SlideShare a Scribd company logo
1 of 147
กฎหมายและนโยบายการจัดการและ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ณรงค์ใจหาญ
เอกสารประกอบการบรรยายวิชา น. 680
คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ภาค หนึ่ง ปีการศึกษา 2557
1.หลักทั่วไปในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
2.กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ป่ าไม้ สัตว์ป่ า
3.กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์น้า
4.กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ทรัพยากรประมง
และการจัดการชายฝั่ง
2
หัวข้อศึกษา
• 5. กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์แร่และน้ามัน
• 6. กฎหมายเกี่ยวกับการจัดการพลังงาน
• 7. กฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ ดิน
• 8. กฎหมายเกี่ยวกับการใช้ที่ดิน
• รศ.ณรงค์ บรรยาย หัวข้อ 1-4 จานวน 10 ครั้ง
• และศ.บุญศรี บรรยายหัวข้อ 5-8 จานวน 6 ครั้ง ๆ
ละ 3 ชั่วโมง
3
• คะแนน เต็ม 100 คะแนน
• รายงานกลุ่ม 1 ครั้ง แบ่งเป็นสองกลุ่ม นาเสนอหน้าห้อง 20
คะแนน
• รายงานเดี่ยวแต่ละคน 2 ฉบับ ๆ ละ 40 คะแนน
• ส่งรศ.ณรงค์ 1 ฉบับ และส่ง ศ. บุญศรี 1 ฉบับ
• หัวข้อรายงานกลุ่มและรายงานเดี่ยว จะแจ้งให้ทราบภายหลัง
4
การวัดผล
• ทรัพยากรที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เช่น
ดิน น้า ป่ าไม้ สัตว์ป่ า อากาศ ลม แร่ น้ามัน
• ทรัพยากรที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น
• คลื่นความถี่ สิ่งปลูกสร้าง วัฒนธรรม
5
ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
• การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ให้มีความ
สมดุลย์ในระบบนิเวศน์และอย่างยั่งยืน
• การอนุรักษ์ อย่างยั่งยืน หมายถึง ?
• การรักษาสมดุลย์ในระบบนิเวศ หมายถึง?
6
การอนุรักษ์
• ทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษย์สร้างทดแทนได้
• หลักการอนุรักษ์ให้ใช้อย่างยั่งยืนและสร้าง
ทดแทน
• ทรัพยากรธรรมชาติที่มนุษย์สร้างทดแทนไม่ได้
• หลักการอนุรักษ์ให้ใช้อย่างยั่งยืนและหวงกัน
ไว้สาหรับการประเทศที่เป็นแหล่ง
ทรัพยากรธรรมชาติ 7
แนวคิดในการอนุรักษ์
• เป็นการนาทรัพยากรธรรมชาติมาใช้ประโยชน์
อย่างยั่งยืน
• การใช้อย่างยั่งยืน คือการที่ใช้เมื่อถึงเวลาอัน
ควรและใช้อย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตกทอด
ไปยังคนรุ่นหลังได้
• การพัฒนาอย่างยั่งยืนจึงไม่ใช้การเก็บรักษาโดย
ไม่ใช้ แต่เป็นการใช้อย่างชาญฉลาด
8
หลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน หมายถึง
• ทรัพยากรธรรมชาติ มีหลักการอนุรักษ์อย่างยั่งยืนและ
การรักษาความสมดุลในระบบนิเวศ การให้มีความ
หลากหลายทางชีวภาพ
• ทรัพยากรธรรมชาติที่ใช้แล้วหมดไป เช่นแร่ น้ามัน
จะต้องมีการอนุรักษ์ที่วางแผนการใช้อย่างเป็นระบบ และ
จากัดการใช้
• ส่วนทรัพยากรธรรมชาติที่สร้างทดแทนได้ เมื่อใช้แล้ว
ต้องสร้างเพิ่มทดแทน เช่นการปลูกป่ า การเพาะพันธุ์สัตว์
น้า หรือสัตว์ป่ า 9
• การจัดการสิ่งแวดล้อม ต้องมีการจัดการ มีแผนระยะยาว
ระยะสั้น ระยะกลาง
• การจัดการที่ดีจะต้องมีการกาหนดนโยบาย กาหนด
แผนปฏิบัติการ ที่งบประมาณ บุคลากรและกองทุน และ
การประเมินผลที่มีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง
• หลักการเหล่านี้กาหนดไว้ในพรบ.ส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
10
การจัดการสิ่งแวดล้อม
• สิทธิของประชาชนในการมีส่วนร่วมในการใช้ การ
อนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติ อย่างไร
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว)
พ.ศ. 2557 133 รจ 55 ก 22 ก.ค. 57
• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
11
แนวทางการอนุรักษ์
• การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการ
สิ่งแวดล้อมถือเป็นหลักสาคัญ และทาให้การบริหาร
จัดการสิ่งแวดล้อมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
• ระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน
• ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมกระทา ร่วมบังคับใช้
กฎหมาย ร่วมในการฟื้นฟูเยียวยา
12
การมีส่วนร่วมของประชาชน
• หลักการในการจัดการสิ่งแวดล้อมนั้น ไม่ได้ผูกขาดที่รัฐในการ
บริหารจัดการ ดังนั้นการบริหารจัดการจึงเปิดโอกาสให้เอกชน
เข้ามามีส่วนในการจัดการสิ่งแวดล้อมร่วมกับรัฐ และมีความ
รับผิดชอบในสังคมในด้านสิ่งแวดล้อมเช่นเดียวกัน
• ในการให้บริการด้านสิ่งแวดล้อม หลักการในการบริหารได้ให้รัฐ
ร่วมทุนกับเอกชนในการบริหารจัดการเช่น
• การให้บริการน้าประปา การให้สัมปทานในการจัดการ
สาธารณูปโภค เช่น ไฟฟ้ า การจัดสรรคลื่นความถี่ การปลูกป่ า
การบาบัดน้าเสียหรือขยะอันตราย เป็นต้น
13
หลักการร่วมระหว่างเอกชนกับรัฐในการจัดการ
• นาแรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์มาใช้กับการบริหารจัดการ
สิ่งแวดล้อม ทั้งในด้านการประหยัดและการส่งเสริม
• เช่น เก็บค่าบาบัดมลพิษ
• สร้างสลากประหยัดไฟ หรืออนุรักษ์หรือเป็นมิตรกับ
สิ่งแวดล้อม
• ลดภาษีอากร เพิ่มภาษีอากร เป็นต้น
• การเก็บค่าอนุรักษ์น้าบาดาล ค่าใช้น้าในแหล่งน้าสาธารณะ
เป็นต้น
14
การใช้หลักเศรษฐศาสตร์ในการใช้อย่างประหยัดหรือจูงใจให้
อนุรักษ์หรือรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
• โดยหลักการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นหน้าที่ของรัฐ
• แต่ในปัจจุบัน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (ซึ่งราชการส่วน
ท้องถิ่น)
• ชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ชุมชนท้องถิ่น ชุมชน มีสิทธิร่วมในการ
อนุรักษ์ จัดการ ใช้ประโยชน์
• ประชาชนมีส่วนร่วมในการจัดการกับรัฐและชุมชน เกี่ยวกับ
สิ่งแวดล้อม
15
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย กับการมีส่วนร่วมในการจัดการ
การใช้และอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
สิทธิและหน้าที่ในการใช้จัดการและอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ ของ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ชุมชน
ประชาชน
1
6
• รธน.มาตรา 66 บุคคลย่อมรวมกันเป็นชุมชน ชุมชน
ท้องถิ่น หรือชุมชนท้องถิ่นดั้งเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือ
ฟื้นฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปวัฒนธรรม
อันดีของท้องถิ่น และของชาติ และมีส่วนร่วมในการ
จัดการ การบารุงรักษา และการใช้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม รวมทั้งความหลากหลาย
ทางชีวภาพอย่างสมดุลและยั่งยืน
17
• มาตรา 67 สิทธิของบุคคลที่จะมีส่วนร่วมกับรัฐและชุมชนใน
การอนุรักษ์ บารุงรักษาและการได้ประโยชน์จาก
ทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ และใน
การคุ้มครองส่งเสริม และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพื่อให้ดารง
ชีพอยู่ได้อย่างปกติ และต่อเนื่อง ในสิ่งแวดล้อมที่จะไม่ก่อให้เกิด
อันตรายต่อสุขภาพอนามัย สวัสดิภาพ หรือคุณภาพชีวิตของตน
ย่อมได้รับความคุ้มครองตามความเหมาะสม
• ในรัฐธรรมนูญปี 2557 ไม่ได้มีบทบัญญัตินี้ จึงไม่อาจอ้างมา
เป็นข้อที่จะใช้สิทธิชุมชนโดยอาศัยรัฐธรรมนูญได้
18
• การดาเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชน
อย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมทรัพยากรธรรมชาติ และ
สุขภาพ จะกระทามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบต่อ
คุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชาชนในชุมชน และจัดให้มี
กระบวนการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนและผู้มีส่วนได้เสียก่อน
รวมทั้งได้ให้องค์กรอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชนด้าน
สิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันการศึกษาที่จัดการการศึกษา
ด้านสิ่งแวดล้อมหรือทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพให้ความเห็น
ประกอบก่อนมีการดาเนินการดังกล่าว
• สิทธิของชุมชนที่จะฟ้ องหน่วยราชการ หน่วยงานของรัฐ
รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่นหรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นนิติบุคคล
เพื่อให้ปฏิบัติตามมาตรานี้ย่อมได้รับความคุ้มครอง
19
• มาตรา 6 เพื่อประโยชน์ในการร่วมกันส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมของชาติบุคคลอาจมีสิทธิและหน้าที่ ดังนี้
• (1)ได้รับทราบข้อมูลและข่าวสารจากทางราชการในเรื่อง
เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เว้นแต่ข้อมูล
หรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษา
ความมั่นคงแห่งชาติ หรือเป็นความลับเกี่ยวกับสิทธิส่วนบุคคล
สิทธิในทรัพย์สิน หรือสิทธิในทางการค้า หรือกิจการของบุคคล
ใดที่ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย
20
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2535
• (2)การได้รับชดใช้ค่าเสียหาย หรือค่าทดแทนจากรัฐ ในกรณีที่
ได้รับความเสียหายจากภยันตรายที่เกิดจากการแพร่กระจายของ
มลพิษหรือภาวะมลพิษ อันมีสาเหตุมาจากกิจการหรือโครงการใดที่
ริเริ่มสนับสนุนหรือดาเนินการโดยส่วนราชการหรือรัฐวิสาหกิจ
• (3)การร้องเรียนกล่าวโทษผู้กระทาความผิดต่อเจ้าพนักงานในกรณี
ที่ได้พบเห็นการกระทาใด ๆ อันเป็นการละเมิดหรือฝ่ าฝืนกฎหมาย
เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษหรือการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
21
• (4) การให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเจ้าพนักงานในการ
ปฏิบัติหน้าที่ที่เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม
• (5) การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวกับการส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมโดย
เคร่งครัด
ทั้งนี้ตามที่พระราชบัญญัตินี้หรือกฎหมายว่าด้วยการนั้น
บัญญัติไว้
22
• 1.สิทธิของชุมชน มีสิทธิอย่างไรในรัฐธรรมนูญ เช่น
• สิทธิในการร่วมจัดการ การใช้และการตรวจสอบรัฐเกี่ยวกับการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติ
• 2.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีส่วนในการจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติในเขตและนอกเขตของตนอย่างไร
• 3.บุคคล มีสิทธิในการใช้ และมีหน้าที่ในการอนุรักษ์และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติอย่างไร จาเป็นต้องเป็นคนไทยหรือไม่
23
ให้วิเคราะห์ว่า ปัญหาดังต่อไปนี้โดยศึกษาว่ารัฐธรรมนูญและกฎหมายที่
เกี่ยวข้อง เปิดโอกาสให้ประชาชนและชุมชนในการจัดการอย่างไร
• ณรงค์ ใจหาญ,รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยกับการ
จัดการสิ่งแวดล้อม
• ณรงค์ ใจหาญ, หลักกฎหมายเกี่ยวกับการอนุรักษ์และ
การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
• กิตติศักดิ์ ปรกติ. สิทธิชุมชน
24
เอกสารที่ศึกษาเพิ่มเติม
• ป่ าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์ทั้งในด้าน
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศน์ เป็นที่อยู่อาศัยของ
สัตว์ป่ าและพรรณพืช และความหลากหลายทางชีวภาพ
• ผลผลิตของป่ าไม้ ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทาง
เศรษฐกิจ และมีความจาเป็นเพื่อการอุปโภคและบริโภค
• ป่ าไม้และสัตว์ป่ า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถ
ปลูกหรือเพาะพันธุ์ได้
25
หลักกฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
และสัตว์ป่า
• แนวทางการอนุรักษ์ ป่ าไม้และสัตว์ป่ า มีทั้งการ
กาหนดพื้นที่ การกาหนดพันธุ์ไม้ที่ห้ามตัด หรือ
การกาหนดพันธุ์สัตว์ที่ห้ามล่า หรือมีไว้ใน
ครอบครอง และการส่งเสริมให้เพาะพันธุ์เพื่อ
ทดแทนอันเป็นการลดความต้องการในการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ
26
• กระบวนการอนุรักษ์จัดการมีความพยายามให้
มนุษย์อยู่ห่างจากป่ าและสัตว์ป่ า เพราะมนุษย์
มักจะแสวงหาประโยชน์จากป่ าไม้และสัตว์ป่ าโดย
ไม่มีข้อจากัดเพื่อความจาเป็นหรือประโยชน์แห่ง
ตน
27
• มาตรการทางกฎหมายที่กาหนดไว้ในการอนุรักษ์
และจัดการป่ าไม้ และสัตว์ป่ า ให้อานาจเจ้าพนักงาน
ในการควบคุมการใช้ประโยชน์จากป่ าไม้ และการล่า
สัตว์ป่ าโดยกาหนดให้มีอานาจอนุญาตได้ในบางกรณี
แต่ห้ามเป็นหลัก นอกจากนี้ ยังให้เจ้าพนักงาน
อนุญาตในบางกรณีเพื่อประโยชน์ในการศึกษาหรือ
การขยายพันธุ์พืชหรือสัตว์
28
• กาหนดมาตรการบังคับไว้ สามประการ คือ 1.
ปกครอง โดยการออกระเบียบการเข้าใช้ การทา
ไม้ การเก็บหาของป่ า การให้สัมปทาน และการ
เพาะพันธุ์
• 2.อาญา มีอานาจเปรียบเทียบปรับ และจับ
ผู้กระทาผิด
29
• 3.แพ่ง นั้น ต้องดาเนินคดีแพ่งที่จะ
เรียกร้องค่าเสียหายจากการที่มีการ
ก่อให้เกิดมลพิษแก่ประชาชนหรือแก่
ทรัพยากรธรรมชาติ ตาม
พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.
2535 มาตรา 97
30
• กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรง
• พระราชบัญญัติป่ าไม้ พระพุทธศักราช
2484
• พระราชบัญญัติป่ าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.
2507
• พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ.
2535 31
2. มาตรการทางกฎหมาย
• พระราชบัญญัติสวนป่ า พ.ศ. 2535
• พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ พ.ศ. 2535
• กฎหมายลาดับรอง ที่ออกตามความในพระราชบัญญัติ
ข้างต้น ดูใน website ของกรมป่ าไม้ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
32
33
แนวคิด
• ป่ าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่มีประโยชน์ทั้งในด้าน
การรักษาสมดุลของระบบนิเวศน์ เป็นที่อยู่อาศัยของ
สัตว์ป่ าและพรรณพืช และความหลากหลายทางชีวภาพ
• ผลผลิตของป่ าไม้ ก่อให้เกิดประโยชน์และคุณค่าทาง
เศรษฐกิจ และมีความจาเป็นเพื่อการอุปโภคและบริโภค
• ป่ าไม้และสัตว์ป่ า เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สามารถ
ปลูกหรือเพาะพันธุ์ได้
34
• แนวทางการอนุรักษ์ ป่ าไม้ มีทั้งการกาหนด
พื้นที่อนุรักษ์ กาหนดชนิดพันธุ์ไม้ที่ห้ามตัด
การควบคุมการทาไม้ ขนส่งและค้าไม้ และการ
ส่งเสริมให้เพาะพันธุ์เพื่อทดแทนอันเป็นการลด
ความต้องการในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
35
• กระบวนการอนุรักษ์จัดการมีความพยายามให้
มนุษย์อยู่ห่างจากป่ า เพราะมนุษย์มักจะแสวงหา
ประโยชน์จากป่ าไม้โดยไม่มีข้อจากัดเพื่อความ
จาเป็นหรือประโยชน์แห่งตน
36
• มาตรการทางกฎหมายที่กาหนดไว้ในการอนุรักษ์
และจัดการป่ าไม้ ให้อานาจเจ้าพนักงานในการ
ควบคุมการใช้ประโยชน์จากป่ าไม้ โดยกาหนดให้มี
อานาจอนุญาตได้ในบางกรณี แต่ห้ามเป็นหลัก
นอกจากนี้ ยังให้เจ้าพนักงานอนุญาตในบางกรณีเพื่อ
ประโยชน์ในการศึกษาหรือการขยายพันธุ์พืชหรือ
สัตว์
37
• กาหนดมาตรการบังคับไว้ สามประการ คือ การ
บังคับทางปกครอง โดยการออกระเบียบการเข้า
ใช้ การทาไม้ การเก็บหาของป่ า การให้
สัมปทาน และการเพาะพันธุ์ ส่วนการบังคับ
ทางอาญา มีอานาจเปรียบเทียบปรับ และจับ
ผู้กระทาผิด
38
•ส่วนการบังคับในทางแพ่ง นั้น ต้อง
ดาเนินคดีโดยอาศัยกฎหมายส่งเสริม
และรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ
พ.ศ. 2535 มาตรา 97
39
• มีแนวโน้มจะให้ประชาชน องค์กรส่วนท้องถิ่น
ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้ องกันและ
ปราบปรามการทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ป่ า
ไม้และสัตว์ป่ า เช่น หมู่บ้านป่าไม้ การกระจาย
อานาจสู่ท้องถิ่น ป่าชุมชน เป็นต้น
40
1. พระราชบัญญัติป่าไม้พุทธศักราช
2484
• พ.ร.บ. ป่ าไม้ พุทธศักราช 2484 กาหนด
มาตรการควบคุมการทาไม้ การนาไม้เคลื่อนที่ การ
เก็บหาของป่ า การแปรรูปไม้ โดยรัฐ และกาหนด
ว่าไม้ชนิดใดเป็นไม้หวงห้าม
41
มาตรการควบคุมการทาไม้และดาเนินกิจการไม้
1. การทาไม้และการเก็บหาของป่ า กาหนดให้มีไม้หวงห้าม
สองประเภท
ประเภท ก. เป็นไม้หวงห้ามธรรมดา ซึ่งการทาไม้ประเภท ก.
นี้ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่หรือได้รับ
สัมปทานตามพระราชบัญญัตินี้
ประเภท ข. เป็นไม้หวงห้ามพิเศษ ได้แก่ไม้หายาก ซึ่งจะไม่
อนุญาตให้ทาไม้ เว้นแต่จะได้รับอนุญาตจากรัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและส่งแวดล้อม เป็นพิเศษ
42
2. การควบคุมการเก็บหาของป่ า
กาหนดของป่ าหวงห้ามโดยพระราชกฤษฎีกา (มาตรา 27
และมาตรา 28)
เมื่อมีผู้ประสงค์จะเก็บหาของป่ า ค้า หรือมีไว้ในครอบครองซึ่ง
ของป่ าหวงห้าม ต้องได้รับอนุญาตจากพนักงานเจ้าหน้าที่และ
ต้องเสียค่าภาคหลวง และต้องปฏิบัติตามข้อกาหนดใน
กฎกระทรวงหรือในการอนุญาต ตามที่กาหนดไว้ในมาตรา
29
43
3. การควบคุมการนาไม้หรือของป่ าเคลื่อนที่
กาหนดหลักเกณฑ์ที่ต้องปฏิบัติไว้ในมาตรา 38-40 โดยต้องมี
ใบเบิกทางของพนักงานเจ้าหน้าที่กากับไปด้วยตามที่กาหนดใน
กฎกระทรวง
ส่วนในฤดูน้าหลาก อาจมีไม้หวงห้ามไหลลอยมาตามลาน้า หากมีผู้ใด
จะเก็บไม้ไหลลอย ก็จะต้องดาเนินการตามประกาศที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกาหนด โดยการขอ
อนุญาตจากพนักงาเจ้าหน้าที่ตามมาตรา 23 วรรคสอง และหากจะ
ทาไม้ที่เก็บได้จากการไหลลอยนี้ ต้องดาเนินการตามหลักเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ด้วย
44
4. การควบคุมการแปรรูปไม้ กฎหมายใช้มาตรการควบคุมโดย
ประกาศเป็นเขตควบคุมการแปรรูปไม้ ตามมาตรา 47 และ
ภายในเขตดังกล่าว หากผู้ใดประสงค์จะแปรรูปไม้ ตั้งโรงงาน
แปรรูปไม้ ตั้งโรงค้าไม้ หรือมีไม้สักไว้ในครอบครองเป็น
จานวนเท่าใด หรือมีไม้ชนิดอื่น เป็นจานวนเกิน ๐.๒๐
ลูกบาศก์เมตร ไว้ในครอบครอง ต้องได้รับอนุญาตจาก
พนักงานเจ้าหน้าที่ และต้องปฏิบัติให้ถูกต้องตามหลักเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ในกฎกระทรวงและใบอนุญาต
45
5. การแผ้วถางป่ า กฎหมายกาหนดห้ามมิให้ผู้ใด ก่นสร้าง แผ้ว
ถาง เผาป่ าหรือกระทาด้วยประการใดๆ อันเป็นการทาลายป่ า
หรือเข้ายึดถือหรือครอบครองป่ าเพื่อตนเองหรือผู้อื่นเว้นแต่
จะกระทาในเขตที่จาแนกประเภทเกษตรกรรม และ
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา หรือได้รับอนุญาตจาก
พนักงานเจ้าหน้าที่ ตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ในกฎกระทรวง
ในมาตรา 54
46
พ.ร.บ. ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507
• หลักการแยกออกได้สามประการ
• ประการแรก เป็นการสงวนพื้นที่ป่ าเพื่อให้ได้จานวนตาม
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
• ประการที่สอง ต้องการสงวนพื้นที่ป่ าเพื่อคุ้มครอง ป้ องกัน และ
รักษาทรัพยากรธรรมชาติอันมีค่าของประเทศ
• ประการที่สาม เพื่อคุ้มครองป้ องกันและรักษาไว้ซึ่งอาชีพ
เกษตรกรรมของประชาชนส่วนใหญ่ และเศรษฐกิจของประเทศ
มิให้ได้รับผลกระทบจากการทาลายป่ า
47
1.กาหนดเขตคุ้มครองเป็นเขตป่ าสงวนแห่งชาติ
โดยอานาจของรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประกาศเป็น
กฎกระทรวง ตามมาตรา 6 วรรคสอง
2. การควบคุมและรักษาป่ าสงวนแห่งชาติ
กาหนดไว้ในมาตรา 14-30
48
3. กาหนดให้ พนักงานเจ้าหน้าที่ ออกคาสั่งเพื่อให้ผู้ที่บุก
รุกเข้ามาในเขตป่ าสงวนแห่งชาติ ออกไปจากป่ าสงวน
แห่งชาติหรืองดเว้นการกระทาใดๆ ในเขตดังกล่าวได้
หากมีข้อเท็จจริงหรือมีเหตุอันควรสงสัยว่ากระทา
ความผิดตามพระราชบัญญัตินี้ (มาตรา 25) และมี
อานาจในการจับกุม ผู้กระทาความผิดตามมาตรา 26
49
3. พรบ.สวนป่ า พ.ศ. 2535
• กาหนดมาตรการในการที่เอกชนสามารถปลูกป่ าเพื่อ
ใช้ในทางเศรษฐกิจได้ ในที่ดินของตนหรือของรัฐ
โดยต้องขออนุญาต และผลผลิตที่ได้สามารถนาไปใช้
ประโยชน์ได้ตามกฎเกณฑ์ที่กาหนด
50
1.เมื่อได้ขึ้นทะเบียนเป็นสวนป่ าแล้วมีสิทธิปลูกและทา
ไม้ และแปรรูปไม้หวงห้ามได้ ตามกฎหมายป่ าไม้
2. ที่ดินที่จะขอขึ้นทะเบียน เป็นไปตามมาตรา 4 ที่ดิน
เอกชน ที่ดินที่มีหนังสือรับรองการทาประโยชน์ ที่ดินใน
เขตป่ าสงวนที่ให้ทาการปลูกป่ า ที่ดินของทางราชการที่
ปลูกป่ า ที่ดินในเขตปฏิรูปที่ดิน
3. หากจะปลูกป่ าเพื่อการค้าต้องขอจดทะเบียนตาม
มาตรา 5
51
การทาไม้และได้ประโยชน์จากไม้ในสวนป่า
• มาตรา 9 มีตราเพื่อแสดงความเป็นเจ้าของไม้
• มาตรา 10 ทาไม้ที่ได้จากสวนป่ าได้ โดยการตัด โค่น
แปรรูปไม้ ค้าไม้ มีไว้ในครอบครอง นาไม้เคลื่อนที่ได้
• แต่ถ้าจะตั้งโรงงานแปรรูปไม้ต้องขออนุญาตตาม
กฎหมายป่ าไม้
• มาตรา 11 ก่อนการตัดไม้ จะต้องแจ้งพนักงานเพื่อออก
หนังสือรับรองการแจ้ง แล้วจึงดาเนินการตัดโค่นไม้ได้
52
• มาตรา 12 การตัดโค่นไม้ ต้องมีหนังสือรับรองการแจ้ง
ตามมาตรา 11 เพื่อแสดงต่อเจ้าหน้าที่
• มาตรา 13 การนาไม้เคลื่อนที่ออกจากสวนป่ า ต้องมี
หนังสือรับรองการแจ้ง ตลอดจนบัญชีแสดงรายการไม้
กากับไปด้วยตลอดเวลาที่นาไม้เคลื่อนที่
• มาตรา 14 ไม้ที่ได้มาจากสวนป่ า ไม่ต้องเสีย
ค่าภาคหลวง
53
• ที่ดินที่ได้รับอนุมัติให้เป็นสวนป่า หากมีการ
เปลี่ยนเจ้าของหรือผู้ครอบครอง และผู้ที่
เจ้าของใหม่หรือทายาทประสงค์จะทาสวนป่า
ต่อไป จะต้องแจ้งการรับโอนทะเบียนต่อนาย
ทะเบียน ภายใน 180 วันนับแต่วันที่ผู้ทา
สวนป่าตาย หากเกินกว่านั้น ถือว่าทะเบียนการ
ทาสวนป่าสิ้นสุดลง ตามมาตรา19
54
• ไม้ที่ได้มาจากสวนป่ า ผู้ที่รับโอนต้องมีหลักฐานการได้มาโดย
ชอบ และตามระเบียบที่อธิบดีกาหนด
• ไม้ที่ได้รับโอนมาดังกล่าวผู้รับโอนมีสิทธิครอบครอง นาเคลื่อนที่
แต่แปรรูปไม้ต้องเป็นไปตามกฎหมายป่ าไม้
• ให้ถือว่า ไม้ที่ได้มาจากการทาสวนป่ าเป็นไม้ที่รับอนุญาตให้ทา
สวนป่ า การควบคุม การแปรรูป ไม้ แห่งพรบ.ป่ าไม้ อาจมีไว้ใน
ครอบครองได้ (มาตรา 21)
55
การบังคับใช้กฎหมาย
• ข้อจากัดเรื่องบุคคลากร งบประมาณ และ
ความตระหนักในความสาคัญของการอนุรักษ์
ป่ าไม้และสัตว์ป่ า
• ช่องว่างในกฎหมายที่ยังไม่มีมาตรการคุ้มครอง
ที่รัดกุม และเปิดการใช้ดุลพินิจกว้าง
56
• ปัญหาการละเว้นไม่บังคับใช้กฎหมาย / ปัญหาความ
ยากจน / ปัญหาผู้มีอิทธิพล นักการเมือง องค์กร
อาชญากรรม / ลักลอบตัดไม้ หรือเผาป่ า เก็บหาของป่ า
• การรุกรานของประเทศที่ต้องการทรัพยากรเพื่อหา
ประโยชน์
• ขาดการมีส่วนร่วมและประสานงานของรัฐ เอกชน ชุมชน
และประชาชน
57
การดาเนินคดีป่าไม้
• ศาลยกฟ้ อง หากพื้นที่นั้นไม่ใช่ป่ าไม้
• ศาลยกฟ้ อง หากผู้ที่บุกรุกไม่รู้ว่าเป็นเขตป่ าไม้ แต่หาก
ครั้งแรกไม่รู้แต่ภายหลังรู้แล้วต้องถือว่ามีเจตนา
• การชักลากไม้ ถือเป็นการทาไม้ ฎ.1118/2541
• ทรัพย์ที่ใช้ในการตัดไม้ เป็นทรัพย์ที่ใช้ในการกระทาผิด
ต้องริบ แต่หากไม่ใช่ของผู้กระทา และไม่รู้เห็นเป็นใจ ไม่
ริบ
58
การดาเนินคดีป่าไม้
• กรณีชาวบ้านตัดไม้ จานวนน้อย รอการลงโทษแต่ถ้าเป็น
นายทุน ลงโทษโดยไม่รอ
• การแปรรูปไม้ เป็นความผิดต่อเนื่อง
• ดายหญ้าในเขตป่ าสงวน เป็นการเข้าไปแผ้วถาง ผิด
2914/14
• กรณีที่เป็นไปหา คือแนวเขตไม่ชัด จึงอ้างขาดเจตนาบุก
รุกได้
• ทรัพย์ที่ริบ หากเช่าชื้อมา ก็ริบไม่ได้
•กฎหมายอุทยานแห่งชาติ กาหนดเขต
อุทยานแห่งชาติไว้ เพื่อเปิดโอกาสให้
ประชาชนได้ชมความงดงามทาง
ธรรมชาติ และรักษาไว้ซึ่งสภาพป่ า
เพื่อความสมดุลทางนิเวศ
59
• กาหนดให้มีการประกาศเขตอุทยานแห่งชาติเพื่อการคุ้มครอง
ระบบนิเวศ และสงวนรักษาไว้ซึ่งทรัพยากรธรรมชาติ
• โดยหลักห้ามมิให้เข้าไปหรือบุกรุก หรือเก็บสิ่งใดๆ อันจะกระทบ
ต่อระบบนิเวศในอุทยานแห่งชาติ
• มีข้อยกเว้นให้ประชาชนเข้าชมความงาม ได้เพื่อการนันทนาการ
• การเข้าไปศึกษาทางวิชาการ
• ปัจจุบันมีแผนการจัดการอุทยานแห่งชาติในหลายๆ แห่งเพื่อการ
จัดการที่มีประสิทธิภาพและเป็นระบบ
60
หลักการควบคุมกิจกรรมในอุทยานแห่งชาติ
• กฎหมายว่าด้วยการสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า กาหนด
มาตรการคุ้มครองไว้สองประการ ประการแรก
กาหนดชนิดของสัตว์ที่ต้องการสงวนและคุ้มครอง
โดยแยกเป็นสัตว์ป่ าสงวนซึ่งหายากและใกล้จะสูญ
พันธุ์ กับสัตว์ป่ าคุ้มครอง ซึ่งในกรณีหลังเป็นสัตว์ที่
สามารถให้มนุษย์ครอบครองได้ในจานวนที่กฎหมาย
กาหนด
61
• ประการที่สอง กาหนดพื้นที่เขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่ าเพื่อให้เป็นที่อยู่อาศัย แพร่พันธุ์และ
หลบภัยของสัตว์ป่ า โดยหลักแล้วห้ามมนุษย์
เข้าไปเว้นแต่จะเป็นการปฏิบัติงานในหน้าที่
หรือการศึกษาทางวิชาการ
62
• กฎหมายส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ เป็นกฎหมายที่อุดช่องว่างของกฎหมาย
เฉพาะ จึงให้อานาจรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมกาหนดเขต
คุ้มครองสิ่งแวดล้อมและกาหนดมาตรการคุ้มครอง
พื้นที่ที่ควรได้รับการอนุรักษ์แต่ยังไม่มีการกาหนดให้
เป็นเขตอนุรักษ์ตามกฎหมายข้างต้น
63
•กฎหมายสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่ า ให้
เอกชนสามารถครอบครองสัตว์ป่ า
คุ้มครองได้มากกว่าที่กาหนด และ
สามารถเพาะพันธุ์เพื่อใช้ประโยชน์ได้
แต่ต้องขออนุญาต จากเจ้าพนักงาน
64
• ข้อจากัดเรื่องบุคคลากร งบประมาณ และ
ความตระหนักในความสาคัญของการอนุรักษ์
ป่ าไม้และสัตว์ป่ า
• ช่องว่างในกฎหมายที่ยังไม่มีมาตรการคุ้มครอง
ที่รัดกุม และเปิดการใช้ดุลพินิจกว้าง
65
4. การบังคับใช้กฎหมาย
• ปัญหาการละเว้นไม่บังคับใช้กฎหมาย / ปัญหาความยากจน /
ปัญหาผู้มีอิทธิพล
• การรุกรานของประเทศที่ต้องการทรัพยากรเพื่อหาประโยชน์
• ขาดการมีส่วนร่วมและประสานงานของรัฐ เอกชน ชุมชนและ
ประชาชน
66
•ความหมาย
•วัตถุประสงค์
•มาตรการในการอนุรักษ์
•กฎหมายไทยกับการอนุวัตให้เป็นไป
ตามอนุสัญญาฯ
67
อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
• หมายถึง นานาชีวิต นานาพันธุ์ที่อยู่ในนิเวศ
หรือแหล่งที่อยู่อาศัยที่แตกต่างหลากหลายทั่ว
โลก ทุกชีวิตมนุษย์ได้พึ่งพาความหลากหลาย
ทางชีวภาพ โดยผ่านกระบวนการนับไม่ถ้วน
ความหลากหลายทางชีวภาพเป็นสิ่งจาเป็น
สาหรับการเกษตร ยารักษาโรค การประมง
และการรักษาความสมดุลของระบบนิเวศ
68
ความหมาย
•การสูญสลายของพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์เป็น
จานวนมากด้วยเวลาอันรวดเร็ว
•ในศตวรรษหน้า โลกจะสูญเสียพันธุ์พืช
และพันธุ์สัตว์ไปร้อยละ 50 ถ้าไม่มีการ
ร่วมมือกันในการอนุรักษ์ทั่วโลก
69
• ความยากจนในประเทศที่กาลังพัฒนาเป็นสาเหตุใน
การทาลายสภาพแวดล้อม
• การใช้อานาจอธิปไตยของประเทศใดประเทศ
หนึ่งในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ ก่อให้เกิดความ
เสียหายแก่สิ่งแวดล้อมโดยรวม
70
• เพื่ออนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ
• เพื่อใช้ประโยชน์องค์ประกอบของความ
หลากหลายทางชีวภาพอย่างยั่งยืนและ
• เพื่อแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้
ทรัพยากรพันธุ์กรรมอย่างเท่าเทียมและ
ยุติธรรม
71
วัตถุประสงค์
• พื้นที่ชุ่มน้า Ramsar Convention
1971
• มรดกโลกทางวัฒนธรรมและธรรมชาติ 1972
• การค้าระหว่างประเทศว่าด้วยสัตว์ป่าและพืชป่าที่
ใกล้สูญพันธุ์ CITES 1973
• การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่อพยพย้ายถิ่น
Bonn convention 1979
72
อนุสัญญาที่เกิดขึ้นมาก่อนคุ้มครองเฉพาะเรื่อง
• กาหนดกรอบนโยบายกว้าง ๆ แต่ละประเทศที่เป็น
ภาคีต้องไปกาหนดกรอบนโยบายและแผนการ
ดาเนินงานเอง
• ให้เครื่องมือในการดาเนินงานโดยมีกองทุน
สิ่งแวดล้อมโลกเพื่อสนับสนุนประเทศที่กาลัง
พัฒนาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ของอนุสัญญา
• กาหนดพันธะกรณีที่จะให้บรรลุผลตามอนุสัญญา
73
มาตรการในการอนุรักษ์
• กาหนดพันธะกรณีที่จะให้บรรลุผลตาม
อนุสัญญา
• การอนุรักษ์ความหลากหลายฯ ในถิ่นที่อยู่อาศัยตาม
ธรรมชาติ เช่น การจัดตั้งระบบพื้นที่คุ้มครอง หรือ
พื้นที่ที่ต้องมีมาตรการพิเศษเพื่อการสงวนรักษาความ
หลากหลายทางชีวภาพและกาหนดมาตรการเฉพาะ
เรื่องอีกมากกว่าสิบมาตรการ
74
•การอนุรักษ์นอกถิ่นที่อยู่อาศัยตาม
ธรรมชาติ โดยวางมาตรการบารุงและ
พื้นฟูชนิดพันธุ์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และ
นากลับไปสู่ถิ่นที่อยู่ตามธรรมชาติ
75
• ภาคีต้อง ผสานการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์ทาง
ชีวภาพอย่างยั่งยืนให้เข้ากับนโยบายและแผนของ
ชาติ
• ต้องสนับสนุนให้ชุมชนท้องถิ่นในการจัดทา
แผนปฏิบัติตามมาตรการแก้ไขฟื้นฟูในพื้นที่เสื่อม
โทรม
• ต้องส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานของรัฐ
ภาคเอกชนในการพัฒนาวิธีการใช้ประโยชน์ 76
เพื่อให้มีความหลากหลายฯอย่างยั่งยืน
• อานาจในการพิจารณาการเข้าถึงทรัพยากรพันธุ์กรรมเป็น
อานาจของรัฐบาลแห่งชาตินั้น
• ภาคีต้องสร้างเงื่อนไขเพื่อให้ประเทศต่าง ๆ เข้าถึง
ทรัพยากรธรรมชาติพันธุ์กรรม หากเป็นการใช้ประโยชน์
อย่างเหมาะสมต่อสิ่งแวดล้อม
• วางกลไกต่อรองผลประโยชน์บนเงื่อนไขการตกลง
ร่วมกันของผู้ให้และผู้ขอใช้
77
การแบ่งปันผลประโยชน์ที่ได้จากการใช้ทรัพยากรที่
ยุติธรรมและเท่าเทียม
• ประเทศซึ่งเป็นผู้ให้ทรัพยากรพันธุกรรมได้รับถ่ายทอด
เทคโนโลยีซึ่งใช้ทรัพยากรพันธุกรรมจากประเทศผู้รับ
ทั้งนี้บนพื้นฐานแห่งความยุติธรรมและความเสมอภาค
• สนับสนุนทางการเงินให้ภาคีประเทศพัฒนาแล้วจัดหา
แหล่งเงินทุนใหม่เพิ่มเติม ซึ่งมีผลให้ภาคีประเทศที่กาลัง
พัฒนาสามารถได้รับการสนับสนุนเพื่อดาเนินการตาม
มาตรการอนุรักษ์ตามอนุสัญญา
78
• ประเทศไทยได้ให้สัตยาบันแล้ว เมื่อ 29
มกราคม 2547 ผ่านความเห็นชอบจาก
รัฐสภา เพราะการเข้าเป็นภาคีต้อง
เปลี่ยนแปลงกฎหมายไทยบางประการ
• กฎหมายไทยที่เอื้ออานวยต่อการอนุวัต
ตามอนุสัญญาฯ
79
4. กฎหมายไทยกับการอนุวัตตามอนุสัญญาฯ
• กฎหมายไทยที่เอื้ออานวยต่อการอนุวัตตามอนุสัญญาฯ
• รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ม. 79
• พระราชบัญญัติป่าไม้พุทธศักราช 2484 กาหนด
ชนิดและพันธุ์ไม่หวงห้าม
80
• พ.ร.บ. ประมง พ.ศ. 2490 กาหนดที่รักษา
พันธุ์พืช และการห้ามนาเข้าสัตว์น้าบางชนิดที่
เป็นอันตราย ห้ามจับปลาในฤดูวางไข่
• พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504
กาหนดเขตอุทยานแห่งชาติ และการห้ามเก็บหา
ของป่า แต่ก็ให้เข้าไปเพื่อศึกษาทางวิชาการได้
81
• พ.ร.บ. ป่าสงวนแห่งชาติ พ.ศ.2507
กาหนดห้ามเก็บหาของป่า แต่สามารถขอ
อนุญาตเพื่อเข้าไปศึกษาได้
• พ.ร.บ.กักพืช พ.ศ. 2507 และฉบับ 2
พ.ศ. 2537 ควบคุมพืชที่เป็นอันตราย
82
• พ.ร.บ.บารุงพันธุ์สัตว์พ.ศ. 2509 ป้องกัน
และควบคุมสัตว์สงวนพันธุ์เพื่อใช้ทาพันธุ์
• พ.ร.บ. พันธุ์พืช พ.ศ. 2518 และฉบับ 2
พ.ศ. 2535 กาหนดพันธุ์พืชต้องห้าม และ
ควบคุมพันธุ์พืชตาม CITES ที่ต้องขอ
อนุญาต
83
• พ.ร.บ.สิทธิบัตร พ.ศ. 2522 คุ้มครอง
การถ่ายทอดเทคโนโลยี
• พ.ร.บ. การส่งออกไปนอกหรือนาเข้าใน
ราชอาณาจักรซึ่งสินค้า พ.ศ. 2522
ควบคุมการนาเข้าส่งออก ซากสัตว์ปลา
ทะเล เป็นต้น
84
• พ.ร.บ.พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีพ.ศ.
2534 เปิดโอกาสให้สารวจวิเคราะห์ทางวิชาการ
และสนับสนุนให้ประเทศไทยสามารถถ่ายทอด
เทคโนโลยีกับต่างประเทศ
• พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
คุ้มครองถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ กาหนดสัตว์ป่า
หายาก ควบคุมการนาเข้าส่งออกสัตว์ป่าหายาก
85
• พ.ร.บ.พัฒนาการทางวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีพ.ศ.
2534 เปิดโอกาสให้สารวจวิเคราะห์ทางวิชาการ
และสนับสนุนให้ประเทศไทยสามารถถ่ายทอด
เทคโนโลยีกับต่างประเทศ
• พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
คุ้มครองถิ่นที่อยู่อาศัยตามธรรมชาติ กาหนดสัตว์ป่า
หายาก ควบคุมการนาเข้าส่งออกสัตว์ป่าหายาก
86
•พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ.2535
กาหนดให้ประกาศเขตพื้นที่คุ้มครอง
สิ่งแวดล้อมและมาตรการฉุกเฉินได้
•มีกองทุนสิ่งแวดล้อมที่เปิดโอกาสให้
เป็นเงินช่วยเหลือได้
87
• พ.ร.บ. สวนป่า พ.ศ. 2535 กาหนดการปลูกสร้าง
สวนป่า
• พ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 คุมครองพันธุ์พืช
พื้นเมืองหรือเฉพาะถิ่น และควบคุมการศึกษาทดลองและ
วิจัย
• ร่าง พรบ.ป่าชุมชน ... ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วม
ในการจัดการป่าไม้
88
• เกิดมีประเทศที่พัฒนาแล้วเข้ามาในประเทศที่กาลัง
พัฒนาและอาศัยความไม่รู้ของประเทศกาลังพัฒนา
หยิบฉวยทรัพยากรไปแล้วดาเนินการอ้างสิทธิใน
การเข้าใช้และหวงกันสิทธิของตนตามกฎหมาย
สิทธิบัตร
• ดังนั้น ประเทศไทยจึงออกพ.ร.บ. คุ้มครองและ
ส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย พ.ศ.
2542 ขึ้นเพื่อปกป้องสิทธิดังกล่าว 89
กฎหมายที่ออกมาเพื่อปกป้อง
• การพิสูจน์ว่าพืชชนิดนี้เป็นของประเทศใด จาต้องมี
ผู้ชี้ขาดเพื่อมิให้ใครมากล่าวอ้างได้ดังนั้น ประเทศ
ไทยจึงมีพ.ร.บ. คุ้มครองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์
พ.ศ. 2546 ขึ้นเพื่อคุ้มครองสิทธิดังกล่าว
• พ.ร.บ.คุ้มครองพันธุ์พืช พ.ศ. 2542 คุ้มครอง
พันธุ์พืชป่า พันธุ์พืชทางการตัดต่อฯ ให้ได้รับ
สิทธิบัตรฯ
90
การจัดการน้าและการควบคุมมลพิษทางน้า
1.การอนุรักษ์ จัดการ และการใช้ประโยชน์ทรัพยากรน้า
2.กฎหมายที่เกี่ยวกับการอนุรักษ์และ
การจัดการน้า
3.กฎหมายที่ควบคุมมลพิษทางน้า
9
1
• พื้นฐานและแนวคิด
• น้าเป็นทรัพยากรธรรมชาติที่ไม่เป็นของเอกชน และ
ประชาชนมีสิทธิใช้ได้ตามความจาเป็น
• น้าที่ได้รับการพัฒนา สามารถกาหนดมาตรการหวง
กันหรือคุ้มครองได้
• กาหนดเกณฑ์ห้ามการกระทาอันเป็นอุปสรรคต่อ
การใช้น้าของส่วนรวม
92
การอนุรักษ์จัดการ และการใช้ประโยชน์
• แนวทางการจัดการน้า มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและจัดการ
โดยใช้คณะกรรมการลุ่มน้า
• กฎหมายยังขาดมาตรการจัดสรรน้าเมื่อยามขาดแคลน
• กฎหมายยังไม่มีการควบคุมการใช้น้าในปริมาณมาก
• องค์กรในการรับผิดชอบต่อการบริหารจัดการน้ายัง
กระจัดกระจาย
93
• มีจานวนมาก เพราะกฎหมายออกมาเพื่อ
อนุรักษ์และจัดการน้าในแต่ละประเภทการ
ใช้และมีหน่วยงานที่รับผิดชอบเฉพาะ ไม่
ว่าจะเป็นส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น
รวมถึงน้าในทะเล น้าในเขตอนุรักษ์ป่าหรือ
สัตว์ป่า น้าบาดาล แต่ยังไม่มีน้าในอากาศ
94
กฎหมายเกี่ยวกับน้า
• มาตรา 1336 แดนกรรมสิทธิ์
• มาตรา 1339 เจ้าของที่ดินต้องรับน้า
ไหลตามธรรมดา
• มาตรา 1340 เจ้าของที่ดินต้องรับน้าซึ่ง
ไหลเพราะระบายจากที่ดินสูงมาในที่ดิน
ของตน
95
กฎหมายแพ่งว่าด้วยการใช้น้า
•มาตรา 1355 เจ้าของที่ดินริมทางน้า
หรือมีน้าไหลผ่านไม่มีสิทธิชักน้าไว้เกิน
กว่าประโยชน์ของคนตามสมควร ให้เป็น
เหตุให้เสื่อมเสียแก่ที่ดินซึ่งอยู่ตามทางน้า
นั้น
96
• น้าใช้ในการเกษตร – พ.ร.บ. การชลประทานหลวง
พ.ศ. 2484
• พ.ร.บ. การชลประทานราษฎร์ พ.ศ. 2482
• น้าใช้ในการเดินเรือ – พ.ร.บ.การเดินเรือในน่านน้า
ไทย พ.ศ. 2456
• น้าใช้ในการประปา – พ.ร.บ.รักษาคลองประปา พ.ศ.
2526
97
• น้าใช้ในอุตสาหกรรม – พ.ร.บ. ส่งเสริมและ
รักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมฯ , พ.ร.บ. โรงงาน
พ.ศ. 2535
• น้าบาดาล – พ.ร.บ. น้าบาดาล พ.ศ. 2520
• น้าทั่วไป พ.ร.บ. ประมง พ.ศ. 2490
98
• น้าเป็นของใคร / รัฐ ประชาชน ชุมชน
• น้าใต้ดิน ใต้ที่ดินของเอกชน
• น้าที่ไหลผ่านที่ดินของเอกชน
• น้าคลองชลประทาน / คลองประปา/ น้าแหล่งต้น
น้า
ลาธาร
• น้าในทะเล / น้าบริสุทธิ์ดื่มได้ 99
ข้อจากัดในการควบคุมการใช้น้า
แหล่งข้อมูล กรมทรัพยากรน้า รวมกฎหมาย
ทรัพยากรน้า รวบรวมโดยกลุ่มงานนิติการ กรม
ทรัพยากรน้า, ส.ค. 2546
อานาจ วงศ์บัณฑิต และคณะ รายงานฉบับสุดท้าย
โครงการปรับปรุงกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรน้า
และจัดทาร่างพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า,
เสนอต่อกรมทรัพยากรน้า ส.ค. 2547
100
หลักกฎหมายที่เกี่ยวกับทรัพยากรน้า
• ใครมีสิทธิในการใช้น้า
• น้าสาธารณะ น้าในเขตชลประทาน น้าที่ใช้ทา
ประปา น้าในอ่างเก็บน้า น้าใต้ดิน น้าในป่า
น้าเพื่อการเดินเรือ
• ใครมีสิทธิจากัดสิทธิการใช้น้ามากเกินไป / ใช้
น้าขณะเกิดภัยแล้ง
101
ประเด็นที่จะพิจารณา
• หน่วยงานและองค์กรใดดูแลการใช้น้า และบารุงรักษา
น้า
• กรมทรัพยากรน้า กรมทรัพยากรน้าบาดาล กรม
ชลประทาน การประปาส่วนนครหลวง/ส่วนภูมิภาค
การไฟฟ้าฯ กรมป่าไม้กรมอุทยานฯ กรมประมง ฯลฯ
• องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
102
• โรงงานสูบน้าจากแม่น้าเจ้าพระยาเข้าไปใช้ใน
กระบวนการผลิตจานวนมากเพื่อให้เพียงพอแก่การ
ผลิตอุตสาหกรรม
• เจ้าของสนามกอล์ฟ สูบน้าเพื่อรดต้นหญ้า
• ชาวนาทานาปรัง และทานาปีละ 3 ครั้งโดยสูบน้า
ใต้ดิน
• ชาวบ้านลักลอบสูบน้าจากคลองชลประทาน
103
กฎหมายในปัจจุบันแก้ปัญหาอย่างไร
• ให้ศึกษาร่างพระราชบัญญัติทรัพยากรน้า ฉบับที่ยกร่างโดยอนุกรรมการยกร่าง
พ.ร.บ.น้า ปี 2553 โดยพิเคราห์ประเด็นดังต่อไปนี้
• กฎหมายแม่บทเกี่ยวกับทรัพยากรน้า
• ซึ่งกล่าวถึงการใช้น้า การพัฒนา การบริหารจัดการ
การบารุงรักษา การฟื้นฟู และการอนุรักษ์ทรัพยากร
น้า กาหนดไว้โดยเฉพาะ ก็ให้ดาเนินการตาม
กฎหมายเฉพาะนั้น
104
วิเคราะห์การมีกฎหมายเพื่อจัดการน้าของไทยในอนาคตสาระสาคัญ
ของร่างทรัพยากรน้าฯ
• 1.หลักเกณฑ์และมาตรการในการรับประกันสิทธิขั้นพื้นฐาน
ของประชาชนในการเข้าถึงน้า การควบคุมการใช้น้า การบริหาร
จัดการน้า การใช้น้าอย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน การพัฒนา
การคุ้มครอง ฟื้นฟูและอนุรักษ์แหล่งน้า การป้ องกันและแก้ไข
ปัญหาน้าท่วมและน้าขาดแคลน การตั้งกองทุนทรัพยากรน้า
• 2.การกระจายอานาจ การบริหารจัดการไปยังคณะกรรมการลุ่ม
น้า และการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการบริหารจัดการน้า
105
หลักการสาคัญของร่าง พ.ร.บ.น้า
• สิทธิในการใช้น้า อานาจของรัฐ และสิทธิของประชาชน ชุมชน
เป็นอย่างไร
• หลักประกันสิทธิในการใช้น้าของประชาชนเท่าที่จาเป็น
แต่มีข้อจากัดโดยการที่ต้องไม่กระทบสิทธิของผู้อื่นด้วย
• อันเป็นการควบคุมการใช้น้าในที่ดินของตนที่มีปริมาณ
มากเกินไปจนกระทบสิทธิการใช้น้าของผู้อื่น แต่ไม่
กระทบสิทธิในการใช้น้าของตนเท่าที่จาเป็นเพื่อการยังชีพ
หรือในครัวเรือน
• การจัดสรรน้าในกรณีน้าขาดแคลนเป็นอย่างไร 106
ประเด็นที่พิจารณา
•ขอให้แบ่งกลุ่มเป็นสองกลุ่ม วิเคราะห์
ร่างพ.ร.บ.น้า ตามหัวข้อข้างต้น แล้ว
นาเสนอความเห็น กลุ่มละ 30 นาที
107
กิจกรรมกลุ่ม
• มีระบบการควบคุมทั้งมาตรการป้องกันและ
มาตรการควบคุม
• การป้องกันนั้น มีมาตรการในการจัดทารายงาน
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการจัดทาแผน
จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม ระดับชาติและ
ระดับจังหวัด โดยเฉพาะในเขตควบคุมมลพิษ
108
3. กฎหมายที่เกี่ยวกับการควบคุมมลพิษทางน้า
• มาตรการควบคุม กาหนดให้มีการตรวจมาตรฐาน
คุณภาพน้าในแหล่งน้าต่าง ๆ เพื่อให้ทราบถึงคุณภาพน้าที่
ใช้ในการอุปโภคหรือบริโภค
• กาหนดมาตรฐานคุณภาพน้าที่จะระบายทิ้งจาก
แหล่งกาเนิดมลพิษ
• กาหนดห้ามการก่อให้เกิดมลพิษทางน้า
• กาหนดมาตรการในการแก้ไข ขจัด ฟื้นฟู น้าที่เกิดมลพิษ
109
• จัดให้มีการจัดทาระบบบาบัดน้าเสียรวมโดยองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น หรือระบบบาบัดน้าเสียที่ได้
มาตรฐานเป็นคนตนเองของแหล่งกาเนิดมลพิษ
• กาหนดมาตรการบังคับทางกฎหมาย ทั้งทางแพ่ง ทาง
อาญาและปกครองเพื่อป้ องกัน ระงับการก่อมลพิษทางน้า
• กาหนดให้มีการประสานการทางานระหว่างเจ้าพนักงานที่
เกี่ยวข้องในการควบคุมมลพิษทางน้า
110
• ความซ้าซ้อนของหน่วยงานที่รับผิดชอบ
• ขาดการควบคุมมลพิษทางน้าอย่างจริงจัง
• กฎหมายยังไม่ครอบคลุมแหล่งกาเนิดมลพิษ
ทุกกรณี
• ยังมีการละเมิดกฎหมายอยู่เสมอ
• กฎหมายลาดับรองยังไม่ออกมารองรับ
111
ปัญหาการควบคุมมลพิษทางน้า
• ใช้มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ เพื่อจูงใจให้
ผู้ก่อมลพิษร่วมมือในการรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อม
• ใช้มาตรการกากับแทนการควบคุมเข้มงวด
• ใช้การให้แหล่งกาเนิดจัดการมลพิษด้วย
ตนเอง
112
แนวทางการควบคุมมลพิษทางน้า
• ลงโทษรุนแรงสาหรับผู้ฝ่าฝืนโดยใช้ทั้ง
มาตรการอาญา แพ่งและปกครอง
• ประจาน ห้ามประกอบอาชีพ
• สร้างจิตสานึก/ วัฒนธรรมในการเคารพ
กฎหมาย
• ใช้มาตรการจัดการโดยจัด zoning
113
การอนุรักษ์ทรัพยากรประมง
และการจัดการชายฝั่ง
1
1
•ประมงน้าจืด
•ประมงทางทะเล
115
ประเภท
• แหล่งน้าตามธรรมชาติมีสภาพเสื่อมโทรม
• การประสานงานในระหว่างหน่วยงานที่
เกี่ยวข้องมีไม่เพียงพอ
• ยังขาดวิธีการและเทคโนโลยีที่เหมาะสมในการ
บริหารแหล่งน้า
116
สภาพปัญหาของประมงน้าจืด
•ยังขาดการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับระบบ
เพาะเลี้ยงที่สมบูรณ์
•มีปัญหาด้านมลพิษทางน้า
•มีปัญหาทางด้านการตลาด
117
• มีแนวโน้มในการเพาะเลี้ยงชายฝั่งสูงขึ้น เช่น
การเลี้ยงกุ้ง ปลากะพง ปลากะรัง หอย ปู และ
สาหร่ายทะเล
• ปริมาณสัตว์น้าในแหล่งธรรมชาติลดลง
• ผู้เลี้ยงยังขาดความรู้ในการเพาะเลี้ยง
• มีการขยายพื้นที่ในการเพาะเลี้ยงชายฝั่งมากขึ้น
118
การเพาะเลี้ยงชายฝั่ง
• การเพาะเลี้ยงก่อให้เกิดมลพิษของน้าทะเลใน
บริเวณชายฝั่ง
• การประมงในเขตอ่าวไทยมีปัญหาวิกฤตเพราะ
สภาพทรัพยากรสัตว์น้าอยู่ในสภาพเสื่อมโทรม
• รัฐให้ความสาคัญต่อการวิจัยเกี่ยวกับประมงทาง
ทะเลน้อย
119
• ทรัพยากรทางทะเล ถูกทาลายจากการ
นาไปเป็นอาหาร และมีวิธีการประมงใน
ลักษณะทาลาย เช่น ใช้อวนลาก อวนรุน
และใช้ไฟล่อ
• ส่วนการประมงนอกเขตน่านน้าไทย มาก
เกินระดับที่ต้องการ
120
• การบารุงรักษากระบวนการนิเวศน์ และ
ระบบค้าจุนชีวิต
• การสงวนความหลากหลายทางพันธุกรรม
• การใช้ประโยชน์จากทรัพยากรอย่าง
ต่อเนื่องยืนนาน
121
แนวคิดในการอนุรักษ์
• แหล่งที่อยู่อาศัยที่จาเป็นและสาคัญอย่างยิ่งต่อ
การสงวนรักษาความหลากหลายทาง
พันธุกรรมและต่อการประมง จะต้องมีระบบ
จัดการที่เหมาะสมเพียงพอโดยมีเป้าหมายหลัก
อยู่ที่การบารุงรักษาแหล่งที่อยู่อาศัยของสัตว์น้า
ให้คงไว้ที่ที่อยู่อาศัยตลอดไป
122
การบารุงรักษากระบวนการนิเวศและระบบค้าจุนชีวิต
•บริเวณปากแม่น้า ป่าชายเลน
ทะเลสาบ บึง แหล่งน้าท่วมขังตาม
ธรรมชาติ แนวชายฝั่งทะเล แนว
ปะการัง
•แม่น้า ลาคลอง และแหล่งน้าตาม
ธรรมชาติ 123
แหล่งที่อยู่อาศัยที่จาเป็น
พยายามบารุงรักษาระบบนิเวศของบริเวณที่
เหล่านี้ให้สามารถค้าจุนการดารงชีวิตของสัตว์
และพืชที่อาศัยอยู่ที่นั้นให้มีสภาพธรรมชาติ
มากที่สุด
โดยมีหลักว่า ต้องควบคุมอย่างเพียงพอที่จะ
ป้องกันไม่ให้เกิดปัญหาการรักษาธรรมชาติ
ของระบบนิเวศดังกล่าว 124
ระบบจัดการ
• การสร้างเขื่อนกั้นน้า
• การขุดรอก
• การระบายน้า
• การถมทับ การตกตะกอนดินทราย
• การลดระดับของน้า
• การก่อให้เกิดมลพิษทางน้า
125
ตัวอย่างการควบคุมที่เข้มงวด
• พยายามรักษาพันธุ์พืชและสัตว์ทุกชนิดให้ดารงอยู่
ตลอดไปให้นานที่สุดเท่าที่จะมากได้
• โดยมีมาตรการคือ ป้ องกันการสูญพันธุ์ เช่นห้ามเก็บ จับ
ล่า ค้าขาย ขนเคลื่อนย้ายพืชสัตว์ที่ใกล้จะสูญพันธุ์
• จัดให้มีพื้นที่คุ้มครองเพื่อสงวนพื้นที่ไว้เป็นพิเศษ
• มีการติดตามสอดส่องการคุ้มครองพืชสัตว์ที่ใกล้จะสูญ
พันธุ์เป็นพิเศษ
126
การสงวนความหลากหลายทางพันธุกรรม
• มีหลักว่า จะต้องใช้ประโยชน์ได้สูงสุดของ
ประชากรสัตว์น้าที่สามารถนามาใช้
ประโยชน์ได้แต่ต้องรักษาขนาดของกลุ่ม
ประชากรสัตว์น้าให้อยู่ในระดับถัวเฉลี่ย
อย่างสม่าเสมอ
• และต้องรักษาประสิทธิภาพในเชิง
เศรษฐกิจของการผลิตทรัพยากรนั้นด้วย 127
การใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องยืนนาน
• กาหนดฤดูห้ามจับปลาหรือบริเวณห้ามจับ
ปลา
• การจัดประเภทเรือประมงและเครื่องมือ
ประมงที่อนุญาตให้ทาการประมง
• กาหนดขนาดของปลาที่อนุญาตให้จับได้
128
วิธีการ
• การจากัดโดยการควบคุมจานวนเรือประมง
โดยระบบอนุญาตให้จับปลาได้เพียงบางชนิด
หรือให้ทาการประมงได้บางพื้นที่เท่านั้น
• ซึ่งอาจกาหนดโควต้าทั้งปริมาณปลาที่อนุญาต
และจานวนเรือประมง
129
ตัวอย่างในต่างประเทศ
• การประมงเป็นเสรีภาพ ม. 16
• กาหนดพื้นที่คุ้มครอง คือที่รักษาพันธุ์พืช
• ระบบการจดทะเบียนและการขออนุญาตประกอบอาชีพ
ประมง รวมทั้งการค้าและอุตสาหกรรมต่อเนื่อง ม. 25
• มีข้อกาหนดเกี่ยวกับการใช้หรือมีไว้ในการครองครอง
เครื่องมือประมง โดยต้องมีอาชญาบัตรและเสียอากร
130
แนวคิดในกฎหมายไทย
• ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาการประมง ม. 32
• ฤดูการห้ามทาการประมง ปลามีไข่หรือวางไข่
• กาหนดเขตห้ามทาการประมงตามฤดูกาล
• ชนิด ขนาด จานวนอย่างสูงของสัตว์น้าที่อนุญาตให้ทา
การประมง
• ห้ามทาการประมงสัตว์น้าชนิดใดชนิดหนึ่งโดยเด็ดขาด
131
• ห้ามเปลี่ยนแปลงสภาพที่จับสัตว์น้าหรือปลูกสร้าง
สิ่งใดลงในที่จับสัตว์น้า ม. 17,21
• ห้ามวิดน้า ระบายน้าจากที่จับสัคว์น้า ม. 18
• ห้ามการกระทาใด ๆ ที่ก่อให้เกิดมลพิษทางน้า ม.
19
• ห้ามการสร้างเขื่อนทานบ ซึ่งกั้นทางเดินของสัตว์
น้า ม. 22
132
การสงวนรักษาระบบนิเวศของแหล่งประมง
• ห้ามใช้ยาพิษ ยาเบื่อเมา และวัตถุมีพิษอื่น ๆ ม.
19
• ห้ามใช้กระแสไฟฟ้า ม. 20
• ห้ามใช้วัตถุระเบิด ม. 20
• ห้ามี่ไว้ในความครอบครองซึ่งสัตว์น้าที่ได้มา
โดยการกระทาความผิดตามม. 19, 20
ม. 20 ทวิ 133
วิธีการประมงที่มีลักษณะทาลายล้าง
สภาพปัญหา
• การกัดเซาะชายฝั่งและชายหาดมีแนวโน้มรุนแรง
โดยเฉพาะ ปากแม่น้าเพชรบุรี จนถึงปากน้าปราณ
บุรี ชายหาดจังหวัดนครศรีธรรมราช บริเวณ
นราธิวาส ชายหาดบางขุนเทียน
• พื้นที่ป่ าชายเลน เหลือเพียง 1 ล้านไร่ (2542)
• ปะการังถูกทาลายและเสื่อมสภาพลง
134
การจัดการทรัพยากรชายฝั่ง
• ปะการังถูกทาลายและเสื่อมสภาพลง
• หญ้าทะเลเสื่อมโทรม และลดจานวนลง
เนื่องจากคุณสภาพน้าทะเลเสื่อมโทรม การ
ประมงในเขตหญ้าทะเล ประเภทอวนลาก อวน
รุน และเรืออวนทับตลิ่งขนาดใหญ่ การเก็บเกี่ยว
หญ้าทะเลเพื่อการพาณิชย์
• คุณภาพน้าทะเลบางแห่งมีการปนเปื้อน
135
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557

More Related Content

What's hot

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมkasarin rodsi
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...Dr.Choen Krainara
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)Araya Toonton
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1Green Greenz
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาyah2527
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศAuraphin Phetraksa
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)Auraphin Phetraksa
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 

What's hot (18)

สิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อมสิ่งแวดล้อม
สิ่งแวดล้อม
 
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
สถานการณ์การแย่งยื้อ เปลี่ยนมือ ถือครองและการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ชายแดน...
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
04
0404
04
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม 1
 
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชาศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
ศ.ดร นิพนธ์ ศาสตร์พระราชา
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ (Corridor)
 
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติแนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
แนวทางการศึกษาและวิจัยอุทยานแห่งชาติ
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 

Similar to กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557

โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อมGreenJusticeKlassroom
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองFURD_RSU
 
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง sarayutunthachai
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapPrachoom Rangkasikorn
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated developmenttpsinfo
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2Thai China
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้Sompop Petkleang
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นSompop Petkleang
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11aj_moo
 
กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่GreenJusticeKlassroom
 
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมChacrit Sitdhiwej
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resourcesPakarattaWongsri
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 

Similar to กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557 (20)

โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
103 รัฐธรรมนูญสิ่งแวดล้อม
 
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมืองPPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
PPT มองเมืองจากมุมมองนักผังเมือง
 
การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง การเมืองการปกครอง
การเมืองการปกครอง
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์ สังคม ป.4-6+494+dltvsocp6+T2 p4 6-soc_mindmap
 
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmapผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
ผังมโนทัศน์สังคม ป.4-6+477+dltvsocp5+T2 p4 6-soc_mindmap
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated development
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
โครงการหมู่บ้านไร้มลพิษ E2-2
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้นสิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อมกฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม
กฎหมายว่าด้วยการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่งแวดล้อม
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
106 ผู้มีสิทธิและหน้าที่
 
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมการพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
การพิจารณาร่างกฎหมายเกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
 
Conservation of natural resources
Conservation of natural resourcesConservation of natural resources
Conservation of natural resources
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 

More from Narong Jaiharn

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2Narong Jaiharn
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557Narong Jaiharn
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)Narong Jaiharn
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556Narong Jaiharn
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.Narong Jaiharn
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Narong Jaiharn
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Narong Jaiharn
 
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556Narong Jaiharn
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยNarong Jaiharn
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์Narong Jaiharn
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556Narong Jaiharn
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริNarong Jaiharn
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfNarong Jaiharn
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์Narong Jaiharn
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติNarong Jaiharn
 

More from Narong Jaiharn (17)

กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา2
 
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
กฎหมายอาญาชั้นสูง ท่าพระจันทร์ ภาค1 ปีการศึกษา 2557
 
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
เอกสารประกอบคำบรรยายวิชาอาญาภาคความผิดภาคปกติปี 2556 (ศูนย์รังสิตและศูนย์ลำปาง)
 
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
เอกสารประกอบคำบรรยาย วิ.อาญารังสิต 2556
 
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
แถลงการณ์กลุ่มคณาจารย์คณะนิติศาสตร์ มธ.
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013Perverting course of_justice_march_2013
Perverting course of_justice_march_2013
 
วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556วิ.อาญารังสิต 2556
วิ.อาญารังสิต 2556
 
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทยหน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
หน้าที่และความรับผิดชอบของผู้ประกอบการโรงงานด้านสิ่งแวดล้อมของไทย
 
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
การทำวิทยานิพนธ์และสารนิพนธ์
 
Criminal penalties2
Criminal penalties2Criminal penalties2
Criminal penalties2
 
Criminal penalties1
Criminal penalties1Criminal penalties1
Criminal penalties1
 
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
หลักการดำเนินคดีส่งแวดล้อมและการดำเนินคดีอาญา 2556
 
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริการป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
การป้องกันและปราบปรามการตัดไม้ทำลายป่าตามแนวพระราชดำริ
 
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdfรายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
รายงานทบทวนส่งอำนวยความสะดวกผู้สูวอายุPdf
 
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
เอกสารประกอบการบรรยายกฎหมายอาญาชั้นสุง ท่าพระจันทร์
 
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติPpt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
Ppt หลักสูตรผู้ปฏิบัติ
 

กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557