นไม่สามารถเดินทางผ่านพื้นที่ข้างเคียงที่มีกิจกรรมของมนุษย์ รบกวนอย่างรุนแรงและต่อเนื่องได้ ในกรณีนี้พบว่าการรักษาไว้ซึ่งรูปแบบการกระจายของหย่อมป่า รวมถึง การจัดเรียงตัวของหย่อมป่ามีผลกระทบโดยตรงต่อระดับความสามารถในการเชื่อมต่อกันของภูมิภาพ โดยรวม Bennett (2003) ได้เสนอแนวทางในการสร้างทางเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า โดยสามารถ กระทาได้สองแนวทางหลัก คือ 1. การจัดการทั้งพื้นที่ถิ่นที่อาศัยแบบโมเสก (Landscape or Habitat mosaic) เป็น การจัดการถิ่นที่อยู่อาศัยทั้งพื้นที่ที่มีสภาพทางด้านนิเวศวิทยาไม่สม่าเสมอกัน เช่น ถิ่นที่อาศัยที่ประกอบไป ด้วยสังคมพืชหลากหลายประเภท มีระดับความสูงและสภาพภูมิประเทศแตกต่างกันหรือมีสภาพสังคมพืช คลุมดินที่หลากหลาย โดยสัตว์ป่ารับรู้ถึงถิ่นที่อาศัยว่าเป็นถิ่นที่อาศัยผืนใหญ่ต่อเนื่องกัน แต่ความเข้มข้นใน การใช้ประโยชน์สังคมพืชแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันไปตามอุปนิสัยและพฤติกรรมของชนิดพันธุ์ นั้นๆ โดยสภาพของสังคมพืชหรือการใช้ประโยชน์ที่ดินที่หลากหลายดังกล่าวไม่เป็นอุปสรรคแต่อย่างใดต่อ การดารงชีวิตของสัตว์ป่า อาจกล่าวได้ว่าการจัดให้มีแนวเชื่อมต่อกันโดยใช้ทั้งผืนป่าที่มีลักษณะดังกล่าว สามารถตอบสนองต่อมาตรการในการอนุรักษ์ได้ทั้งในระดับพันธุกรรม ชนิดพันธุ์และขบวนการทาง นิเวศวิทยาของถิ่นที่อาศัย เนื่องจากแนวเชื่อมต่อมีความหลากหลายทางระบบนิเวศและมักเป็นแนวเชื่อมที่มี ความกว้างมาก ภาพแสดงความสามารถในการเชื่อมต่อกันภายในพื้นที่ (Landscape connectivity) โดยการจัดการทั้งพื้นที่โมเสกเพื่อส่งเสริมให้เกิดการเคลื่อนที่
  • 10. - 9 - 2. การสร้างแนวเชื่อมต่อขนาดเล็ก แนวเชื่อมลักษณะนี้เหมาะสมกับชนิดของสัตว์ป่าที่ รับรู้ตนเองว่ากาลังตกอยู่ในหย่อมป่าที่กระจัดกระจายทั่วไปในภูมิภาค สภาพถิ่นที่อาศัยที่เหมาะสมมีขนาด ค่อนข้างจากัดโดยเฉพาะในหย่อมพื้นที่อาศัยขนาดเล็ก ดังนั้นการช่วยจัดหาทางเชื่อมต่อระหว่างหย่อมป่า เป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ในการจัดการจะเป็นรูปแบบของทางเชื่อมต่อเป็นแบบ Stepping stone หมายถึง หย่อมถิ่นที่อาศัยขนาดเล็กจานวนตั้งแต่หนึ่งหย่อมขึ้นไปโดยหย่อมป่าเหล่านี้มีการจัดเรียงตัวอย่างเหมาะสม และเอื้ออานวยต่อการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่า (ภาพ ก.) หรืออาจเป็นแถบถิ่นที่อาศัยที่เป็นพื้นที่เล็กๆ (Habitat corridor) หมายถึง หย่อมถิ่นที่อาศัยขนาดเล็กที่มีลักษณะเป็นแถบทางยาวที่ต่อเนื่องกันระหว่างหย่อมป่า ขนาดใหญ่ ทางเชื่อมดังกล่าวจาเป็นต้องมีความกว้างของแนวในระดับหนึ่งที่สามารถเกื้อหนุนให้สัตว์ป่า เคลื่อนที่ผ่านไปมาได้ระหว่างผืนป่า (ภาพ ข.) ทางเชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าอาจจะแบ่งแยกได้ตามลักษณะของการเกิดทาง เชื่อมที่อาจจะมีอยู่แล้วในธรรมชาติหรือเป็นแนวทางเชื่อมต่อที่ถูกทาขึ้นมาใหม่ 1. แนวเชื่อมต่อตามธรรมชาติหรือแนวเชื่อมที่เกิดจากการสร้างของมนุษย์โดยไม่ได้ตั้งใจ โดยที่แนวเชื่อมดังกล่าวเป็นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศที่มีอยู่แล้ว แนวเชื่อมประเภทนี้มิได้มีวัตถุประสงค์เพื่อ การช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตแต่อย่างใด แต่ในทางพฤตินัยสิ่งมีชีวิตมีการเคลื่อนที่ผ่านไปมาตาม แนวทางเชื่อมนี้อยู่แล้ว ทางเชื่อมประเภทนี้ ได้แก่ แนวรั้วต้นไม้ แนวกันลม ต้นไม้ตามหัวไร่ปลายนา พืชพรรณที่ปลูกไว้สองข้างถนน และแนวคลองขุดเพื่อการระบายน้า พื้นที่ดังกล่าวมักจะมีสังคมพืชปกคลุม อยู่ในระดับหนึ่ง โดยที่สัตว์ป่าสามารถใช้เป็นที่หลบภัยและเป็นแนวเชื่อมต่อสาหรับการเคลื่อนที่เพื่อเสาะ แสวงหาถิ่นที่อาศัยแห่งใหม่ต่อได้ กรณีแนวเชื่อมต่อของสองข้างถนนเป็นแนวเชื่อมต่อที่สัตว์ป่ามีการใช้อยู่
  • 11. - 10 - เป็นประจามักจะเป็นถนนที่มีกิจกรรมของมนุษย์ไม่มากนัก อาจจะเป็นถนนสายรองหรือเป็นถนนที่ใช้สัญจร ของประชาชนในท้องถิ่นมากกว่าเป็นถนนสายหลักที่เชื่อมต่อระหว่างเมืองใหญ่ๆ สัตว์ป่าที่พบว่ามีการใช้ แนวเชื่อมต่อสองข้างถนนมักจะเป็นชนิดพันธุ์ที่ปรับตัวได้ดี (Generalist) มีความทนทานสูงต่อสภาพพื้นที่ ที่เปลี่ยนแปลงไปจากธรรมชาติเดิม สามารถใช้ประโยชน์บริเวณพื้นที่ที่ถูกรบกวนจากกิจกรรมของมนุษย์ได้ และไม่มีความเจาะจงในการเลือกใช้ปัจจัยแวดล้อมที่พิเศษ อย่างไรก็ตามสัตว์ป่าที่ใช้ทางเชื่อมสองฝั่งถนน อาจจะประสบอุบัติเหตุจากรถยนต์ที่ผ่านไปมาได้ง่าย ขณะที่พื้นที่หัวไร่ปลายนา พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ทา การปศุสัตว์แนวรั้วต้นไม้แนวกันลม แนวคูคลองระบายน้าที่ไม่ได้มีการจัดการใช้ประโยชน์อย่างเข้มข้นมัก พบว่ามีสัตว์ป่าขนาดเล็กใช้เป็นพื้นที่ในการเคลื่อนที่ไปหาถิ่นที่อาศัย หรือหาอาหาร สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม ขนาดเล็ก นกขนาดเล็กที่หากินตามเรือนยอดต้นไม้ สัตว์เลื้อยคลานและสัตว์สะเทินน้าสะเทินบก จะมี ศักยภาพในการใช้ทางเชื่อมต่อเหล่านี้เพื่อการเคลื่อนที่ 2. แนวทางเชื่อมที่ถูกออกแบบมาเพื่อวัตถุประสงค์หลักสาหรับการเชื่อมต่อระหว่าง ถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่า โดยเฉพาะ พบว่าในปัจจุบันในหลายประเทศมีการจัดทาแนวพื้นที่สีเขียวขึ้นเพื่อ ตอบสนองวัตถุประสงค์ที่หลากหลาย โดยเฉพาะเพื่อการตอบสนองด้านนันทนาการของประชาชนที่อาศัยอยู่ ในเขตชานเมืองและเขตเมือง รวมถึงวัตถุประสงค์รองเพื่อใช้เป็นทางเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า การจัดทาแนว เชื่อมต่อระหว่างถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าจะถูกสร้างขึ้นมาในลักษณะที่จัดทาในพื้นที่ที่มีการสร้างถนนผ่าน เช่น ทาเป็นเส้นทางยกระดับเพื่อให้สัตว์ป่าเคลื่อนที่ผ่านไปมาได้หรืทาเป็นเส้นทางลอดใต้พื้นดิน ซึ่งจะมี ความกว้างยาวแตกต่างกันขึ้นอยู่กับการศึกษาของผู้เชี่ยวชาญในด้านการจัดการสัตว์ป่า ความกว้างของแนวเชื่อม (Habitat Linkage Width) การออกแบบแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยจาเป็นต้องคานึงถึงคุณภาพของแนวเชื่อมต่อว่ามีความ เหมาะสมในการช่วยเหลือการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่ามากน้อยเพียงใด แนวเชื่อมต่อที่มีประสิทธิภาพจาเป็น อย่างยิ่งที่ต้องมีส่วนพื้นที่ที่เป็นแกนกลางของถิ่นที่อาศัย กล่าวคือแนวเชื่อมต่อที่มีความกว้างมาก จะเป็นการ เพิ่มประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่และส่งเสริมให้ชนิดพันธุ์ที่หลากหลายสามารถใช้แนวเชื่อมต่อได้อย่างไรก็ ตามแรงกดดันจากพื้นที่ที่มิใช่ป่าไม้จะเป็นอุปสรรคหลักที่สาคัญต่อการจัดการแนวเชื่อมต่อให้มีความกว้าง ได้ในระดับที่เหมาะสม มีงานวิจัยมากมายแต่ยังมิได้มีคาตอบหลักที่ว่าความกว้างของแนวเชื่อมต่อควรมี ความกว้างเท่าใด เพื่อให้สัตว์ป่ากลุ่มเป้าหมายสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ความมีประสิทธิภาพ ของทางแนวเชื่อมมักผันแปรไปตามความยาวของแนวเชื่อม ต่อเนื่องของถิ่นที่อาศัยและคุณภาพของ ถิ่นที่อาศัย โดยทั่วไปของความกว้างของแนวเชื่อมต่อกับประสิทธิภาพในเคลื่อนที่ของสัตว์ป่ ามี ความสัมพันธ์กันดังนี้ 1. ชนิดพันธุ์ที่มีขนาดใหญ่จาเป็นต้องใช้แนวเชื่อมต่อที่มีความกว้างมาก เพื่อช่วยเหลือใน การเคลื่อนที่และเป็นถิ่นที่อาศัยชั่วคราว
  • 12. - 11 - 2. ความยาวของแนวเชื่อมต่อจาเป็นต้องกาหนดให้มีความสัมพันธ์กันความกว้างของแนว เชื่อมที่เหมาะสม แนวเชื่อมต่อที่มีระยะสั้นๆ มีความเป็นไปได้ที่จะช่วยให้ระดับความต่อเนื่องของพื้นที่มากขึ้น 3. แนวเชื่อมต่อจาเป็นที่จะต้องมีขนาดกว้าง ขณะที่พื้นที่ส่วนใหญ่ถูกยึดครองของ ประชาชน 4. หากมีการวางแผนให้แนวเชื่อมต่อมีการใช้ประโยชน์ในระยะยาวนานควรออกแบบให้ แนวเชื่อมต่อมีความกว้างมากขึ้น Bennett (2003) ได้แนะนาว่าการใช้ความกว้างของแนวเชื่อมต่อที่เหมาะสมสาหรับสัตว์ป่า แต่ละประเภทไว้ดังนี้ ความกว้างของแนวเชื่อมต่อที่เหมาะสมสาหรับชนิดพันธุ์สัตว์ป่า (Bennett, 2003) การจัดทาแนวเชื่อมต่อของสัตว์ป่ าในประเทศไทย (Wildlife Habitat Linkage in Thailand) แนวคิดในการจัดทาแนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่าในประเทศไทย ยังคงเป็นคาถามในหมู่ผู้ ที่เกี่ยวข้องว่ามีความเป็นไปได้มากน้อยเพียงใด ในการกาหนดแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่า เนื่องจากแนวคิด ด้านการทาแนวเชื่อมต่อของสัตว์ป่าได้ถือกาเนิดมาจากประเทศในทวีปอเมริกาเหนือโดยเฉพาะในประเทศ แคนาดาและอเมริกา และได้แพร่หลายไปในหลายประเทศที่มีระดับของพื้นที่ที่มีการแตกเป็นหย่อมป่า ที่ค่อนข้างสูง ประกอบกับประชาชนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่มีระดับต่าซึ่งแตกต่างจากสถานการณ์ในประเทศไทย เนื่องจากสภาพพื้นที่ป่าธรรมชาติมีระดับของการเป็นพื้นที่ที่มีการแตกแยกเป็นหย่อมป่าน้อยพื้นที่ธรรมชาติ ส่วนใหญ่มีประชาชนเข้าถึงได้ง่ายไม่ยากนัก โดยเฉพาะพื้นที่นอกเขตพื้นที่คุ้มครองมักจะมีการตั้งถิ่นฐาน ของชุมชนที่หนาแน่น และพื้นที่ป่าธรรมชาติของรัฐที่ตั้งอยู่นอกพื้นที่คุ้มครองก็ถูกบุกรุกอย่างหนักและ มีการยึดถือครอบครองที่ดินที่ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย รวมถึงเครือข่ายของเส้นทางคมนาคมที่มีอยู่อย่าง หนาแน่นทั่วทั้งประเทศ นอกจากนี้ยังมีถนนอีกหลายสายที่ตัดผ่านพื้นที่ป่าคุ้มครองและสร้างความเสียหาย ให้แก่พื้นที่ป่ าและสัตว์ป่ าเป็นจานวนมาก เส้นทางคมนาคมเป็นอุปสรรคในการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่ า
  • 13. - 12 - การสร้างทางลอดหรือทางข้ามดังกล่าวนับได้ว่าเป็นปัญหาที่สาคัญยิ่ง เนื่องจากต้องมีการก่อสร้างในพื้นที่ ธรรมชาติและมีต้นทุนสูง แต่แนวทางในการกาหนดแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าของประเทศไทยอาจจะ เกิดขึ้นได้ยาก อย่างไรก็ตามนักวิชาการและผู้บริหารพื้นที่คุ้มครองเห็นว่าประเทศไทยยังคงมีความ จาเป็นต้องศึกษาความเป็นไปได้ของการจัดทาแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าหรือระหว่างพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งสาหรับชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่มีสถานภาพถูกคุกคามและมีแนวโน้มต่อการสูญพันธุ์ เพื่อให้ กรอบแนวคิดในการจัดทาแผนเชื่อมต่อดังกล่าวให้มีประสิทธิภาพทันต่อเหตุการณ์จะต้องพิจารณาถึงสัตว์ป่า ที่ยังอยู่ภายใต้การถูกคุกคามของมนุษย์จาเป็นต้องมีแนวทางการศึกษาอีกมาก เช่น 1. การศึกษาผืนป่าที่มีศักยภาพเป็นแนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่าที่ยังคงเหลืออยู่ในสภาพ ธรรมชาติ ก่อนที่สภาพแนวเชื่อมต่อจะถูกเปลี่ยนแปลงจากสังคมพืชไปเป็นการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภท อื่นๆ ที่ไม่เหมาะสมสาหรับการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่า การออกแบบแนวเชื่อมต้องมีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม ให้สัตว์ป่ามีการเคลื่อนที่ระหว่างกลุ่มป่า การศึกษาความเป็นไปได้ในการจัดทาแนวเชื่อมต่อระหว่างพื้นที่ คุ้มครอง เช่น พื้นที่ระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาชะเมา-เขาวงและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤาไน เป็นที่น่า สังเกตุว่าภายในกลุ่มพื้นที่คุ้มครองที่มีขอบเขตเชื่อมต่อกันหรือใกล้เคียงกันมาก เสมือนว่าเป็นผืนป่าต่อเนื่อง ขนาดใหญ่แต่พบว่าสัตว์ป่าประสบปัญหาในการเคลื่อนที่ไปหากินตามแหล่งที่อาศัยที่เหมาะสมได้ที่กระจาย อยู่ทั่วไปในผืนป่า เนื่องจากการเคลื่อนที่ไม่สามารถผ่านอุปสรรคที่สาคัญที่มนุษย์สร้างขึ้นได้ เช่น ทางหลวง หมายเลข 304 ที่อยู่ระหว่างอุทยานแห่งชาติเขาใหญ่กับอุทยานแห่งชาติทับลาน จึงได้มีแนวคิดและแนวทาง จัดทาแนวเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าสาหรับ ภาพแสดงการกระจายของกลุ่มป่าในประเทศไทย
  • 14. - 13 - ช้างป่าที่กระจายอยู่ในกลุ่มป่าตะวันตก ซึ่งดูเหมือนว่าช้างป่าอาศัยอยู่ในถิ่นที่อาศัยที่มีขนาดใหญ่และต่อเนื่อง กลุ่มป่าตะวันตกถูกแบ่งแยกออกเป็นถิ่นที่อาศัย 2 ผืน คือทางหลวงหมายเลข 323 (ทางผาภูมิ-สังขลบุรี) กล่าวคือผืนป่าที่เป็นอุทยานแห่งชาติคลองลาน อุทยานแห่งชาติแม่วงก์ อุทยานแห่งชาติเขื่อนศรีนครินทร์ อุทยานแห่งชาติลาคลองงู เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าอุ้มผาง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร เขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง จะตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของทางหลวง ส่วนทางทิศตะวันตกของทางหลวงเป็นอุทยาน แห่งชาติไทรโยค อุทยานแห่งชาติทองผาภูมิ นอกจากนีน้ยังมีแหล่งน้าถาวร เขื่อนเขาแหลมที่ตั้งอยู่ ในอุทยานแห่งชาติ เขื่อนเขาแหลมจัดได้ว่าเป็นอุปสรรคในการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่า 2. สาหรับหย่อมป่าถิ่นที่อาศัยของสัตว์ป่าที่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปจาเป็นต้องค้นหาสร้าง ทางแนวเชื่อมต่อที่มีศักยภาพระหว่างพื้นที่คุ้มครองต่างๆ ตั้งอยู่ที่ประชากรของสัตว์ป่าถูกแบ่งแยกออก จากกัน ถือว่าเป็นเรื่องเร่งด่วนที่จะต้องกระทาควบคู่กันไปกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 3. ทาการค้นหาแนวเชื่อมต่อที่มีความสาคัญต่อการเป็นแนวเชื่อมต่อของผืนป่าระหว่างพื้นที่ คุ้มครองของประเทศรวมถึงพื้นที่คุ้มครองของประเทศเพื่อนบ้านที่ปรากฏว่าเป็นเครือข่ายพื้นที่คุ้มครองที่มี ความสาคัญในระดับนานาชาติ เช่น การศึกษาแนวทางเชื่อมต่อระหว่างผืนป่าของกลุ่มป่าพนมดงรักกับพื้นที่ คุ้มครองของประเทศสาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาวหรือของประเทศกัมพูชา 4. การประยุกต์แนวความคิดขอเส้นทางสีเขียว หรือกลุ่มป่าขนาดเล็ก หรือกลุ่มป่าชุมชน ระหว่างพื้นที่กลุ่มที่กาหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งพื้นที่สองฝั่งของลาน้าลาห้วย ถนนที่ผ่านไปตามเมืองต่างๆ หรือการปลูกต้นไม้ในพื้นที่ป่าชุมชนเป็นการส่งเสริมการเคลื่อนที่ของสัตว์ป่าชนิดต่างๆ เช่น สัตว์เลี้ยงลูก ด้วยนมขนาดเล็ก นก สัตว์เลื้อยคลาน ตลอดจนสัตว์สะเทินน้าสะเทินบกและสัตว์น้า ความเหมาะสมของการเลือกประเภทของแนวเชื่อมต่อไม่ว่าจะเป็นแบบใดจะต้องพิจารณา ถึงความกว้าง ความยาวของแนวเชื่อมต่อสาหรับสัตว์ป่า จาเป็นต้องมีการศึกษาต่อไป ความสาเร็จของแนว เชื่อมต่างๆ ดังกล่าวแล้วยังไม่มีหลักประกันว่าจะประสบความสาเร็จเมื่อใด จาเป็นต้องศึกษาและติดตามผล ทุกระยะเวลาตามที่กาหนด
  • 15. - 14 - เอกสารอ้างอิง 1. Beier, P., D.Majka&J,Jenness (2005) An online document. Conceptual Steps for DesigningWildlife Corridors. Available sources: http://corridordesign.org/dl/docs/Conceptualsteps For Designing Corridors.pdf 2. Bennett, A.F. (2003)Linkages in the Landscapes: The Role of Corridors and Connectivity in Wildlife Conservation. IUCN, Gland, Switzerland and Cambridge, UK. 3. Hess, G.R. & R.A. Fischer (2001) Communicating clearly about conservation corridors. Landscape and Urban Planning 55:195-208. 4. Levins, R. (1969) Some demographic and Genetic consequences of environmental heterogeneity for biological control. Bull. Entomol Soc. Am.15:237-240. 5. Secretariat of the Convention on Biological Diversity (SCBD) (2001). Global Biodiversity OutlookⅠ, Montreal. ………………………………………………………………………