SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
- 1 - ข-
รายงานสรุปประเด็นทางเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพองค์กรและบุคลากร
เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากร CATSPA จะเน้นถึงเรื่องการสร้าง
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่ กระบวนการพัฒนาศักยภาพในรูปแบบ
ต่างๆ เป็นการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ในอนาคต หลักสูตรการพัฒนาหรือการฝึกอบรมเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพของบุคลากรในการทางานด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จะต้องให้เป็นไปตามลักษณะงานและ
หน้าที่ความรับผิดชอบ ขณะเดียวกันในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรตามเป้ าหมายจะต้องคานึกถึงโอกาส
ความเสี่ยงต่างๆ เช่น องค์กรผู้จัดการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรม กระบวนการฝึกอบรม เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อ
ก่อให้เกิดการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ และปรากฏตามผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมความยั่งยืน
ของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (CATSPA)
1. ผลลัพธ์ที่ 2: ศักยภาพขององค์กรและบุคลากรเพิ่มมากขึ้น
2. กิจกรรม : พัฒนาและจัดการอบรมหลักสูตรต่างๆเพื่อเพิ่มสมรรถนะของพนักงาน
เจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครองนาร่อง
สานักงานนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง ประกอบด้วย
2.1 การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
2.2 นวัตกรรมด้านงบประมาณพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่
2.3 การลาดตระเวณเชิงคุณภาพ
2.4 เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
2.5 การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม
2.6 การศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครอง
2.7 การพัฒนาด้านภาคปฏิบัติ/การอภิปราย/การประชุมกลุ่มย่อย
2.8 การศึกษาดูงานด้านค่าแทนคุณระบบนิเวศ กองทุนอนุรักษ์ การจัดการพื้นที่
คุ้มครองทางทะเลและการจัดการอย่างมีส่วนร่วม ทั้งภายในและต่างประเทศ
- 2 - ข-
3. วัตถุประสงค์
3.1 พัฒนาบุคลากรให้มีทัศนคติ ทักษะ ความรู้ความชานาญในการจัดการพื้นที่
คุ้มครองทุกระดับ เพื่อให้หน่วยงานเป็นองค์กรเรียนรู้ ตลอดจนการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้อง
3.2 พัฒนาองค์ความรู้และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรตลอดจนปลูกฝังให้
บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึกในการปฏิบัติงาน
3.3 ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตนเองและพัฒนาสายอาชีพให้แก่บุคลากรทุกระดับ
เพื่อให้บุคลากรในแต่ละสายอาชีพประสบความสาเร็จในสายงานอาชีพของตนเอง
3.4 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของบุคลากรให้เป็นผู้มีกระบวนทัศน์ในการปฏิบัติงาน
ตามหลักการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่
4. ระดับการฝึกอบรม
4.1 ระดับผู้บริหาร เป็นหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่คุ้มครอง (หัวหน้าอุทยานแห่งชาติและ
หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า) พื้นที่นาร่องของโครงการ หัวหน้าหน่วยงานอื่นๆ ที่มีสานักงานของโครงการ
ตั้งอยู่ในพื้นที่คุ้มครองและใกล้เคียง ผู้บริหารสานักงานนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง และ
ผู้บริหารสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่เกี่ยวข้อง
4.2 ระดับปฏิบัติการ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการประจาหน่วยงานพื้นที่
คุ้มครอง อุทยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พื้นที่คุ้มครองนาร่อง หน่วยงานอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ภายใน
พื้นที่คุ้มครองและใกล้เคียง สานักงานนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง และสานักบริหารพื้นที่
อนุรักษ์ที่เกี่ยวข้อง
5. หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร
5.1 การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่
เกี่ยวข้องกับวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ด้านคุณค่าและโครงสร้างการบริหารจัดการ
แนวคิดและองค์ประกอบของการจัดการพื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศและการมีส่วนร่วม กระบวนในการใช้
เทคนิคและเครื่องมือที่เหมาะสมในการจัดการ แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง การจัดทาแผนระบบพื้นที่คุ้มครอง
แห่งชาติ การติดตามและประเมินผล
รายละเอียดของเนื้อหาจะประกอบด้วยประวัติและความเป็นมาของการจัดการ
พื้นที่คุ้มครอง กฎหมายและนโยบาย การจัดทาแผนการจัดการและการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ การจัดทาแผน
ระบบพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์ภัยคุกคามเพื่อการแก้ไขปัญหา การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วม
การบริการของระบบนิเวศและค่าแทนคุณระบบนิเวศและมีการศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ
- 3 - ข-
5.2 การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่คุ้มครอง
เกี่ยวข้องกับความสาคัญและความเร่งด่วนของกระบวนการจัดการความขัดแย้งใน
พื้นที่คุ้มครอง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นและ
การนาความรู้ไปปรับใช้ในนโยบายและแผนการจัดการ
รายละเอียดของเนื้อหาจะประกอบด้วยความหมาย ประเภทและรูปแบบความ
ขัดแย้ง ทัศนคติ ค่านิยมความขัดแย้ง สาเหตุ การวิเคราะห์ การเจรจา การไกล่เกลี่ย การสื่อสารและความ
ร่วมมือการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและฝึกปฏิบัติในท้องที่กรณีศึกษา
5.3 การผลักดันนโยบาย
เกี่ยวข้องกับความสาคัญและความจาเป็นในการผลักดันด้านนโยบาย องค์ความรู้
ทักษะในการวางแผนและดาเนินการด้านนโยบาย
รายละเอียดเนื้อหาจะประกอบด้วยประโยชน์ ความสาคัญ รูปแบบ วิธีการ การ
วางแผน การเลือกประเด็น การวิเคราะห์ การจาแนก การจัดทาแผนเชิงปฏิบัติการ การติดตามและประเมินผล
ทักษะในการวิเคราะห์ การเขียนและการทางานที่เป็นระบบ
5.4 การทางานกับชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
เกี่ยวข้องกับแนวคิด หลักการ จิตวิทยาชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์กรชุมชน
กระบวนการทางานของชุมชน เครื่องมือและเทคนิคการทางานร่วมกับชุมชน การจัดทาแผนชุมชนเพื่อให้มี
การจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ
รายละเอียดของเนื้อหาประกอบด้วยกระบวนการทางานร่วมกับชุมชน หลักการ
จัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม เทคนิคการศึกษา การเก็บข้อมูล การประเมินชุมชนและทรัพยากรที่
ชุมชนพึ่งพิง การทาแผนยุทธศาสตร์ชุมชนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการจัดการทรัพยากร การสร้างเครือข่ายการ
จัดการและการติดตามผลการใช้ประโยชน์และเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทางานกับชุมชน
การศึกษาดูงานและการสัมมนา
5.5 การใช้เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (Management
Effectiveness Tracking Tools : METT)
เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (METT) เป็น
วิธีการค้นหาข้อมูลจากการปฏิบัติงานตามแผนงานเพื่อให้ผู้บริหารหรือผู้กากับนโยบายใช้ในการพิจารณา
สนับสนุนให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มี
ประสิทธิภาพ หลักการโดยทั่วๆไปแล้วจะประกอบด้วยการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของการจัดการพื้นที่
คุ้มครอง การวิเคราะห์ขอบเขตของความรุนแรงและการกระจายของภัยคุกคาม การวิเคราะห์ขอบเขตของ
พื้นที่ที่มีความสาคัญและมีคุณค่าของระบบนิเวศ เศรษฐกิจและสังคม มีการกาหนดแนวทางในการ
ดาเนินงานตามระดับความสาคัญของการจัดการหรือความจาเป็นในการแก้ไขปัญหา เทคนิคในการพัฒนา
- 4 - ข-
การดาเนินงานตามนโยบาย แผนการติดตามและประเมินผล เพื่อสนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมี
ประสิทธิภาพ เป้าหมายของการนาเครื่องมือ METT มาใช้โดยมีเป้าหมายดังนี้ :
1. เพื่อต้องการให้มีผู้สนับสนุนและการประเมินผลการใช้เงินงบประมาณในการ
ลงทุนและดาเนินการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
2. เพื่อปรับปรุงแก้ไขวิธีการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือการปรับแผนการจัดการ
3. เพื่อต้องการให้มีการตรวจสอบการทางานหรือหลักการในการให้เหตุผลที่
สาคัญด้านการจัดการข้อมูล
5.6 ความยั่งยืนของระบบการเงินในพื้นที่คุ้มครอง (Financial Sustainability
Scorecard)
ความยั่งยืนของระบบการเงินในพื้นที่คุ้มครองเป็นปัจจัยสาคัญในการบริหาร
จัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะเรื่องการวางแผนด้านการเงินที่ต้องค้นหาว่าค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพื้นที่
คุ้มครองมีอะไรบ้าง ทาอย่างไร หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถที่จะพิจารณาตัดสินใจด้านการเงินได้อย่าง
ถูกต้องและเหมาะสม การจัดสรรเงินงบประมาณให้เหมาะสมกับความจาเป็นตามสถานการณ์ การแก้ไข
ปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน
ประเด็นที่สาคัญ คือ การพิจารณาความยั่งยืนทางด้านการเงินเพื่อการบริหารจัดการ
องค์กร ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วระบบการเงินและการจัดการพื้นที่คุ้มครอง มักจะมีหลายๆหน่วยงานเข้ามา
เกี่ยวข้องและรับผิดชอบร่วมกัน ฉะนั้นบทบาทของแต่ละหน่วยงานจะต้องมีความชัดเจนและมีเอกภาพ การ
เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนการจัดการด้านการเงินและการจัดสรรงบประมาณภายในองค์กรจะมีกลไกที่
