SlideShare a Scribd company logo
1 of 66
1
ฝ่ายวิจัยและพัฒนาและอุทยานแห่งชาติ
ส่วนศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
2
หัวข้อการบรรยาย
1. ความจาเป็ นในการกาหนดขีดความสามารถใน
การรองรับด้านนันทนาการ (CC)
2. ประเภทของ CC
3. การกาหนด CC อย่างเร่งด่วน
4. แนวทางการจัดการท่องเที่ยวโดยใช้มาตรการ
CC
“เหตุใดจึงต้องมีการกาหนดขีดความสามารถใน
การรองรับได้ด้านนันทนาการของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ”
เพื่อคงความอุดมสมบูรณ์ของสภาพพื้นที่และสิ่งแวดล้อม
ความสวยงามของสภาพธรรมชาติในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
ให้คงอยู่ต่อไปเพื่อให้ลูกหลานภายหน้า
“ขีดความสามารถ
ในการรองรับได้
ด้านนันทนาการ
ของพื้นที่อุทยาน
แห่งชาติคือ
อะไร?”
ระดับการใช้ประโยชน์สูงสุดด้านนันทนาการซึ่งพื้นที่อุทยาน
แห่งชาติสามารถรองรับได้ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบต่อ
ทรัพยากรธรรมชาติที่เกินมาตรฐานที่กาหนดไว้
“กาหนดขีดความสามารถในการรองรับได้ด้าน
นันทนาการของพื้นที่อุทยานแห่งชาติเพื่ออะไร?”
เพื่อการจัดการแหล่งนันทนาการให้สามารถเอื้อประโยชน์ใน
การประกอบกิจกรรมนันทนาการของนักท่องเที่ยวได้เหมาะสม
โดยที่ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
“ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านนันทนาการใน
พื้นที่อุทยานแห่งชาติจาแนกเป็ นกี่ด้าน?”
จาแนกเป็ น 5 ด้านเพื่อให้ครอบคลุมการจัดการ
ควบคุมผลกระทบด้านต่างๆ
1. ขีดความสามารถด้านนิเวศวิทยา
2. ขีดความสามารถด้านกายภาพ
3. ขีดความสามารถด้านสิ่งอานวยความสะดวก
4. ขีดความสามารถด้านจิตวิทยา
5. ขีดความสามารถด้านสังคมวัฒนธรรม
ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านนิเวศวิทยา
หมายถึง จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ไม่ทาให้ระบบนิเวศ
หรือสิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมไปจนยากแก่การฟื้ นฟู เช่น ชนิด
พันธุ์สัตว์ป่ า ชนิดพันธุ์พืชลด ดินพังทลาย เกิดมลพิษใน
แหล่งน้า
“ไม่มีระบบสิ่งแวดล้อมใดที่จะคงทนต่อการใช้ประโยชน์อย่างไม่จากัด”
ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านกายภาพ
หมายถึง จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่ขนาดเนื้อที่ของแหล่ง
นันทนาการสามารถรองรับได้ เช่น จุดชมทิวทัศน์บนยอดเขา มีพื้นที่จากัด
๑๐ ตร.ม. สามารถรองรับนักท่องเที่ยวที่จะยืนชมทิวทัศน์สูงสุดในครั้งหนึ่งๆได้
๕ คน โดยคานวณจากขนาดพื้นที่ที่ใช้ยืนชมทิวทัศน์ ๒ ตร.ม.ต่อคน เป็ นต้น
ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านสิ่งอานวยความสะดวก
หมายถึง จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดที่สิ่งอานวยความสะดวก
สะดวกในแหล่งนันทนาการสามารถรองรับได้ในช่วงเวลาหนึ่งๆ เช่น
ที่จอดรถ บ้านพัก ห้องน้า เป็ นต้น
ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านจิตวิทยา
หมายถึง จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในแหล่งท่องเที่ยวในช่วงเวลา
หนึ่ง ที่ทาให้นักท่องเที่ยวได้รับประสบการณ์ที่มีคุณภาพและได้รับความพึง
พอใจ เป็ นการสอบถามความคิดเห็นของนักท่องเที่ยวต่อจานวนคนที่พบ
พฤติกรรมของนักท่องเที่ยวคนอื่น ความรู้สึกแออัด เป็ นตัน
ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านสังคมวัฒนธรรม
หมายถึง จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุด รูปแบบกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว และการพัฒนาเพื่อรองรับกิจกรรมการท่องเที่ยวที่ราษฎร
ในชุมชนท้องถิ่นยอมรับได้ โดยไม่เกิดความรู้สึกด้านลบและไม่
สร้างผลกระทบหรือก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
วัฒนธรรมในชุมชนในทิศทางที่ไม่พึงปรารถนา
หลักในการกาหนดขีดความสามารถในการรองรับได้
ด้านนันทนาการของแหล่งท่องเที่ยวในอุทยานแห่งชาติ
ขีดความสามารถในการรองรับได้ในแต่ละด้านจะถูกนามา
พิจารณาร่วมกันเพื่อกาหนดขีดความสามารถสูงสุดที่พื้นที่นั้นๆจะ
สามารถรองรับได้ ตัวอย่าง เช่น
• ขีดความสามารถด้านนิเวศวิทยาสามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้สูงสุด 200 คนต่อ
วัน
• ขีดความสามารถด้านกายภาพ รองรับนักท่องเที่ยวได้สูงสุด 300 คนต่อวัน
• ขีดความสามารถด้านสิ่งอานวยความสะดวก 500 คนต่อวัน
• ขีดความสามารถด้านจิตวิทยา 250 คนต่อวัน
สาหรับแหล่งท่องเที่ยวแห่งนี้จะสามารถรองรับนักท่องเที่ยวได้คือ 200 คนต่อวัน
โดยปัจจัยจากัดอยู่ที่ขีดความสามารถในการรองรับด้านนิเวศวิทยา
การศึกษาและเอกสารเกี่ยวกับ CARRYING CAPACITY
ศึกษาแล้ว 8 แห่ง
1.อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
2.อุทยานแห่งชาติเอราวัณ
3.อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย
4.อุทยานแห่งชาติเขาแหลมหญ้า-
หมู่เกาะเสม็ด
5.อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสุรินทร์
6.อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะสิมิลัน
7.อุทยานแห่งชาติหมู่เกาะช้าง
(ศึกษาโดย อ.ดรรชนี เอมพันธ์ โดย
ทุนของ GEF)
8.อุทยานแห่งชาติอ่าวพังงา
18
สามารถสืบค้นรายงานฉบับสมบูรณ์ CC ใน
www2.dnp.go.th/dnpii
19
การกาหนดขีดความสามารถในการรองรับได้อย่างเร่งด่วน
โดยจะใช้ “ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านกายภาพ” เป็นตัวกาหนด
ผู้ช่วยศาสตราจารย์สุรเชษฎ์ เชษฐมาส เป็ นผู้ให้แนวทางการวิเคราะห์ และได้
จัดประชุมชี้แจงกับ ผอ.ส่วนอุทยานแห่งชาติทั่วประเทศ เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม
20
หลักการในการกาหนด CC เร่งด่วน
20
1. ขนาดของที่ราบ/ผืนน้า (flat land/water surface)
2. ความจุของที่พักแรม (accommodation capacity)
21
แนวทางปฏิบัติ
เพื่อกาหนดขีด
ความสามารถ
รองรับได้
มีกี่ขั้นตอน
อะไรบ้าง ?
21
22
ขั้นตอนปฏิบัติเพื่อกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
ขั้นตอนที่ 1 : อุทยานฯทุกแห่ง ต้องกาหนดขีดความสามารถรองรับได้
เป็ น 2 กลุ่มเวลา
๐ จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางวัน (day-use)
๐ จานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางคืน (overnight stay)22
23
ขั้นตอนที่ 2 : กรณีประเมินจานวนนักท่องเที่ยวสูงสุดในช่วงกลางวัน
ให้ใช้ขนาดของที่ราบหรือผืนน้าเป็ นตัวตรวจวัด โดยใช้สูตร
23
ขีดความสามารถในการรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน)
= เนื้อที่ (ตร.ม.) x จานวนคนต่อ ตร.ม. (ROS) x จานวนช่วงเวลาต่อวัน
24
เนื้อที่ หมายถึง ขนาดของพื้นผิวน้า หรือที่ดิน ที่เป็ นที่ราบหรือที่มีความ
ลาดชันต่า หรือน้อยกว่า 15 องศา (และไม่มีสภาพเป็ นป่ า หรือเป็ นที่
อยู่อาศัย หรือที่หากินของสัตว์ป่ าสาคัญ หรือเป็ นที่ตั้งของสิ่งโดดเด่น
ทางธรรมชาติ) ที่จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการชนิดต่างๆบริการแก่
นักท่องเที่ยว 24
25
การวัดพื้นที่
หน้าผา วัดกว้าง x ยาว
ของพื้นที่หน้ าผาที่ยื่น
ออกไป จนถึงแนวต้นไม้
แนวหญ้า ด้านหลัง
ผาชมวิว
26
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
วัดกว้าง x ยาวตามขนาด
ของเส้นทาง
27
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
น้าตก วัดกว้าง x ยาวของ
ทางเดิน + พื้นที่ปิคนิค +
พื้นที่น้าตก (𝜋𝑟2) โดยไม่
รวมพื้นที่ลานจอดรถ
- วัดทุกชั้น และค่า ROS
แต่ละชั้นต่างกัน
*r ได้จากการประมาณ
การโดยหัก พท.ที่เล่นน้า
ไม่ได้ออก
28
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
จุดชมวิว
วัดเนื้อที่ กว้าง x ยาว ตาม
ขนาดพื้นที่ของจุดชมวิว
นั้นๆ
29
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
หอดูสัตว์
วัดเนื้อที่เฉพาะตัวหอที่ใช้
ส่องสัตว์
30
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
ศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
วัดเนื้อที่กว้ าง x ยาว
เฉพาะบริเวณที่ให้บริการ
นทท. ไม่นับรวม โต๊ะ เก้าอี้
ตู้ สนามหญ้า ฯลฯ
31
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
แก่งต่างๆ วัดเนื้อที่กว้าง
x ยาว ของลาน้า
32
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
น้าพุร้อน วัดเนื้อที่กว้าง x
ยาว ของพื้นที่ใช้สอย +
ห้องอาบน้าแร่ (จานวนห้อง
x จานวนคนที่จุได้สูงสุด)
33
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
ถ้า วัดเนื้อที่กว้าง x ยาว
ของพื้นที่ราบหน้าถ้า +
เนื้อที่กว้าง x ยาว ของ
เส้นทางภายในถ้า
ถ้าที่มี boardwalk ใช้ค่า
ROS 6 คน/ตร.ม.
หากไม่มี boardwalk ใช้
ค่า ROS 20 คน/ตร.ม.
34
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
ชายหาด วัดเนื้อที่กว้าง x
ยาว ของพื้นที่ชายหาดนั้นๆ
35
การวัดพื้นที่ (ต่อ)
แนวปะการัง วัดพื้นที่
กว้ าง x ยาว ของแนว
ปะการังที่ระดับความลึก
1.80 เมตร (ระดับที่คนยืน
ไม่ถึง)
36
ช่วงชั้นโอกาสทางนันทนาการ (ROS)
(RECREATION OPPORTUNITY SPECTRUM)
ROS เป็นรูปแบบหนึ่งของการจาแนกพื้นที่นันทนาการ ภายใต้แนวคิด
การให้ประสบการณ์ที่เหมาะสมกับนักท่องเที่ยว ขึ้นกับ การเข้าถึง
พื้นที่ของยวดยาน ความห่างไกล ความเป็นธรรมชาติ โอกาสในการ
พบปะผู้คน ร่องรอยผลกระทบจากกิจกรรม เช่น ขยะ การขีดเขียน สิ่ง
อานวยความสะดวก และการจัดการทั้งด้านกฎหมายและใช้สื่อ
ความหมาย
37
จาแนกจุดท่องเที่ยว หรือ บริเวณที่จัดให้มีกิจกรรมนันทนาการ
ทุกชนิด ภายใต้ชั้นโอกาสด้านนันทนาการ โดยแบ่งได้เป็ น 2
กรณี
1. กรณีอุทยานฯทางทะเล
2. กรณีอุทยานฯทางบก
37
38
1. เขตบริการ หรือ เขตนันทนาการ
ที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วย
พื้นที่ที่เป็ นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว
ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก
ชายหาด และลานกิจกรรม โดยไม่
นับรวมท่าเทียบเรือ บังกะโล เรือน
แถว ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ
1. กรณีอุทยานฯทาง
ทะเล
38
39
2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษ ที่เรือยนต์/รถยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่ เกาะ
ที่มีการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกเท่าที่จาเป็ น เพื่อกิจกรรม
นันทนาการชนิดต่างๆ เช่น กิจกรรมพักผ่อนชายหาด เล่นน้า ดาน้าดู
ปะการังน้าตื้น เดินศึกษาธรรมชาติ และชมทิวทัศน์ ฯลฯ โดยไม่นับรวม
ท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ และอื่นๆ
39
40
รถยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขตนันทนาการ
แบบสันโดษ ได้แก่ เกาะและบริเวณ
โดยรอบ หรือพื้นที่บริเวณชายฝั่งที่ไม่มีการ
พัฒนาใดๆเลย แต่มีนักท่องเที่ยวเข้าไปทา
กิจกรรมนันทนาการ เช่น การดาน้าดู
ปะการังน้าลึก การเล่นเรือแคนู หรือเรือ
คายัค การเดินป่ าระยะไกลและอาจมีการ
ค้างแรม เป็ นต้น
40
41
2. กรณี
อุทยานฯ
ทางบก
1. เขตบริการ หรือเขตนันทนาการที่มีการพัฒนาแล้ว อาจประกอบด้วย
พื้นที่ที่เป็ นศูนย์บริการนักท่องเที่ยว ร้านอาหาร ร้านขายของที่ระลึก
โดยไม่นับรวมพื้นที่ถนน ลานจอดรถ บังกะโล เรือนแถว ลานกางเต็นท์
สนามหญ้า และอาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการบริการนักท่องเที่ยว 41
42
2. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ ได้แก่
บริเวณที่มีการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกเท่าที่จาเป็ น เพื่อกิจกรรม
นันทนาการชนิดต่างๆ เช่น จุดชมวิว กิจกรรมบริเวณน้าตก ทางเดิน
ศึกษาธรรมชาติและชมทิวทัศน์ ถ่ายรูป เส้นทางขี่จักรยาน ฯลฯ โดยไม่
นับรวม ลานจอดรถ หรือท่าเทียบเรือ ลานกางเต็นท์ ห้องน้า ห้องสุขา และ
อื่นๆ
42
43
3. เขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ และเขต
นันทนาการแบบสันโดษ ได้แก่ พื้นที่ที่เป็ นป่ าเขาอันสมบูรณ์มีเป้ าหมายเพื่อ
การสงวนรักษาสภาพธรรมชาติดั้งเดิมไว้ให้อานวยประโยชน์เชิงนิเวศ
แต่เปิ ดให้นักท่องเที่ยวเข้าไปพักผ่อนและศึกษาเรียนรู้ได้อย่างจากัด
เช่นการเดินป่ าระยะไกลและพักค้างแรม การถ่ายรูปธรรมชาติและสัตว
ป่ า การล่องแก่ง การพายเรือแคนูหรือเรือคายัค การปี นป่ ายเขา เป็ นต้น43
44
จานวนคนต่อ ตร.ม. ต้องปรับค่าให้สอดคล้องกับช่วงชั้นโอกาสทาง
นันทนาการ (ROS) ในพื้นที่อุทยานฯ โดยกาหนดให้
เขตบริการ รับนักท่องเที่ยวได้ 1 คน โดยใช้พื้นที่ 4 ตร.ม.
เขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงได้ รับได้ 1คนโดยใช้พื้นที่ 6
ตร.ม. และเขตกึ่งสันโดษที่รถยนต์/เรือยนต์เข้าถึงไม่ได้ รวมถึงเขต
สันโดษ
รับได้ 1 คนโดยใช้พื้นที่ 20 ตร.ม.
3) จานวนช่วงเวลาต่อวัน กาหนดให้อุทยานแห่งชาติทางบก
เป็ น
2 ช่วงเวลา และอุทยานแห่งชาติทางทะเลเป็ น 4 ช่วงเวลา
44
45
ขั้นตอนที่ 3 การคานวณขีดความสามารถรองรับได้อย่าง
เร่งด่วนต่อวัน โดยใช้สูตร
45
ขีดความสามารถในการรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน)
= เนื้อที่ (ตร.ม.) x จานวนคนต่อ ตร.ม. (ROS) x จานวนช่วงเวลาต่อวัน
46
ตัวอย่าง เขตบริการลาตะคอง อุทยานฯเขาใหญ่ มีที่ราบโดยประมาณ
(ไม่นับรวมถนน ลานจอดรถ สนามหญ้า อาคารสถานที่ที่ไม่ใช้ในการ
บริการนักท่องเที่ยว) 6,000 ตร.ม. เมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน)
= ขนาดเนื้อที่ x ROS เขตบริการ คือ 1 คนต่อ 4 ตร.ม. x ช่วงเวลา
ของอุทยานทางบก ซึ่งเท่ากับ 2
= 6,000 x ¼ x 2
= 3,000 คน/วัน
46
47
ตัวอย่าง เขาพิงกัน อุทยานฯอ่าวพังงา มีที่ราบให้นักท่องเที่ยวขึ้นไปชม
ความมหัศจรรย์ของธรรมชาติทางธรณีวิทยา ถ่ายภาพเขาตะปู และเดิน
ตามเส้นทางศึกษาธรรมชาติ อยู่ประมาณ 1,500 ตร.ม. ROS เป็ นเขตกึ่ง
สันโดษที่เรือยนต์เข้าถึงได้ เท่ากับ 1 คน/ตร.ม. และกาหนดให้ อช.ทาง
ทะเล ท่องเที่ยวได้วันละ 4 รอบ เพราะฉะนั้นเมื่อแทนค่าในสูตรข้างต้น
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน)= 1,500 x (1/6) x 4
= 1,000 คน/วัน
47
48
ตัวอย่าง เส้นทางศึกษาธรรมชาติกิ่วแม่ปาน อุทยานฯดอยอินทนนท์ มีที่
ราบโดยประมาณ (ความยาว x ความกว้าง + ลานพักตามเส้นทาง โดย
ไม่นับรวมลานจอดรถ) 2,300 ตร.ม. จัดเป็ นเขตนันทนาการกึ่งสันโดษที่
รถยนต์เข้าถึงไม่ได้เท่ากับ 1คน/ตร.ม. และกาหนดให้อช.ทางบกท่องเที่ยว
ได้2 ช่วงเวลา
ขีดความสามารถรองรับได้ต่อหนึ่งวัน (คน)= 2,300 x (1/20) x
2
= 230 คน/วัน
48
49
แบบฟอร์มในการกรอกข้อมูล
ลำดับ อุทยำนแห่งชำติ ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ช่วงชั้นโอกำส
ที่ ด้ำนนันทนำกำร
เอกสำรแนบ1
ใช้ประโยชน์(ตร.ม.)
ขนำดพื้นที่
ข้อมูลณวันที่..................สิงหำคม2558
รำยชื่อแหล่งท่องเที่ยวและขนำดพื้นที่ของแหล่งท่องเที่ยวแต่ละแห่งในอุทยำนแห่งชำติ
สำนักบริหำรพื้นที่อนุรักษ์ที่.....
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านกายภาพ
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
ที่ อุทยาน
แห่งชาติ
แหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวล
า/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC (คน/
วัน)
1 เขาใหญ่ 7,061
ศูนย์บริการ
นักท่องเที่ยว
1/4
เขตบริการ
2 550 275
น้าตกกองแก้ว 1/6
สันโดษไม่ใช้ยาน
ยนต์
2 300 30
น้าตกเหวสุวัต 1/20
สันโดษใช้ยานยนต์
2 1,500 480
ที่ หน่วยงา
น
ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวล
า/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
เขา
ใหญ่
น้าตกเหวนรก 1/20 2 860.00 86
น้าตกผากล้วยไม้ 1/20 2 4,250.00 425
จุดชมวิวทิวทัศน์ผาเดียวดาย 1/6 2 15.00 5
จุดชมวิวทิวทัศน์ กม.30 (ไฟ
(ไฟป่า)
1/6 2 653.00 209
หอดูสัตว์หนองผักชี 1/20 2 57.00 6
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
น้าตกกองแก้ว
1/20 2 1,800.00 180
ที่ หน่วยงาน ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา/
วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
เขาใหญ่ เส้นทางศึกษาธรรมชาติดง
ดงติ้ว-อ่างเก็บน้าสายศร
1/20 2 2,400 240
เส้นทางศึกษาธรรมชาติดง
ดงติ้ว-หนองผักชี
1/20 2 5,400 540
เส้นทางศึกษาธรรมชาติ
กม.33-หนองผักชี
1/20 2 4,000 400
เส้นทางศึกษาธรรมชาติผา
ผากล้วยไม้-เหวสุวัต
1/20 2 3,000 300
แก่งหินเพิง 1/20 2 7,310 731
ที่ สังกัด
พื้นที่/
หน่วยงาน
ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา/
วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
น้าตกตะคร้อ 1/6 2 9,400.00 3,008
น้าตกสาริกา 1/6 2 250.00 80
น้าตกสาริกาชั้นที่ 1 - 3 1/6 2 140.00 45
น้าตกสาริกาชั้นที่ 4 - 5 1/20 2 110.00 11
หอดูสัตว์คลองปลากั้ง 1/6 2 32.00 10
รวมทุกแหล่งท่องเที่ยว
แบบไป - กลับ
7,061
54
การประเมินขีดความสามารถรองรับได้ในช่วงกลางคืน ให้ใช้ จานวน
นักท่องเที่ยวสูงสุดที่สามารถเข้าพักแรมในเขตอุทยานฯได้ โดย
พิจารณาจากที่พักทุกประเภท (บ้านพัก + เรือนแถว + เต็นท์นอน)
ซึ่งจะเป็ นขีดความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวแบบพักค้างแรม
54
55
อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่
สรุป อุทยานแห่งชาติเขาใหญ่ มีขีดความสามารถในการรองรับ
ด้านกายภาพและด้านสิ่งอานวยความสะดวก
- นักท่องเที่ยวแบบไป – กลับ จานวน 7,061 คน
- นักท่องเที่ยวพักค้างแรม จานวน 2,600 คน
56
ที่ อุทยานแห่งชาติ ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา
/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
ตะรุเตา 54,449
หาดอ่าวพันเตมะละกา
(เขตบริการ)
1/4 4 10,000 10,000
หาดอ่าวพันเตมะละกา
(เขตกึ่งสันโดษเรือยนต์
เข้าถึงได้)
1/6 4 2,550 1,632
ตัวอย่างผลการวิเคราะห์ขีดความสามารถในการรองรับได้ด้านกายภาพ
อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
ที่ สังกัด
พื้นที่/
หน่วยงาน
ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา
/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
หาดอ่าวเมาะและ (เขตบริการ) 1/4 4 4,500 4,500
หาดอ่าวเมาะและ (เขตกึ่ง
สันโดษเรือยนต์เข้าถึงได้)
1/6 4 600 384
อ่าวสน (เขตบริการ) 1/4 4 3,000 3,000
อ่าวสน (เขตกึ่งสันโดษเรือ
ยนต์เข้าถึงได้)
1/6 4 120 77
น้าตกลูดู 1/20 4 400 80
ที่ สังกัด
พื้นที่/
หน่วยงาน
ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา
/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
แหล่งประวัติศาสตร์ตะรุเตา
อ่าวตะโละวาว (เขตบริการ)
1/4 4 5,000 5,000
แหล่งประวัติศาสตร์ตะรุเตา
อ่าวตะโละวาว (เขตกึ่งสันโดษ
สันโดษใช้ยานยนต์
1/6 4 800 512
เกาะไข่ ใช้ยานยนต์ 1/6 4 2,400 1,536
ผาชะโด ไม่ใช้ยานยนต์ 1/20 4 600 120
เกาะหินงาม (เขตบริการ) 1/4 4 2,400 2,400
ที่ สังกัด
พื้นที่/
หน่วยงาน
ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา
/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
เกาะหินงาม (เขตกึ่งสันโดษ
เรือยนต์เข้าถึงได้)
1/6 4 800 512
หาดทรายขาว เกาะราวี (เขต
บริการ)
1/4 4 3,000 3,000
หาดทรายขาว เกาะราวี (เขต
กึ่งสันโดษเรือยนต์เข้าถึงได้)
1/6 4 1,200 768
เกาะรอกลอย ใช้ยานยนต์ 1/6 4 1,200 768
จุดประเมิน ใช้ยานยนต์ 1/6 4 15,000 9,600
ที่ สังกัด
พื้นที่/
หน่วยงาน
ชื่อแหล่งท่องเที่ยว ROS จานวน
ช่วงเวลา
/วัน
ขนาด พท.
(ตร.ม.)
PCC
(คน/
วัน)
ร่องน้าจาบัง 1/6 4 5,000 3,200
เกาะหินงาม 1/6 4 2,400 1,536
อ่าวสอง เกาะอาดัง 1/6 4 3,600 2,304
เกาะหินซ้อน 1/6 4 2,500 1,600
อ่าวกานัน เกาะดง 1/6 4 1,600 1,024
เกาะไม้ไผ่ 1/6 4 800 512
เกาะผึ้ง 1/6 4 600 384
61
สรุป อุทยานแห่งชาติตะรุเตา มีขีดความสามารถในการรองรับ
ด้านกายภาพและด้านสิ่งอานวยความสะดวก
- นักท่องเที่ยวแบบไป – กลับ จานวน 54,449 คน
- นักท่องเที่ยวพักค้างแรม จานวน 294 คน
แนวทางการจัดการแหล่งท่องเที่ยว โดยใช้มาตรการ CC
62
1. กรมฯ ประกาศกาหนดจานวนนักท่องเที่ยวในการไปประกอบกิจกรรม
การท่องเที่ยว (โดยส่วนจัดการท่องเที่ยวและนันทนาการ)
- ประเภทไป – กลับ (ใช้ผลจากการกาหนดด้านกายภาพที่ อช.สารวจขนาด
เนื้อที่)
- ประเภทพักค้างแรม (สิ่งอานวยความสะดวกที่มี คือ บ้านพัก และ เต็นท์
ข้อมูลจากส่วนจัดการท่องเที่ยวและนันทนาการ)
63
2. กรมฯ ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อ ให้นักท่องเที่ยวจอง
ที่พักล่วงหน้าผ่านระบบออนไลน์
3. อุทยานแห่งชาติจัดการการท่องเที่ยว โดย
กระจายนักท่องเที่ยวไปแหล่งอื่นหรืออุทยาน
แห่งชาติใกล้เคียง
64
4. พัฒนาศักยภาพของ
เจ้าหน้าที่ในการรองรับ
การใช้มาตรการ CC
65
การขายบัตรค่าธรรมเนียมและบ้านพักออนไลน์
การขายบัตรค่าธรรมเนียมผ่านระบบออนไลน์
- ขายผ่านระบบออนไลน์ 50 %
- ขายที่ด่านเก็บค่าธรรมเนียม 50 %
หากขายในระบบออนไลน์ไม่ถึง 50 % ด่านเก็บค่าธรรมเนียม สามารถตรวจสอบจากระบบและ
ขายบัตรในส่วนที่ขาดไปได้
ระบบจะสามารถดาเนินการได้ ประมาณช่วงเดือนพย. หรือ ธค. ปี 58 นี้
สามารถจ่ายเงินผ่าน บัตรเครดิค ATM E-banking และธนาคารบางแห่ง
ข้อมูลจากส่วนจัดการท่องเที่ยวและนันทนาการ
66

More Related Content

What's hot

กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานChacrit Sitdhiwej
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนDr.Pirun Chinachot
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorSomyot Ongkhluap
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยNurat Puankhamma
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมWichien Juthamongkol
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวMint NutniCha
 
ธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียวธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียวa
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Somyot Ongkhluap
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยวMint NutniCha
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว재 민 Praew 김
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9Nurat Puankhamma
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชนMint NutniCha
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยวช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยวSomyot Ongkhluap
 
Destination Selection Criteria
Destination Selection CriteriaDestination Selection Criteria
Destination Selection CriteriaChuta Tharachai
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์Mint NutniCha
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวamornsrivisan
 

What's hot (20)

กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
การท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืนการท่องเที่ยวยั่งยืน
การท่องเที่ยวยั่งยืน
 
Tourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behaviorTourist Behavior: International tourist behavior
Tourist Behavior: International tourist behavior
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
ธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรมธุรกิจที่พักแรม
ธุรกิจที่พักแรม
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
ธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียวธุรกิจท่องเทียว
ธุรกิจท่องเทียว
 
Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558Sustainable tourism sheet 2558
Sustainable tourism sheet 2558
 
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
1 บุุคคลิกภาพของบุคคลากรท่องเที่ยว
 
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยวบทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
บทที่ 4 การคมนาคมขนส่งในอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
 
ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9ท่องเที่ยว9
ท่องเที่ยว9
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยวช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
ช้างไทยในปัจจุบัน ช้างกับธุรกิจการท่องเที่ยว
 
Destination Selection Criteria
Destination Selection CriteriaDestination Selection Criteria
Destination Selection Criteria
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
รายงาน EHIA
รายงาน EHIAรายงาน EHIA
รายงาน EHIA
 
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยวความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
ความสำคัญของทรัพยากรการท่องเที่ยว
 
T guide 7
T    guide 7T    guide 7
T guide 7
 

Viewers also liked

นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557
ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557
ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557Boohsapun Thopkuntho
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ UNDP
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (6)

นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557
ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557
ประมวล วิชาบรรจุภัณฑ์ ปี 2557
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่ นวัตกรรมใหม่
นวัตกรรมใหม่
 
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
4.แผนสุขศึกษาม4แผน11เอมพันธ์
 

More from yah2527

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Areayah2527
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตyah2527
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...yah2527
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกyah2527
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...yah2527
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกyah2527
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลyah2527
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์yah2527
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งานyah2527
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพyah2527
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าyah2527
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวyah2527
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกyah2527
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspayah2527
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีyah2527
 

More from yah2527 (20)

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Area
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 

Carrying Capacity