SlideShare a Scribd company logo
1 of 101
Download to read offline
อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ
Thailand 's National Supporting Economic and Social Development of the Nation
การประชุมวิชาการเครือข่ายวิจัยนิเวศวิทยาป่าไม้ประเทศไทย ครั้งที่ 5
ระหว่างวันที่ 16 - 17 ธันวาคม 2558
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ
ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง : ผู้ตรวจราชการกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
http://thaipublica.org/2012/02/payment-for-ecological-services/
• ในขณะที่มันอาจจะดูเหมือนว่า การ
ค้นหาวิธีการวัดค่าเชิงปริมาณของค่า
อันประเมินมิได้ (infinite value) ของ
ระบบนิเวศซึ่งเป็น ชีวมณฑลที่เป็น
เอกลักษณ์ (unique biosphere)
ของเรานี้ เป็นเรื่องไร้สาระ
• แนวคิดเรื่อง 'บริการของระบบนิเวศ' ก็
ทาให้เกิดศัพท์ตัวใหม่-PES ที่นาเข้าสู่
การอภิปรายเกี่ยวกับ
การประเมินมูลค่าสิ่งแวดล้อม
NationalParkandProtectedAreaInnovationInstitute
http://thaipublica.org/2012/02/payment-for-ecological-services/
Costanza, et al., 1997.ที่มา:Costanza, R., et al. 1997. The value of the world’s ecosystem services
and natural capital. Ecological Economics, Volume 25, Issue 1: 3-15.
http://www.sciencedirect.com/science?_ob=ArticleURL&_udi=B6VDY-45RFNGW-
2&_user=10&_rdoc=1&_fmt=&_orig=search&_sort=d&view=c&_acct=C000050221&_version=1&_url
โรเบิร์ต คอนสแตนซ่า พร้อมด้วยนักเศรษฐศาสตร์
นานาชาติด้านสิ่งแวดล้อมหลายคน ร่วมกันคานวณ
มูลค่าของการให้บริการระบบนิเวศทั่วโลก ซึ่งมีรวมกัน
ถึง 3.32 หมื่นล้านล้านเหรียญสหรัฐต่อปี ขณะที่มูลค่า
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของทั้งโลกต่ากว่าเกือบเท่าตัว
NationalParkandProtectedAreaInnovationInstitute
NationalParkandProtectedAreaInnovationInstitute
9. Mekong Headwater
8. Northern Annamites
6. Tri-Border Forest
4. Northern Plains
Dry Forest
2. Ton Le Sap
Inundation Zone
Western Forest
Complex
“คนไทยนั้นผูกพันกับแผ่นดินที่เราอาศัยอยู่เช่นเดียวกับผู้คนทั่วๆ ไป ด้วยกลุ่มชาติพันธุ์กว่าร้อยกลุ่มที่ตั้งรกรากอยู่ที่นี่
ก่อให้เกิดความสัมพันธ์หลากหลายอันอุดมสมบูรณ์ต่อธรรมชาติ”
10
บริการจากระบบนิเวศ
ฐานราก การอยู่ดี-กินดีของผู้คน
ค้ำจุนให้ระบบ
อยู่ได้
•วัฐจักรธาตุอาหาร
•การเกิดดิน
•สารสมุนไพร
....
การเป็นแหล่งเสบียง
อาหาร น้าจืด พลังงาน
เนิอไม้และเยื่อ
....
การควบคุมกลไก
สภาพภูมิอากาศ การไหล
ของน้า ควบคุมโรค การ
กรองน้า ....
สังคมและวัฒนธรรม
ความงดงาม จิตวิญญาน
การศึกษาเรียนรู้ นันทนาการ
....
ทุกชีวิตบนโลก-ควำมหลำกหลำยทำงชีวภำพ
มีภรำดรภำพ/
เสรีที่จะเลือก
โอกาสที่
ปัจเจกชน
สามารถ
เลือกทา-
เลือกเป็นใน
สิ่งที่ตนเชื่อ
ว่ามีคุณค่า
กับตัวเอง
ควำมมั่นคง
•ความปลอดภัยของตัวเอง
•มั่นใจในการเข้าถึงทรัพยกร
•ปลอดภัยจากภัยพิบัติ
ปัจจัยพืนฐำนของ
ชีวิตที่ดี
•ความเป็นอยู่ที่ไม่ขาดแคลน
•มีธาตุอาหารที่พอเพียง
•มีที่กาบัง
•สามารถเข้าถึงสินค้าต่างๆได้
สุขภำพ
•ความเข็งแรงของร่างกาย
•รู้สึกว่า ดี
•การเข้าถึงอากาศและนาสะอาด
สัมพันธไมตรีในสังคม
•สอดคล้องกับสังคมรอบข้าง
•การเคารพต่อกันและกัน
•สามารถช่วยเหลือผู้อื่น
11
อุทยานแห่งชาติของไทยช่วยสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจของชาติ
รวมทั้งในระดับจังหวัดและระดับท้องถิ่น เช่นเดียวกับประเทศอื่นๆ ในโลก
อย่างไรก็ดีการพัฒนาของประเทศไทยต้องอาศัยทรัพยากรทางธรรมชาติและ
วัฒนธรรม ความท้าทายในการพัฒนาเศรษฐกิจที่ประเทศไทยต้องเผชิญอยู่ใน
ทุกวันนี้ มีความเชื่อมโยงกับสถานภาพของป่าไม้ พื้นที่ชุ่มน้้า ป่าชายเลน
แนวปะการัง และระบบนิเวศอื่นๆ ทั้งในอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ
Protected Areas for
Eco- system services
Country Area: 513,115 Km2
 Forest Cover:31%
 Protected Area: 18-20%
 147 National Parks
 57 Wildlife Sanctuaries
 60 Non-Hunting Areas
Forest carbon stocks in the LMS
COUNTRY AG t C/ha) BG (t C/ha)
ABG (t
C/ha)
Cambodia 103 27 130
Laos 131 34 166
Thailand 89 24 113
Vietnam 100 27 127
$197,900
$12,163
$16,534
$10,888
มูลค่ารายปีต่อของระบบนิเวศหลายรูปแบบในพื้นที่ 10,000 ตารางเมตร แตกต่างกัน
ค่อนข้างมาก
• แนวปะการังมีมูลค่ามากที่สุดโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากการท่องเที่ยว
• พื้นที่ชุ่มน้้าภายในมาเป็นอันดับสอง เพราะมีประโยชน์ในการช่วยควบคุมน้้าท่วม
• พื้นที่ชุ่มน้้าชายฝั่งเช่นป่าชายเลนตามมาเป็นอันดับสาม แม้ว่ามูลค่าของป่าชาย
เลนจะเพิ่มขึ้นหลังจากเพิ่มผลประโยชน์ในด้านการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
เข้าไป การศึกษาวิจัยเมื่อเร็วๆ นี้คาดว่าป่าชายเลนจะมีมูลค่าสูงถึง 27,000
เหรียญสหรัฐต่อพื้นที่ 10,000 ตารางเมตรเป็นอย่างน้อยต่อชุมชนท้องถิ่น
• ป่าเขตร้อนมีมูลค่าตอนที่ยังอุดมสมบูรณ์อยู่มากกว่าตอนที่ถูกแผ้วถางแล้ว
อุทยานแห่งชาติช่วยอนุรักษ์ทุกสิ่งทุกอย่างนี้เอาไว้โดยมูลค่าโดยรวมของพื้นที่
คุ้มครองในประเทศไทยเพิ่มขึ้นมากกว่า 46 พันล้านเหรียญสหรัฐแล้ว
• อุทยานแห่งชาติส่งผลดีต่อภูมิทัศน์ทั้งทางบกและทางทะเลที่มีขนาดใหญ่
ของประเทศไทย
Northern Mangroves & Inshore Islands
 Includes
 Lam Nam Kraburi
 Laem Son
 Mu Ko Phayam
Northern Offshore Islands
 Includes
 Mu Ko Surin
 Mu Ko Similan
Central Beach & Gallery Forests
 Includes
 Mu Ko Ra- Ko Phra
 Khao Lak – Lam Ru
 Khao Lampi – Hat Thai Meuang
 Sirinart
Greater Ao Phang-nga ecoregion
Includes
•Ao Phang-nga
•Than Bok Khorani
•Had Noppharat- Ko Phi Phi
•Mu Ko Lanta
•HadChao Mai
•Mu Ko Phetra
•Mu Ko Libong
Southern Coastal Forests
Includes
•Thaleban
•KoTarutao
Sustainable production
initiative
Land use planning using spatial
biodiversity information
Restoration
project
The Landscape Approach: a Mosaic of Land Uses
Privately-owned
protected areaState-owned protected
area
Subsistence use of
forest products
Introduction to the landscape approach
Threats to the landscape
Southern Offshore Islands
 Includes
 Mu Ko Adung-Rawi
 Hin Daeng/Hin Muang/Ko
Rok
 กำรลักลอบท้ำกำรประมงในเขตอุทยำนแห่งชำติทำงทะเล
 เรืออวนลำก
• ลอบดักปลำ
ภาพโดย อาจารย์ศักดิ์
อนันต์ ปลาทอง
• อุทยานแห่งชาติมีส่วนช่วยในการพัฒนาเศรษฐกิจ
• พื้นที่เล็กๆ ในอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่บน
ภูเขาอาจถูกนาไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
เช่น การติดสถานีเรดาห์ที่มีความสาคัญต่อ
การคมนาคมทางอากาศในประเทศไทย
• การจัดตั้งอุทยานแห่งชาติทั่วประเทศทาให้
ที่ดินโดยรอบมีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้น แม้ว่าการ
อาศัยอยู่ใกล้อุทยานแห่งชาติอาจมี