โปร่งใสและมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมหรือรายได้
5.7 เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางการประเมินคุณค่าของพื้นที่คุ้มครอง โดยใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์จะเป็น
กลไกหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้จัดการพื้นที่คุ้มครองและชุมชนใกล้เคียงกับพื้นที่คุ้มครอง หรือแนวกันชน
เป็นการประเมินคุณค่าและการวิเคราะห์เพื่อกาหนดรูปแบบว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ เครื่องมือทาง
เศรษฐศาสตร์มีความเหมาะสมกับการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การลดภัย
คุกคามในพื้นที่คุ้มครอง การจัดการเงินทุนหรือกองทุน ขณะเดียวกันเพื่อสนับสนุนการดารงชีวิตของชุมชน
ท้องถิ่นที่ดีขึ้น การประเมินคุณค่าส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับสภาพของพื้นที่คุ้มครองในแต่ละท้องถิ่นจะต้อง
ให้ความสนใจเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สามารถนามาใช้พิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการ
พื้นที่คุ้มครองกับชุมชนท้องถิ่น อันจะนามาซึ่งความร่วมมือซึ่งกันและกัน
วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณค่าทางเศรษฐศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับอนุสัญญาว่า
ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) โดยเฉพาะหลักการของ Ecosystem Approach ในการประชุม COP5
และ COP10 กาหนดให้มีการพัฒนาเครื่องมือประเมินคุณค่า กิจกรรมที่ดีที่สุดและแนวทางการใช้โดยเฉพาะ
เทคนิคและอุปกรณ์ การประเมินคุณค่าการใช้ประโยชน์จากการบริการของระบบนิเวศ (ES) การสนับสนุน
- 5 - ข-
พื้นที่คุ้มครองที่ต้องดาเนินการโดยให้เป็นไปตามประเพณี วัฒนธรรม นวัตกรรมและกลไกทางการเงินของ
ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางในการกาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจของระบบนิเวศและความหลากหลาย
ทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครอง การศึกษาและร่วมมือกันค้นหาการบริการของระบบนิเวศ นโยบายการอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือการจัดทาคู่มือแนวทางในการ
ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่คุ้มครองหรือแนวกันชน ชุมชนท้องถิ่น หรือองค์กรภาคเอกชน หรือทีมงานที่
จะต้องดาเนินงานเพื่อป้องกันการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อที่จะให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน
ท้องถิ่นหรือเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือการจัดสรรเงินงบประมาณ การกาหนดเครื่องมือทาง
เศรษฐศาสตร์จะต้องพิจารณาเรื่องนโยบาย การปฏิบัติทางนวัตกรรม หน่วยงานที่รองรับ ความรู้ความเข้าใจ
ในการปฏิบัติและบทเรียนจากแหล่งต่างๆที่ได้มีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว
5.8 ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services: PES) และการจัดตั้ง
กองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund: CTF)
หลักการของค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services : PES)
เป็นกลไกหนึ่งของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนด้วยแรงจูงใจทางเศรษฐกิจ โดยการจัดสรรเงิน
ค่าตอบแทนให้กับชุมชนหรือผู้ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยวิธีการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์
(Conservation Trust Fund : CTF) เพื่อเป็นหลักประกันความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและประโยชน์หรือ
บริการที่มนุษย์จะได้รับจากการบริการของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) ฉะนั้น ค่าแทนคุณระบบนิเวศ
คือ ผู้มีบทบาทในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือผู้ให้บริการควรได้รับค่าชดเชยหรือค่าตอบแทนและ
ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติหรือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการบริการของระบบนิเวศควรที่จะต้อง
จ่ายเพื่อแลกกับการบริการดังกล่าว
องค์ประกอบที่สาคัญของค่าแทนคุณระบบนิเวศประกอบด้วย
1. ผู้ที่ดูแลรักษาระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติเป็นผู้ขาย (Sellers) ทาหน้าที่
ดูแลการให้บริการของระบบนิเวศ
2. ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์จากการบริหารของระบบนิเวศเป็นผู้ซื้อ (Buyers)
ผู้ได้รับประโยชน์มีความเต็มใจที่จ่ายผลค่าตอบแทน (Willing to Pay) ให้กับผู้ขายที่ได้ตกลงกันไว้
กองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund) ได้มีการพัฒนาและนามาใช้กันใน
หลายๆประเทศ เช่น ประเทศแถบลาตินอเมริกา ได้มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ความ
หลากหลายทางชีวภาพ การจัดการพื้นที่คุ้มครอง แหล่งเงินของกองทุนอนุรักษ์จะได้รับการสนับสนุนจาก
รัฐบาล องค์กรนานาชาติ องค์กรอนุรักษ์และภาคเอกชน เป็นการจัดการกองทุนให้มีผลกาไรที่มีวัตถุประสงค์
ในการใช้โดยเฉพาะ
ในกรณีที่เป็นการดาเนินงานกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองอาจจะกาหนด
เป็น Park Funds เป็นการจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองและระบบนิเวศ กองทุนมีเรียกชื่อ
แตกต่างกัน เช่น Green Funds เป็นกองทุนที่ใช้ในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ Brown Funds
- 6 - ข-
เป็นกองทุนเพื่อใช้ในการจัดการและควบคุมมลพิษและของเสีย Endowment Funds เป็นกองทุนที่ได้รับการ
บริจาคและนาผลกาไรไปใช้ประโยชน์ Sinking Funds เป็นกองทุนที่มีกาหนดเวลาในระยะยาวและถูกใช้จน
หมด และ Revolving Funds เป็นกองทุนหมุนเวียนที่ได้รับการสนับสนุนเงินจากแหล่งต่างๆ และนาไปลงทุน
เพื่อหวังผลกาไร
แนวทางในการจัดตั้งกองทุนจะต้องมีสัญญาดาเนินงานในระยะยาว รัฐบาลต้อง
สนับสนุนรวมทั้งภาคเอกชน ทางานร่วมกันและมีการพัฒนาที่ยั่งยืน และจะต้องมีกฎหมายควมคุมการเงิน
และมีสถาบันรับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้เป็นที่เชื่อถือของสาธารณชน
5.9 การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (Smart Patrolling)
เป็นการฝึกอบรมด้านการลาดตระเวนของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดูแลรักษา
ป้ องกันพื้นที่คุ้มครอง ขณะเดียวกันในระยะเวลาของการปฏิบัติงานลาดตระเวนก็จะมีการเก็บข้อมูลต่างๆ
ควบคู่กันไปด้วยโดยเฉพาะข้อมูลภายในพื้นที่คุ้มครอง หรือภัยคุกคามที่เกิดขึ้น เช่น การลักลอบตัดไม้ การ
บุกรุกยึดถือครอบครองที่ดิน การลักลอบล่าสัตว์ป่า ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า พนักงานเจ้าหน้าที่จะเก็บข้อมูลด้วย
เครื่อง GPS หรือแบบฟอร์มที่จัดทาขึ้น แล้วนาข้อมูลไปแปลงลงในแผนที่หรือเครื่องประมวลผลและ
สามารถนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนและกาหนดแนวทางในการดาเนินงานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง
วิธีการเก็บข้อมูลของพนักงานเจ้าหน้าที่ในช่วงเวลาที่มีการออกลาดตระเวนจะมี
ขั้นตอนการดาเนินงานและมีอุปกรณ์ตามขั้นตอนที่จะนามาแสดงได้ดังนี้
1. การลาดตระเวนจะมีแผนที่ที่มีพิกัดและเครื่องมือ GPS
2. การกระจายของประชากรสัตว์ป่า
3. กิจกรรมการกระทาผิดกฎหมาย เช่น ไม้ท่อน ไม้ซุง ซากสัตว์เป็นต้น
4. ทรัพยากรที่ชุมชนท้องถิ่นใช้ประโยชน์
5. การท่องเที่ยว
6. กิจกรรมของแผนงานและการปฏิบัติงาน
7. การเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างข้อมูลเก่ากับข้อมูลใหม่
ความสาคัญ (1) ความยั่งยืนเป็นเทคนิควิธีหนึ่งง่ายต่อการดาเนินงาน มีอุปกรณ์แผน
ที่และ GPS (2) การใช้ข้อมูลที่เป็นมาตรฐานและสามารถถ่ายทอดข้อมูลได้ดีและ (3) ความถูกต้อง สามารถ
นาข้อมูลเข้าเครื่องประเมินผลได้รวดเร็ว
5.10 วิทยากรกระบวนการ
เกี่ยวข้องกับหลักการแนวคิดและกระบวนการเพื่อการพัฒนาพื้นที่ที่ยั่งยืน กล
ยุทธ์ด้านสังคม ทักษะในการสร้างจิตสานึก การมีส่วนร่วมของประชาชน เส้นทางศึกษาธรรมชาติและการ
สื่อความหมาย
รายละเอียดเนื้อหาประกอบด้วยการจัดการด้านสังคม การวางแผน เป้ าหมาย
ผู้บริโภค การดาเนินงานกิจกรรม สิ่งแวดล้อมศึกษา การสื่อความหมายธรรมชาติ การปฏิบัติในพื้นที่และเวที
แลกเปลี่ยนในการปฏิบัติงาน ตลอดจนการจัดประชุมและการบันทึกการประชุม
- 7 - ข-
5.11 การพัฒนาอาชีพแบบครบวงจร
เกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงและผลิตภัณฑ์ของ
ชุมชนที่ไม่ทาลายทรัพยากร ทักษะและการนาบทเรียนมาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมอาชีพ การวางแผนการ
ขายที่ก่อให้เกิดรายได้และสามารถพัฒนาวิสาหกิจชุมชน
รายละเอียดเนื้อหาประกอบด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ประกอบการที่รับผิดชอบต่อ
ทรัพยากร (จิตสานึกในการใช้ทรัพยากร การค้นหากลุ่มเป้ าหมาย การขายสินค้าและการพัฒนา) ฝึกปฏิบัติ
และดูงาน การสร้างแผนกลยุทธ์กับชุมชนบนหลักการทางเศรษฐกิจพอเพียง
5.12 การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร
เกี่ยวกับการฝึกอบรมให้มีทักษะในการพูด การเขียนและแปลภาษาอังกฤษหรือ
ภาษาจีนหรือภาษารัสเซียและภาษาประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อรองรับการเข้าร่วมภาคีเศรษฐกิจอาเซียน (AEC)
รายละเอียดเนื้อหาจะประกอบด้วย การพัฒนาทักษะในการพูด การเขียน การ
อ่าน การฟังและการใช้ภาษาอังกฤษ ภาษากัมพูชา ภาษาเมียนมาร์ ภาษาจีน หรือภาษารัสเซีย หรือภาษา
ท้องถิ่น เป็นต้น
5.13 การศึกษาดูงาน
ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่คุ้มครองหรือกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ภายใต้โครงการ CATSPA ที่เข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ ดังกล่าวแล้ว เพื่อสร้างศักยภาพให้แก่พนักงาน
เจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้นจะต้องกาหนดให้มีการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตามที่จะพิจารณาว่ามี
ความเหมาะสม
1. กรณีการศึกษาดูงานภายในประเทศ เช่น หมู่บ้านธารมะยม อาเภอแม่วงก์
จังหวัดนครสวรรค์ ศึกษาดูงานด้านการบริการของระบบนิเวศ (ES) ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) หรือการ
จัดตั้งกองทุนและบริหารกองทุน (CTF) ด้านการใช้น้า เป็นต้น
2. กรณีการศึกษาดูงานในต่างประเทศ จะพิจารณาจากผู้บริหารระดับสูง ผู้ที่มี
ความตั้งใจในการปฏิบัติงาน หรือ หัวหน้าหน่วยงานในพื้นที่คุ้มครองภายใต้โครงการ CATSPA หรือผู้ที่ผ่าน
การฝึกอบรมหรือคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง โดยการพิจารณาความเหมาะสมจากผู้อานวยการ
โครงการ CATSPA ซึ่งจะมีความเห็นดังนี้
(1) อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล ซึ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเล
พนักงานเจ้าหน้าที่ควรไปศึกษาดูงานที่อุทยานแห่งชาติทางทะเลบูนาเก้น (Bunaken) ประเทศอินโดนีเซีย
(เป็นข้อเสนอของนายทวี หนูทอง) หรือพื้นที่อื่น
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1991 เพื่อเป็น
การอนุรักษ์แหล่งปะการัง ป่าชายเลนและความหลากหลากทางชีวภาพ และในปี ค.ศ. 2001 รัฐบาล
อินโดนีเซียได้ใช้นโยบายกระจายอานาจในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองสู่ท้องถิ่น อนุญาตให้พนักงาน
เจ้าหน้าที่ควบคุมการเก็บเงินค่าธรรมเนียมรายได้จากผู้เข้าใช้บริการพื้นที่และให้มีการนาเงินรายได้ไปใช้ใน
การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ต้องอยู่ภายใต้คาแนะนาหรืออนุมัติของคณะกรรมการที่ปรึกษาที่เรียกว่า
- 8 - ข-
Bunaken Collaborative Management Advisory Board (BCMAB) หรือที่เรียกว่า คณะกรรมการ Co-
management ที่ประกอบด้วยชุมชนท้องถิ่นและองค์กรภาคเอกชน
วิธีการเก็บเงินค่าธรรมเนียมจากผู้เข้าใช้บริการของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
นักท่องเที่ยวจะต้องซื้อบัตรท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติ ที่มีชื่อ-สกุลปรากฏอยู่ในบัตรและใบเสร็จรับเงินกากับ
ที่ต้องเก็บไว้ให้ตรวจสอบได้ การดาเนินงานโดยวิธีการกาหนดระบบของบัตรหรือป้ ายชื่อ เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพการตรวจสอบในการนาไปใช้พื้นที่คุ้มครอง ทั้งนี้เพราะว่าการเดินทางเข้าไปในพื้นที่มิได้มี
เพียงทางเข้าแห่งเดียว และนักท่องเที่ยวจะต้องใช้บัตรไปแสดงในการจับจ่ายซื้อสิ่งของได้ เช่น ชุดว่ายน้า ชุด
ดาน้า ค่าเรือ และสามารถแสดงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ เป็นต้น
บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับเงินรายได้จากค่าธรรมเนียม
เข้าใช้บริการพื้นที่คุ้มครอง มีอานาจพิจารณาโดยกาหนดวงเงิน 80% ของรายได้จากค่าธรรมเนียมไปใช้ใน
การบริการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ด้านการป้ องกัน การศึกษาวิจัย การให้การศึกษาแก่เยาชน ประชาชน
การพัฒนาชุมชน (ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ) ส่วนที่เหลืออีก 20% จะแบ่งออกเป็นส่วนๆ ดังนี้
ก. จานวน 3.75% โอนให้ชุมชนเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชน
ข. จานวน 3.75% โอนให้อาเภอที่เป็นที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครองเพื่อการ
บริหารงานของอาเภอ
ค. จานวน 7.50% โอนให้จังหวัดที่เป็นที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครองเพื่อการ
บริหารงานของจังหวัด
ง. จานวน 5.0% โอนให้รัฐบาลกลางสาหรับการบริหารของหน่วยงานที่
รับผิดชอบการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติ
(2) การศึกษาดูงานของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่คุ้มครองทางบก โดยการศึกษา
ดูงานด้านการบริการของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem
Services) และการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Funds) ณ ประเทศภูฎาน ซึ่งอยู่ระหว่างการ
ประสานงานกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศและพนักงานเจ้าหน้าที่ประเทศภูฎาน (รายละเอียดปรากฏตาม
เอกสารแนบท้ายที่เสนอโดย Mr. Jeffrey A. McNeely)
- 9 - ข-
โครงการศึกษาดูงานในต่างประเทศ (1) ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของการจัดการระบบ
พื้นที่คุ้มครอง (CATSPA)
----------------------------------
1. พื้นที่เป้ าหมาย (1) ประเทศภูฎาน
2. หลักการและเหตุผล
การพิจารณาเลือกประเทศภูฎานเป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
โดยเฉพาะในเรื่องการบริการของระบบนิเวศ ค่าแทนคุณระบบนิเวศ กองทุนอนุรักษ์เพื่อการจัดการพื้นที่
คุ้มครอง มีเหตุผลในการสนับสนุนการดาเนินงานได้หลายประการ คือ ในอดีตที่ผ่านมามีการแลกเปลี่ยน
การศึกษาดูงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่คุ้มครองทั้งสองประเทศ และการดาเนินงานด้าน
การจัดการพื้นที่คุ้มครองในทั้งสองประเทศ มีกิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จและเป็นต้นแบบที่น่าสนใจในการ
ดาเนินงานของโครงการ CATSPA
3. การจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศภูฎาน
การดาเนินงานการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศภูฎาน ที่มีการใช้เงินงบประมาณจาก
กองทุนอนุรักษ์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ทาให้การจัดการพื้นที่คุ้มครองมีการดาเนินงานที่เป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ พื้นที่คุ้มครองของประเทศภูฎานประกอบด้วย พื้นที่ที่เป็นอุทยานแห่งชาติ 5 แห่ง เขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง และพื้นที่สงวนธรรมชาติ ทุกพื้นที่มีการดาเนินงานด้านการจัดทาแนวเชื่อมต่อทางระบบ
นิเวศและการจัดการแนวกันชน พื้นที่คุ้มครองรวมแล้วมีพื้นที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ในทุกๆ พื้นที่
คุ้มครองจะมีชุมชนท้องถิ่นอาศัยอยู่รวมทั้งบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่คุ้มครอง จึงทาให้พื้นที่คุ้มครองกับ
ชุมชนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน
Manas National Park ตั้งอยู่ชายแดนของประเทศมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอินเดีย เป็น
พื้นที่ที่ได้ประกาศเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติและเป็นถิ่นที่อาศัยที่สาคัญของเสือโคร่ง และเขตรักษาพันธุ์
สัตว์ป่า Khaling เป็นพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอินเดียเช่นกัน รัฐบาลของประเทศภูฎานและ
ประเทศอินเดียได้ดาเนินการจัดการเป็นพื้นที่คุ้มครองให้เป็นแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศ เป็นวิธีการจัดการ
แนวเชื่อมต่อระหว่างประเทศ (corridors) และโดยความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่น โครงการ CATSPA
สามารถที่จะนามาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานได้
4. วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services :
PES)และ สามารถที่จะนาแนวทางมาใช้กับการจัดการพื้นที่คุ้มครองในประเทศไทยได้
- 10 - ข-
4.2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund :
CTF) ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ
4.3 เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการสร้างความร่วมมือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
กับชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาเรื่องคนกับช้างป่า และผลประโยชน์ที่ชุมชน
ท้องถิ่นได้รับ
5. จานวนผู้เข้าร่วมเดินทาง
จานวน 20 ท่าน โดยแบ่งออกเป็นสองระดับ คือ ระดับผู้บริหารและระดับหัวหน้าพื้นที่
คุ้มครอง ซึ่งต้องมีความเข้าใจที่ร่วมกันทั้งในระด้บปฏิบัติและระดับนโยบาย
6. กรอบเวลากาหนดการ
ระหว่างวันที่ 18-25 พฤษภาคม 2557 (ชั่วคราว)
วันที่ 1 เดินทางถึงเมืองหลวง Thimphu ประเทศภูฎาน ภาคค่า รับประทานอาหาร
เย็นร่วมกันระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยและพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่าย
ภูฎาน ปรึกษาหารือในการศึกษาดูงาน ร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่จาก
กระทรวงเกษตรและป่าไม้ผู้บริหารกองทุนอนุรักษ์ (CTF) สมาคม
อนุรักษ์ธรรมชาติและ WWF
พักค้างคืน:
วันที่ 2 ภาคเช้า ประชุมร่วมกันทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายภูฎาน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์
และความคาดหวังของคณะศึกษาดูงานจากประเทศไทย (1) การบรรยาย
เรื่องค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) และการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ (CTF)
และเปิดอภิปรายร่วมกันโดยเฉพาะนโยบายและการปฏิบัติ (2) การ
บรรยายเรื่องการจัดทาแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศในประเทศภูฎาน และ
(3) บรรยายเรื่องนโยบายและความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่นในการสร้าง
ความร่วมมือการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศและแนะนาพื้นที่ดูงาน
ภาคสนาม การบรรยายจะประกอบด้วยนโยบายและการปฏิบัติภาคสนาม
ภาคบ่ายและค่า: บรรยายเรื่อง การท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครอง การพัฒนา
เขื่อนพลังน้าที่สัมพันธ์กับการเกษตร และการใช้ประโยชน์ที่ดินอื่นๆ เรื่อง
ของกฎหมายในส่วนที่รับผิดชอบของกระทรวงเกษตรและป่าไม้ซึ่งเป็น
การนาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
พักค้างคืน :
- 11 - ข-
วันที่ 3 เดินทางออกจากที่พักเดินทางโดยรถยนต์ถึง Thrumshingla National
Park ระหว่างการเดินทางจะพบเห็นว่ามีถนนตัดผ่านอุทยานแห่งชาติและ
มีชุมชนอาศัยอยู่ภายในพื้นที่ ฟังคาบรรยายและร่วมอภิปรายกับพนักงาน
เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ และดูงานในพื้นที่หมู่บ้านที่ดาเนินการสร้าง
ความร่วมมือระหว่างชุมชนกับธรรมชาติ
พักค้างคืน:
วันที่ 4 ภาคเช้า: เดินทางไปศึกษาดูงานในพื้นที่ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างคน
กับสัตว์ป่า ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) การท่องเที่ยวและอื่นๆที่
เกี่ยวข้อง
ภาคบ่าย : เดินทางโดยรถยนต์ไปยัง Manas National Park
พักค้างคืน:
วันที่ 5 ภาคเช้า : เดินทางต่อโดยรถยนต์ถึง Manas National Park ประมาณเที่ยง
วัน
ภาคบ่าย : บรรยายสรุปเรื่องการจัดการสัตว์ป่า (เสือโคร่ง ช้างป่า กระทิง
ควายป่า แรด และชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากอื่นๆ)
วันที่ 6 ภาคเช้า : ดูงานในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ Manas National Park จนถึงเวลา
เที่ยงวันจึงเดินทางต่อโดยรถยนต์ถึงเมือง Thimphu
พักค้างคืน:
วันที่ 7 ประชุมร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายไทยและภูฏานเพื่อสรุปผล
การศึกษาดูงานและบทเรียน
ภาคค่า : ร่วมรับประทานอาหารค่า พร้อมด้วยการเสนอข้อคิดเห็นและ
กล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมโครงการ
วันที่ 8 เดินทางกลับกรุงเทพฯ
ข้อพิจารณา : เนี่องจากคณะผู้ศึกษาดูงานจากประเทศไทยมีหลายระดับ จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม
คือ กลุ่มหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่คุ้มครอง ควรจะได้ไปศึกษาในพื้นที่คุ้มครองทุกแห่งรวมทั้งการรับฟังคา
บรรยาย ส่วนระดับผู้บริหารควรจะการเจาะลึกในเรื่องนโยบาย เช่น กฎหมาย โครงสร้างการจัดการหรือ
นโยบายการจัดการ พิจารณา: (ฝ่ายไทย)
- 12 - ข-
โครงการศึกษาดูงานในต่างประเทศ (2) ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของการจัดการระบบ
พื้นที่คุ้มครอง (CATSPA)
------------------------------
1. พื้นที่เป้ าหมาย (2) อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bali Barat ประเทศอินโดนีเซีย
2. ผู้ร่วมเดินทาง : พนักงานเจ้าหน้าที่จากกรมอุทยานแห่งชาติตะรุเตาและหน่วยงานอื่นๆ จากฝั่งทะเลอัน
อันดามัน จานวน 10 คน
3. หลักการและเหตุผล
เป้าหมายของการศึกษาดูงานเพื่อร่วมพิจารณาประสบการณ์ในการจัดการพื้นที่คุ้มครองทาง
ทะเล โดยเฉพาะการท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว Bali Barat เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ทางทิศ
ตะวันตกของเกาะบาหลี จะประกอบด้วยพื้นที่ทั้งบนบกและทะเล เป็นถิ่นที่อาศัยของนกหายาก โดยเฉพาะ
นกขุนทองบาหลี เป็นแหล่งปะการังที่สมบูรณ์ที่สุดของเกาะบาหลี เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ มีหาดทรายที่
สวยงาม มีป่าชายเลนและแหล่งปะการัง อุทยานแห่งชาติทางทะเลประกอบด้วยเกาะต่างๆ ที่มีลักษณะ
เดียวกันกับหมู่เกาะตะรุเตาและเกาะหลีเปะ ที่มีการพัฒนาการท่องเที่ยว เป็นถิ่นที่อาศัยทางทะเลที่สาคัญ
ระดับนานาชาติ มีการกาหนดเขตการจัดการและเขตบริการใกล้ๆ กับ Bali Barat เป็นช่องแคบและติดต่อกับ
อุทยานแห่งชาติทางทะเล Baluran ซึ่งก็มีแหล่งปะการังที่สวยงามเช่นกันและใช้เป็นที่ดูงานอีกแห่งหนึ่ง
4. วัตถุประสงค์
4.1 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ของอินโดนีเซียและไทย
รวมทั้งบทบาทของการจัดการพื้นที่ทางทะเลที่ได้รับแรงกดดันจากนักท่องเที่ยวที่มีปริมาณมาก
4.2 ร่วมพิจารณาถึงกลไกของการเงินงบประมาณ การศึกษาถึงคุณค่าการบริการของระบบ
นิเวศในพื้นที่คุ้มครองทางทะเล
4.3 การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่คุ้มครองกับการท่องเที่ยวภาคเอกชนภายใน
พื้นที่คุ้มครองและใกล้เคียง การพัฒนาการเงินงบประมาณ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เกาะบาหลี
4.4 เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่คุ้มครองกับองค์กรอนุรักษ์ภาคเอกชน เช่น
WWF องค์กรอนุรักษ์นานาชาติ
5. กรอบเวลากาหนดการ
วันที่ 1 เดินทางจากกรุงเทพฯ ถึงเมือง Denpasar, Bali ภาคบ่าย: ประชุมร่วมกับ
เจ้าหน้าที่อินโดนีเซียที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับประทานอาหารค่ากับผู้มีส่วนได้
- 13 - ข-
ส่วนเสียจากพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งภาค
การท่องเที่ยว พักค้างคืน: ที่ Denpasar
วันที่ 2 ภาคเช้า: เดินทางจากเมือง Denpasar ไปยังอุทยานแห่งชาติ Bali Barat โดย
รถยนต์ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2-3 ชั่วโมง ประชุมร่วมกับหัวหน้า
อุทยานแห่งชาติ Bali Barat เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเล การ
จัดการการท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยาก
วันที่ 3 ดูงานในพื้นที่ ณ อุทยานแห่งชาติ Bali Barat ร่วมปรึกษาหาหรือ และ
เดินทางไปยังอุทยานแห่งชาติ Baluran โดยทางเรือ ร่วมปรึกษาหารือถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างอุทยานแห่งชาติทั้งสองแห่ง ที่แบ่งแยกโดยช่องแคบมี
ความกว้าง 2.4 กิโลเมตร มีเรือเฟอรี่บริการ พักค้างคืน: ที่ Baluran หรือ
ใกล้เคียง
วันที่ 4 ศึกษางานในพื้นที่และอภิปรายร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เดินทางกลับ
บาหลีแวะเยี่ยมชมพื้นที่อื่นๆ ที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยว ด้านการจัดการ
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล รวมทั้งภาคการท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับการจัดการและ
การเงิน และเดินทางต่อถึงเมือง Denpasar ในตอนเย็น
วันที่ 5 ประชุมร่วมกันกับหน่วยงานของรัฐบาลอินโดนีเซีย การท่องเที่ยว
ภาคเอกชน และองค์กรภาคเอกชน สรุปบทเรียนและเดินทางกลับกรุงเทพฯ
ข้อพิจารณา : ประเทศอินโดนีเซียดาเนินการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเล มาตั้งแต่ปี
1980 ได้ประกาศจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองทางทะเลไปแล้ว 31 แห่ง มีพื้นที่
รวมกันประมาณ 6,000,000 ha และมีแผนจัดตั้ง MPA อีก 45 แห่ง ซึ่งรัฐบาล
อินโดนีเซียมีเป้าหมายจัดตั้ง MPA ให้ได้20,000,000 ha ภายในปี 2020 และ
มีโครงการฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันทางน้า
และมีการอนุรักษ์ร่วมกันกับประเทศมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ปาปัว
นิวกีนี ติมอร์ เลสเต้และหมู่เกาะโซโลมอน ในลักษณะ Coral Triangle
Initiative ได้จัดตั้งกองทุนอนุรักษ์พื้นที่ โดยการสนับสนุนของ USAID,
ADB, GEF, CI, TNC, WWF และ AusAID ส่วนประเทศไทยตั้งอยู่ภายนอก
พื้นที่ได้รับประโยชน์จากบทเรียนในการจัดการแหล่งปะการัง การประมง
และแหล่งอาหารทางทะเล
- 14 - ข-
การดาเนินงานเรื่อง PES ประเทศภูฏาน
ลักษณะภูมิประเทศ
ประเทศภูฏานตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย มีลักษณะเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนที่
ประกอบด้วยพื้นที่ป่าไม้ถึง 60% ของพื้นที่ทั้งประเทศ มีทรัพยากรธรรมชาติด้านป่าไม้มากมาย เป็นป่ารกทึบ
เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ลักษณะเช่นนี้เป็นโอกาสที่ทาให้พื้นที่เป็นแหล่งอานวยการบริการของระบบนิเวศ
หลายๆอย่าง เช่น อานวยน้าที่สะอาดให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น การผลิตกระแสไฟฟ้า และการพัฒนาแหล่ง
ท่องเที่ยว
รัฐบาลของประเทศภูฏานได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการป่ าไม้ไว้ในระยะยาวถึง 20 ปี
(RGoB,1999) มีนโยบายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศ มีการดาเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments
for Ecosystem Services: PES) โดยคานึงถึงผลประโยชน์ที่ได้รับที่เป็นรายได้จากทรัพยากรธรรมชาติสาหรับ
ชุมชนในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาชุมชนของตนเอง ขณะเดียวกันได้มีการประกาศพื้นที่ป่าไม้ให้เป็นอุทยาน
ธรรมชาติให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ส่วนพื้นที่ที่ทาการเกษตรมีเพียง 8% และพบว่า 69% ของประชากรมี
อาชีพทาการเกษตร เพื่อการบริโภคประชาชนภายในประเทศ จากการประกอบอาชีพภาคการเกษตรทาให้มี
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นขณะเดียวกันมีการลดลงของความอุดมสมบูรณ์ของดิน จึงได้มีการพิจารณาถึง
กลไกในการพัฒนาที่ดินให้สมดุลกับการพัฒนาทางด้านการอนุรักษ์ จึงได้นาหลักการ PES มาใช้โดยให้มี
การดาเนินงานของชุมชนท้องถิ่นเอง
ผู้ที่ใช้บริการของระบบนิเวศในทางเศรษฐกิจก็มี เช่น การท่องเที่ยวและการผลิตกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะ
ให้มีการลงทุนได้รับผลประโยชน์เพื่อภาคส่วนเศรษฐกิจ เช่น เขื่อนพลังน้า การท่องเที่ยว ผู้ใช้ก็เป็นชุมชน
ท้องถิ่นมีการกาหนดกลไกให้เจ้าของที่ดินจ่ายเพื่อการบริการ
เพื่อให้เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากร ในการที่จะให้ผู้ใช้บริการในท้องถิ่นหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ได้รับผลประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ให้มีการใช้ระบบนิเวศเพื่อการดารงชีวิตของชุมชน
โดยเฉพาะความปลอดภัยทางอาหาร การจัดการพื้นที่ต้นน้า คุณภาพและปริมาณของน้าปลายน้า จึงได้มี
แผนการจัดการทรัพยากรป่าไม้
ความเชื่อมโยงระหว่าง PES กับกิจกรรมให้ความปลอดภัยของอาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจกับ
ชุมชนท้องถิ่นตามเป้ าหมาย โดยเฉพาะ (1) ผู้ที่พึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการดารงชีวิต (2) เป็นผู้
ให้บริการด้านระบบนิเวศและผู้ได้รับผลประโยชน์ในชุมชนอื่นๆ (3) ผู้ที่ไม่ได้รับผลประโยชน์จากการใช้
ประโยชน์ที่ดิน และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้
/วัตถุประสงค์...
- 15 - ข-
วัตถุประสงค์และผลประโยชน์ที่ได้รับ
เป้ าหมายของโครงการ PES คือ การปรับปรุงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อสนับสนุนการ
บริการสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตของชุมชน มีกิจกรรเพื่อผลผลิตของอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าโดย
การเพิ่มผลผลิตในระบบฟาร์ม ป้ องกันมิให้เกิดผลกระทบกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ การได้รับการ
ชดเชยในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ
วัตถุประสงค์ของโครงการ PES
1. พัฒนาองค์ความรู้ด้าน ES
- การประเมินคุณค่าของ ES
- การสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยโครงการพัฒนา PES ในระยะยาว
- การพัฒนาองค์กรความรู้ในการจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม
- การสร้างความเข้าใจระหว่าง PES กับความปลอดภัยทางอาหาร
2. กาหนดรูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมของ PES
- วิธีการ กลไกการจัดการค่าใช้จ่ายในการป้องกันหรือสนับสนุนในกรอบของ PES
- การทดลองความเป็นไปได้ของกลไก PES เพื่อความมั่นคงของอาหาร และแก้ไขปัญหา
ความยากจน
- ให้ชุมชนท้องถิ่นมีความร่วมมือ พัฒนา ปรับปรุงทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์พื้นที่ให้
ได้รับผลประโยชน์จาก ES
3. พัฒนารูปแบบของ ES และนาสู่ภาคปฏิบัติ
- การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนท้องถิ่น การจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
ที่อยู่บนพื้นฐานของทรัพยากร
- การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้จัดการ ที่ดาเนินการป้ องกันดูแลรักษาพื้นที่ให้ปราศจากภัย
คุกคามต่าง ๆ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
- การพัฒนาและสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของ ES โดยมีผู้ใช้บริการและมีผู้ซื้อ
- การพัฒนาการมีส่วนร่วมในการกาหนดรูปแบบและการประเมิน ES
- การทดสอบกลไกของ PES และมีคู่มือดาเนินงาน
- การจัดทาข้อตกลงในการดาเนินงาน PES คือ หน่วยงานรับผิดชอบทุกขั้นตอน
/พื้นที่...
- 16 - ข-
พื้นที่เป้ าหมาย
การดาเนินงานตามกลไกในพื้นที่มีความแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ในเรื่องของการบริการของ
สิ่งแวดล้อม ที่ผู้ใช้ประโยชน์สามารถจ่ายเงินให้ได้คือ เขื่อนพลังน้าผลิตกระแสไฟฟ้า การท่องเที่ยว น้าดื่มที่
สะอาด เช่น ที่ Woochu ซึ่งเป็นพื้นที่แหล่งต้นน้า มีการสร้างขื่อนผลิตพลังงานไฟฟ้า ประปาภูเขาของชุมชน
การจัดการป่าชุมชน สาหรับกองพันทหาร โรงงานอุตสาหกรรม สนามบินและโรงเรียน พื้นที่ Yalepugang
เป็นพื้นที่ต้นน้าที่อานวยผลประโยชน์ด้านน้าให้แก่ประชาชนในเมือง เทศบาล การพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ จาก
ปัญหาความเสื่อมโทรมของพื้นที่และบริเวณหุบเขา Phobjbha เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีภูมิประเทศที่สวยงาม มี
ความหลากหลายทางชีวภาพ มีนกน้านานาชนิดมาอาศัยอยู่ทาให้มีนักท่องเที่ยวมาชมสัตว์ป่า มีการจัดตั้ง
กองทุนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมในพื้นที่คุ้มครองเพื่อการดารงชีวิตของชุมชน
กระบวนการที่สาคัญ:
องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนา PES ในระดับชาติและการปฏิบัติ
กิจกรรมที่ 1.1 การพัฒนากลไกความสามารถของกระบวนการ PES
- การสร้างกลไก PES โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้เชี่ยวชาญร่วมดาเนินงาน
- การสนับสนุนจากชุมชนท้องถิ่น การจัดตั้งกองทุนจากการใช้บริการของระบบนิเวศ (ES)
- การให้รัฐบาลและท้องถิ่นจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบ PES ที่เป็นการทางานอย่างมีส่วน
ร่วม
กิจกรรมที่ 1.2 รูปแบบการดาเนินงาน PES
- กาหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
- การให้ชุมชนท้องถิ่นร่วมวิเคราะห์ พัฒนา ผลประโยชน์จากธรรมชาติ
- การกาหนดให้เป็นนโยบาย
- การกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก/การลงทุน
องค์ประกอบที่ 2 การปรับปรุงเกี่ยวกับการลงทุน ES
การพัฒนาพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ด้านการลงทุน ES จะต้องมี
กระบวนการเจรจา ในเรื่องความรู้ความเข้าใจถึงผลประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมตลอดจนนโยบายการอนุรักษ์
กิจกรรมที่ 2.1 กระบวนการเจรจา
- การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการที่ดินกับผลกระทบที่เกิดขึ้น
- เข้าใจความสัมพันธ์เรื่องการบริการของระบบนิเวศกับการเปลี่ยนแปลงจากการใช้
ประโยชน์
- การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงจากการที่ดินและน้า
/กิจกรรม...
- 17 - ข-
กิจกรรม 2.2
- การประเมินค่าตอบแทนที่ได้จากลงทุนด้าน ES
- การวิเคราะห์ต้นทุนและกาไรของภาคการเกษตร
- การประเมินความเป็นอยู่ของเกษตรกร ชุมชน ในพื้นที่ที่มีการจัดการเรื่อง ES
- การวิเคราะห์ถึงความปลอดภัยของอาหาร และการสร้างความเชื่อมโยงของ PES
องค์ประกอบที่ 3 กลไกการมีส่วนร่วมและการปฏิบัติตามแผนของ PES ของชุมชนท้องถิ่น
กิจกรรมที่ 3.1 การประเมินการมีส่วนร่วมของ ES
- การวิเคราะห์จานวนครัวเรือน อาชีพ กิจกรรมของกองทุน พื้นที่อานวยผลประโยชน์แก่
ชุมชนท้องถิ่น
- กลไกการเจรจา ปรับแผน ศักยภาพของการมีส่วนร่วม (การฝึกอบรมด้านเกษตรอินทรีย์
การท่องเที่ยว)
กิจกรรมที่ 3.2 การจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบและการสร้างเครือข่าย ประสานงานกับพื้นที่
กิจกรรมที่ 3.3 การพิจารณาจัดทาข้อตกลง เรื่อง PES
องค์ประกอบที่ 4 การจัดการข้อมูลและการนาบทเรียนไปใช้ มีการติดตามผลงานและขยายไปสู่พื้นที่อื่น ๆ
การประชาสัมพันธ์การดาเนินงานจากการใช้ทรัพยากร ผู้มีส่วนร่วมทั้งระดับส่วนกลาง และระดับ
ท้องถิ่น
หน่วยงานรับผิดชอบ:
กองจัดการต้นน้า (WMD)
กรมป่าไม้(DoF )
กระทรวงเกษตร (MoA)
ศักยภาพของหน่วยงาน:
1. พนักงานเจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการโครงการ
2. มีพนักงานเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง
3. สามารถติดต่อประสานงานกับภาคเอกชนได้
4. มีความเข้าใจในกลไกของ PES
5. มีประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
หน่วยงานสนับสนุน : กรมปศุสัตว์ กรมการเกษตร กรมการค้า หน่วยงานวิจัย FAO, SNV, DANIDA
องค์การช่วยเหลือจากนานาชาติ

More Related Content

Similar to เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร

แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย UNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 

Similar to เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร (6)

แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 

เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร

  • 1.
  • 2. - 1 - ข- รายงานสรุปประเด็นทางเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพองค์กรและบุคลากร เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- การพัฒนาศักยภาพขององค์กรและบุคลากร CATSPA จะเน้นถึงเรื่องการสร้าง ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่ กระบวนการพัฒนาศักยภาพในรูปแบบ ต่างๆ เป็นการสร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ในอนาคต หลักสูตรการพัฒนาหรือการฝึกอบรมเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพของบุคลากรในการทางานด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จะต้องให้เป็นไปตามลักษณะงานและ หน้าที่ความรับผิดชอบ ขณะเดียวกันในการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรตามเป้ าหมายจะต้องคานึกถึงโอกาส ความเสี่ยงต่างๆ เช่น องค์กรผู้จัดการฝึกอบรม ผู้เข้ารับการฝึกอบรม กระบวนการฝึกอบรม เป็นต้น ทั้งนี้ เพื่อ ก่อให้เกิดการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ และปรากฏตามผลลัพธ์ของโครงการส่งเสริมความยั่งยืน ของระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (CATSPA) 1. ผลลัพธ์ที่ 2: ศักยภาพขององค์กรและบุคลากรเพิ่มมากขึ้น 2. กิจกรรม : พัฒนาและจัดการอบรมหลักสูตรต่างๆเพื่อเพิ่มสมรรถนะของพนักงาน เจ้าหน้าที่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช โดยเฉพาะพื้นที่คุ้มครองนาร่อง สานักงานนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง ประกอบด้วย 2.1 การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง 2.2 นวัตกรรมด้านงบประมาณพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่ 2.3 การลาดตระเวณเชิงคุณภาพ 2.4 เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 2.5 การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม 2.6 การศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครอง 2.7 การพัฒนาด้านภาคปฏิบัติ/การอภิปราย/การประชุมกลุ่มย่อย 2.8 การศึกษาดูงานด้านค่าแทนคุณระบบนิเวศ กองทุนอนุรักษ์ การจัดการพื้นที่ คุ้มครองทางทะเลและการจัดการอย่างมีส่วนร่วม ทั้งภายในและต่างประเทศ
  • 3. - 2 - ข- 3. วัตถุประสงค์ 3.1 พัฒนาบุคลากรให้มีทัศนคติ ทักษะ ความรู้ความชานาญในการจัดการพื้นที่ คุ้มครองทุกระดับ เพื่อให้หน่วยงานเป็นองค์กรเรียนรู้ ตลอดจนการสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ในทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง 3.2 พัฒนาองค์ความรู้และเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรตลอดจนปลูกฝังให้ บุคลากรมีคุณธรรม จริยธรรม และจิตสานึกในการปฏิบัติงาน 3.3 ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาตนเองและพัฒนาสายอาชีพให้แก่บุคลากรทุกระดับ เพื่อให้บุคลากรในแต่ละสายอาชีพประสบความสาเร็จในสายงานอาชีพของตนเอง 3.4 ปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ของบุคลากรให้เป็นผู้มีกระบวนทัศน์ในการปฏิบัติงาน ตามหลักการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่ 4. ระดับการฝึกอบรม 4.1 ระดับผู้บริหาร เป็นหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่คุ้มครอง (หัวหน้าอุทยานแห่งชาติและ หัวหน้าเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า) พื้นที่นาร่องของโครงการ หัวหน้าหน่วยงานอื่นๆ ที่มีสานักงานของโครงการ ตั้งอยู่ในพื้นที่คุ้มครองและใกล้เคียง ผู้บริหารสานักงานนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง และ ผู้บริหารสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่เกี่ยวข้อง 4.2 ระดับปฏิบัติการ เป็นพนักงานเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการประจาหน่วยงานพื้นที่ คุ้มครอง อุทยานแห่งชาติ และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า พื้นที่คุ้มครองนาร่อง หน่วยงานอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ภายใน พื้นที่คุ้มครองและใกล้เคียง สานักงานนวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง และสานักบริหารพื้นที่ อนุรักษ์ที่เกี่ยวข้อง 5. หลักสูตรการพัฒนาบุคลากร 5.1 การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวใหม่ เกี่ยวข้องกับวิสัยทัศน์ ยุทธศาสตร์ด้านคุณค่าและโครงสร้างการบริหารจัดการ แนวคิดและองค์ประกอบของการจัดการพื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศและการมีส่วนร่วม กระบวนในการใช้ เทคนิคและเครื่องมือที่เหมาะสมในการจัดการ แผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง การจัดทาแผนระบบพื้นที่คุ้มครอง แห่งชาติ การติดตามและประเมินผล รายละเอียดของเนื้อหาจะประกอบด้วยประวัติและความเป็นมาของการจัดการ พื้นที่คุ้มครอง กฎหมายและนโยบาย การจัดทาแผนการจัดการและการนาแผนไปสู่การปฏิบัติ การจัดทาแผน ระบบพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์ภัยคุกคามเพื่อการแก้ไขปัญหา การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างมีส่วนร่วม การบริการของระบบนิเวศและค่าแทนคุณระบบนิเวศและมีการศึกษาดูงานที่เกี่ยวข้องทั้งในและต่างประเทศ
  • 4. - 3 - ข- 5.2 การจัดการความขัดแย้งในพื้นที่คุ้มครอง เกี่ยวข้องกับความสาคัญและความเร่งด่วนของกระบวนการจัดการความขัดแย้งใน พื้นที่คุ้มครอง ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและแนวทางในการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งที่เกิดขึ้นและ การนาความรู้ไปปรับใช้ในนโยบายและแผนการจัดการ รายละเอียดของเนื้อหาจะประกอบด้วยความหมาย ประเภทและรูปแบบความ ขัดแย้ง ทัศนคติ ค่านิยมความขัดแย้ง สาเหตุ การวิเคราะห์ การเจรจา การไกล่เกลี่ย การสื่อสารและความ ร่วมมือการวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและฝึกปฏิบัติในท้องที่กรณีศึกษา 5.3 การผลักดันนโยบาย เกี่ยวข้องกับความสาคัญและความจาเป็นในการผลักดันด้านนโยบาย องค์ความรู้ ทักษะในการวางแผนและดาเนินการด้านนโยบาย รายละเอียดเนื้อหาจะประกอบด้วยประโยชน์ ความสาคัญ รูปแบบ วิธีการ การ วางแผน การเลือกประเด็น การวิเคราะห์ การจาแนก การจัดทาแผนเชิงปฏิบัติการ การติดตามและประเมินผล ทักษะในการวิเคราะห์ การเขียนและการทางานที่เป็นระบบ 5.4 การทางานกับชุมชนอย่างมีส่วนร่วม เกี่ยวข้องกับแนวคิด หลักการ จิตวิทยาชุมชน ภูมิปัญญาท้องถิ่น องค์กรชุมชน กระบวนการทางานของชุมชน เครื่องมือและเทคนิคการทางานร่วมกับชุมชน การจัดทาแผนชุมชนเพื่อให้มี การจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มีประสิทธิภาพ รายละเอียดของเนื้อหาประกอบด้วยกระบวนการทางานร่วมกับชุมชน หลักการ จัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม เทคนิคการศึกษา การเก็บข้อมูล การประเมินชุมชนและทรัพยากรที่ ชุมชนพึ่งพิง การทาแผนยุทธศาสตร์ชุมชนอย่างมีส่วนร่วมเพื่อการจัดการทรัพยากร การสร้างเครือข่ายการ จัดการและการติดตามผลการใช้ประโยชน์และเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการทางานกับชุมชน การศึกษาดูงานและการสัมมนา 5.5 การใช้เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (Management Effectiveness Tracking Tools : METT) เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง (METT) เป็น วิธีการค้นหาข้อมูลจากการปฏิบัติงานตามแผนงานเพื่อให้ผู้บริหารหรือผู้กากับนโยบายใช้ในการพิจารณา สนับสนุนให้การปฏิบัติงานเป็นไปตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มี ประสิทธิภาพ หลักการโดยทั่วๆไปแล้วจะประกอบด้วยการวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของการจัดการพื้นที่ คุ้มครอง การวิเคราะห์ขอบเขตของความรุนแรงและการกระจายของภัยคุกคาม การวิเคราะห์ขอบเขตของ พื้นที่ที่มีความสาคัญและมีคุณค่าของระบบนิเวศ เศรษฐกิจและสังคม มีการกาหนดแนวทางในการ ดาเนินงานตามระดับความสาคัญของการจัดการหรือความจาเป็นในการแก้ไขปัญหา เทคนิคในการพัฒนา
