SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทย 
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการประกอบอาชีพ ของประเทศไทย มีดังต่อไปนี้ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การทาป่าไม้ การประมง อุตสาหกรรม และการค้า
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทย 
การเพาะปลูก 
การเลี้ยงสัตว์ 
การทาป่าไม้ 
การประมง 
อุตสาหกรรม 
การค้า
การเพาะปลูก 
การเพาะปลูกพืชของประเทศไทยมีความหลากหลายและแตกต่างกันใน แต่ละภูมิภาค ทาให้เรามีพืชเศรษฐกิจที่สาคัญในระดับโลกหลายชนิด เช่น ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย สับปะรด ยางพารา ทุเรียน และกล้วยไม้ เป็นต้น
การเพาะปลูก 
การเพาะปลูก 
พืชอื่นๆ 
พืชเส้นใย 
พืชน้ามัน 
พืชอาหาร
พืชอาหาร 
พืชอาหาร ได้แก่ 
1. ข้าว จัดเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับหนึ่งของประเทศ เป็นพืชที่เหมาะสมที่ จะปลูกในประเทศไทยเพราะเป็นพืชเมืองร้อนต้องการอุณหภูมิเฉลี่ยไม่ต่า กว่า 25 องศาเซลเซียส ต้องการความชื้นสูง มีฝนตกเฉลี่ยปีละเกิน 1,50 มิลลิเมตร แหล่งปลูกข้าวของประเทศไทยปรากฏทุกภาค ดังนี้
การเพาะปลูกข้าวในภาคต่างๆ 
ภาคกลาง เป็นแหล่งปลูกข้าวที่สาคัญที่สุดของประเทศ ผลผลิตแต่ละปีได้ มากกว่าทุกๆ ภาค เพราะเป็นที่ราบดินตะกอนลุ่มแม่น้าที่กว้างขวาง มี ปริมาณฝนเพียงพอ และมีระบบชลประทานทั่วถึง 
ภาคเหนือ ให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงสุด แหล่งปลูกข้าวจะอยู่บริเวณที่ราบ ลุ่มแม่น้าระหว่างภูเขา ซึ่งเป็นเขตที่ราบที่มีดินและน้าอุดมสมบูรณ์ 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่นามากที่สุดแต่ดินขาดความอุดม สมบูรณ์ มีปริมาณฝนไม่สม่าเสมอ ระบบการชลประทานไม่ทั่วถึง จึงเป็น ภาคที่มีผลผลิตเฉลี่ยต่อเนื้อที่ต่า
การเพาะปลูกข้าวในภาคต่างๆ 
ภาคใต้ มีปริมาณฝนสม่าเสมอและเพียงพอ แต่มีพื้นที่ทานาเป็นบริเวณ แคบๆ โดยเฉพาะที่ราบชายฝั่งตะวันออก 
ภาคตะวันออก พื้นที่ทานาในภาคนี้มีอยู่น้อย ทั้งๆ ที่เป็นภาคที่มีปริมาณ ฝนสูง มีการทาสวนผลไม้และปลูกพืชอื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ 
ภาคตะวันตก ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศเหมาะสมสาหรับการปลูก พืชไร่ พื้นที่ในการปลูกข้าวจึงจากัดเฉพาะบริเวณที่มีระบบการชลประทานดี
พืชอาหาร 
2. ข้าวโพด เป็นพืชพื้นเมืองดั้งเดิมของทวีปอเมริกา ต้องการปริมาณฝน 600 - 1,200มิลลิเมตร ดินอุดมสมบูรณ์และน้าไม่แช่ขัง ต้องการแสงแดด จัดในขณะที่เมล็ดกาลังแก่ ในระยะไม่กี่ปีมานี้ข้าวโพดกลายเป็นพืช เศรษฐกิจที่สาคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย มักปลูกบริเวณที่เป็นเนินเขา หรือที่ราบที่ไม่มีน้าแช่ขัง
พืชอาหาร 
3. ถั่วเขียว เป็นพืชที่ชอบขึ้นบริเวณที่มีอากาศร้อนและมีความชื้นไม่มาก นัก แหล่งที่ปลูกมาก ได้แก่ ทางตอนเหนือของที่ราบภาคกลาง
พืชอาหาร 
 4. มันสาปะหลัง เจริญงอกงามได้ในพื้นดินทั่วไป โดยเฉพาะดินปนทราย ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี แหล่งเดิมของมันสาปะหลังในประเทศไทยคือภาค ตะวันออก เนื่องจากใกล้ตลาดศูนย์กลางของประเทศ แต่ในระยะหลังได้ย้าย ไปสู่ภาคตะวันนออกเฉียงเหนือจนมีปริมาณการผลิตมากกว่าทุกภาค
พืชอาหาร 
5. อ้อย เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในเขตร้อนและกึ่งร้อนที่มีแสงแดดและ ความชื้นเพียงพอ คือมีปริมาณฝนไม่ต่ากว่า 1,150 มิลลิเมตรต่อปี และมี อุณหภูมิสูงประมาณ 15 องศาเซลเซียส อ้อยที่ใช้ทาน้าตาลเรียกว่าอ้อย โรงงาน เดิมปลูกมากที่ภาคตะวันออก แต่ต่อมามีการปลูกมากในภาค ตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง การปลูกอ้อย ในปัจจุบันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สาคัญ คือ เส้นทางคมนาคมขนส่งสะดวก และใกล้โรงงาน
การพืชอาหาร 
6. ข้าวฟ่าง เป็นพืชที่ปลูกง่ายเพราะสามารถทนความแห้งแล้งได้ดี ใช้เป็น อาหารคนและสัตว์ สาหรับในประเทศไทยมีการปลูกข้าวฟ่างมานานแล้ว แต่ ก็มีไม่มาก แหล่งปลูกข้าวฟ่างมักปรากฏในเขตอากาศแห้งแล้งทางตอนกลาง ของประเทศ
พืชน้ามัน 
พืชน้ามัน ได้แก่ 
1. มะพร้าว เป็นพืชที่ชอบขึ้นในที่ดินปนทรายแถบริมฝั่งทะเลที่มีฝนตกชุก บริเวณที่มีความเหมาะสมและปลูกกันมากจึงอยู่ทางภาคใต้ของประเทศ และจังหวัดที่อยู่ริมฝั่งทะเลแถบก้นอ่าวไทย
พืชน้ามัน 
2. ถั่วเหลือง นอกจากบริโภคแล้วยังใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม เช่น ทาสบู่ ทาเครื่องสาอาง ทาหมึกพิมพ์ ส่วนกากใช้ผสมอาหารสัตว์ ถั่วเหลือง ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิด ประเทศไทยนิยมปลูกถั่วเหลืองในนาข้าวในช่วง ฤดูแล้ง หลังจากการเก็บเกี่ยวแล้ว โดยเฉพาะประมาณเดือนเมษายน
พืชน้ามัน 
3. ปาล์มน้ามัน เริ่มเข้ามาปลูกในประเทศไทยที่จังหวัดกระบี่และสตูล ซึ่งเป็น พันธุ์ที่ชอบอากาศร้อนและฝนชุก น้ามันปาล์มที่ผลิตได้ทั้งหมดในปัจจุบันกว่า ร้อยละ 90 อยู่ใน 5 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ กระบี่ สตูล สุราษฎร์ธานี ตรัง และชุมพร
พืชเส้นใย 
พืชเส้นใย ได้แก่ 
1. ฝ้าย เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในดินเหนียว และดินเหนียวปนทรายที่มีความ อุดสมบูรณ์ปานกลาง มีอากาศร้อนและต้องการความแห้งแล้งในฤดูเก็บเกี่ยว แหล่งผลิตที่สาคัญอยู่ที่ภาคกลางตอนบน และภาคเหนือตอนล่าง ปัจจุบัน ประเทศไทยผลิตฝ้ายได้ไม่เพียงพอที่จะใช้ภายในประเทศ จึงต้องสั่งฝ้ายเข้าปีละ จานวนมาก
พืชเส้นใย 
2. ปอ ที่นิยมปลูกมี 2 ชนิด คือปอแก้วพันธุ์แอฟริกา ปลูกได้ง่ายและทนความ แห้งแล้งได้ดี แหล่งเพาะปลูกที่สาคัญอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนปอ กระเจาต้องการดินที่มีความอุดมสมบูรณ และต้องการน้ามากกว่าปอแก้ว แหล่ง ปลูกที่เหมาะสมจึงอยู่ในภาคกลาง
พืชเส้นใย 
3. นุ่น เป็นพืชที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและดินในทุกภาคของประเทศไทย จึงปลูกกันโดยทั่วไป แต่ผลิตได้มากในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
พืชชนิดอื่นๆ 
พืชอื่นๆ ได้แก่ 
1. พืชผลไม้ มีความแตกต่างกันตามภูมิภาคต่างๆ พืชยืนต้นที่เป็นพืชสวนจาพวกเงาะ ทุเรียน มังคุด ลางสาด เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น แหล่งปลูกสาคัญอยู่ทางภาค ตะวันออกและภาคใต้ ซึ่งมีลักษณะอากาศเหมาะสม ได้แก่ ระยอง จันทบุรี ตราด ชุมพร สุราษฎร์ธานี และนราธิวาส มะม่วงและส้มต่างๆ ปลูกมากแถบภาคกลางตอนล่าง ส่วนภาคเหนือสามารถปลูกพืชผลเมืองหนาวได้ดี
พืชชนิดอื่นๆ 
 2. ยางพารา เป็นพืชเขตร้อนชื้นมีความต้องการอุณหภูมิสูงตลอดปี เฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซลเซียส และปริมาณฝนสูงประมาณ 3,500 มิลลิเมตร และตกสม่าเสมอตลอดปี ชอบขึ้นในภูมิประเทศที่มีการระบายน้าได้ดี ภาคใต้และภาคตะวันออกจึงมีลักษณะภูมิ ประเทศและภูมิอากาศเหมาะสม ซึ่งภาคใต้สามารถผลิตได้ถึงร้อยละ 90
พืชชนิดอื่นๆ 
4. ยาสูบ ที่นิยมปลูกในประเทศไทยเป็นพันธุ์พื้นเมืองและพันธุ์เวอร์จิเนีย เป็นพืช ที่ชอบอากาศแห้งและเย็น ต้องการฝนเฉพาะในระยะแรกปลูก แหล่งที่มีการปลูก ยาสูบมากได้แก่ภาคเหนือของประเทศ
การเลี้ยงสัตว์ (Domestication) 
การเลี้ยงสัตว์ 
การเลี้ยงกระบือ 
การเลี้ยงโค 
การเลี้ยงสุกร 
การเลี้ยงสัตว์ปีก
การเลี้ยงสัตว์ 
1. การเลี้ยงกระบือ กระบือเป็นสัตว์ชอบน้า นิยมเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน ปัจจุบันจานวน กระบือลดลงเป็นจานวนมาก แหล่งที่มีการเลี้ยงกระบือมาก ได้แก่ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เลี้ยงกันน้อยคือภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ของประเทศ
การเลี้ยงสัตว์ 
2. การเลี้ยงโค การเลี้ยงโคแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การเลี้ยงโคเนื้อ และการ เลี้ยงโคนม ทั้งสองประเภทจะเลี้ยงเพื่อการบริโภคในลักษณะของการผลิตทางการ อุตสาหกรรม
การเลี้ยงสัตว์ 
3. การเลี้ยงสุกร ประชากรไทยได้อาหารประเภทโปรตีนจากเนื้อสุกรมากเป็นที่สอง รองจากปลา การเลี้ยงสุกรมีมากในทุกภาค แต่ภาคกลางมีจานวนมากที่สุด
การเลี้ยงสัตว์ 
4. การเลี้ยงสัตว์ปีก สัตว์ปีกที่เลี้ยงกันทั่วไป ได้แก่ เป็ด ไก่ และห่าน ผลผลิตจาก สัตว์ปีกภายในประเทศเพียงพอแก่ความต้องการบริโภคของประชากร และยังส่ง เป็นสินค้าออกทารายได้เข้าประเทศปีละจานวนมาก
การทาป่าไม้ 
ป่าไม้ของประเทศไทยอยู่ในสภาพที่น่าเป็นห่วง เพราะตามความเป็นจริงพบว่า 
1. ปริมาณเนื้อที่ป่าลดลงเป็นจานวนมาก เกินกว่าป่าไม้จะเกิดทดแทนตาม ธรรมชาติได้ 
2. เนื้อที่ป่าถูกบุกเบิกเพื่อทาการเกษตรอยู่ตลอดเวลาโดยชาวบ้านและนายทุน 
3. การลักลอบตัดไม้นอกเหนือจากการได้รับสัมปทานจากทางราชการก็มีอยู่มาก 
4. การได้รับสัมปทานป่าไม้ ไม่ได้มีการควบคุมการปลูกป่าทดแทนอย่างจริงจัง 
ในปัจจุบัน ป่าไม้ในประเทศไทยเหลือเพียงร้อยละ 31.57 ของพื้นที่ทั้งหมดใน ประเทศ (2556)
การประมง 
การประมง 
การประมงน้าจืด 
การประมงทะเล 
การประมงน้ากร่อย
การประมงน้าจืด 
การประมงน้าจืด ได้มาจากแหล่งน้าจืดในท้องถิ่น แต่ปัจจุบันประสบปัญหาเรื่อง สภาพแวดล้อมถูกทาลายซึ่งก็กระทบต่อแหล่งประมงน้าจืดตามธรรมชาติด้วย ดังนั้นปลาน้าจืดที่ใช้บริโภคกันทุกวันนี้จึงเป็นผลผลิตที่ได้มาจากการเพาะเลี้ยง แทบทั้งสิ้น โดยมีแหล่งเพาะเลี้ยง ดังนี้
การประมงน้าจืด 
ภาคกลาง และภาคตะวันตก แหล่งผลิตที่สาคัญคือแม่น้าลาคลอง หนอง บึง 
ภาคเหนือ แหล่งผลิตคือบึง หรือกว๊านขนาดใหญ่ 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งผลิตคือ ลาน้าและห้วยที่มีน้าขังตลอดปี 
ภาคใต้ และภาคตะวันออก มีการประมงน้าจืดไม่มากเพราะส่วนใหญ่เป็นการ ประมงน้าเค็ม
การประมงทะเล 
การประมงทะเล มี 2 บริเวณ ได้แก่ 
1. บริเวณอ่าวไทย 
 บริเวณอ่าวชั้นใน ได้แก่บริเวณพื้นที่น่านน้า 6 จังหวัด คือ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา และชลบุรี เป็นเขตที่ จับปลาได้มากเพราะเป็นเขตน้าตื้น 
 บริเวณอ่าวชั้นนอก แบ่งออกเป็น 2 เขต คือแถบชายฝั่งตะวันออกของ อ่าวไทย ในเขตจังหวัดระยอง จันทบุรีและตราด เป็นบริเวณพื้นที่แคบจึงจับ สัตว์น้าได้ปริมาณไม่มาก ส่วนแถบชายฝั่งตะวันตกของอ่าวไทย ตั้งแต่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลงไปจนสุดเขตประเทศไทยที่จังหวัดนราธิวาสนั้นจับ สัตว์น้าได้มากรองจากอ่าวชั้นใน
การประมงทะเล 
2. บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน : อยู่ทางด้านมหาสมุทรอินเดีย ประกอบด้วย เขตจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และ สตูล จับปลาได้น้อยกว่าทั้งสอง เขตที่กล่าวมาแล้ว เนื่องจากไหล่ทวีปแคบห่างจากฝั่งประมาณ 100 กิโลเมตร
ทะเล 
ทะเลไทยมีอาณาเขตติดต่อทะเลถึง 2 ด้าน คือ 
1. ทะเลจีนใต้ คือทะเลบริเวณอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทร แปซิฟิก ทะเล ด้านนี้เป็นเขตน้าตื้นจัดเป็นเขตไหล่ทวีป ใช้เดินเรือขุดก๊าซ ธรรมชาติ น้ามันปิโตรเลียม ประมง และการท่องเที่ยว 
2. ทะเลอันดามัน เป็นทะเลด้านตะวันตกของภาคใต้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ มหาสมุทรอินเดีย เป็นเขตน้าลึก นอกจากใช้เดินเรือแล้วยังใช้ในการ ประมง ขุดแร่ และท่องเที่ยว
ทะเล 
ตามกฎหมายทางทะเลระหว่างประเทศ น่านน้าในทะเลมี 4 ส่วน ดังนี้ 
1. น่านน้าอาณาเขต คือ ท้องทะเลที่ห่างจากฝั่งไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล เป็น อาณาเขตของประเทศ 
2. เขตเศรษฐกิจจาเพาะ คือ ท้องทะเลที่อยู่ถัดออกไปจากน่านน้า เป็น ท้องทะเลที่ประเทศบนฝั่งประกาศสงวนใช้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ มักจะ ประกาศกัน 200 ไมล์ทะเล 
3. เขตไหล่ทวีป เป็นเขตน้าตื้น ซึ่งประเทศที่อยู่บนฝั่งจะประกาศสงวนไว้ ซึ่งทรัพยากร 
4. น่านน้าทะเล เป็นน่านน้าลึกที่อยู่ไกลจากฝั่ง ไม่มีประเทศใดเป็น เจ้าของ
อุตสาหกรรม (Industry) 
อุตสาหกรรม คือ กระบวนการแปรรูป หรือ การผลิตสิ่งของจากวัตถุดิบให้ เป็นวัสดุใหม่ เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ โดยการใช้เครื่องจักร หรือแรงคน เพื่อให้ผลิตได้ครั้งละมาก ๆ จนสามารถนาไปขายเป็นสินค้าได้ 
อุตสาหกรรมที่สาคัญของประเทศไทย มีดังนี้
1. อุตสาหกรรมสิ่งทอ 
อุตสาหกรรมสิ่งทอ หมายถึงอุตสาหกรรมปั่นด้ายการถักและการทอผ้าฝ้ายการถักและ การทอจากใยสังเคราะห์การพิมพ์ผ้า การฟอกและการย้อมสีผลิตภัณฑ์เครื่องนุ่งห่ม สาเร็จรูป ปัจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตสิ่งทอได้เหลือใช้ภายในประเทศ และส่งเป็น สินค้าออกมีมูลค่าสูงขึ้นทุกปี โรงงานทอผ้ามักจะปรากฏอยู่แถบชานเมืองหลวงและ จังหวัดใกล้เคียง เช่น ปทุมธานี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
2. อุตสาหกรรมน้าตาล 
อุตสาหกรรมน้าตาล ปัจจุบันโรงงานผลิตน้าตาลของประเทศไทยเป็น โรงงานขนาดใหญ่ และจะตั้งอยู่ในเขตไร่อ้อย ซึ่งเป็นวัตถุดิบของการผลิต น้าตาลและมีกระจายอยู่ทุกภาค (ยกเว้นภาคใต้)
3. อุตสาหกรรมซีเมนต์ 
อุตสาหกรรมซีเมนต์ เป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ใช้ทุนดาเนินการสูง และกรรมวิธีการ ผลิตค่อนข้างซับซ้อน ซีเมนต์เป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน โรงงานอุตสาหกรรมซีเมนต์ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ เช่น หินปูน ดิน เหนียว และยิปซั่ม ซึ่งเป็นวัตถุที่มีน้าหนักมากไม่สะดวกในการขนส่ง จังหวัดที่มีโรงงาน อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ได้แก่ สระบุรี เพชรบุรี นครสวรรค์ และนครศรีธรรมราช
4. อุตสาหกรรมกระดาษ 
อุตสาหกรรมกระดาษ โรงงานอุตสาหกรรมกระดาษขนาดใหญ่และมีการลงทุนสูงใน ประเทศไทยยังมีอยู่น้อย วัสดุที่ใช้ทากระดาษได้แก่ ฟางข้าว ไม้ไผ่ และไม้เนื้ออ่อนบาง ชนิด ซึ่งบางครั้งก็ต้องสั่งซื้อมาจากต่างประเทศ โรงงานผลิตกระดาษในประเทศไทยใน ปัจจุบันมีทั้งของรัฐและของเอกชน
5. อุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปเหล็ก 
อุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปเหล็ก ได้แก่การผลิตลวด เหล็กเส้น ท่อ แผ่นเหล็ก เหล็ก แท่ง ถือเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ใช้เหล็กเป็นวัตถุดิบ ประเทศไทยต้องสั่งซื้อ เหล็กจากต่างประเทศปีละจานวนมากเนื่องจาก การผลิตเหล็กภายในประเทศไม่เพียงพอ
6. อุตสาหกรรมน้ามัน 
อุตสาหกรรมน้ามัน ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงกลั่นน้ามันอยู่เพียง 4 แห่ง คือ ที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ นับว่าเป็นแหล่งที่เก่าแก่ที่สุด โรงกลั่นน้ามันที่บางจาก กรุงเทพมหานคร และโรงงานกลั่นน้ามันที่อาเภอศรีราชาจังหวัดชลบุรีจานวน 2 โรง แต่ประเทศไทยยังคง ต้องสั่งซื้อน้ามันดิบจากต่างประเทศ เนื่องจากการผลิตไม่เพียงพอ
7. อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ 
อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตเมือง หลวง และปริมณฑล อุตสาหกรรมประเภทนี้มีแนวโน้มที่จะขยายตัวไปสู่เขตนิคม อุตสาหกรรมทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกด้วย
8. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว 
อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เพิ่งจะพัฒนาขึ้นในระยะหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 การท่องเที่ยวในประเทศไทยได้เจริญเติบโตขึ้นในระยะไม่กี่ปีมานี้เอง และปัจจุบันได้กลายเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของทวีปเอเชีย
การค้า 
1. สินค้าออก สินค้าออกที่สาคัญของประเทศไทยมี 4 หมวด ได้แก่ 
1. หมวดสินค้าอุตสาหกรรม ที่สาคัญได้แก่ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คอมพิวเตอร์ และชิ้นส่วน ผลิตภัณฑ์พลาสติก แผงวงจรไฟฟ้าและชิ้นส่วน รองเท้า อัญมณี และเครื่องเพชรพลอย 
2. หมวดสินค้าเกษตรกรรม ที่สาคัญได้แก่ ยางพารา ข้าว ผลิตภัณฑ์มัน สาปะหลัง เป็ดและไก่แช่แข็ง 
3. หมวดสินค้าประมง ที่สาคัญได้แก่ กุ้งสดแช่เย็น ปลาสด 
4. หมวดสินค้าอื่นๆ
การค้า 
2. สินค้าเข้า สินค้าเข้า ที่สาคัญของประเทศไทย ได้แก่ 
น้ามัน ประเทศไทยสั่งซื้อน้ามันจากต่างประเทศปีละจานวนมาก และมีอัตรา การสั่งเพิ่มขึ้นทุกปี แหล่งนาเข้าน้ามันดิบ ได้แก่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซาอุดิอาระเบีย คูเวต บรูไน และมาเลเซีย
การค้า 
สินค้าอุปโภค บริโภค มีมูลค่าการสั่งเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 26 ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้า ในครัวเรือน เภสัชภัณฑ์ ผลไม้ แป้งสาลี และรถจักรยานยนต์ 
วัตถุดิบและกึ่งวัตถุดิบ มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 31 ส่วนหนึ่งเพื่อทดแทนการขาดแคลน ภายในประเทศและอีกส่วนหนึ่งเป็นการขยายตัวของภาวะการผลิตภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ กระดาษและกระดาษแข็ง เยื่อกระดาษและไม้เคมีภัณฑ์ และโลหะต่างๆ 
สินค้าทุน มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 29 ตามภาวะการลงทุนภายในประเทศที่ยัง ขยายตัวในเกณฑ์ดี สินค้าทุนได้แก่ เครื่องจักรกลที่ใช้ในอุตสาหกรรมโลหะ อาหาร เครื่องดื่ม และเยื่อกระดาษ 
สินค้าหมวดอื่นๆ ขยายตัวในอัตราสูงเช่นเดียวกัน เช่น ตัวถังรถยนต์ สินค้าเข้า ดังกล่าว นาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นร้อยละ 30.6 กลุ่มนาฟตาร้อยละ 13 สหภาพยุโรป ร้อยละ 14.5 กลุ่มประเทศอาเซียนร้อยละ 12.7 กลุ่มอินโดจีนร้อยละ 0.7 กลุ่ม ตะวันออกกลางร้อยละ 3.9 ยุโรปตะวันออกร้อยละ 0.4
เอกสารอ้างอิง 
สกลวรรษ สุธามณี.(ม.ป.ป).เอกสารสรุปเนื้อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย เล่ม 2. 462 หน้า.

More Related Content

What's hot

ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
sapatchanook
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
พัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
Sirintip Arunmuang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
montira
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
Suphot Chaichana
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
waraporny
 

What's hot (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย4
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรีบทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
บทวิเคราะห์ร่ายยาวเวสสันดรมหาชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
ข้อสอบอ่านจับใจความสำคัญ ป.6
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
บทเรียนสำเร็จรูป เรื่อง ภูมิภาคของโลกกับพัฒนาการทางประวัติศาสตร์
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2การออมและการลงทุน ม.2
การออมและการลงทุน ม.2
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทยความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
ความสำคัญของพระมหากษัตริย์ต่อชาติไทย
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
หลักฐานทางประวัติศาสตร์1
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย  ป.5   ใหม่1
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ภาษาไทย ป.5 ใหม่1
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
คำนำ สารบัญ แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เล่มที่...
 
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิสรายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
รายงานกฎกติกาเทเบิลเทนนิส
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 

Viewers also liked

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
orawan155
 
ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์
Surachai Chann
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
Suriyawaranya Asatthasonthi
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
FURD_RSU
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
Aekapoj Poosathan
 

Viewers also liked (10)

งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดนการกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
การกระจายตัวของความเป็นเมือง เทศบาลนครและเทศบาลเมืองที่ติดชายแดน
 
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทยทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
ทรัพยากรป่าไม้ในประเทศไทย
 
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียวจันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
จันทบุรี:การขยายตัวของเมืองกับพื้นที่สีเขียว
 
ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์ภูมิเศรษฐศาสตร์
ภูมิเศรษฐศาสตร์
 
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณะประโยชน์
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษาข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - สังคมศึกษา
 
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
การกลายเป็นเมืองในชนบทไทย : ข้อสังเกตและข้อเสนอแนะ
 
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บทรูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
รูปแบบการเขียนรายงานโครงงาน 5 บท
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560 – 2564
 

Similar to กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
Nongruk Srisukha
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
Nongruk Srisukha
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
pangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
mingpimon
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
Duangsuwun Lasadang
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
nananattie
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
MaiiTy
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
varut
 
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
siwimon12090noonuch
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
Budsayarangsri Hasuttijai
 

Similar to กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย (20)

ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
ภูมิศาสตร์ประเทศไทย22
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
สภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศ
สภาพภูมิอากาศ
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1โครงการปลูกป่าชายเลน1
โครงการปลูกป่าชายเลน1
 
Forest
ForestForest
Forest
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
ลักษณะสภาพแวลล้อมทางเศรษฐกิจของทวีปยุโรป 2.4
 
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
การแก้ไขปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
natchuda
natchudanatchuda
natchuda
 
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
โครงการเกษตรทฤษฏีใหม่
 
ลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศลักษณะภูมิอากาศ
ลักษณะภูมิอากาศ
 
สุราษฏร์ธานี
สุราษฏร์ธานีสุราษฏร์ธานี
สุราษฏร์ธานี
 
ทวีปอเมริกา
ทวีปอเมริกาทวีปอเมริกา
ทวีปอเมริกา
 
ว30103
ว30103ว30103
ว30103
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 

กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย

  • 1.
  • 2. กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทย ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมทางกายภาพกับการประกอบอาชีพ ของประเทศไทย มีดังต่อไปนี้ การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การทาป่าไม้ การประมง อุตสาหกรรม และการค้า
  • 3. กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทย การเพาะปลูก การเลี้ยงสัตว์ การทาป่าไม้ การประมง อุตสาหกรรม การค้า
  • 4. การเพาะปลูก การเพาะปลูกพืชของประเทศไทยมีความหลากหลายและแตกต่างกันใน แต่ละภูมิภาค ทาให้เรามีพืชเศรษฐกิจที่สาคัญในระดับโลกหลายชนิด เช่น ข้าว มันสาปะหลัง อ้อย สับปะรด ยางพารา ทุเรียน และกล้วยไม้ เป็นต้น
  • 5. การเพาะปลูก การเพาะปลูก พืชอื่นๆ พืชเส้นใย พืชน้ามัน พืชอาหาร
  • 6. พืชอาหาร พืชอาหาร ได้แก่ 1. ข้าว จัดเป็นพืชเศรษฐกิจอันดับหนึ่งของประเทศ เป็นพืชที่เหมาะสมที่ จะปลูกในประเทศไทยเพราะเป็นพืชเมืองร้อนต้องการอุณหภูมิเฉลี่ยไม่ต่า กว่า 25 องศาเซลเซียส ต้องการความชื้นสูง มีฝนตกเฉลี่ยปีละเกิน 1,50 มิลลิเมตร แหล่งปลูกข้าวของประเทศไทยปรากฏทุกภาค ดังนี้
  • 7. การเพาะปลูกข้าวในภาคต่างๆ ภาคกลาง เป็นแหล่งปลูกข้าวที่สาคัญที่สุดของประเทศ ผลผลิตแต่ละปีได้ มากกว่าทุกๆ ภาค เพราะเป็นที่ราบดินตะกอนลุ่มแม่น้าที่กว้างขวาง มี ปริมาณฝนเพียงพอ และมีระบบชลประทานทั่วถึง ภาคเหนือ ให้ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่สูงสุด แหล่งปลูกข้าวจะอยู่บริเวณที่ราบ ลุ่มแม่น้าระหว่างภูเขา ซึ่งเป็นเขตที่ราบที่มีดินและน้าอุดมสมบูรณ์ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ มีพื้นที่นามากที่สุดแต่ดินขาดความอุดม สมบูรณ์ มีปริมาณฝนไม่สม่าเสมอ ระบบการชลประทานไม่ทั่วถึง จึงเป็น ภาคที่มีผลผลิตเฉลี่ยต่อเนื้อที่ต่า
  • 8. การเพาะปลูกข้าวในภาคต่างๆ ภาคใต้ มีปริมาณฝนสม่าเสมอและเพียงพอ แต่มีพื้นที่ทานาเป็นบริเวณ แคบๆ โดยเฉพาะที่ราบชายฝั่งตะวันออก ภาคตะวันออก พื้นที่ทานาในภาคนี้มีอยู่น้อย ทั้งๆ ที่เป็นภาคที่มีปริมาณ ฝนสูง มีการทาสวนผลไม้และปลูกพืชอื่นๆ เป็นส่วนใหญ่ ภาคตะวันตก ลักษณะภูมิประเทศและภูมิอากาศเหมาะสมสาหรับการปลูก พืชไร่ พื้นที่ในการปลูกข้าวจึงจากัดเฉพาะบริเวณที่มีระบบการชลประทานดี
  • 9. พืชอาหาร 2. ข้าวโพด เป็นพืชพื้นเมืองดั้งเดิมของทวีปอเมริกา ต้องการปริมาณฝน 600 - 1,200มิลลิเมตร ดินอุดมสมบูรณ์และน้าไม่แช่ขัง ต้องการแสงแดด จัดในขณะที่เมล็ดกาลังแก่ ในระยะไม่กี่ปีมานี้ข้าวโพดกลายเป็นพืช เศรษฐกิจที่สาคัญอย่างหนึ่งของประเทศไทย มักปลูกบริเวณที่เป็นเนินเขา หรือที่ราบที่ไม่มีน้าแช่ขัง
  • 10. พืชอาหาร 3. ถั่วเขียว เป็นพืชที่ชอบขึ้นบริเวณที่มีอากาศร้อนและมีความชื้นไม่มาก นัก แหล่งที่ปลูกมาก ได้แก่ ทางตอนเหนือของที่ราบภาคกลาง
  • 11. พืชอาหาร  4. มันสาปะหลัง เจริญงอกงามได้ในพื้นดินทั่วไป โดยเฉพาะดินปนทราย ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี แหล่งเดิมของมันสาปะหลังในประเทศไทยคือภาค ตะวันออก เนื่องจากใกล้ตลาดศูนย์กลางของประเทศ แต่ในระยะหลังได้ย้าย ไปสู่ภาคตะวันนออกเฉียงเหนือจนมีปริมาณการผลิตมากกว่าทุกภาค
  • 12. พืชอาหาร 5. อ้อย เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในเขตร้อนและกึ่งร้อนที่มีแสงแดดและ ความชื้นเพียงพอ คือมีปริมาณฝนไม่ต่ากว่า 1,150 มิลลิเมตรต่อปี และมี อุณหภูมิสูงประมาณ 15 องศาเซลเซียส อ้อยที่ใช้ทาน้าตาลเรียกว่าอ้อย โรงงาน เดิมปลูกมากที่ภาคตะวันออก แต่ต่อมามีการปลูกมากในภาค ตะวันตก ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคกลาง การปลูกอ้อย ในปัจจุบันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่สาคัญ คือ เส้นทางคมนาคมขนส่งสะดวก และใกล้โรงงาน
  • 13.
  • 14. การพืชอาหาร 6. ข้าวฟ่าง เป็นพืชที่ปลูกง่ายเพราะสามารถทนความแห้งแล้งได้ดี ใช้เป็น อาหารคนและสัตว์ สาหรับในประเทศไทยมีการปลูกข้าวฟ่างมานานแล้ว แต่ ก็มีไม่มาก แหล่งปลูกข้าวฟ่างมักปรากฏในเขตอากาศแห้งแล้งทางตอนกลาง ของประเทศ
  • 15. พืชน้ามัน พืชน้ามัน ได้แก่ 1. มะพร้าว เป็นพืชที่ชอบขึ้นในที่ดินปนทรายแถบริมฝั่งทะเลที่มีฝนตกชุก บริเวณที่มีความเหมาะสมและปลูกกันมากจึงอยู่ทางภาคใต้ของประเทศ และจังหวัดที่อยู่ริมฝั่งทะเลแถบก้นอ่าวไทย
  • 16. พืชน้ามัน 2. ถั่วเหลือง นอกจากบริโภคแล้วยังใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม เช่น ทาสบู่ ทาเครื่องสาอาง ทาหมึกพิมพ์ ส่วนกากใช้ผสมอาหารสัตว์ ถั่วเหลือง ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิด ประเทศไทยนิยมปลูกถั่วเหลืองในนาข้าวในช่วง ฤดูแล้ง หลังจากการเก็บเกี่ยวแล้ว โดยเฉพาะประมาณเดือนเมษายน
  • 17. พืชน้ามัน 3. ปาล์มน้ามัน เริ่มเข้ามาปลูกในประเทศไทยที่จังหวัดกระบี่และสตูล ซึ่งเป็น พันธุ์ที่ชอบอากาศร้อนและฝนชุก น้ามันปาล์มที่ผลิตได้ทั้งหมดในปัจจุบันกว่า ร้อยละ 90 อยู่ใน 5 จังหวัดภาคใต้ ได้แก่ กระบี่ สตูล สุราษฎร์ธานี ตรัง และชุมพร
  • 18. พืชเส้นใย พืชเส้นใย ได้แก่ 1. ฝ้าย เป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ดีในดินเหนียว และดินเหนียวปนทรายที่มีความ อุดสมบูรณ์ปานกลาง มีอากาศร้อนและต้องการความแห้งแล้งในฤดูเก็บเกี่ยว แหล่งผลิตที่สาคัญอยู่ที่ภาคกลางตอนบน และภาคเหนือตอนล่าง ปัจจุบัน ประเทศไทยผลิตฝ้ายได้ไม่เพียงพอที่จะใช้ภายในประเทศ จึงต้องสั่งฝ้ายเข้าปีละ จานวนมาก
  • 19. พืชเส้นใย 2. ปอ ที่นิยมปลูกมี 2 ชนิด คือปอแก้วพันธุ์แอฟริกา ปลูกได้ง่ายและทนความ แห้งแล้งได้ดี แหล่งเพาะปลูกที่สาคัญอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนปอ กระเจาต้องการดินที่มีความอุดมสมบูรณ และต้องการน้ามากกว่าปอแก้ว แหล่ง ปลูกที่เหมาะสมจึงอยู่ในภาคกลาง
  • 20. พืชเส้นใย 3. นุ่น เป็นพืชที่เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศและดินในทุกภาคของประเทศไทย จึงปลูกกันโดยทั่วไป แต่ผลิตได้มากในภาคกลางและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
  • 21. พืชชนิดอื่นๆ พืชอื่นๆ ได้แก่ 1. พืชผลไม้ มีความแตกต่างกันตามภูมิภาคต่างๆ พืชยืนต้นที่เป็นพืชสวนจาพวกเงาะ ทุเรียน มังคุด ลางสาด เป็นพืชที่ชอบอากาศร้อนชื้น แหล่งปลูกสาคัญอยู่ทางภาค ตะวันออกและภาคใต้ ซึ่งมีลักษณะอากาศเหมาะสม ได้แก่ ระยอง จันทบุรี ตราด ชุมพร สุราษฎร์ธานี และนราธิวาส มะม่วงและส้มต่างๆ ปลูกมากแถบภาคกลางตอนล่าง ส่วนภาคเหนือสามารถปลูกพืชผลเมืองหนาวได้ดี
  • 22. พืชชนิดอื่นๆ  2. ยางพารา เป็นพืชเขตร้อนชื้นมีความต้องการอุณหภูมิสูงตลอดปี เฉลี่ยประมาณ 27 องศาเซลเซียส และปริมาณฝนสูงประมาณ 3,500 มิลลิเมตร และตกสม่าเสมอตลอดปี ชอบขึ้นในภูมิประเทศที่มีการระบายน้าได้ดี ภาคใต้และภาคตะวันออกจึงมีลักษณะภูมิ ประเทศและภูมิอากาศเหมาะสม ซึ่งภาคใต้สามารถผลิตได้ถึงร้อยละ 90
  • 23. พืชชนิดอื่นๆ 4. ยาสูบ ที่นิยมปลูกในประเทศไทยเป็นพันธุ์พื้นเมืองและพันธุ์เวอร์จิเนีย เป็นพืช ที่ชอบอากาศแห้งและเย็น ต้องการฝนเฉพาะในระยะแรกปลูก แหล่งที่มีการปลูก ยาสูบมากได้แก่ภาคเหนือของประเทศ
  • 24. การเลี้ยงสัตว์ (Domestication) การเลี้ยงสัตว์ การเลี้ยงกระบือ การเลี้ยงโค การเลี้ยงสุกร การเลี้ยงสัตว์ปีก
  • 25. การเลี้ยงสัตว์ 1. การเลี้ยงกระบือ กระบือเป็นสัตว์ชอบน้า นิยมเลี้ยงไว้เพื่อใช้งาน ปัจจุบันจานวน กระบือลดลงเป็นจานวนมาก แหล่งที่มีการเลี้ยงกระบือมาก ได้แก่ ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่เลี้ยงกันน้อยคือภาคกลางตอนล่างและภาคใต้ของประเทศ
  • 26. การเลี้ยงสัตว์ 2. การเลี้ยงโค การเลี้ยงโคแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ การเลี้ยงโคเนื้อ และการ เลี้ยงโคนม ทั้งสองประเภทจะเลี้ยงเพื่อการบริโภคในลักษณะของการผลิตทางการ อุตสาหกรรม
  • 27. การเลี้ยงสัตว์ 3. การเลี้ยงสุกร ประชากรไทยได้อาหารประเภทโปรตีนจากเนื้อสุกรมากเป็นที่สอง รองจากปลา การเลี้ยงสุกรมีมากในทุกภาค แต่ภาคกลางมีจานวนมากที่สุด
  • 28. การเลี้ยงสัตว์ 4. การเลี้ยงสัตว์ปีก สัตว์ปีกที่เลี้ยงกันทั่วไป ได้แก่ เป็ด ไก่ และห่าน ผลผลิตจาก สัตว์ปีกภายในประเทศเพียงพอแก่ความต้องการบริโภคของประชากร และยังส่ง เป็นสินค้าออกทารายได้เข้าประเทศปีละจานวนมาก
  • 29. การทาป่าไม้ ป่าไม้ของประเทศไทยอยู่ในสภาพที่น่าเป็นห่วง เพราะตามความเป็นจริงพบว่า 1. ปริมาณเนื้อที่ป่าลดลงเป็นจานวนมาก เกินกว่าป่าไม้จะเกิดทดแทนตาม ธรรมชาติได้ 2. เนื้อที่ป่าถูกบุกเบิกเพื่อทาการเกษตรอยู่ตลอดเวลาโดยชาวบ้านและนายทุน 3. การลักลอบตัดไม้นอกเหนือจากการได้รับสัมปทานจากทางราชการก็มีอยู่มาก 4. การได้รับสัมปทานป่าไม้ ไม่ได้มีการควบคุมการปลูกป่าทดแทนอย่างจริงจัง ในปัจจุบัน ป่าไม้ในประเทศไทยเหลือเพียงร้อยละ 31.57 ของพื้นที่ทั้งหมดใน ประเทศ (2556)
  • 30. การประมง การประมง การประมงน้าจืด การประมงทะเล การประมงน้ากร่อย
  • 31. การประมงน้าจืด การประมงน้าจืด ได้มาจากแหล่งน้าจืดในท้องถิ่น แต่ปัจจุบันประสบปัญหาเรื่อง สภาพแวดล้อมถูกทาลายซึ่งก็กระทบต่อแหล่งประมงน้าจืดตามธรรมชาติด้วย ดังนั้นปลาน้าจืดที่ใช้บริโภคกันทุกวันนี้จึงเป็นผลผลิตที่ได้มาจากการเพาะเลี้ยง แทบทั้งสิ้น โดยมีแหล่งเพาะเลี้ยง ดังนี้
  • 32. การประมงน้าจืด ภาคกลาง และภาคตะวันตก แหล่งผลิตที่สาคัญคือแม่น้าลาคลอง หนอง บึง ภาคเหนือ แหล่งผลิตคือบึง หรือกว๊านขนาดใหญ่ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ แหล่งผลิตคือ ลาน้าและห้วยที่มีน้าขังตลอดปี ภาคใต้ และภาคตะวันออก มีการประมงน้าจืดไม่มากเพราะส่วนใหญ่เป็นการ ประมงน้าเค็ม
  • 33. การประมงทะเล การประมงทะเล มี 2 บริเวณ ได้แก่ 1. บริเวณอ่าวไทย  บริเวณอ่าวชั้นใน ได้แก่บริเวณพื้นที่น่านน้า 6 จังหวัด คือ เพชรบุรี สมุทรสงคราม สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา และชลบุรี เป็นเขตที่ จับปลาได้มากเพราะเป็นเขตน้าตื้น  บริเวณอ่าวชั้นนอก แบ่งออกเป็น 2 เขต คือแถบชายฝั่งตะวันออกของ อ่าวไทย ในเขตจังหวัดระยอง จันทบุรีและตราด เป็นบริเวณพื้นที่แคบจึงจับ สัตว์น้าได้ปริมาณไม่มาก ส่วนแถบชายฝั่งตะวันตกของอ่าวไทย ตั้งแต่ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ลงไปจนสุดเขตประเทศไทยที่จังหวัดนราธิวาสนั้นจับ สัตว์น้าได้มากรองจากอ่าวชั้นใน
  • 34. การประมงทะเล 2. บริเวณชายฝั่งทะเลอันดามัน : อยู่ทางด้านมหาสมุทรอินเดีย ประกอบด้วย เขตจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และ สตูล จับปลาได้น้อยกว่าทั้งสอง เขตที่กล่าวมาแล้ว เนื่องจากไหล่ทวีปแคบห่างจากฝั่งประมาณ 100 กิโลเมตร
  • 35.
  • 36. ทะเล ทะเลไทยมีอาณาเขตติดต่อทะเลถึง 2 ด้าน คือ 1. ทะเลจีนใต้ คือทะเลบริเวณอ่าวไทย ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของมหาสมุทร แปซิฟิก ทะเล ด้านนี้เป็นเขตน้าตื้นจัดเป็นเขตไหล่ทวีป ใช้เดินเรือขุดก๊าซ ธรรมชาติ น้ามันปิโตรเลียม ประมง และการท่องเที่ยว 2. ทะเลอันดามัน เป็นทะเลด้านตะวันตกของภาคใต้ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของ มหาสมุทรอินเดีย เป็นเขตน้าลึก นอกจากใช้เดินเรือแล้วยังใช้ในการ ประมง ขุดแร่ และท่องเที่ยว
  • 37. ทะเล ตามกฎหมายทางทะเลระหว่างประเทศ น่านน้าในทะเลมี 4 ส่วน ดังนี้ 1. น่านน้าอาณาเขต คือ ท้องทะเลที่ห่างจากฝั่งไม่เกิน 12 ไมล์ทะเล เป็น อาณาเขตของประเทศ 2. เขตเศรษฐกิจจาเพาะ คือ ท้องทะเลที่อยู่ถัดออกไปจากน่านน้า เป็น ท้องทะเลที่ประเทศบนฝั่งประกาศสงวนใช้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ มักจะ ประกาศกัน 200 ไมล์ทะเล 3. เขตไหล่ทวีป เป็นเขตน้าตื้น ซึ่งประเทศที่อยู่บนฝั่งจะประกาศสงวนไว้ ซึ่งทรัพยากร 4. น่านน้าทะเล เป็นน่านน้าลึกที่อยู่ไกลจากฝั่ง ไม่มีประเทศใดเป็น เจ้าของ
  • 38. อุตสาหกรรม (Industry) อุตสาหกรรม คือ กระบวนการแปรรูป หรือ การผลิตสิ่งของจากวัตถุดิบให้ เป็นวัสดุใหม่ เพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้ตามวัตถุประสงค์ โดยการใช้เครื่องจักร หรือแรงคน เพื่อให้ผลิตได้ครั้งละมาก ๆ จนสามารถนาไปขายเป็นสินค้าได้ อุตสาหกรรมที่สาคัญของประเทศไทย มีดังนี้
  • 39. 1. อุตสาหกรรมสิ่งทอ อุตสาหกรรมสิ่งทอ หมายถึงอุตสาหกรรมปั่นด้ายการถักและการทอผ้าฝ้ายการถักและ การทอจากใยสังเคราะห์การพิมพ์ผ้า การฟอกและการย้อมสีผลิตภัณฑ์เครื่องนุ่งห่ม สาเร็จรูป ปัจจุบันประเทศไทยสามารถผลิตสิ่งทอได้เหลือใช้ภายในประเทศ และส่งเป็น สินค้าออกมีมูลค่าสูงขึ้นทุกปี โรงงานทอผ้ามักจะปรากฏอยู่แถบชานเมืองหลวงและ จังหวัดใกล้เคียง เช่น ปทุมธานี สมุทรสาคร สมุทรสงคราม
  • 40. 2. อุตสาหกรรมน้าตาล อุตสาหกรรมน้าตาล ปัจจุบันโรงงานผลิตน้าตาลของประเทศไทยเป็น โรงงานขนาดใหญ่ และจะตั้งอยู่ในเขตไร่อ้อย ซึ่งเป็นวัตถุดิบของการผลิต น้าตาลและมีกระจายอยู่ทุกภาค (ยกเว้นภาคใต้)
  • 41. 3. อุตสาหกรรมซีเมนต์ อุตสาหกรรมซีเมนต์ เป็นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ใช้ทุนดาเนินการสูง และกรรมวิธีการ ผลิตค่อนข้างซับซ้อน ซีเมนต์เป็นปัจจัยสาคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาประเทศในปัจจุบัน โรงงานอุตสาหกรรมซีเมนต์ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ใกล้กับแหล่งวัตถุดิบ เช่น หินปูน ดิน เหนียว และยิปซั่ม ซึ่งเป็นวัตถุที่มีน้าหนักมากไม่สะดวกในการขนส่ง จังหวัดที่มีโรงงาน อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์ ได้แก่ สระบุรี เพชรบุรี นครสวรรค์ และนครศรีธรรมราช
  • 42. 4. อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมกระดาษ โรงงานอุตสาหกรรมกระดาษขนาดใหญ่และมีการลงทุนสูงใน ประเทศไทยยังมีอยู่น้อย วัสดุที่ใช้ทากระดาษได้แก่ ฟางข้าว ไม้ไผ่ และไม้เนื้ออ่อนบาง ชนิด ซึ่งบางครั้งก็ต้องสั่งซื้อมาจากต่างประเทศ โรงงานผลิตกระดาษในประเทศไทยใน ปัจจุบันมีทั้งของรัฐและของเอกชน
  • 43. 5. อุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปเหล็ก อุตสาหกรรมผลิตและแปรรูปเหล็ก ได้แก่การผลิตลวด เหล็กเส้น ท่อ แผ่นเหล็ก เหล็ก แท่ง ถือเป็นรากฐานของอุตสาหกรรมอื่นๆ ที่ใช้เหล็กเป็นวัตถุดิบ ประเทศไทยต้องสั่งซื้อ เหล็กจากต่างประเทศปีละจานวนมากเนื่องจาก การผลิตเหล็กภายในประเทศไม่เพียงพอ
  • 44. 6. อุตสาหกรรมน้ามัน อุตสาหกรรมน้ามัน ปัจจุบันประเทศไทยมีโรงกลั่นน้ามันอยู่เพียง 4 แห่ง คือ ที่อาเภอฝาง จังหวัดเชียงใหม่ นับว่าเป็นแหล่งที่เก่าแก่ที่สุด โรงกลั่นน้ามันที่บางจาก กรุงเทพมหานคร และโรงงานกลั่นน้ามันที่อาเภอศรีราชาจังหวัดชลบุรีจานวน 2 โรง แต่ประเทศไทยยังคง ต้องสั่งซื้อน้ามันดิบจากต่างประเทศ เนื่องจากการผลิตไม่เพียงพอ
  • 45. 7. อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ อุตสาหกรรมประกอบรถยนต์ทั้งหมดตั้งอยู่ในเขตเมือง หลวง และปริมณฑล อุตสาหกรรมประเภทนี้มีแนวโน้มที่จะขยายตัวไปสู่เขตนิคม อุตสาหกรรมทางชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกด้วย
  • 46. 8. อุตสาหกรรมท่องเที่ยว อุตสาหกรรมท่องเที่ยว เป็นกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เพิ่งจะพัฒนาขึ้นในระยะหลัง สงครามโลกครั้งที่ 2 การท่องเที่ยวในประเทศไทยได้เจริญเติบโตขึ้นในระยะไม่กี่ปีมานี้เอง และปัจจุบันได้กลายเป็นศูนย์กลางการท่องเที่ยวแห่งหนึ่งของทวีปเอเชีย
  • 47. การค้า 1. สินค้าออก สินค้าออกที่สาคัญของประเทศไทยมี 4 หมวด ได้แก่ 1. หมวดสินค้าอุตสาหกรรม ที่สาคัญได้แก่ ผลิตภัณฑ์สิ่งทอ คอมพิวเตอร์ และชิ้นส่วน ผลิตภัณฑ์พลาสติก แผงวงจรไฟฟ้าและชิ้นส่วน รองเท้า อัญมณี และเครื่องเพชรพลอย 2. หมวดสินค้าเกษตรกรรม ที่สาคัญได้แก่ ยางพารา ข้าว ผลิตภัณฑ์มัน สาปะหลัง เป็ดและไก่แช่แข็ง 3. หมวดสินค้าประมง ที่สาคัญได้แก่ กุ้งสดแช่เย็น ปลาสด 4. หมวดสินค้าอื่นๆ
  • 48. การค้า 2. สินค้าเข้า สินค้าเข้า ที่สาคัญของประเทศไทย ได้แก่ น้ามัน ประเทศไทยสั่งซื้อน้ามันจากต่างประเทศปีละจานวนมาก และมีอัตรา การสั่งเพิ่มขึ้นทุกปี แหล่งนาเข้าน้ามันดิบ ได้แก่ สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ซาอุดิอาระเบีย คูเวต บรูไน และมาเลเซีย
  • 49. การค้า สินค้าอุปโภค บริโภค มีมูลค่าการสั่งเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 26 ได้แก่ เครื่องใช้ไฟฟ้า สินค้า ในครัวเรือน เภสัชภัณฑ์ ผลไม้ แป้งสาลี และรถจักรยานยนต์ วัตถุดิบและกึ่งวัตถุดิบ มูลค่าเพิ่มขึ้นร้อยละ 31 ส่วนหนึ่งเพื่อทดแทนการขาดแคลน ภายในประเทศและอีกส่วนหนึ่งเป็นการขยายตัวของภาวะการผลิตภาคอุตสาหกรรม ได้แก่ กระดาษและกระดาษแข็ง เยื่อกระดาษและไม้เคมีภัณฑ์ และโลหะต่างๆ สินค้าทุน มีมูลค่าเพิ่มสูงขึ้นถึงร้อยละ 29 ตามภาวะการลงทุนภายในประเทศที่ยัง ขยายตัวในเกณฑ์ดี สินค้าทุนได้แก่ เครื่องจักรกลที่ใช้ในอุตสาหกรรมโลหะ อาหาร เครื่องดื่ม และเยื่อกระดาษ สินค้าหมวดอื่นๆ ขยายตัวในอัตราสูงเช่นเดียวกัน เช่น ตัวถังรถยนต์ สินค้าเข้า ดังกล่าว นาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นร้อยละ 30.6 กลุ่มนาฟตาร้อยละ 13 สหภาพยุโรป ร้อยละ 14.5 กลุ่มประเทศอาเซียนร้อยละ 12.7 กลุ่มอินโดจีนร้อยละ 0.7 กลุ่ม ตะวันออกกลางร้อยละ 3.9 ยุโรปตะวันออกร้อยละ 0.4
  • 50. เอกสารอ้างอิง สกลวรรษ สุธามณี.(ม.ป.ป).เอกสารสรุปเนื้อหาสาระในกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมเพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบเข้ามหาวิทยาลัย เล่ม 2. 462 หน้า.