ค่าใช้จ่ายอยู่บ้าง เช่น พืชผลถูกช้าง กวาง
หมูป่า ลิง และสัตว์ป่าๆ
© สุชิน วงค์สุวรรณ
กรณีการออกเอกสารสิทธิทับซ้อนอุทยานแห่งชาติสิรินาถ
แปลงที่ดินที่มีการออกเอกสารสิทธิทับซ้อนอุทยานแห่งชาติสิรินาถ
จานวน 815 แปลง เนื้อที่ 4,346 ไร่ 0 งาน 70.04 ตร.วา
(จากเดิม 710 แปลง เพิ่มขึ้นจานวน 105 แปลง เนื้อที่ 750 ไร่ 2 งาน 37.23 ตร.วา) แยกเป็น
1.) ได้รับสารบบที่ดินแล้ว 398 แปลง เนื้อที่ 1,259 ไร่ 1 งาน 92.53 ตร.วา
2.) ยังไม่ได้รับสารบบที่ดิน 322 แปลง เนื้อที่ 1,701 ไร่ 1 งาน 52.7 ตร.วา แยกเป็น
2.1) แปลงที่ดินที่มีแต่รูปแปลงไม่มีข้อมูล จานวน 147 แปลง เนื้อที่ 508 ไร่ 3 งาน 99.82 ตร.วา
2.2) แปลงที่ดินที่มีข้อมูลหน้าสารวจแต่ที่ดินปฏิเสธไม่มีข้อมูล จานวน 175 แปลง
เนื้อที่ 1,192 ไร่ 1 งาน 52.88 ตร.วา
3.) แปลงที่ดาเนินการปี พ.ศ.2555 ถึง 30 มี.ค. พ.ศ.2557 จานวน 73 แปลง เนื้อที่ 720 ไร่ 2 งาน 69.25 ตร.วา
4.) แปลงที่ดินของรัฐ จานวน 12 แปลง เนื้อที่ 664 ไร่ 2 งาน 55.56 ตร.วา
กำรบุกรุกที่ดิน
(ข้อมูลจากคณะทางานตรวจสอบเอกสารสิทธิการบุกรุกยึดถือครอบครองในอุทยาน
แห่งชาติสิรินาถ จังหวัดภูเก็ต ณ วันที่ 4 ก.พ. 58)
รวมพื้นที่บุกรุก 101 ไร่ 3 งาน 63.06 ตร.วา
• อุทยานแห่งชาติผลิตน้้าที่มีคุณภาพสูงเพื่อใช้ในการเกษตรกรรม
อุตสาหกรรม และครัวเรือน
การอนุรักษ์ป่าต้นน้าที่ผลิตน้าที่ส่งเสริมความรุ่งเรือง
ของเกษตรกรรม อุตสาหกรรม และเมืองต่างๆ ของ
ประเทศไทยนั้นเป็นบทบาทที่สาคัญอย่างยิ่งยวดของ
อุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ น้าจืดสาหรับ
ทุ่งนา หมู่บ้าน และตัวเมืองของประเทศไทยส่วนมาก
มาจากอุทยานแห่งชาติ
• อุทยานแห่งชาติช่วยบ้าบัดและฟอกน้้าให้บริสุทธิ์
ประเทศไทยต้องเผชิญกับปัญหามลพิษทางน้าเช่นเดียวกับเกือบทุกประเทศ ทั้งแบคทีเรีย
มีพิษที่ไหล มาจากพื้นที่เพาะปลูก สิ่งปฏิกูล และของเสียจากโรงงาน การบาบัดน้าเสีย
ด้วยพื้นที่ชุ่มน้าที่มักพบในพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในพื้นที่ชุ่มน้าที่มีความสาคัญ
ในระดับนานาชาติภายใต้อนุสัญญาแรมซาร์ (RAMSA)
• อุทยานแห่งชาติช่วยยืดอายุเขื่อนและอ่างเก็บน้้าโดยช่วยลดการตกตะกอน
ในอ่างเก็บน้้า
เขื่อนผลิตกระแสไฟฟ้าพลังงานน้าได้รับประโยชน์มากมายจากการที่อุทยานแห่งชาติ
คุ้มครองป่าต้นน้าขนาดใหญ่โดยการลดการตกตะกอนในอ่างเก็บน้าซึ่งช่วยยืดอายุเขื่อน
ตัวอย่างเช่น เขื่อนภูมิพล (ซึ่งโดยปกติแล้วจะผลิตกระแสไฟฟ้าร้อยละ 20 ของประเทศไทย)
นวัตกรรมทางเทคโนโลยีด้านการชลประทานถือเป็นการปฏิวัติท้าให้สามารถเพาะปลูกได้ครั้งละมากๆ และเปลี่ยน
ประเทศไทยจากวัฒนธรรมกลุ่มหมู่บ้านเล็กๆ ที่แตกต่างกันให้กลายเป็นศูนย์กลางของอารยธรรมขั้นสูง
• อุทยานแห่งชาติช่วยลดความเสียหายที่เกิดจากน้้าท่วม
ประเทศไทยนั้นโชคดีที่มีฝนตกชุกแต่เหมือน ถูกสาปเมื่อน้าฝนปริมาณมากไหลลงมาอย่าง
รวดเร็วจากพื้นที่สูงก่อให้เกิดน้าป่าไหลหลากที่เป็นอันตราย จากประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา
น้าท่วมตามฤดูกาลจะถูกนาไปหล่อเลี้ยงระบบชลประทานในนาข้าวและน้าท่วมได้นาธาตุ
อาหารมาให้พื้นที่เพาะปลูกตอนล่าง แต่น้าท่วมอาจกลายเป็นปัญหาใหญ่เมื่อพืชพรรณตาม
ธรรมชาติถูกแทนที่ด้วยถนน โรงงานและการพัฒนาอื่นๆ
Adaptation = Learning about risk?
http://amazepicsvids.blogspot.com/2011/11/ideas-to-fight-flood-in-thailand.html
http://cutestuff.co/2011/11/cute-dog-ready-for-flood-in-thailand/
• อุทยานแห่งชาติช่วยลดความเสียหายที่เกิดจากภัยแล้ง