  • 5. - 4 - ข- การดาเนินงานตามนโยบาย แผนการติดตามและประเมินผล เพื่อสนับสนุนการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมี ประสิทธิภาพ เป้าหมายของการนาเครื่องมือ METT มาใช้โดยมีเป้าหมายดังนี้ : 1. เพื่อต้องการให้มีผู้สนับสนุนและการประเมินผลการใช้เงินงบประมาณในการ ลงทุนและดาเนินการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 2. เพื่อปรับปรุงแก้ไขวิธีการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือการปรับแผนการจัดการ 3. เพื่อต้องการให้มีการตรวจสอบการทางานหรือหลักการในการให้เหตุผลที่ สาคัญด้านการจัดการข้อมูล 5.6 ความยั่งยืนของระบบการเงินในพื้นที่คุ้มครอง (Financial Sustainability Scorecard) ความยั่งยืนของระบบการเงินในพื้นที่คุ้มครองเป็นปัจจัยสาคัญในการบริหาร จัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะเรื่องการวางแผนด้านการเงินที่ต้องค้นหาว่าค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาพื้นที่ คุ้มครองมีอะไรบ้าง ทาอย่างไร หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถที่จะพิจารณาตัดสินใจด้านการเงินได้อย่าง ถูกต้องและเหมาะสม การจัดสรรเงินงบประมาณให้เหมาะสมกับความจาเป็นตามสถานการณ์ การแก้ไข ปัญหาสภาพคล่องทางการเงิน ประเด็นที่สาคัญ คือ การพิจารณาความยั่งยืนทางด้านการเงินเพื่อการบริหารจัดการ องค์กร ทั้งนี้โดยทั่วไปแล้วระบบการเงินและการจัดการพื้นที่คุ้มครอง มักจะมีหลายๆหน่วยงานเข้ามา เกี่ยวข้องและรับผิดชอบร่วมกัน ฉะนั้นบทบาทของแต่ละหน่วยงานจะต้องมีความชัดเจนและมีเอกภาพ การ เพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนการจัดการด้านการเงินและการจัดสรรงบประมาณภายในองค์กรจะมีกลไกที่ โปร่งใสและมีประสิทธิภาพในการจัดเก็บค่าธรรมเนียมหรือรายได้ 5.7 เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง แนวทางการประเมินคุณค่าของพื้นที่คุ้มครอง โดยใช้หลักทางเศรษฐศาสตร์จะเป็น กลไกหนึ่งที่เป็นประโยชน์ต่อผู้จัดการพื้นที่คุ้มครองและชุมชนใกล้เคียงกับพื้นที่คุ้มครอง หรือแนวกันชน เป็นการประเมินคุณค่าและการวิเคราะห์เพื่อกาหนดรูปแบบว่ามีความเหมาะสมหรือไม่ เครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์มีความเหมาะสมกับการใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การลดภัย คุกคามในพื้นที่คุ้มครอง การจัดการเงินทุนหรือกองทุน ขณะเดียวกันเพื่อสนับสนุนการดารงชีวิตของชุมชน ท้องถิ่นที่ดีขึ้น การประเมินคุณค่าส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับสภาพของพื้นที่คุ้มครองในแต่ละท้องถิ่นจะต้อง ให้ความสนใจเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สามารถนามาใช้พิจารณาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการ พื้นที่คุ้มครองกับชุมชนท้องถิ่น อันจะนามาซึ่งความร่วมมือซึ่งกันและกัน วัตถุประสงค์ของการประเมินคุณค่าทางเศรษฐศาสตร์จะเกี่ยวข้องกับอนุสัญญาว่า ด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (CBD) โดยเฉพาะหลักการของ Ecosystem Approach ในการประชุม COP5 และ COP10 กาหนดให้มีการพัฒนาเครื่องมือประเมินคุณค่า กิจกรรมที่ดีที่สุดและแนวทางการใช้โดยเฉพาะ เทคนิคและอุปกรณ์ การประเมินคุณค่าการใช้ประโยชน์จากการบริการของระบบนิเวศ (ES) การสนับสนุน
  • 6. - 5 - ข- พื้นที่คุ้มครองที่ต้องดาเนินการโดยให้เป็นไปตามประเพณี วัฒนธรรม นวัตกรรมและกลไกทางการเงินของ ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางในการกาหนดนโยบายด้านเศรษฐกิจของระบบนิเวศและความหลากหลาย ทางชีวภาพในพื้นที่คุ้มครอง การศึกษาและร่วมมือกันค้นหาการบริการของระบบนิเวศ นโยบายการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ โดยเฉพาะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือการจัดทาคู่มือแนวทางในการ ดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่คุ้มครองหรือแนวกันชน ชุมชนท้องถิ่น หรือองค์กรภาคเอกชน หรือทีมงานที่ จะต้องดาเนินงานเพื่อป้องกันการลดลงของความหลากหลายทางชีวภาพเพื่อที่จะให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชน ท้องถิ่นหรือเพื่อประโยชน์ทางเศรษฐกิจหรือการจัดสรรเงินงบประมาณ การกาหนดเครื่องมือทาง เศรษฐศาสตร์จะต้องพิจารณาเรื่องนโยบาย การปฏิบัติทางนวัตกรรม หน่วยงานที่รองรับ ความรู้ความเข้าใจ ในการปฏิบัติและบทเรียนจากแหล่งต่างๆที่ได้มีการศึกษาไว้ก่อนแล้ว 5.8 ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services: PES) และการจัดตั้ง กองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund: CTF) หลักการของค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services : PES) เป็นกลไกหนึ่งของการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืนด้วยแรงจูงใจทางเศรษฐกิจ โดยการจัดสรรเงิน ค่าตอบแทนให้กับชุมชนหรือผู้ดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ด้วยวิธีการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund : CTF) เพื่อเป็นหลักประกันความยั่งยืนของฐานทรัพยากรและประโยชน์หรือ บริการที่มนุษย์จะได้รับจากการบริการของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) ฉะนั้น ค่าแทนคุณระบบนิเวศ คือ ผู้มีบทบาทในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติหรือผู้ให้บริการควรได้รับค่าชดเชยหรือค่าตอบแทนและ ผู้ที่ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติหรือผู้ที่ได้รับประโยชน์จากการบริการของระบบนิเวศควรที่จะต้อง จ่ายเพื่อแลกกับการบริการดังกล่าว องค์ประกอบที่สาคัญของค่าแทนคุณระบบนิเวศประกอบด้วย 1. ผู้ที่ดูแลรักษาระบบนิเวศและทรัพยากรธรรมชาติเป็นผู้ขาย (Sellers) ทาหน้าที่ ดูแลการให้บริการของระบบนิเวศ 2. ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์จากการบริหารของระบบนิเวศเป็นผู้ซื้อ (Buyers) ผู้ได้รับประโยชน์มีความเต็มใจที่จ่ายผลค่าตอบแทน (Willing to Pay) ให้กับผู้ขายที่ได้ตกลงกันไว้ กองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund) ได้มีการพัฒนาและนามาใช้กันใน หลายๆประเทศ เช่น ประเทศแถบลาตินอเมริกา ได้มีการจัดตั้งกองทุนเพื่อสนับสนุนการอนุรักษ์ความ หลากหลายทางชีวภาพ การจัดการพื้นที่คุ้มครอง แหล่งเงินของกองทุนอนุรักษ์จะได้รับการสนับสนุนจาก รัฐบาล องค์กรนานาชาติ องค์กรอนุรักษ์และภาคเอกชน เป็นการจัดการกองทุนให้มีผลกาไรที่มีวัตถุประสงค์ ในการใช้โดยเฉพาะ ในกรณีที่เป็นการดาเนินงานกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองอาจจะกาหนด เป็น Park Funds เป็นการจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองและระบบนิเวศ กองทุนมีเรียกชื่อ แตกต่างกัน เช่น Green Funds เป็นกองทุนที่ใช้ในการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ Brown Funds
  • 7. - 6 - ข- เป็นกองทุนเพื่อใช้ในการจัดการและควบคุมมลพิษและของเสีย Endowment Funds เป็นกองทุนที่ได้รับการ บริจาคและนาผลกาไรไปใช้ประโยชน์ Sinking Funds เป็นกองทุนที่มีกาหนดเวลาในระยะยาวและถูกใช้จน หมด และ Revolving Funds เป็นกองทุนหมุนเวียนที่ได้รับการสนับสนุนเงินจากแหล่งต่างๆ และนาไปลงทุน เพื่อหวังผลกาไร แนวทางในการจัดตั้งกองทุนจะต้องมีสัญญาดาเนินงานในระยะยาว รัฐบาลต้อง สนับสนุนรวมทั้งภาคเอกชน ทางานร่วมกันและมีการพัฒนาที่ยั่งยืน และจะต้องมีกฎหมายควมคุมการเงิน และมีสถาบันรับผิดชอบโดยตรง เพื่อให้เป็นที่เชื่อถือของสาธารณชน 5.9 การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ (Smart Patrolling) เป็นการฝึกอบรมด้านการลาดตระเวนของพนักงานเจ้าหน้าที่ในการดูแลรักษา ป้ องกันพื้นที่คุ้มครอง ขณะเดียวกันในระยะเวลาของการปฏิบัติงานลาดตระเวนก็จะมีการเก็บข้อมูลต่างๆ ควบคู่กันไปด้วยโดยเฉพาะข้อมูลภายในพื้นที่คุ้มครอง หรือภัยคุกคามที่เกิดขึ้น เช่น การลักลอบตัดไม้ การ บุกรุกยึดถือครอบครองที่ดิน การลักลอบล่าสัตว์ป่า ชนิดพันธุ์สัตว์ป่า พนักงานเจ้าหน้าที่จะเก็บข้อมูลด้วย เครื่อง GPS หรือแบบฟอร์มที่จัดทาขึ้น แล้วนาข้อมูลไปแปลงลงในแผนที่หรือเครื่องประมวลผลและ สามารถนาข้อมูลไปใช้ในการวางแผนและกาหนดแนวทางในการดาเนินงานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง วิธีการเก็บข้อมูลของพนักงานเจ้าหน้าที่ในช่วงเวลาที่มีการออกลาดตระเวนจะมี ขั้นตอนการดาเนินงานและมีอุปกรณ์ตามขั้นตอนที่จะนามาแสดงได้ดังนี้ 1. การลาดตระเวนจะมีแผนที่ที่มีพิกัดและเครื่องมือ GPS 2. การกระจายของประชากรสัตว์ป่า 3. กิจกรรมการกระทาผิดกฎหมาย เช่น ไม้ท่อน ไม้ซุง ซากสัตว์เป็นต้น 4. ทรัพยากรที่ชุมชนท้องถิ่นใช้ประโยชน์ 5. การท่องเที่ยว 6. กิจกรรมของแผนงานและการปฏิบัติงาน 7. การเปรียบเทียบข้อมูลระหว่างข้อมูลเก่ากับข้อมูลใหม่ ความสาคัญ (1) ความยั่งยืนเป็นเทคนิควิธีหนึ่งง่ายต่อการดาเนินงาน มีอุปกรณ์แผน ที่และ GPS (2) การใช้ข้อมูลที่เป็นมาตรฐานและสามารถถ่ายทอดข้อมูลได้ดีและ (3) ความถูกต้อง สามารถ นาข้อมูลเข้าเครื่องประเมินผลได้รวดเร็ว 5.10 วิทยากรกระบวนการ เกี่ยวข้องกับหลักการแนวคิดและกระบวนการเพื่อการพัฒนาพื้นที่ที่ยั่งยืน กล ยุทธ์ด้านสังคม ทักษะในการสร้างจิตสานึก การมีส่วนร่วมของประชาชน เส้นทางศึกษาธรรมชาติและการ สื่อความหมาย รายละเอียดเนื้อหาประกอบด้วยการจัดการด้านสังคม การวางแผน เป้ าหมาย ผู้บริโภค การดาเนินงานกิจกรรม สิ่งแวดล้อมศึกษา การสื่อความหมายธรรมชาติ การปฏิบัติในพื้นที่และเวที แลกเปลี่ยนในการปฏิบัติงาน ตลอดจนการจัดประชุมและการบันทึกการประชุม
  • 8. - 7 - ข- 5.11 การพัฒนาอาชีพแบบครบวงจร เกี่ยวข้องกับความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเศรษฐกิจพอเพียงและผลิตภัณฑ์ของ ชุมชนที่ไม่ทาลายทรัพยากร ทักษะและการนาบทเรียนมาประยุกต์ใช้ในการส่งเสริมอาชีพ การวางแผนการ ขายที่ก่อให้เกิดรายได้และสามารถพัฒนาวิสาหกิจชุมชน รายละเอียดเนื้อหาประกอบด้วยเศรษฐกิจพอเพียง ผู้ประกอบการที่รับผิดชอบต่อ ทรัพยากร (จิตสานึกในการใช้ทรัพยากร การค้นหากลุ่มเป้ าหมาย การขายสินค้าและการพัฒนา) ฝึกปฏิบัติ และดูงาน การสร้างแผนกลยุทธ์กับชุมชนบนหลักการทางเศรษฐกิจพอเพียง 5.12 การใช้ภาษาเพื่อการสื่อสาร เกี่ยวกับการฝึกอบรมให้มีทักษะในการพูด การเขียนและแปลภาษาอังกฤษหรือ ภาษาจีนหรือภาษารัสเซียและภาษาประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อรองรับการเข้าร่วมภาคีเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) รายละเอียดเนื้อหาจะประกอบด้วย การพัฒนาทักษะในการพูด การเขียน การ อ่าน การฟังและการใช้ภาษาอังกฤษ ภาษากัมพูชา ภาษาเมียนมาร์ ภาษาจีน หรือภาษารัสเซีย หรือภาษา ท้องถิ่น เป็นต้น 5.13 การศึกษาดูงาน ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่คุ้มครองหรือกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ภายใต้โครงการ CATSPA ที่เข้าร่วมฝึกอบรมหลักสูตรต่างๆ ดังกล่าวแล้ว เพื่อสร้างศักยภาพให้แก่พนักงาน เจ้าหน้าที่เพิ่มขึ้นจะต้องกาหนดให้มีการศึกษาดูงานทั้งในประเทศและต่างประเทศ ตามที่จะพิจารณาว่ามี ความเหมาะสม 1. กรณีการศึกษาดูงานภายในประเทศ เช่น หมู่บ้านธารมะยม อาเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ศึกษาดูงานด้านการบริการของระบบนิเวศ (ES) ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) หรือการ จัดตั้งกองทุนและบริหารกองทุน (CTF) ด้านการใช้น้า เป็นต้น 2. กรณีการศึกษาดูงานในต่างประเทศ จะพิจารณาจากผู้บริหารระดับสูง ผู้ที่มี ความตั้งใจในการปฏิบัติงาน หรือ หัวหน้าหน่วยงานในพื้นที่คุ้มครองภายใต้โครงการ CATSPA หรือผู้ที่ผ่าน การฝึกอบรมหรือคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง โดยการพิจารณาความเหมาะสมจากผู้อานวยการ โครงการ CATSPA ซึ่งจะมีความเห็นดังนี้ (1) อุทยานแห่งชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล ซึ่งเป็นอุทยานแห่งชาติทางทะเล พนักงานเจ้าหน้าที่ควรไปศึกษาดูงานที่อุทยานแห่งชาติทางทะเลบูนาเก้น (Bunaken) ประเทศอินโดนีเซีย (เป็นข้อเสนอของนายทวี หนูทอง) หรือพื้นที่อื่น อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bunaken จัดตั้งขึ้นเมื่อปี ค.ศ.1991 เพื่อเป็น การอนุรักษ์แหล่งปะการัง ป่าชายเลนและความหลากหลากทางชีวภาพ และในปี ค.ศ. 2001 รัฐบาล อินโดนีเซียได้ใช้นโยบายกระจายอานาจในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองสู่ท้องถิ่น อนุญาตให้พนักงาน เจ้าหน้าที่ควบคุมการเก็บเงินค่าธรรมเนียมรายได้จากผู้เข้าใช้บริการพื้นที่และให้มีการนาเงินรายได้ไปใช้ใน การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ต้องอยู่ภายใต้คาแนะนาหรืออนุมัติของคณะกรรมการที่ปรึกษาที่เรียกว่า
  • 9. - 8 - ข- Bunaken Collaborative Management Advisory Board (BCMAB) หรือที่เรียกว่า คณะกรรมการ Co- management ที่ประกอบด้วยชุมชนท้องถิ่นและองค์กรภาคเอกชน วิธีการเก็บเงินค่าธรรมเนียมจากผู้เข้าใช้บริการของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ นักท่องเที่ยวจะต้องซื้อบัตรท่องเที่ยวอุทยานแห่งชาติ ที่มีชื่อ-สกุลปรากฏอยู่ในบัตรและใบเสร็จรับเงินกากับ ที่ต้องเก็บไว้ให้ตรวจสอบได้ การดาเนินงานโดยวิธีการกาหนดระบบของบัตรหรือป้ ายชื่อ เพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการตรวจสอบในการนาไปใช้พื้นที่คุ้มครอง ทั้งนี้เพราะว่าการเดินทางเข้าไปในพื้นที่มิได้มี เพียงทางเข้าแห่งเดียว และนักท่องเที่ยวจะต้องใช้บัตรไปแสดงในการจับจ่ายซื้อสิ่งของได้ เช่น ชุดว่ายน้า ชุด ดาน้า ค่าเรือ และสามารถแสดงให้พนักงานเจ้าหน้าที่ตรวจสอบได้ เป็นต้น บทบาทของคณะกรรมการที่ปรึกษาเกี่ยวกับเงินรายได้จากค่าธรรมเนียม เข้าใช้บริการพื้นที่คุ้มครอง มีอานาจพิจารณาโดยกาหนดวงเงิน 80% ของรายได้จากค่าธรรมเนียมไปใช้ใน การบริการจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ด้านการป้ องกัน การศึกษาวิจัย การให้การศึกษาแก่เยาชน ประชาชน การพัฒนาชุมชน (ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ) ส่วนที่เหลืออีก 20% จะแบ่งออกเป็นส่วนๆ ดังนี้ ก. จานวน 3.75% โอนให้ชุมชนเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่ชุมชน ข. จานวน 3.75% โอนให้อาเภอที่เป็นที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครองเพื่อการ บริหารงานของอาเภอ ค. จานวน 7.50% โอนให้จังหวัดที่เป็นที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครองเพื่อการ บริหารงานของจังหวัด ง. จานวน 5.0% โอนให้รัฐบาลกลางสาหรับการบริหารของหน่วยงานที่ รับผิดชอบการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติ (2) การศึกษาดูงานของผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่คุ้มครองทางบก โดยการศึกษา ดูงานด้านการบริการของระบบนิเวศ (Ecosystem Services) ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services) และการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Funds) ณ ประเทศภูฎาน ซึ่งอยู่ระหว่างการ ประสานงานกับผู้เชี่ยวชาญต่างประเทศและพนักงานเจ้าหน้าที่ประเทศภูฎาน (รายละเอียดปรากฏตาม เอกสารแนบท้ายที่เสนอโดย Mr. Jeffrey A. McNeely)
  • 10. - 9 - ข- โครงการศึกษาดูงานในต่างประเทศ (1) ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของการจัดการระบบ พื้นที่คุ้มครอง (CATSPA) ---------------------------------- 1. พื้นที่เป้ าหมาย (1) ประเทศภูฎาน 2. หลักการและเหตุผล การพิจารณาเลือกประเทศภูฎานเป็นสถานที่ศึกษาดูงานด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะในเรื่องการบริการของระบบนิเวศ ค่าแทนคุณระบบนิเวศ กองทุนอนุรักษ์เพื่อการจัดการพื้นที่ คุ้มครอง มีเหตุผลในการสนับสนุนการดาเนินงานได้หลายประการ คือ ในอดีตที่ผ่านมามีการแลกเปลี่ยน การศึกษาดูงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานในพื้นที่คุ้มครองทั้งสองประเทศ และการดาเนินงานด้าน การจัดการพื้นที่คุ้มครองในทั้งสองประเทศ มีกิจกรรมที่ประสบผลสาเร็จและเป็นต้นแบบที่น่าสนใจในการ ดาเนินงานของโครงการ CATSPA 3. การจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศภูฎาน การดาเนินงานการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศภูฎาน ที่มีการใช้เงินงบประมาณจาก กองทุนอนุรักษ์เพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อม ทาให้การจัดการพื้นที่คุ้มครองมีการดาเนินงานที่เป็นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ พื้นที่คุ้มครองของประเทศภูฎานประกอบด้วย พื้นที่ที่เป็นอุทยานแห่งชาติ 5 แห่ง เขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า 4 แห่ง และพื้นที่สงวนธรรมชาติ ทุกพื้นที่มีการดาเนินงานด้านการจัดทาแนวเชื่อมต่อทางระบบ นิเวศและการจัดการแนวกันชน พื้นที่คุ้มครองรวมแล้วมีพื้นที่มากกว่าครึ่งหนึ่งของประเทศ ในทุกๆ พื้นที่ คุ้มครองจะมีชุมชนท้องถิ่นอาศัยอยู่รวมทั้งบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงพื้นที่คุ้มครอง จึงทาให้พื้นที่คุ้มครองกับ ชุมชนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ซึ่งกันและกัน Manas National Park ตั้งอยู่ชายแดนของประเทศมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอินเดีย เป็น พื้นที่ที่ได้ประกาศเป็นมรดกโลกทางธรรมชาติและเป็นถิ่นที่อาศัยที่สาคัญของเสือโคร่ง และเขตรักษาพันธุ์ สัตว์ป่า Khaling เป็นพื้นที่ที่มีอาณาเขตติดต่อกับประเทศอินเดียเช่นกัน รัฐบาลของประเทศภูฎานและ ประเทศอินเดียได้ดาเนินการจัดการเป็นพื้นที่คุ้มครองให้เป็นแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศ เป็นวิธีการจัดการ แนวเชื่อมต่อระหว่างประเทศ (corridors) และโดยความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่น โครงการ CATSPA สามารถที่จะนามาใช้เป็นแนวทางในการดาเนินงานได้ 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services : PES)และ สามารถที่จะนาแนวทางมาใช้กับการจัดการพื้นที่คุ้มครองในประเทศไทยได้
  • 11. - 10 - ข- 4.2 เพื่อเพิ่มพูนความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกองทุนอนุรักษ์ (Conservation Trust Fund : CTF) ทั้งในระดับท้องถิ่นและระดับชาติ 4.3 เพื่อพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการสร้างความร่วมมือการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กับชุมชนท้องถิ่นในพื้นที่คุ้มครอง โดยเฉพาะการแก้ไขปัญหาเรื่องคนกับช้างป่า และผลประโยชน์ที่ชุมชน ท้องถิ่นได้รับ 5. จานวนผู้เข้าร่วมเดินทาง จานวน 20 ท่าน โดยแบ่งออกเป็นสองระดับ คือ ระดับผู้บริหารและระดับหัวหน้าพื้นที่ คุ้มครอง ซึ่งต้องมีความเข้าใจที่ร่วมกันทั้งในระด้บปฏิบัติและระดับนโยบาย 6. กรอบเวลากาหนดการ ระหว่างวันที่ 18-25 พฤษภาคม 2557 (ชั่วคราว) วันที่ 1 เดินทางถึงเมืองหลวง Thimphu ประเทศภูฎาน ภาคค่า รับประทานอาหาร เย็นร่วมกันระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่ายไทยและพนักงานเจ้าหน้าที่ฝ่าย ภูฎาน ปรึกษาหารือในการศึกษาดูงาน ร่วมกับพนักงานเจ้าหน้าที่จาก กระทรวงเกษตรและป่าไม้ผู้บริหารกองทุนอนุรักษ์ (CTF) สมาคม อนุรักษ์ธรรมชาติและ WWF พักค้างคืน: วันที่ 2 ภาคเช้า ประชุมร่วมกันทั้งฝ่ายไทยและฝ่ายภูฎาน เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ และความคาดหวังของคณะศึกษาดูงานจากประเทศไทย (1) การบรรยาย เรื่องค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) และการจัดตั้งกองทุนอนุรักษ์ (CTF) และเปิดอภิปรายร่วมกันโดยเฉพาะนโยบายและการปฏิบัติ (2) การ บรรยายเรื่องการจัดทาแนวเชื่อมต่อของระบบนิเวศในประเทศภูฎาน และ (3) บรรยายเรื่องนโยบายและความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่นในการสร้าง ความร่วมมือการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศและแนะนาพื้นที่ดูงาน ภาคสนาม การบรรยายจะประกอบด้วยนโยบายและการปