SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
1
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
“การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการ
ด้วย BIP DECS Model”
โดย
นายศิริวุฒิ บัวสมาน
ตาแหน่ง ครู
นางธีร์กัญญา พลนันท์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
โทรศัพท์มือถือ 08-9573-7764, 08-7265-8200
e-mail siricom4@gmail.com, east_teeganya@hotmail.com
2
วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices)
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
ชื่อผลงาน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย
BIP DECS Model
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
โดย
นายศิริวุฒิ บัวสมาน
ตาแหน่ง ครู
นางธีร์กัญญา พลนันท์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด
สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
3
คานา
เอกสาร “การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS
Model” เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอน ครูที่ปรึกษาหรือผู้ที่สนใจนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางใน
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับผู้เรียนทั้งในและนอกสถานศึกษา
โดยเรียบเรียงจากประสบการณ์ตรงอย่างน้อย 3 ปีการศึกษา โดยใช้การออกแบบการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ตรง (The Experiential Learning) และดัดแปลงมาจากโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่ง
ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จังหวัดปทุมธานี ซึ่งประสบความสาเร็จเป็นอย่างดี
สามารถพัฒนาผู้เรียนให้พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพและรอบด้าน สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิด
สมรรถนะสาคัญ เช่น ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้
เทคโนโลยี และสามารถพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนได้ โดยผู้เรียนได้เข้าไปเรียนรู้
เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนของตนเองและบูรณาการวิชาต่างๆ เข้าด้วยกัน
ทาให้ได้เรียนรู้สิ่งที่เป็นสภาพจริง ได้เห็นสภาพปัญหาและช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของ
ตนเอง โดยการลงมือปฏิบัติจริง เป็นกิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม อาศัยภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและความร่วมมือจากชุมชนในรูปแบบบวร (บ้าน วัด โรงเรียน)
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้ จักเป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนซึ่ง
เป็นเยาวชนของชาติได้เป็นอย่างดี
ผู้เรียบเรียงเอกสารยินดีรับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ที่ได้ใช้เอกสารนี้ทุกท่าน เพื่อ
จะได้แก้ไขปรับปรุงสาหรับการพัฒนาเอกสารในคราวต่อไป และขอขอบคุณทุกท่านที่กรุณาแสดง
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะมา ณ โอกาสนี้ด้วย
ศิริวุฒิ บัวสมาน
ธีร์กัญญา พลนันท์
สิงหาคม 2557
ก
4
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
สารบัญ ข
คาชี้แจง ค
11. ที่มาและความสาคัญ
22. หลักการจัดการเรียนรู้
33. จุดมุ่งหมาย
4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ BIP DECS Model 4
ขั้นที่ 1 การสร้างกลุ่มเยาวชน (Build youth group) 4
ขั้นที่ 2 สร้างอุดมการณ์ร่วมกัน (Ideology) 5
ขั้นที่ 3 เตรียมเสบียง (Prepare the readiness) 5
6ขั้นที่ 4 ค้นหา (Discover)
4.1 การค้นหาประเด็นศึกษา
4.2 การเจาะลึกประเด็น
7ขั้นที่ 5 สารวจ (Explore)
5.1 การวางแผนก่อนดาเนินการสารวจ
5.2 ลงมือสารวจหรือทดลอง
5.3 การสรุปผลข้อมูล
ขั้นที่ 6 อนุรักษ์ (Conserve) 8
ขั้นที่ 7 แบ่งปัน (Share)
5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 11
136. บทบาทครูที่ปรึกษาและผู้เรียน
6.1 บทบาทของครูที่ปรึกษา
6.2 บทบาทของผู้เรียน
7. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ 15
8. ปัจจัยความสาเร็จ 16
9. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) 17
10. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ 18
เอกสารอ้างอิง 20
ข
5
คาชี้แจง
เอกสาร “การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model” เล่มนี้
จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ให้ครูผู้สอน ครูที่ปรึกษาหรือผู้ที่สนใจนาไปประยุกต์ใช้เป็น
แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับผู้เรียนทั้งในและนอก
สถานศึกษา ซึ่งมีแนวทางการนาไปใช้ ดังนี้
1. ในการจัดกิจกรรมควรมีครูที่ปรึกษาอย่างน้อย 2 คน ต่อ กลุ่มผู้เรียน 25-30 คน เพราะ
จะได้ดูแลอย่างทั่วถึง และพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล
2. ศึกษาทาความเข้าใจเอกสารนี้ โดยวิเคราะห์ร่วมกับหลักสูตรสถานศึกษา พิจารณาร่วมกับ
บริบทของสถานศึกษาและชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น
3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละวัย ซึ่งจะได้ผลดีในระดับชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 5-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ถ้าผู้เรียนเด็กกว่านี้จะมีปัญหาในการควบคุมดูแล
4. ในการสร้างกลุ่มเยาวชนให้ผู้เรียนจัดตั้งขึ้นด้วยตนเองหรือครูที่ปรึกษาอาจจัดในรูปแบบ
ของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น ชุมนุม ชมรม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ หรือกิจกรรม
นอกหลักสูตร
5. ทดลองออกแบบ/ดัดแปลงกิจกรรมในแต่ละขั้นของ BIP DECS Model ด้วยตนเองหรือ
คณะครูที่ปรึกษาที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้เรียนแต่ละกลุ่ม
6. การวัดและประเมินผลผู้เรียนแต่ละบุคคลอาจวัดในรูปแบบที่แตกต่างกัน ทั้งนี้เพราะ
ผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถและศักยภาพที่แตกต่างกัน วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี
ศักยภาพที่สูงขึ้น
7. ครูที่ปรึกษาควรมีเวลาเพื่อให้คาปรึกษากับผู้เรียน เพราะ การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์
ตรงจากสภาพจริงจะไม่เหมือนกับการเรียนจากหนังสือ
ค
6
ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาให้ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ
พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ต้อง
มุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้อง มีความภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของ
ประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริ่ม สร้างสรรค์ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง
อย่างต่อเนื่อง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนา
ผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม
มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า
ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ
คือ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี และ
กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ คือ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่
เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ และยังได้กาหนด
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพและรอบด้าน
ในปัจจุบัน ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศ
ไทยนับวันยิ่งมีความรุนแรงและทวีคูณมากขึ้น
มีปัญหาและมลภาวะต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย ทุกคน
จะต้องร่วมกันตระหนัก มีจิตสานึกและร่วมมือในการที่
จะช่วยกันสร้างสรรค์และพิทักษ์รักษาสภาพแวดล้อม
เพื่อให้น่าอยู่และยั่งยืน จากการจัดการศึกษาในระบบ
โรงเรียนในปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่จัดกิจกรรมการ
เรียนรู้กันในห้องเรียนหรือภายในบริเวณโรงเรียนซึ่ง
คับแคบ เน้นหลักสูตรและเนื้อหาวิชาการในแต่ละวิชา
มากจนเกินไป อาจทาให้นักเรียนรู้สึกเบื่อ อึดอัด ไม่ตั้งใจและไม่สนใจเรียน
ดังนั้น ถ้าหากนาเยาวชนหรือผู้เรียนเข้าไปเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ในชุมชนของตนเองและบูรณาการวิชาต่างๆ เข้าด้วยกันโดยใช้ BIP DECS Model จะทาให้ได้เรียนรู้
สิ่งที่เป็นสภาพจริง ได้เห็นสภาพปัญหาและช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง โดยการ
ลงมือปฏิบัติจริง เป็นกิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม อาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
ความร่วมมือจากชุมชน
1
7
ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model เพื่อพัฒนาผู้เรียน
ให้มีความรู้ความสามารถตามวิสัยทัศน์ สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น มีหลักการ
จัดการเรียนรู้ ดังนี้
1. เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในสถานศึกษาและชุมชน
2. เน้นการเรียนรู้จากสภาพจริง ทั้งในและนอกสถานศึกษา
3. เน้นการสืบสวน สืบเสาะ และการค้นพบด้วยตนเอง
4. เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือ
5. ให้ผู้เรียนร่วมมือกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นด้วยการลงมือปฏิบัติจริง
6. เป็นกิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทา โดยใช้กระบวนการกลุ่มและความร่วมมือจากชุมชนแบบบวร
7. เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและการคิดวิเคราะห์
8. เน้นการเรียนรู้แบบูรณาการ
9. เน้นการเรียนรู้อย่างสนุกสนานผ่านเกมและกิจกรรมที่หลากหลาย
10. เป็นกิจกรรมที่มีความหมายต่อเยาวชน ผู้ลงมือทา ชุมชน ประเทศชาติและโลก
การจัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาที่เป็นกระบวนการ จะส่งผลต่อผู้เรียนให้เกิดความ
ตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม รู้คุณค่า มีจิตสานึกต่อสิ่งแวดล้อมและให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนอย่างยั่งยืนนั้น จาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาใน
ท้องถิ่นและแสวงหาแนวทางแก้ไขด้วยวิธีที่หลากหลายโดยการปฏิบัติจริง จะทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน
การตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและปัญหาจริงที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นของตน
2
8
ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model มุ่งพัฒนาผู้เรียน
ได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย
สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกในการ
ทางานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เป็นผู้นาผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบ การรู้จักแก้ปัญหา ความมีเหตุผล
การช่วยเหลือแบ่งปัน อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก ดังนี้
1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ตระหนัก มีจิตสานึก ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน
2. เพื่อธารงรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน กระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์ ความเป็นผู้นา การทางาน
ร่วมกันเป็นหมู่คณะ และทักษะในการแก้ไขปัญหา
3
9
ของการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
การออกแบบการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ใช้
การออกแบบการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (The Experiential Learning) ซึ่งมีจุดเด่น คือ ผู้เรียน
สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ทั้งนี้เนื่องจากองค์ความรู้ของประเด็นศึกษาอยู่รอบตัวผู้เรียน ไม่ว่าจะ
เป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้น การจัดการเรียนรู้
แก่ผู้เรียนจึงเป็นการจัดระบบในการสื่อความหมายที่แฝงอยู่ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและสังคม
วัฒนธรรมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยบูรณาการแนวคิดจากหลายสาขาวิชาเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ
พิจารณาและเรียนรู้สิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นองค์รวม เช่นเดียวกับที่สรรพสิ่งในธรรมชาติและสังคม
มนุษย์ล้วนแต่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียว
ผู้สอนได้ดาเนินกิจกรรมในรูปแบบของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน “ชุมนุมนักสารวจแห่งท้อง
ทุ่ง” โดยเริ่มต้นจากความสนใจของผู้เรียนที่ต้องการจะสารวจสิ่งแวดล้อมรอบตัวและมีครูที่ปรึกษา
ช่วยแนะนา มุ่งเน้นศึกษาสิ่งแวดล้อมทุกบริบท รวมทั้งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย
กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา BIP DECS Model ซึ่งดัดแปลงมาจากโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่ง
ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จังหวัดปทุมธานี ทั้งนี้แต่ละขั้นตอนจะช่วยเปิดโอกาส
ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์และใกล้ชิดกับธรรมชาติและชุมชนมากขึ้น จนเกิดความเข้าใจและตระหนัก
ในความสาคัญของสิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา
แบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ทั้ง 7 ขั้นตอน มีรายละเอียดดังนี้
เป็นการรวมกลุ่มเยาวชนที่มีความ
สนใจด้านสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่นในประเด็นเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน
มาทากิจกรรมร่วมกัน ซึ่งการรวมกลุ่มอาจเกิดจากตัวนักเรียนหรือเยาวชนร่วมกันจัดตั้งกลุ่มขึ้นเอง
หรือครูอาจจัดในรูปแบบของชุมนุม/ชมรม/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์หรือกิจกรรม
นอกหลักสูตรก็ได้ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะต้องมีที่ปรึกษาคอยให้คาแนะนา เช่น ครู ผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถิ่น
หรือปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่กลุ่มเยาวชนต้องการศึกษา
4
10
เมื่อรวมกลุ่มเยาวชนและมีที่ปรึกษาเรียบร้อย
แล้ว ควรมีการประชุมเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่มให้ทุกคนได้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินงาน
ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ประธาน รองประธาน เลขานุการ เป็นต้น จากนั้นสร้างความเข้าใจ สร้าง
ปณิธานและอุดมการณ์ร่วมกัน มีวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานและวางแผนการดาเนินงานชัดเจน
ในการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อม
การศึกษาสิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาในชุมชนหรือท้องถิ่น เยาวชนจะต้องมีความรู้พื้นฐาน เทคนิคและ
ทักษะในเรื่องต่อไปนี้ เช่น การวางแผน การทางานกลุ่ม การตั้งคาถาม การสังเกต การเก็บข้อมูล การ
วิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผล โดยที่ปรึกษาให้คาแนะนาหรือเชิญ
วิทยากรมาฝึกอบรม
5
11
เป็นขั้นตอนการค้นหาพื้นที่ธรรมชาติ หรือประเด็นด้าน
สิ่งแวดล้อมสาหรับเริ่มต้นศึกษา โดยสิ่งสาคัญคือจะต้องเป็นพื้นที่ ชุมชน หรือประเด็นที่กลุ่มสนใจ
จากนั้นจึงเข้าไป “ทาความรู้จัก” กับพื้นที่และชุมชน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก 2 ขั้นตอน ดังนี้
การคิดหาประเด็นที่น่าสนใจในพื้นที่ธรรมชาติหรือ
ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเพื่อนาไปสู่การศึกษาเรียนรู้ต่อไป โดยอาศัยทักษะด้านการสังเกต และการตั้ง
คาถามและการค้นคว้าเพื่อหาคาตอบ เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์และระดมสมองในการเลือกประเด็นที่
เยาวชนสนใจมากที่สุดในการนามาสารวจและเรียนรู้ในท้องถิ่นของตน
การค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม โดยการรวบรวมข้อมูล
ทั่วไปและข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตลอดจนการตั้งสมมติฐานในประเด็นซึ่งได้จากการค้นหาในขั้น
แรก เพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างครอบคลุมมากที่สุดในการประกอบการสารวจเรียนรู้ต่อไป
6
12
หลังจากได้ประเด็นที่กลุ่มสนใจแล้ว จึงเป็นขั้นตอนการสารวจ
เพื่อให้เกิดความรู้จริงเกี่ยวกับพื้นที่หรือประเด็นนั้นๆ ซึ่งสามารถแบ่งย่อยโดยละเอียดได้ดังนี้
วางแผนในการดาเนินงาน ระยะเวลาใน
สารวจ การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่ปลอดภัยและเหมาะสม และวิธีการสารวจหรือทดลอง ทั้ง
ในเชิงปริมาณ และคุณภาพ การออกแบบบันทึกข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก
การสารวจ หรือทดลอง เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้มากที่สุด
หลังจากได้วางแผนการสารวจเรียบร้อยแล้ว จึงลง
พื้นที่เพื่อทาการสารวจ หรือทดลอง พร้อมเก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่าง
เป็นระบบ ถูกต้อง ครอบคลุม ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ
7
13
เมื่อเก็บบันทึกข้อมูลจากการสารวจเรียบร้อย จึงนามา
วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผล นามาแปลความหมาย และหาเหตุผลหรือหลักฐานในการอธิบายถึง
ผลการสารวจเพื่อให้ข้อมูลที่รวบรวมได้นั้น มีความครอบคลุมและเชื่อถือได้มากที่สุด
การอนุรักษ์เป็นการนาผลสรุปจากการสารวจหรือทดลองมา
ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อแก้ไขปัญหาต่อประเด็นที่เยาวชนศึกษานั้น ซึ่งเป็นกระบวนการที่เยาวชน
จะได้แสดงออกถึงความรับผิดชอบ โดยลงมือกระทาสิ่งที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมกับพื้นที่เพื่อช่วย
ให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังคงสมดุล รวมถึง การธารงรักษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญา
นั้นๆ ให้คงไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามไม่สูญหายไป ซึ่งการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองในพื้นที่จริง
โดยนาผลสรุปที่ศึกษาผ่านการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ นี้เอง ที่เป็นการปลูกฝังให้เยาวชนเกิด
ความรู้สึกรักและหวงแหนกับสิ่งที่ตนทา อันจะนาไปสู่ความตระหนัก และเกิดจิตสานึกได้อย่างแท้จริง
8
14
เป็นขั้นตอนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความสาเร็จและความ
ภาคภูมิใจที่ได้จากการดาเนินโครงการฯ ให้กับเพื่อนๆ ครู-อาจารย์ ชุมชนหรือผู้ที่สนใจอื่นๆ เช่น การ
จัดนิทรรศการ จัดค่ายฝึกอบรมโดยเยาวชนและทีมครูที่ปรึกษา การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์
การแต่งบทเพลง และรณรงค์ให้เกิดความร่วมมือกันดูแล โดยอาจทาโปสเตอร์ แผ่นพับ การ์ตูน วีดีโอ
website หรือ Social Network เป็นต้น
9
15
ขั้นที่ 1 การสร้างกลุ่มเยาวชน (Build youth group) ขั้นที่ 2 สร้างอุดมการณ์ร่วมกัน (Ideology)
ขั้นที่ 3 เตรียมเสบียง (Prepare the readiness)
ขั้นที่ 4 ค้นหา (Discover) ขั้นที่ 5 สารวจ (Explore)
ขั้นที่ 6 อนุรักษ์ (Conserve)ขั้นที่ 7 แบ่งปัน (Share)
10
16
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS
Model เน้นการวัดและประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ด้วยเทคนิค
วิธีการที่หลากหลายและรอบด้าน ทั้งความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ พิจารณา
จากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม ตลอดกระบวนการเรียนรู้ทุกขั้นตอน
และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ด้วย ซึ่งใช้
แนวทางการวัดและประเมินผล 3 แนวทางหลัก คือ
1. การประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic assessment) เป็นการวัดและประเมินผลที่
สอดคล้องกับความสามารถหรือคุณลักษณะตามสภาพที่แท้จริงของผู้เรียน เป็นการประเมินผลที่
สอดคล้องกับกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละขั้นตอน จากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมที่
ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามกาหนดหรือตามความถนัด เป็นการประเมินความสามารถ ทักษะ และ
คุณลักษณะของผู้เรียน เน้นความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน
2. การประเมินการปฏิบัติ (Performance assessment) การเป็นผู้มีความสามารถในการ
ปฏิบัติโดยการนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้และการมีคุณลักษณะต่างๆ ที่จะช่วยให้การ
ปฏิบัติประสบผลสาเร็จ ถือเป็นจุดมุ่งหมายที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ โดยการรวบรวมข้อมูล
เกี่ยวกับความสามารถและทักษะตลอดจนลักษณะนิสัยในการเรียนรู้ และการทางานของผู้เรียน เพื่อ
นาข้อมูลที่รวบรวมได้มาใช้ในการตรวจสอบว่าผู้เรียนสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายหรือไม่
11
17
3. การประเมินทักษะชีวิต เป็นการประเมินพฤติกรรมผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนา
ผู้เรียนแต่ละคนให้มีพัฒนาการที่ดี โดยประเมินความสามารถในการเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ของ
ผู้เรียนโดยวิธีสังเกต การแก้ปัญหาและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ความคิด ความเชื่อ และการรู้คิด
จากการสะท้อนความคิด การเชื่อมโยงความคิด และการแสดงพฤติกรรมต่อเนื่องหลังการเรียนรู้ ฯลฯ
ซึ่งผู้ประเมินอาจเป็นครูที่ปรึกษา เพื่อน ผู้ปกครอง หรือผู้เรียนเป็นผู้ประเมินเอง
12
18
ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
บทบาทของการเป็นครูที่ปรึกษาและ บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบ
บูรณาการด้วย BIP DECS Model ควรมีบทบาท ดังนี้
การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดมุ่งหมาย ครูที่ปรึกษา/ครูผู้จัดกิกรรมมี
ความสาคัญมากต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
ครูที่ปรึกษาจึงควรมีบทบาท ดังนี้
1. วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้
2. ออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
3. ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการและความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล
4. จับประเด็นความสนใจของผู้เรียนและเชื่อมโยงความสนใจนั้นเข้าสู่เรื่องที่ผู้เรียนสนใจ
5. คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและตัดสินใจในระหว่างการทางานหรือกิจกรรม
6. ท้าทายความคิดของผู้เรียนให้เกิดความต้องการที่จะเรียนรู้จนกระจ่างในเรื่องนั้นๆ
7. ส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และการคิดวิเคราะห์
8. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่
เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรม
9. กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้นและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม
10. ให้กาลังใจ สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติด้วยตนเอง
11. อานวยความสะดวก ประสานความร่วมมือในการเรียนรู้ร่วมกับชาวบ้านในชุมชน
12. ติดต่อและประสานงานแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านในการเป็นวิทยากรท้องถิ่น
13. ดูแลความปลอดภัยตลอดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
14. ประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย และนาผลการ
ประเมินนั้น มาพัฒนาผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น และปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูที่ปรึกษา
13
19
ผู้เรียนที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ประสบผลสาเร็จ ควรมีบทบาท ดังนี้
1. กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง
2. เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ ตั้งคาถาม คิดหา
คาตอบหรือแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ
3. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์
ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน
4. มีความมุ่งมั่นในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
5. มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครูที่ปรึกษา
6. ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง
14
20
ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ
ความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการ
อนุรักษ์ป่าดอนปู่ตาและเกิดความตระหนัก
มีจิตสานึก ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมและ
ภูมิปัญญาอย่างยั่งยืน ผู้เรียน ครู และชาวบ้านใน
ชุมชนได้ร่วมกันเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน
ผู้เรียนได้อนุรักษ์ป่าดอนปู่ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้าป่าต้นไม้สายธารแห่ง
เมล็ดพันธุ์ร่วมใจกันบวชป่า” ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยแต่งบทเพลง สรภัญญะ ผญา และ
กลอนลา เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ตา ได้จัดทารายงานผลการศึกษา มีความสุขและสนุกในการ
เรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
ผู้เรียน ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองในด้านการคิดเชิงวิเคราะห์ ความเป็นผู้นา การ
ทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ และทักษะในการแก้ไขปัญหา
ครู ได้เรียนรู้และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและ
ภูมิปัญญาท้องถิ่นสาหรับเยาวชนด้วย BIP DECS Model
สถานศึกษา มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของชาวบ้านในชุมชน
ชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน มีผู้นาชุมชนและปราชญ์ชาวบ้านเป็นครูของผู้เรียน
15
4
21
บุคคล/หน่วยงาน/องค์กรที่ช่วยให้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม
ศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ประสบผลสาเร็จ ได้แก่
- ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความเข้าใจสนับสนุนและอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม
- คณะคุณครูและนักเรียนโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาทุกท่าน หัวหน้ากลุ่มสาระการ
เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ให้กาลังใจในการสารวจและร่วมแรงร่วมใจจัดผ้าป่าต้นไม้ฯ
- เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรที่สนับสนุนงบประมาณ ให้การอบรม
ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางาน และช่วยเผยแพร่ผลงาน
- สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดร้อยเอ็ด และศูนย์ประสานงานป่าไม้
จังหวัดร้อยเอ็ด อนุเคราะห์วิทยากรและหนังสือเกี่ยวกับป่าชุมชน
- สถานีเพาะชากล้าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด อนุเคราะห์กล้าไม้ จานวน 2,000 ต้น
- นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสวนจิก กานันตาบลสวนจิก และผู้ใหญ่บ้านบ้านสวนจิก
- ปราชญ์ชาวบ้านและชาวบ้านที่ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์
16
22
จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model
พบว่า ผู้เรียนมีความสุข สนุกในการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมใกล้ตัวในชุมชนของตนเอง มีการพัฒนาตนเอง
เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี รู้สึกภูมิใจ หวงแหนและช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญา
ท้องถิ่นของตนเอง และครูที่ปรึกษาได้ค้นพบศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน
ข้อเสนอแนะ ควรมีการพัฒนาการส่งเสริมให้มีการนาเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการ
เรียนการรู้อย่างจริงจัง เพราะภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ รากเหง้า ความแข็งแรงของสังคม
สาหรับแนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับเยาวชนนั้น
ครูที่ปรึกษาไม่ควรยึดติดกับหลักสูตรมากจนเกินไป พยายามคิดให้นอกกรอบและสร้างสรรค์ มีการ
วางแผนขั้นตอนการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบและบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และเน้นการมี
ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และที่สาคัญต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับเยาวชน
17
23
10.1 การเผยแพร่
10.1.1 จัดส่งรายงานผลการศึกษาและมอบแผ่น CD เพลง สรภัญญะ ผญา และกลอน
ลาอนุรักษ์ดอนปู่ตาสู่ชุมชน ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงเรียน หมู่บ้าน/ชุมชน องค์การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น นายอาเภอศรีสมเด็จ ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด
10.1.2 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากการดาเนินโครงการฯ กับเพื่อนๆ ครู-
อาจารย์ ชาวบ้านในชุมชนหรือผู้ที่สนใจ ในรูปแบบต่อไปนี้
- การจัดบอร์ดนิทรรศการทั้งในโรงเรียนชุมชน และที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศ
เกษตร จังหวัดปทุมธานี และจัดทาสมุดเล่มเล็ก/นิทานเล่มเล็กให้ผู้สนใจอ่านในห้องสมุด
- พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว.
และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา
- เว็บไซต์: http://spwgreenschool.circlecamp.com/index.php?page=home
- จัดทาวีดีโอเพลงดอนปู่ตาลงใน http://www.youtube.com
18
24
10.2 การได้รับการยอมรับ
โครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์
ป่าชุมชนและโครงการแมงมุมชักใยสายใยนิเวศ ได้รับการ
ตีพิมพ์ในหนังสือความลับจากท้องทุ่ง5 ของศูนย์ศึกษา
ธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร
ได้รับรางวัลในโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่งปีที่ 5 ซึ่งจัดโดยศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ
ระบบนิเวศเกษตร โดยความร่วมมือของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริษัท
บริดจสโตน จากัด และ มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยังยืน (ประเทศไทย) ดังนี้
- รางวัลชนะเลิศ : ประเภทภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา ได้รับโล่และเงิน
สนับสนุนโครงการ 10,000 บาท ในโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน
- รางวัลชนะเลิศ การประกวดหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก เรื่อง “ทัศนาจร ณ ดอนปู่ตา” ของ
เด็กหญิงปาริฉัตร สวัสดิ์ผล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการ
อนุรักษ์ป่าชุมชน
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การประกวดภาพวาดของเด็กหญิงพัชรินทร์ ศรีวิเศษ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน
- รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 : ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ
ระดับมัธยมศึกษา ได้รับเงินสนับสนุนโครงการ 8,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ในโครงการแมงมุม
ชักใยสายใยนิเวศ
- รางวัลชนะเลิศ ภาพถ่าย ในหัวข้อ “ธรรมชาติ” ในโครงการแมงมุมชักใยสายใยนิเวศ
- รางวัลครูพันธุ์แท้นักสารวจ ระดับมัธยมศึกษา (นายศิริวุฒิ บัวสมาน) ได้รับโล่รางวัล
ประกาศเกียรติคุณและเกียรติบัตรสาหรับครูที่ปรึกษาโครงการฯ ทั้ง 3 ท่าน คือนายศิริวุฒิ บัวสมาน
นางธีร์กัญญา พลนันท์ และนางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม
19
25
เอกสารอ้างอิง
กรมทรัพยากรน้า. 2552. มาเป็นนักวิจัยทรัพยากรน้าชุมชนกันเถอะ. กรุงเทพฯ: องค์การค้า
สกสค., 97 หน้า.
กรมวิชาการ. 2540. คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา กรณีศึกษา
ป่าชุมชน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา
ลาดพร้าว., 103 หน้า.
_________. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม
(ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรไทย.
กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด., 244 หน้า.
_________. ม.ป.ป. แนวทางการจัดค่ายนักเรียนบูรณาการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม ทักษะทางสังคม
และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. ม.ป.ท., 333 หน้า.
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร. (อัดสาเนา). ร่างแนวทางการจัดกิจกรรมนักสารวจแห่ง
ท้องทุ่ง. ปทุมธานี: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร., 254 หน้า.
*******************
20

More Related Content

What's hot

การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม Sireetorn Buanak
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความnurmedia
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นPratuan Kumjudpai
 
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1Mayuree Kung
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงWichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตdnavaroj
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษาYui Yuyee
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...ถูกต้อง ไม่จำเป็นต้องถูกใจ
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaWan Ngamwongwan
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...KruKaiNui
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติchanon14198
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555Sircom Smarnbua
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก Jeerapob Seangboonme
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56dnavaroj
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม OWichai Likitponrak
 

What's hot (20)

การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
การบริหารแหล่งการเรียนรู้และสภาพแวดล้อม
 
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความตัวอย่างบันทึกข้อความ
ตัวอย่างบันทึกข้อความ
 
โครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่นโครงการสนามเด็กเล่น
โครงการสนามเด็กเล่น
 
6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่6.ชุด 3 การแพร่
6.ชุด 3 การแพร่
 
คำไทยแท้
คำไทยแท้คำไทยแท้
คำไทยแท้
 
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
แบบทดสอบไทย สะกดคำ ป1
 
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิตการเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
การเกิดออสโมซิสในเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษามาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
มาตรการรักษาความปลอดภัยและแผนป้องกันและระงับอัคคีภัยในสถานศึกษา
 
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ  โรงเรียน...
คุรุมุทิตาหนังสือที่ระลึกเนื่องในงานเกษียณอายุราชการครูศริพร นาหอคำ โรงเรียน...
 
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDnaการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีDna
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเองTeacher Self Assessment Report : T-SAR...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เครื่องดื่มสมุนไพรธรรมชาติ
 
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
รายงานผลการดำเนินโครงการกิจกรรมค่ายบูรณาการ 2 2555
 
ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก ค่าอำนาจจำแนก
ค่าอำนาจจำแนก
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทย์ 1 ม.1 ปี 56
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 

Viewers also liked

จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...โรงเรียนมหาธิคุณวิทยา
 
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้bungon
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมJit Khasana
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภpairop
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนTwatchai Tangutairuang
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนaeimzaza aeimzaza
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้phoom_man
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร
มาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหารมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร
มาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหารตะหลึ่ง' ตึ่งโป๊ะ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพUmmara Kijruangsri
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน Dbeat Dong
 
พบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usb
พบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usbพบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usb
พบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usbHeart Kantapong
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนMarg Kok
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการNum Jantaboot
 
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดNirut Uthatip
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2seven_mu7
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการcomputer1437
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 faii sasitron
 

Viewers also liked (20)

จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
จุดเน้นที่ 9 จัดสภาพสิ่งแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้มีบรรยากาศที่เอื...
 
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งเรียนรู้
 
การจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อมการจัดสภาพแวดล้อม
การจัดสภาพแวดล้อม
 
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภการจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
การจัดการชั้นเรียน ดร.ไพรภ
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้Pptแหล่งเรียนรู้
Pptแหล่งเรียนรู้
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร
มาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหารมาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร
มาตรฐานสุขาภิบาลสำหรับโรงอาหาร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพแผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้ที่1 สิ่งแวดล้อมกับสุขภาพ
 
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน  มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
มาตรฐานสุขาภิบาลสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
 
พบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usb
พบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usbพบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usb
พบมัลแวร์ตัวใหม่ โจมตี Mac และ i phone ผ่านพอร์ท usb
 
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนเรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
เรื่องที่ 3 แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียน
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการ
 
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นทักษะการคิด
 
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียนการจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
การจูงใจผู้เรียนการจัดบรรยากาศในชั้นเรียน
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้ 2
 
รูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการรูปแบบการสอนบูรณาการ
รูปแบบการสอนบูรณาการ
 
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3 การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
การจัดการชั้นเรียนและสิ่งเเวดล้อมเพื่อการเรียนรู้ กลุ่ม 3
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 

Similar to แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาคนสังคม สังคมคน
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56krupornpana55
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอนguest283582b
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 

Similar to แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model (20)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 5 ภาค1 ปี55
 
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาแนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
แนวทางการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา
 
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
Inspiring science train the trainers 2013 (thai)
 
โครงการปี 56
โครงการปี 56โครงการปี 56
โครงการปี 56
 
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
ตอนที่2 sar2554 ราชประชานุเคราะห์ 20
 
Kamon
KamonKamon
Kamon
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)Top child (best ศูนย์ปี 57)
Top child (best ศูนย์ปี 57)
 
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
ค่ายต้นกล้า ครูพันธุ์ดี ครั้งที่ 5
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
การสอน
การสอนการสอน
การสอน
 
งานนำเสนอ
งานนำเสนองานนำเสนอ
งานนำเสนอ
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
Utq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdfUtq 2128 1-pdf
Utq 2128 1-pdf
 

More from Sircom Smarnbua

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกดSircom Smarnbua
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2Sircom Smarnbua
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...Sircom Smarnbua
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อSircom Smarnbua
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือSircom Smarnbua
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอนSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2Sircom Smarnbua
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยาSircom Smarnbua
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีSircom Smarnbua
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558Sircom Smarnbua
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 

More from Sircom Smarnbua (20)

1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
1หนังสือส่งเสริมการอ่าน คำที่ประสมด้วยสระ อะ เมื่อมีตัวสะกด
 
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา20152โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
2โปสเตอร์เห็ดเป็นยาในดอนปู่ตา2015
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v2
 
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
โปสเตอร์เห็ดกินได้ใต้ร่มไม้วงศ์ยาง 2016 v1
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
3ภาคผนวก ค ผลการศึกษา รายชื่อผีเสื้อ
 
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
2ภาคผนวก ข วิธีการเครื่องมือ
 
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
1 ภาคผนวก ก ภาพนักสำรวจ 4 ขั้นตอน
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
รายงานโครงการเครื่องจักสานงานไม้ไผ่ภูมิปัญญาไทอีสาน2558ศพว2
 
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
5 ปัจจัยที่มีผลต่ออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
3 แนวคิดเกี่ยวกับการเกิดปฏิกิริยา
 
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
2 กฎอัตราและอันดับของปฏิกิริยา
 
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
1 ความหมายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
บันทึกหน่วยการเรียนรู้ วิชาเคมี (ว30223) 2/2558
 
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
การผลิตไบโอดีเซลจากน้ำมันสบู่ดำโดยใช้เถ้าธรรมชาติเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา (Biodie...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ความหลากหลายและความสัมพันธ์ของเห็ดในดอนปู่ตา2...
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 

แนวการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย Bip decs model

  • 1. 1 วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 “การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการ ด้วย BIP DECS Model” โดย นายศิริวุฒิ บัวสมาน ตาแหน่ง ครู นางธีร์กัญญา พลนันท์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โทรศัพท์มือถือ 08-9573-7764, 08-7265-8200 e-mail siricom4@gmail.com, east_teeganya@hotmail.com
  • 2. 2 วิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practices) โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 ชื่อผลงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน โดย นายศิริวุฒิ บัวสมาน ตาแหน่ง ครู นางธีร์กัญญา พลนันท์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยา อาเภอศรีสมเด็จ จังหวัดร้อยเอ็ด สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 27 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. 3 คานา เอกสาร “การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model” เล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อให้ครูผู้สอน ครูที่ปรึกษาหรือผู้ที่สนใจนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางใน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับผู้เรียนทั้งในและนอกสถานศึกษา โดยเรียบเรียงจากประสบการณ์ตรงอย่างน้อย 3 ปีการศึกษา โดยใช้การออกแบบการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรง (The Experiential Learning) และดัดแปลงมาจากโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่ง ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จังหวัดปทุมธานี ซึ่งประสบความสาเร็จเป็นอย่างดี สามารถพัฒนาผู้เรียนให้พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพและรอบด้าน สามารถพัฒนาผู้เรียนให้เกิด สมรรถนะสาคัญ เช่น ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้ เทคโนโลยี และสามารถพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียนได้ โดยผู้เรียนได้เข้าไปเรียนรู้ เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนของตนเองและบูรณาการวิชาต่างๆ เข้าด้วยกัน ทาให้ได้เรียนรู้สิ่งที่เป็นสภาพจริง ได้เห็นสภาพปัญหาและช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของ ตนเอง โดยการลงมือปฏิบัติจริง เป็นกิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม อาศัยภูมิปัญญา ท้องถิ่นและความร่วมมือจากชุมชนในรูปแบบบวร (บ้าน วัด โรงเรียน) หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้ จักเป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาผู้เรียนซึ่ง เป็นเยาวชนของชาติได้เป็นอย่างดี ผู้เรียบเรียงเอกสารยินดีรับความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ที่ได้ใช้เอกสารนี้ทุกท่าน เพื่อ จะได้แก้ไขปรับปรุงสาหรับการพัฒนาเอกสารในคราวต่อไป และขอขอบคุณทุกท่านที่กรุณาแสดง ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะมา ณ โอกาสนี้ด้วย ศิริวุฒิ บัวสมาน ธีร์กัญญา พลนันท์ สิงหาคม 2557 ก
  • 4. 4 สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก สารบัญ ข คาชี้แจง ค 11. ที่มาและความสาคัญ 22. หลักการจัดการเรียนรู้ 33. จุดมุ่งหมาย 4. การออกแบบการจัดการเรียนรู้ BIP DECS Model 4 ขั้นที่ 1 การสร้างกลุ่มเยาวชน (Build youth group) 4 ขั้นที่ 2 สร้างอุดมการณ์ร่วมกัน (Ideology) 5 ขั้นที่ 3 เตรียมเสบียง (Prepare the readiness) 5 6ขั้นที่ 4 ค้นหา (Discover) 4.1 การค้นหาประเด็นศึกษา 4.2 การเจาะลึกประเด็น 7ขั้นที่ 5 สารวจ (Explore) 5.1 การวางแผนก่อนดาเนินการสารวจ 5.2 ลงมือสารวจหรือทดลอง 5.3 การสรุปผลข้อมูล ขั้นที่ 6 อนุรักษ์ (Conserve) 8 ขั้นที่ 7 แบ่งปัน (Share) 5. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 11 136. บทบาทครูที่ปรึกษาและผู้เรียน 6.1 บทบาทของครูที่ปรึกษา 6.2 บทบาทของผู้เรียน 7. ผลการดาเนินการ/ผลสัมฤทธิ์/ประโยชน์ที่ได้รับ 15 8. ปัจจัยความสาเร็จ 16 9. บทเรียนที่ได้รับ (Lesson Learned) 17 10. การเผยแพร่/การได้รับการยอมรับ 18 เอกสารอ้างอิง 20 ข
  • 5. 5 คาชี้แจง เอกสาร “การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model” เล่มนี้ จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่ให้ครูผู้สอน ครูที่ปรึกษาหรือผู้ที่สนใจนาไปประยุกต์ใช้เป็น แนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับผู้เรียนทั้งในและนอก สถานศึกษา ซึ่งมีแนวทางการนาไปใช้ ดังนี้ 1. ในการจัดกิจกรรมควรมีครูที่ปรึกษาอย่างน้อย 2 คน ต่อ กลุ่มผู้เรียน 25-30 คน เพราะ จะได้ดูแลอย่างทั่วถึง และพัฒนาผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพเต็มตามศักยภาพของแต่ละบุคคล 2. ศึกษาทาความเข้าใจเอกสารนี้ โดยวิเคราะห์ร่วมกับหลักสูตรสถานศึกษา พิจารณาร่วมกับ บริบทของสถานศึกษาและชุมชนหรือสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น 3. จัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้เหมาะสมกับผู้เรียนในแต่ละวัย ซึ่งจะได้ผลดีในระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5-6 และมัธยมศึกษาปีที่ 1-6 ถ้าผู้เรียนเด็กกว่านี้จะมีปัญหาในการควบคุมดูแล 4. ในการสร้างกลุ่มเยาวชนให้ผู้เรียนจัดตั้งขึ้นด้วยตนเองหรือครูที่ปรึกษาอาจจัดในรูปแบบ ของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน เช่น ชุมนุม ชมรม กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ หรือกิจกรรม นอกหลักสูตร 5. ทดลองออกแบบ/ดัดแปลงกิจกรรมในแต่ละขั้นของ BIP DECS Model ด้วยตนเองหรือ คณะครูที่ปรึกษาที่สามารถตอบสนองความต้องการของกลุ่มผู้เรียนแต่ละกลุ่ม 6. การวัดและประเมินผลผู้เรียนแต่ละบุคคลอาจวัดในรูปแบบที่แตกต่างกัน ทั้งนี้เพราะ ผู้เรียนแต่ละคนมีความสามารถและศักยภาพที่แตกต่างกัน วัดและประเมินผลเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มี ศักยภาพที่สูงขึ้น 7. ครูที่ปรึกษาควรมีเวลาเพื่อให้คาปรึกษากับผู้เรียน เพราะ การเรียนรู้โดยใช้ประสบการณ์ ตรงจากสภาพจริงจะไม่เหมือนกับการเรียนจากหนังสือ ค
  • 6. 6 ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ได้กาหนดแนวทางการจัดการศึกษาให้ยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถในการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความสาคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถ พัฒนาตามธรรมชาติและเต็มศักยภาพ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา กระบวนการเรียนรู้ต้อง มุ่งปลูกฝังจิตสานึกที่ถูกต้อง มีความภูมิใจในความเป็นไทย รู้จักรักษาผลประโยชน์ส่วนรวมและของ ประเทศชาติ รวมทั้งส่งเสริม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมของชาติ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ตลอดจนอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รู้จักพึ่งตนเอง มีความริเริ่ม สร้างสรรค์ใฝ่รู้ และเรียนรู้ด้วยตนเอง อย่างต่อเนื่อง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ได้กาหนดวิสัยทัศน์ มุ่งพัฒนา ผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกาลังของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสานึกในความเป็นพลเมืองไทยและเป็นพลโลก มุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ ให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ คือ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้ทักษะชีวิต และการใช้เทคโนโลยี และ กาหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประการ คือ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทางาน รักความเป็นไทย และมีจิตสาธารณะ และยังได้กาหนด กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพและรอบด้าน ในปัจจุบัน ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมในประเทศ ไทยนับวันยิ่งมีความรุนแรงและทวีคูณมากขึ้น มีปัญหาและมลภาวะต่างๆ เกิดขึ้นมากมาย ทุกคน จะต้องร่วมกันตระหนัก มีจิตสานึกและร่วมมือในการที่ จะช่วยกันสร้างสรรค์และพิทักษ์รักษาสภาพแวดล้อม เพื่อให้น่าอยู่และยั่งยืน จากการจัดการศึกษาในระบบ โรงเรียนในปัจจุบัน พบว่า ส่วนใหญ่จัดกิจกรรมการ เรียนรู้กันในห้องเรียนหรือภายในบริเวณโรงเรียนซึ่ง คับแคบ เน้นหลักสูตรและเนื้อหาวิชาการในแต่ละวิชา มากจนเกินไป อาจทาให้นักเรียนรู้สึกเบื่อ อึดอัด ไม่ตั้งใจและไม่สนใจเรียน ดังนั้น ถ้าหากนาเยาวชนหรือผู้เรียนเข้าไปเรียนรู้เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาท้องถิ่น ในชุมชนของตนเองและบูรณาการวิชาต่างๆ เข้าด้วยกันโดยใช้ BIP DECS Model จะทาให้ได้เรียนรู้ สิ่งที่เป็นสภาพจริง ได้เห็นสภาพปัญหาและช่วยกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในชุมชนของตนเอง โดยการ ลงมือปฏิบัติจริง เป็นกิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทาโดยใช้กระบวนการกลุ่ม อาศัยภูมิปัญญาท้องถิ่นและ ความร่วมมือจากชุมชน 1
  • 7. 7 ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model เพื่อพัฒนาผู้เรียน ให้มีความรู้ความสามารถตามวิสัยทัศน์ สมรรถนะที่สาคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 นั้น มีหลักการ จัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นจริงในสถานศึกษาและชุมชน 2. เน้นการเรียนรู้จากสภาพจริง ทั้งในและนอกสถานศึกษา 3. เน้นการสืบสวน สืบเสาะ และการค้นพบด้วยตนเอง 4. เน้นการเรียนรู้แบบร่วมมือ 5. ให้ผู้เรียนร่วมมือกันแก้ไขปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึ้นด้วยการลงมือปฏิบัติจริง 6. เป็นกิจกรรมที่ร่วมคิดร่วมทา โดยใช้กระบวนการกลุ่มและความร่วมมือจากชุมชนแบบบวร 7. เน้นการพัฒนาทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบและการคิดวิเคราะห์ 8. เน้นการเรียนรู้แบบูรณาการ 9. เน้นการเรียนรู้อย่างสนุกสนานผ่านเกมและกิจกรรมที่หลากหลาย 10. เป็นกิจกรรมที่มีความหมายต่อเยาวชน ผู้ลงมือทา ชุมชน ประเทศชาติและโลก การจัดการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมศึกษาที่เป็นกระบวนการ จะส่งผลต่อผู้เรียนให้เกิดความ ตระหนักในปัญหาสิ่งแวดล้อม รู้คุณค่า มีจิตสานึกต่อสิ่งแวดล้อมและให้ความร่วมมือในการอนุรักษ์ จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นของตนอย่างยั่งยืนนั้น จาเป็นต้องมีการวิเคราะห์ปัญหาใน ท้องถิ่นและแสวงหาแนวทางแก้ไขด้วยวิธีที่หลากหลายโดยการปฏิบัติจริง จะทาให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมใน การตัดสินใจในเรื่องที่เกี่ยวข้องกับชีวิตและปัญหาจริงที่เกิดขึ้นในท้องถิ่นของตน 2
  • 8. 8 ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model การจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model มุ่งพัฒนาผู้เรียน ได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสานึกในการ ทางานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม เป็นผู้นาผู้ตามที่ดี มีความรับผิดชอบ การรู้จักแก้ปัญหา ความมีเหตุผล การช่วยเหลือแบ่งปัน อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข โดยมีจุดมุ่งหมายหลัก ดังนี้ 1. เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ ตระหนัก มีจิตสานึก ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน 2. เพื่อธารงรักษาภูมิปัญญาท้องถิ่นให้คงอยู่โดยการมีส่วนร่วมของชุมชน 3. เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน กระบวนการคิดเชิงวิเคราะห์ ความเป็นผู้นา การทางาน ร่วมกันเป็นหมู่คณะ และทักษะในการแก้ไขปัญหา 3
  • 9. 9 ของการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model การออกแบบการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ใช้ การออกแบบการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง (The Experiential Learning) ซึ่งมีจุดเด่น คือ ผู้เรียน สามารถเรียนรู้ได้ทุกที่ทุกเวลา ทั้งนี้เนื่องจากองค์ความรู้ของประเด็นศึกษาอยู่รอบตัวผู้เรียน ไม่ว่าจะ เป็นสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติหรือสิ่งแวดล้อมทางสังคมวัฒนธรรมที่มนุษย์สร้างขึ้น การจัดการเรียนรู้ แก่ผู้เรียนจึงเป็นการจัดระบบในการสื่อความหมายที่แฝงอยู่ในสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและสังคม วัฒนธรรมให้ชัดเจนยิ่งขึ้น โดยบูรณาการแนวคิดจากหลายสาขาวิชาเข้าด้วยกันเพื่อให้ผู้เรียนสามารถ พิจารณาและเรียนรู้สิ่งแวดล้อมได้อย่างเป็นองค์รวม เช่นเดียวกับที่สรรพสิ่งในธรรมชาติและสังคม มนุษย์ล้วนแต่เชื่อมโยงสัมพันธ์กันเป็นหนึ่งเดียว ผู้สอนได้ดาเนินกิจกรรมในรูปแบบของกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนใน “ชุมนุมนักสารวจแห่งท้อง ทุ่ง” โดยเริ่มต้นจากความสนใจของผู้เรียนที่ต้องการจะสารวจสิ่งแวดล้อมรอบตัวและมีครูที่ปรึกษา ช่วยแนะนา มุ่งเน้นศึกษาสิ่งแวดล้อมทุกบริบท รวมทั้งวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้วย กระบวนการสิ่งแวดล้อมศึกษา BIP DECS Model ซึ่งดัดแปลงมาจากโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่ง ของศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร จังหวัดปทุมธานี ทั้งนี้แต่ละขั้นตอนจะช่วยเปิดโอกาส ให้นักเรียนได้คิดวิเคราะห์และใกล้ชิดกับธรรมชาติและชุมชนมากขึ้น จนเกิดความเข้าใจและตระหนัก ในความสาคัญของสิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ซึ่งการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษา แบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ทั้ง 7 ขั้นตอน มีรายละเอียดดังนี้ เป็นการรวมกลุ่มเยาวชนที่มีความ สนใจด้านสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญาท้องถิ่นในประเด็นเดียวกันหรือใกล้เคียงกัน มาทากิจกรรมร่วมกัน ซึ่งการรวมกลุ่มอาจเกิดจากตัวนักเรียนหรือเยาวชนร่วมกันจัดตั้งกลุ่มขึ้นเอง หรือครูอาจจัดในรูปแบบของชุมนุม/ชมรม/กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์หรือกิจกรรม นอกหลักสูตรก็ได้ ซึ่งแต่ละกลุ่มจะต้องมีที่ปรึกษาคอยให้คาแนะนา เช่น ครู ผู้นาชุมชน ผู้นาท้องถิ่น หรือปราชญ์ชาวบ้านที่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่กลุ่มเยาวชนต้องการศึกษา 4
  • 10. 10 เมื่อรวมกลุ่มเยาวชนและมีที่ปรึกษาเรียบร้อย แล้ว ควรมีการประชุมเลือกตั้งคณะกรรมการกลุ่มให้ทุกคนได้มีหน้าที่รับผิดชอบในการดาเนินงาน ต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ประธาน รองประธาน เลขานุการ เป็นต้น จากนั้นสร้างความเข้าใจ สร้าง ปณิธานและอุดมการณ์ร่วมกัน มีวัตถุประสงค์ในการดาเนินงานและวางแผนการดาเนินงานชัดเจน ในการเตรียมตัวและเตรียมความพร้อม การศึกษาสิ่งแวดล้อมและภูมิปัญญาในชุมชนหรือท้องถิ่น เยาวชนจะต้องมีความรู้พื้นฐาน เทคนิคและ ทักษะในเรื่องต่อไปนี้ เช่น การวางแผน การทางานกลุ่ม การตั้งคาถาม การสังเกต การเก็บข้อมูล การ วิเคราะห์ข้อมูล การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผล โดยที่ปรึกษาให้คาแนะนาหรือเชิญ วิทยากรมาฝึกอบรม 5
  • 11. 11 เป็นขั้นตอนการค้นหาพื้นที่ธรรมชาติ หรือประเด็นด้าน สิ่งแวดล้อมสาหรับเริ่มต้นศึกษา โดยสิ่งสาคัญคือจะต้องเป็นพื้นที่ ชุมชน หรือประเด็นที่กลุ่มสนใจ จากนั้นจึงเข้าไป “ทาความรู้จัก” กับพื้นที่และชุมชน ซึ่งสามารถแบ่งย่อยได้อีก 2 ขั้นตอน ดังนี้ การคิดหาประเด็นที่น่าสนใจในพื้นที่ธรรมชาติหรือ ในสิ่งแวดล้อมรอบตัวเพื่อนาไปสู่การศึกษาเรียนรู้ต่อไป โดยอาศัยทักษะด้านการสังเกต และการตั้ง คาถามและการค้นคว้าเพื่อหาคาตอบ เพื่อให้เกิดการวิเคราะห์และระดมสมองในการเลือกประเด็นที่ เยาวชนสนใจมากที่สุดในการนามาสารวจและเรียนรู้ในท้องถิ่นของตน การค้นคว้าหาข้อมูลเพิ่มเติม โดยการรวบรวมข้อมูล ทั่วไปและข้อมูลที่เกี่ยวข้องทั้งหมด ตลอดจนการตั้งสมมติฐานในประเด็นซึ่งได้จากการค้นหาในขั้น แรก เพื่อให้ได้ข้อมูลอย่างครอบคลุมมากที่สุดในการประกอบการสารวจเรียนรู้ต่อไป 6
  • 12. 12 หลังจากได้ประเด็นที่กลุ่มสนใจแล้ว จึงเป็นขั้นตอนการสารวจ เพื่อให้เกิดความรู้จริงเกี่ยวกับพื้นที่หรือประเด็นนั้นๆ ซึ่งสามารถแบ่งย่อยโดยละเอียดได้ดังนี้ วางแผนในการดาเนินงาน ระยะเวลาใน สารวจ การเตรียมอุปกรณ์และเครื่องมือที่ปลอดภัยและเหมาะสม และวิธีการสารวจหรือทดลอง ทั้ง ในเชิงปริมาณ และคุณภาพ การออกแบบบันทึกข้อมูล เช่น แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบบันทึก การสารวจ หรือทดลอง เป็นต้น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เที่ยงตรงและเชื่อถือได้มากที่สุด หลังจากได้วางแผนการสารวจเรียบร้อยแล้ว จึงลง พื้นที่เพื่อทาการสารวจ หรือทดลอง พร้อมเก็บรวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่าง เป็นระบบ ถูกต้อง ครอบคลุม ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ 7
  • 13. 13 เมื่อเก็บบันทึกข้อมูลจากการสารวจเรียบร้อย จึงนามา วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรุปผล นามาแปลความหมาย และหาเหตุผลหรือหลักฐานในการอธิบายถึง ผลการสารวจเพื่อให้ข้อมูลที่รวบรวมได้นั้น มีความครอบคลุมและเชื่อถือได้มากที่สุด การอนุรักษ์เป็นการนาผลสรุปจากการสารวจหรือทดลองมา ลงมือปฏิบัติด้วยตนเอง เพื่อแก้ไขปัญหาต่อประเด็นที่เยาวชนศึกษานั้น ซึ่งเป็นกระบวนการที่เยาวชน จะได้แสดงออกถึงความรับผิดชอบ โดยลงมือกระทาสิ่งที่เป็นประโยชน์และเหมาะสมกับพื้นที่เพื่อช่วย ให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมยังคงสมดุล รวมถึง การธารงรักษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญา นั้นๆ ให้คงไว้ซึ่งวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามไม่สูญหายไป ซึ่งการลงมือปฏิบัติด้วยตนเองในพื้นที่จริง โดยนาผลสรุปที่ศึกษาผ่านการรวบรวม วิเคราะห์ สังเคราะห์ นี้เอง ที่เป็นการปลูกฝังให้เยาวชนเกิด ความรู้สึกรักและหวงแหนกับสิ่งที่ตนทา อันจะนาไปสู่ความตระหนัก และเกิดจิตสานึกได้อย่างแท้จริง 8
  • 14. 14 เป็นขั้นตอนการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความสาเร็จและความ ภาคภูมิใจที่ได้จากการดาเนินโครงการฯ ให้กับเพื่อนๆ ครู-อาจารย์ ชุมชนหรือผู้ที่สนใจอื่นๆ เช่น การ จัดนิทรรศการ จัดค่ายฝึกอบรมโดยเยาวชนและทีมครูที่ปรึกษา การพูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การแต่งบทเพลง และรณรงค์ให้เกิดความร่วมมือกันดูแล โดยอาจทาโปสเตอร์ แผ่นพับ การ์ตูน วีดีโอ website หรือ Social Network เป็นต้น 9
  • 15. 15 ขั้นที่ 1 การสร้างกลุ่มเยาวชน (Build youth group) ขั้นที่ 2 สร้างอุดมการณ์ร่วมกัน (Ideology) ขั้นที่ 3 เตรียมเสบียง (Prepare the readiness) ขั้นที่ 4 ค้นหา (Discover) ขั้นที่ 5 สารวจ (Explore) ขั้นที่ 6 อนุรักษ์ (Conserve)ขั้นที่ 7 แบ่งปัน (Share) 10
  • 16. 16 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model เน้นการวัดและประเมินเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ด้วยเทคนิค วิธีการที่หลากหลายและรอบด้าน ทั้งความรู้ ความคิด กระบวนการ พฤติกรรมและเจตคติ พิจารณา จากพัฒนาการของผู้เรียน ความประพฤติ การสังเกตพฤติกรรม ตลอดกระบวนการเรียนรู้ทุกขั้นตอน และเปิดโอกาสให้ผู้เรียนและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมตรวจสอบผลการประเมินผลการเรียนรู้ด้วย ซึ่งใช้ แนวทางการวัดและประเมินผล 3 แนวทางหลัก คือ 1. การประเมินผลตามสภาพจริง (Authentic assessment) เป็นการวัดและประเมินผลที่ สอดคล้องกับความสามารถหรือคุณลักษณะตามสภาพที่แท้จริงของผู้เรียน เป็นการประเมินผลที่ สอดคล้องกับกิจกรรมและกระบวนการเรียนรู้ในแต่ละขั้นตอน จากการปฏิบัติงานหรือกิจกรรมที่ ผู้เรียนได้ปฏิบัติตามกาหนดหรือตามความถนัด เป็นการประเมินความสามารถ ทักษะ และ คุณลักษณะของผู้เรียน เน้นความสามารถที่แท้จริงของผู้เรียน 2. การประเมินการปฏิบัติ (Performance assessment) การเป็นผู้มีความสามารถในการ ปฏิบัติโดยการนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้และการมีคุณลักษณะต่างๆ ที่จะช่วยให้การ ปฏิบัติประสบผลสาเร็จ ถือเป็นจุดมุ่งหมายที่สาคัญของการจัดการเรียนรู้ โดยการรวบรวมข้อมูล เกี่ยวกับความสามารถและทักษะตลอดจนลักษณะนิสัยในการเรียนรู้ และการทางานของผู้เรียน เพื่อ นาข้อมูลที่รวบรวมได้มาใช้ในการตรวจสอบว่าผู้เรียนสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายหรือไม่ 11
  • 17. 17 3. การประเมินทักษะชีวิต เป็นการประเมินพฤติกรรมผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อพัฒนา ผู้เรียนแต่ละคนให้มีพัฒนาการที่ดี โดยประเมินความสามารถในการเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ของ ผู้เรียนโดยวิธีสังเกต การแก้ปัญหาและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง ความคิด ความเชื่อ และการรู้คิด จากการสะท้อนความคิด การเชื่อมโยงความคิด และการแสดงพฤติกรรมต่อเนื่องหลังการเรียนรู้ ฯลฯ ซึ่งผู้ประเมินอาจเป็นครูที่ปรึกษา เพื่อน ผู้ปกครอง หรือผู้เรียนเป็นผู้ประเมินเอง 12
  • 18. 18 ของการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model บทบาทของการเป็นครูที่ปรึกษาและ บทบาทของผู้เรียนในการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบ บูรณาการด้วย BIP DECS Model ควรมีบทบาท ดังนี้ การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนมีคุณภาพตามจุดมุ่งหมาย ครูที่ปรึกษา/ครูผู้จัดกิกรรมมี ความสาคัญมากต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน ดังนั้นเพื่อให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ครูที่ปรึกษาจึงควรมีบทบาท ดังนี้ 1. วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อนาข้อมูลมาใช้ในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ 2. ออกแบบและวางแผนการจัดกิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ 3. ออกแบบการเรียนรู้และจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความต้องการและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล 4. จับประเด็นความสนใจของผู้เรียนและเชื่อมโยงความสนใจนั้นเข้าสู่เรื่องที่ผู้เรียนสนใจ 5. คอยกระตุ้นให้ผู้เรียนคิดและตัดสินใจในระหว่างการทางานหรือกิจกรรม 6. ท้าทายความคิดของผู้เรียนให้เกิดความต้องการที่จะเรียนรู้จนกระจ่างในเรื่องนั้นๆ 7. ส่งเสริมการใช้ความคิดสร้างสรรค์ จินตนาการ และการคิดวิเคราะห์ 8. จัดเตรียมและเลือกใช้สื่อที่เหมาะสมกับกิจกรรม นาภูมิปัญญาท้องถิ่น เทคโนโลยีที่ เหมาะสมมาประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรม 9. กระตุ้นให้เกิดความกระตือรือร้นและการมีส่วนร่วมในกิจกรรม 10. ให้กาลังใจ สนับสนุนให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และปฏิบัติด้วยตนเอง 11. อานวยความสะดวก ประสานความร่วมมือในการเรียนรู้ร่วมกับชาวบ้านในชุมชน 12. ติดต่อและประสานงานแหล่งเรียนรู้ ตลอดจนปราชญ์ชาวบ้านในการเป็นวิทยากรท้องถิ่น 13. ดูแลความปลอดภัยตลอดการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 14. ประเมินความก้าวหน้าและพัฒนาการของผู้เรียนด้วยวิธีที่หลากหลาย และนาผลการ ประเมินนั้น มาพัฒนาผู้เรียนให้ดียิ่งขึ้น และปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครูที่ปรึกษา 13
  • 19. 19 ผู้เรียนที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ประสบผลสาเร็จ ควรมีบทบาท ดังนี้ 1. กาหนดเป้าหมาย วางแผน และรับผิดชอบการเรียนรู้ของตนเอง 2. เสาะแสวงหาความรู้ เข้าถึงแหล่งการเรียนรู้ วิเคราะห์ สังเคราะห์ความรู้ ตั้งคาถาม คิดหา คาตอบหรือแนวทางแก้ปัญหาด้วยวิธีการต่างๆ 3. ลงมือปฏิบัติจริง สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยตนเอง และนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์ ต่างๆ ในชีวิตประจาวัน 4. มีความมุ่งมั่นในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง 5. มีปฏิสัมพันธ์ ทางาน ทากิจกรรมร่วมกับกลุ่มและครูที่ปรึกษา 6. ประเมินและพัฒนากระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนอย่างต่อเนื่อง 14
  • 20. 20 ผู้เรียนได้เรียนรู้และเข้าใจเกี่ยวกับ ความเชื่อ พิธีกรรมและภูมิปัญญาชาวบ้านในการ อนุรักษ์ป่าดอนปู่ตาและเกิดความตระหนัก มีจิตสานึก ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อมและ ภูมิปัญญาอย่างยั่งยืน ผู้เรียน ครู และชาวบ้านใน ชุมชนได้ร่วมกันเรียนรู้และอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชน ผู้เรียนได้อนุรักษ์ป่าดอนปู่ตาโดยจัดกิจกรรมในโครงการ “ผ้าป่าต้นไม้สายธารแห่ง เมล็ดพันธุ์ร่วมใจกันบวชป่า” ได้อนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่นโดยแต่งบทเพลง สรภัญญะ ผญา และ กลอนลา เกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่าดอนปู่ตา ได้จัดทารายงานผลการศึกษา มีความสุขและสนุกในการ เรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ผู้เรียน ได้พัฒนาศักยภาพของตนเองในด้านการคิดเชิงวิเคราะห์ ความเป็นผู้นา การ ทางานร่วมกันเป็นหมู่คณะ และทักษะในการแก้ไขปัญหา ครู ได้เรียนรู้และพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาและ ภูมิปัญญาท้องถิ่นสาหรับเยาวชนด้วย BIP DECS Model สถานศึกษา มีชื่อเสียงและเป็นที่รู้จักของชาวบ้านในชุมชน ชุมชน เป็นแหล่งเรียนรู้ของเยาวชน มีผู้นาชุมชนและปราชญ์ชาวบ้านเป็นครูของผู้เรียน 15 4
  • 21. 21 บุคคล/หน่วยงาน/องค์กรที่ช่วยให้การพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม ศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model ประสบผลสาเร็จ ได้แก่ - ผู้บริหารสถานศึกษาที่มีความเข้าใจสนับสนุนและอานวยความสะดวกในการจัดกิจกรรม - คณะคุณครูและนักเรียนโรงเรียนศรีสมเด็จพิมพ์พัฒนาวิทยาทุกท่าน หัวหน้ากลุ่มสาระการ เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ให้กาลังใจในการสารวจและร่วมแรงร่วมใจจัดผ้าป่าต้นไม้ฯ - เจ้าหน้าที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตรที่สนับสนุนงบประมาณ ให้การอบรม ดูแลและให้คาแนะนา ให้กาลังใจในการทางาน และช่วยเผยแพร่ผลงาน - สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จังหวัดร้อยเอ็ด และศูนย์ประสานงานป่าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด อนุเคราะห์วิทยากรและหนังสือเกี่ยวกับป่าชุมชน - สถานีเพาะชากล้าไม้ จังหวัดร้อยเอ็ด อนุเคราะห์กล้าไม้ จานวน 2,000 ต้น - นายกองค์การบริหารส่วนตาบลสวนจิก กานันตาบลสวนจิก และผู้ใหญ่บ้านบ้านสวนจิก - ปราชญ์ชาวบ้านและชาวบ้านที่ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์ 16
  • 22. 22 จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาแบบบูรณาการด้วย BIP DECS Model พบว่า ผู้เรียนมีความสุข สนุกในการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมใกล้ตัวในชุมชนของตนเอง มีการพัฒนาตนเอง เป็นผู้นาและผู้ตามที่ดี รู้สึกภูมิใจ หวงแหนและช่วยกันอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและภูมิปัญญา ท้องถิ่นของตนเอง และครูที่ปรึกษาได้ค้นพบศักยภาพในการเรียนรู้ของผู้เรียนแต่ละคน ข้อเสนอแนะ ควรมีการพัฒนาการส่งเสริมให้มีการนาเอาภูมิปัญญาท้องถิ่นในการจัดการ เรียนการรู้อย่างจริงจัง เพราะภูมิปัญญาท้องถิ่น คือ รากเหง้า ความแข็งแรงของสังคม สาหรับแนวทางในการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับเยาวชนนั้น ครูที่ปรึกษาไม่ควรยึดติดกับหลักสูตรมากจนเกินไป พยายามคิดให้นอกกรอบและสร้างสรรค์ มีการ วางแผนขั้นตอนการจัดกิจกรรมอย่างเป็นระบบและบูรณาการทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้และเน้นการมี ส่วนร่วมของทุกภาคส่วน และที่สาคัญต้องเข้าใจจุดมุ่งหมายและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของการจัด กิจกรรมการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมศึกษาสาหรับเยาวชน 17
  • 23. 23 10.1 การเผยแพร่ 10.1.1 จัดส่งรายงานผลการศึกษาและมอบแผ่น CD เพลง สรภัญญะ ผญา และกลอน ลาอนุรักษ์ดอนปู่ตาสู่ชุมชน ให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น โรงเรียน หมู่บ้าน/ชุมชน องค์การ ปกครองส่วนท้องถิ่น นายอาเภอศรีสมเด็จ ผู้ว่าราชการจังหวัดร้อยเอ็ด 10.1.2 แลกเปลี่ยนประสบการณ์ที่ได้เรียนรู้จากการดาเนินโครงการฯ กับเพื่อนๆ ครู- อาจารย์ ชาวบ้านในชุมชนหรือผู้ที่สนใจ ในรูปแบบต่อไปนี้ - การจัดบอร์ดนิทรรศการทั้งในโรงเรียนชุมชน และที่ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศ เกษตร จังหวัดปทุมธานี และจัดทาสมุดเล่มเล็ก/นิทานเล่มเล็กให้ผู้สนใจอ่านในห้องสมุด - พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์โดยตรงและผ่าน Facebook กลุ่มนักสารวจ ศ.พ.ว. และกลุ่มพลพรรครักษ์ดอนปู่ตา - เว็บไซต์: http://spwgreenschool.circlecamp.com/index.php?page=home - จัดทาวีดีโอเพลงดอนปู่ตาลงใน http://www.youtube.com 18
  • 24. 24 10.2 การได้รับการยอมรับ โครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ ป่าชุมชนและโครงการแมงมุมชักใยสายใยนิเวศ ได้รับการ ตีพิมพ์ในหนังสือความลับจากท้องทุ่ง5 ของศูนย์ศึกษา ธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร ได้รับรางวัลในโครงการนักสารวจแห่งท้องทุ่งปีที่ 5 ซึ่งจัดโดยศูนย์ศึกษาธรรมชาติและ ระบบนิเวศเกษตร โดยความร่วมมือของสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน บริษัท บริดจสโตน จากัด และ มูลนิธิสิ่งแวดล้อมศึกษาเพื่อการพัฒนาอย่างยังยืน (ประเทศไทย) ดังนี้ - รางวัลชนะเลิศ : ประเภทภูมิปัญญาและวัฒนธรรม ระดับมัธยมศึกษา ได้รับโล่และเงิน สนับสนุนโครงการ 10,000 บาท ในโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน - รางวัลชนะเลิศ การประกวดหนังสือการ์ตูนเล่มเล็ก เรื่อง “ทัศนาจร ณ ดอนปู่ตา” ของ เด็กหญิงปาริฉัตร สวัสดิ์ผล นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการ อนุรักษ์ป่าชุมชน - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 การประกวดภาพวาดของเด็กหญิงพัชรินทร์ ศรีวิเศษ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในโครงการดอนปู่ตาภูมิปัญญาในการอนุรักษ์ป่าชุมชน - รางวัลรองชนะเลิศอันดับที่ 1 : ประเภทความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ ระดับมัธยมศึกษา ได้รับเงินสนับสนุนโครงการ 8,000 บาท พร้อมเกียรติบัตร ในโครงการแมงมุม ชักใยสายใยนิเวศ - รางวัลชนะเลิศ ภาพถ่าย ในหัวข้อ “ธรรมชาติ” ในโครงการแมงมุมชักใยสายใยนิเวศ - รางวัลครูพันธุ์แท้นักสารวจ ระดับมัธยมศึกษา (นายศิริวุฒิ บัวสมาน) ได้รับโล่รางวัล ประกาศเกียรติคุณและเกียรติบัตรสาหรับครูที่ปรึกษาโครงการฯ ทั้ง 3 ท่าน คือนายศิริวุฒิ บัวสมาน นางธีร์กัญญา พลนันท์ และนางสาวพัชราภรณ์ วงศ์ธรรม 19
  • 25. 25 เอกสารอ้างอิง กรมทรัพยากรน้า. 2552. มาเป็นนักวิจัยทรัพยากรน้าชุมชนกันเถอะ. กรุงเทพฯ: องค์การค้า สกสค., 97 หน้า. กรมวิชาการ. 2540. คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนสิ่งแวดล้อมศึกษา กรณีศึกษา ป่าชุมชน ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาตอนต้น. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว., 103 หน้า. _________. 2546. พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อักษรไทย. กระทรวงศึกษาธิการ. 2552. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทยจากัด., 244 หน้า. _________. ม.ป.ป. แนวทางการจัดค่ายนักเรียนบูรณาการเรียนรู้สิ่งแวดล้อม ทักษะทางสังคม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. ม.ป.ท., 333 หน้า. ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร. (อัดสาเนา). ร่างแนวทางการจัดกิจกรรมนักสารวจแห่ง ท้องทุ่ง. ปทุมธานี: ศูนย์ศึกษาธรรมชาติและระบบนิเวศเกษตร., 254 หน้า. ******************* 20