อุทยานแห่งชาติยังสามารถเป็นตัวอย่างของ แนวทางการปฏิบัติที่ดีของการบริหารจัดการ
ทุ่งหญ้า และการจัดการแหล่งน้าต้นน้าลาธารที่สามารถจัดการให้มีน้าเหลืออยู่ในช่วงฤดูแล้ง
ของแต่ละปีได้ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ อุทยานแห่งชาติมีพืชทนแล้งที่ผู้เลี้ยงสัตว์ที่อยู่
นอกเขตอุทยานแห่งชาติอาจสนใจมองหาพืชชนิดที่เหมาะสมเพื่อจะนาไปปลูกเป็นอาหาร
สัตว์นอกเขตอุทยานแห่งชาติ
• อุทยานแห่งชาติช่วยสนับสนุนการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวเป็นส่วนที่สาคัญมากของอุทยานแห่งชาติเพราะการท่องเที่ยวได้ให้
ประโยชน์กับอุทยานแห่งชาติหลายประการ รายได้สาคัญของอุทยานแห่งชาติ
ในปัจจุบันมาจากการท่องเที่ยวซึ่งดึงดูดผู้คน 8,000 ล้านคนจากทั่วโลกต่อปี
• อุทยานแห่งชาติทางทะเลเป็นที่นิยมเป็นพิเศษและสามารถสร้างรายได้จาก
นักท่องเที่ยวต่างชาติ
การศึกษาในเชิงเศรษฐศาสตร์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติทางทะเลได้แสดง
ให้เห็นว่าสัตว์ที่เป็นสัญลักษณ์ เช่น ฉลามวาฬในอุทยานแห่งชาติทางทะเลหมู่เกาะลันตา
สามารถสร้างรายได้ถึงตัวละ 225,000 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ และแนวปะการังที่อุทยาน
แห่งชาติหาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพีสร้างรายได้ถึง 205 ล้านเหรียญดอลลาร์สหรัฐต่อปี
จากนักท่องเที่ยว
ด้ำนกำรท่องเที่ยว
 กำรควบคุมจ้ำนวนนักท่องเที่ยว
การกาหนดจานวนนักท่องเที่ยวให้เหมาะสมกับขีดความสามารถในการรองรับได้ของพื้นที่ (Carrying Capacity : CC)
5 ด้าน ด้านนิเวศวิทยา (ECC) ด้านกายภาพ (PCC) ด้านสิ่งอานวยความสะดวก (FCC) ด้านจิตวิทยา (PSCC) และด้านสังคมและวัฒนธรรม (SCC)
 กำรควบคุมกิจกรรมกำรท่องเที่ยวที่ไม่เหมำะสม
ภาพจาก facebook : Niruth Darid Bannob
ปัญหาและภัยคุกคามความยั่งยืนของอช.ทะเล
• ปริมาณนักท่องเที่ยวเกินขีดความสามารถในการรองรับ
ควำมไม่ยั่งยืนด้ำนกำรท่องเที่ยว
ที่มาภาพ :
https://www.facebo
ok.com/
thon.thamrongnawas
กำรทิงสมอเรือ
• ควำมไม่ยั่งยืนด้ำนสิ่งแวดล้อม
• ขยะ
• น้ำเสีย
ภาพจาก facebookคุณจิระพงศ์ จีวรงคกุล ที่เกาะตาชัย
• อุทยานแห่งชาติเปิดโอกาสให้กับการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์
การเข้าเยี่ยมชมอุทยานแห่งชาติกลายเป็น “การท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์” เมื่อการท่องเที่ยวถูก
ออกแบบให้นักท่องเที่ยวมีส่วนช่วยในการพัฒนาการบริหารจัดการของอุทยานแห่งชาติและ
ช่วยกันอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ต่างๆ และธรรมชาติที่พบในอุทยานแห่งชาติ ตลาดการท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์เติบโตขึ้นเร็วกว่าอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว ทั่วโลกโดยรวมถึงสามเท่า
กิจกรรล่องแก่ง เป็นจุดเด่นที่หลายอุทยานแห่งชาติของเรารวมถึงใน
• อุทยานแห่งชาติแสลงหลวง
• อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
• อุทยานแห่งชาติแก่งกระจาน
• อุทยานแห่งชาติออบหลวง และอุทยานแห่งชาติอื่นๆ อีกมากมาย
แพไม้ไผ่ที่ล่องไปในแม่น้าลาธารอันเงียบสงบในหลายอุทยานในปัจจุบัน
• อุทยานแห่งชาติมีน้้าเป็นจุดดึงดูดนักท่องเที่ยว
อุทยานแห่งชาติของประเทศไทยส่วนมากมีน้าตกที่เป็นที่นิยมมากในหมู่นักท่องเที่ยว
น้าตกที่ดีที่สุดของประเทศเกือบทุกแห่งอยู่ในอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครองของเรา
• อุทยานแห่งชาติท้าให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักในระดับนานาชาติ
อุทยานแห่งชาติหลายแห่งปรากฏอยู่ในภาพโฆษณาของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
แสดงให้เห็นภาพความงดงามตามธรรมชาติของประเทศ อุทยานแห่งชาติบางแห่งก็เป็นที่รู้จัก
อย่างเป็นทางการในการประชุมระดับนานาชาติ ตัวอย่างเช่น อนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก
ได้ขึ้นบัญชี กลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ เป็นมรดกโลกทางธรรมชาติ
 เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าทุ่งใหญ่นเรศวร-ห้วยขาแข้ง
(Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries)
ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อปี
พ.ศ. 2534 ตามหลักเกณฑ์ข้อที่ 7, 9 และ 10
12/21/2015
76
เป็นผืนป่าธรรมชาติที่รวมไว้ซึ่งความหลากหลายของพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
ตลอดจนแมลงป่าอีกหลายชนิด มีความงดงามทางธรรมชาติและเป็นที่รวมของ
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่หาได้ยากแห่งหนึ่งของโลก อีกทั้งมีความเป็นเลิศ
ของระบบชีวาลัยเป็นแหล่งรวมของความหลากหลายทางชีวภูมิศาสตร์ถึง ๔ เขต
คือ ชิโน-หิมาลายัน อินโด-เบอร์มิส ซุนดา และอินโดจีน
 พื้นกลุ่มป่าดงพญาเย็น-เขาใหญ่ (Dong Phayayen-Khao
Yai Forest Complex)
ขึ้นทะเบียนเป็นแหล่งมรดกโลกเมื่อปี
พ.ศ. 2548 ตามเกณฑ์ข้อที่ 10. เป็นถิ่นที่อยู่อาศัยที่มีความสาคัญสูงสุด
สาหรับการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพในถิ่นกาเนิด ซึ่งรวมไป
ถึงถิ่นที่อาศัยของชนิดพันธุ์พืช และ/หรือชนิดพันธุ์สัตว์ ที่มีคุณค่าโดด
เด่นเชิงวิทยาศาสตร์ หรือเชิงอนุรักษ์ระดับโลก
12/21/2015
77
เป็นพื้นที่ที่มีระบบนิเวศที่อุดมสมบูรณ์ และมีความหลากหลายทางชีวภาพ
รวมทั้งเป็นกลุ่มพื้นที่ที่รวมผืนป่าที่สาคัญของประเทศที่มีอาณาบริเวณ
ติดต่อกัน 5 แห่ง คือ อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ -ทับลาน -ปางสีดา –
ตาพระยา และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าดงใหญ่
• อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารมีแหล่งวัฒนธรรมสาคัญที่อยู่ในยุคเขมรเมื่อ
ครั้งที่นครวัดในกัมพูชายังเป็นศูนย์กลางอารยธรรมแต่แผ่ขยายมาถึงประเทศ
ไทยถึงลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา
• ช้างป่าต้องพึ่งพาอุทยานแห่งชาติเพื่อให้สามารถดารงเผ่าพันธุ์ไว้ได้ต่อไป
• ช้างป่าที่ถูกนามาเลี้ยงกลายเป็นส่วนสาคัญส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย
• ช้างมีบทบาทเชื่อมโยงกับพระพุทธเจ้าในหลายๆ ด้าน บทบาทของช้าในทาง
ศาสนาแสดงออกมาในรูปของพระพิฆเนศซึ่งได้รับอิทธิพลจากศาสนาฮินดูที่
แผ่ขยายไปทั่วประเทศ เป็นที่เคารพบูชาในฐานะผู้นาโชคลาภมาให้
การเปลี่ยนแปลงของเศรษฐกิจประเทศไทยจากการเกษตรกรรมดั้งเดิมเป็นอุตสาหกรรม
สมัยใหม่ในระดับโลกนั้นเคยได้รับการเอื้อประโยชน์จากระบบนิเวศบริการในอุทยานแห่งชาติ
แต่ในปัจจุบันผืนป่าได้เปลี่ยนบทบาทจากจากการเป็นแหล่งไม้ซุงส่งออกไปขายต่างประเทศ
ในยุคก่อนเศรษฐกิจ มาเป็นการสนับสนุนนิเวศบริการแก่เศรษฐกิจยุคใหม่
• ประเทศไทยมีวัดป่าราว 6,000 แห่ง หลายแห่งอยู่ในอุทยานแห่งชาติบางแห่งอยู่นอกเขตอุทยานแห่งชาติ ความสงบ
และความโดดเดี่ยวที่พระธุดงค์ตามหา และการที่พระธุดงค์เข้ามาอยู่ในอุทยานแห่งชาติอาจช่วยสนับสนุนการอนุรักษ์
ในอุทยานแห่งชาติได้อีกทางหนึ่ง
• งานวันมาฆบูชาจัดขึ้นที่อุทยานแห่งชาติเขาคิชกูฎในวันเพ็ญเดือนสามโดยมีจุดมุ่งหมายให้หลีกเลี่ยงความชั่ว ทาความดี
และทาจิตใจให้บริสุทธิ์โดยประชาชนขึ้นไปยังยอดเขาเพื่อสักการะรอยพระพุทธบาทที่ประดิษฐานอยู่บนยอดเขาคิชกูฎ
• พุทธศาสนิกชนรวมถึงพระสงฆ์ที่ออกธุดงค์และเข้าเยี่ยมชมอุทยานแห่งชาติจะสนับสนุนการอนุรักษ์ในอุทยานแห่งชาติ
รวมถึงการช่วยคุ้มครองป่าต้นน้าและต้นไม้ที่สาคัญในอุทยานแห่งชาติ อุทยานแห่งชาติช่วยให้เราจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติได้ชาญฉลาดมากขึ้น
• ภาพวาดของ ์ไชยยา วรรณเลิศ อุทยานแห่งชาติเป็นตัวอย่างที่ดีของการได้แรงบันดาลใจทางศิลปะจากธรรมชาติ
ดังเช่น ภาพวาดอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวงในจังหวัดพิษณุโลก
• ช้างก็เป็นจิตรกรได้และดูเหมือนจะเพลิดเพลินกับการวาดรูปเช่นกัน กาไรที่ได้จากการขายภาพนั้นอุทิศให้กับ
การอนุรักษ์ช้าง
• ในบ้านที่รวบรวมผลงานศิลปะเป็นที่รู้จักกันในชื่อ “บ้านดา” ตั้งอยู่ในจังหวัดเชียงราย ศิลปินที่มีชื่อเสียง
อาจารย์ถวัลย์ ดัชนี ได้ใช้แรงบันดาลใจจากธรรมชาติอย่างมาก ดังจะเห็นได้จากในภาพซึ่งเน้นไปที่ซากสัตว์
เป็นสาสน์เตือนให้พยายามอนุรักษ์สายพันธุ์สัตว์ต่างๆ เอาไว้ของเราหลายแห่งดังที่ปรากฏในรูปถ่าย
อุทยานแห่งชาติภูผาเทิบ (1) โดดเด่นด้วยกลุ่มหินทรายที่ถูกแรงลมกัดเซาะ ในขณะที่ช่องเขาของ
อุทยานแห่งชาติออบหลวง (3) นั้นถูกกัดเซาะโดยน้า และกลุ่มหินปูนบนเกาะห้องในอุทยานแห่งชาติ
หาดนพรัตน์ธารา-หมู่เกาะพีพี (2) เป็นกลุ่มหินที่ถูกกัดเซาะด้วยแหล่งน้าใต้ดินที่โดดเด่นของประเทศ
ไทยพบได้ในอุทยานแห่งชาติหลายแห่ง
1
2
3
• ในบรรดาอุทยานแห่งชาติทั้งหลายที่มีบ่อน้าพุร้อนและน้าพุร้อน อุทยานแห่งชาติแม่
ฝางมีน้าพุร้อนที่น่าสนใจที่สุด
• อุทยานแห่งชาติลาน้ากกในจังหวัดเชียงรายเป็นหนึ่งในอุทยานแห่งชาติหลายแห่งที่มี
บ่อน้าพุร้อนในบริเวณที่ยังคุกรุ่นอยู่ของประเทศไทย
• สุสานหอยน้าจืดฝาเดียวที่อุทยานแห่งชาติหาดนพรัตน์ธาราในจังหวัดกระบี่เป็นหนึ่งใน
สถานที่ที่มีความสาคัญระดับโลกเพราะมีโครงสร้างของหินที่เก่าแก่ที่สุดในโลก
• ถ้าเสาหินในอุทยานแห่งชาติลาคลองงูในจังหวัดกาญจนบุรีเป็นเสาหินปูนที่สูงที่สุด
ในโลกแสดงให้เห็นว่าพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยมีความสาคัญในระดับโลก
พื้นที่คุ้มครอง เช่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ให้น้้ากับพื้นที่ตอนล่างเพื่อสนับสนุนพื้นที่ท้า
การเกษตรบริเวณหมู่บ้านแม่กลางหลวงซึ่งอยู่นอกเขตอุทยานแห่งชาติ
เมื่อค้างคาวเหมือนพวกที่อาศัยอยู่ในอุทยานแห่งชาติเอราวัณนี้ช่วยควบคุมประชากรแมลงศัตรูพืชที่ทาลาย
ข้าวโดยธรรมชาติเกษตรกรไม่ต้องใช้ยาฆ่าแมลงจานวนมากเพื่อให้ได้ผลผลิตตามต้องการ กระบวนการนี้
ช่วยเพิ่มความปลอดภัยในอาหารและนาไปสู่ผลประโยชน์อื่นๆ อีกมากมาย เช่น มลพิษในน้าจากการ
รั่วไหลของยาฆ่าแมลงลดลง
• อุทยานแห่งชาติเขาพระวิหารในประเทศไทยที่อยู่ติดกับวัดพระวิหารทางฝั่งกัมพูชา
ซึ่งเป็นมรดกโลกกาลังอยู่ระหว่างการเป็นส่วนหนึ่งของความร่วมมือในกลุ่มอนุ
ภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขงซึ่งจะทาให้พื้นที่นี้เป็นพื้นที่คุ้มครองที่อยู่ระหว่างพรมแดนและ
ช่วยเพิ่มความมั่นคงของชาติให้แก่ทั้งสองประเทศ
• ตัวอย่างของการร่วมมือระหว่างพรมแดนในการอนุรักษ์ระหว่างไทยกับพม่ามีส่วน
ช่วยอย่างมากในด้านความมั่นคงและใช้พัฒนาเศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ต่อประชากร
Per capita
GDP
การจ้างงาน
Employment
รายได้เข้ารัฐ
Government
revenues
เงินลงทุนจาก
ต่างประเทศ
Foreign
investment
การส่งออก
Exports
0 %
20 %
40 %
60 %
80 %
100 %
75%
92%
59%
31%
46%
มูลค่าความหลากหลายทางชีวภาพในเศรษฐกิจมหภาคของประเทศลาว
89
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
Jasen Multipurpose Protected Area – ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการทั้งหมดได้มาจาก
รายได้ในการจัดการท่องเที่ยวและการป่าไม้ (PA เก็บไว้มากกว่า 90%).
90
resource use charges
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
ผู้ประกอบการท่องเที่ยวและการค้าในอุทยานแห่งชาติในอัฟริกาใต้ ดาเนินการโดยภาคเอกชนด้วยสัมปทาน
สร้างรายได้ที่เป็นงบลงทุน 35 ล้านเหรียญ และเป็นรายได้แก่ระบบอุทยานแห่งชาติ ปีละ 5 ล้านเหรียญ91
tourism and eco-business
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
โปรแกรมการล่าเพื่อเขาสัตว์ของ Torghar Community-Based สร้างและแบ่งปัน
รายได้ให้จังหวัดและชุมชนท้องถิ่นอย่างเป็นระบบ92
local concessions & sustainable use
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
ระบบท่อส่งน้ามัน Baku-Tbilisi-Ceyhan (BTC)– นารายได้ประมาณ 2.5 ล้านเหรียญ
มาชดเชยให้แก่การจัดการอุทยานแห่งชาติ การจัดการป่าไม้และพื้นที่สงวนใน 3 ประเทศ
93
biodiversity offsets
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
94
ธนาคารฮ่องกง HSBC Bank ให้ทุนแก่รัฐบาล Fujairah เพื่อสร้างและจัดการ
พื้นที่คุ้มครอง Wadi Wurayah Mountain ในการสารวจความหลากหลาย
ทางชีวภาพ และจัดตั้งคณะเจ้าหน้าที่พิทักษ์ทรัพยากร
corporate sponsorship
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
mechanisms which raise, spend or
redistribute public budgetary
funds, such as taxes and subsidies
95
โปรแกรมการอนุรักษ์พื้นที่สงวนของภาคเอกชน Brazil’s Programme for Private
Reserves of Natural Heritage (RPPN) สนับสนุนให้มีเอกชนสรรหาพื้นที่เพื่อการ
อนุรักษ์ โดยให้การยกเว้นภาษีที่ดินในชนบท อันเป็นประโยชน์ต่อแก่เจ้าของที่ดิน
fiscal instruments
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
96
อากรสินค้า 10-11% ของอุปกรณ์ล่าสัตว์และตกปลา และ 3% ของอะไหล่
อุปกรณ์ตกปลา ถูกจัดสรรไปให้เป็น กองทุนการฟื้นฟูสัตว์ป่าแห่งรัฐ
fiscal transfers
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
พื้นที่กันชน Gaoligongshan Nature Reserve ในประเทศจีน ได้รับการฟื้นฟูด้วย
ป่าธรรมชาติ และขายคาร์บอนเครติดในตลาดอาสา (voluntary market)
รายได้นาส่งให้หน่วยงานดูแลป่าและเกษตรกร
97
carbon finance
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
อเมริกา ปรับลดหนี้และยืดเวลาชาระหนี้ และลดดอกเบี้ยให้รัฐบาลจาไมก้า เพื่อ
นาไปเป็นงบประมาณในการจัดตั้งระบบพื้นที่คุ้มครอง และเป็นงบประมาณ
ในการจัดการอุทยานแห่งชาติ 2 แห่ง
98
debt for nature swap
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
กองทุนอนุรักษ์พืนที่คุ้มครองเบลิศ Belize Protected Areas Conservation
Trust (PACT) มีรายได้จาก
• ค่าธรรมเนียมการอนุรักษ์ ในอัตรา 3.75 เหรียญต่อนักท่องเที่ยวต่างชาติ เก็บ
ขณะที่เดินทางกลับประเทศ
• อัตราร้อยละ 20 จากค่าธรรมเนียมการเข้าอุทยานแห่งชาติ ค่าธรรมเนียมและ
ใบอนุญาตสัมปทาน และค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวเรือสาราญ 99
trust funds
อ้างอิงจาก Lucy Emerton, 2011
ขอบคุณ
หทัยรัตน์ นุกูล วรวุฒิ วิญญายงค์
T-FERN
ขอบคุณครับ

More Related Content

Viewers also liked

ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010chorchamp
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการUNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย UNDP
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศUNDP
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยUNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศUNDP
 
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งUNDP
 
Presentation 27 March
Presentation 27 March Presentation 27 March
Presentation 27 March UNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆUNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 

Viewers also liked (20)

ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
ศ.ดร.มิ่งสรรพ์ ขาวสอาด มาตรการการคลังเพื่อสิ่งแวดล้อม 03_nov2010
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
 
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทยคัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
คัดย่อแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในประเทศไทย
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
 
Presentation 27 March
Presentation 27 March Presentation 27 March
Presentation 27 March
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 

Similar to อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ

Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2yah2527
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรAuraphin Phetraksa
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนCook-butter
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ UNDP
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนtawinee
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตmook_suju411
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiativesrattapol
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่Satapon Yosakonkun
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1yah2527
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริSompop Petkleang
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 

Similar to อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ (20)

Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2Marine smart patrol 2
Marine smart patrol 2
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
โครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อนโครงการเขาหินซ้อน
โครงการเขาหินซ้อน
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
แปลงถาวร
แปลงถาวร แปลงถาวร
แปลงถาวร
 
KU Library : Flood 2011
KU Library : Flood 2011KU Library : Flood 2011
KU Library : Flood 2011
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
โครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคตโครงการห้วยองคต
โครงการห้วยองคต
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
Nrct northern initiatives
Nrct northern initiativesNrct northern initiatives
Nrct northern initiatives
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
กระแสเทคโนโลยีเพื่อบริการสารสนเทศยุคใหม่
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1Marine smart patrol 1
Marine smart patrol 1
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 

More from yah2527

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...yah2527
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกyah2527
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...yah2527
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกyah2527
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลyah2527
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์yah2527
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งานyah2527
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพyah2527
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าyah2527
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวyah2527
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกyah2527
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspayah2527
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีyah2527
 
Pa system plan
Pa system planPa system plan
Pa system planyah2527
 
Prof jeff catspa
Prof jeff catspaProf jeff catspa
Prof jeff catspayah2527
 
METT CATSPA
METT CATSPAMETT CATSPA
METT CATSPAyah2527
 

More from yah2527 (20)

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 
Pa system plan
Pa system planPa system plan
Pa system plan
 
Prof jeff catspa
Prof jeff catspaProf jeff catspa
Prof jeff catspa
 
METT CATSPA
METT CATSPAMETT CATSPA
METT CATSPA
 

อุทยานแห่งชาติของไทยกับการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชาติ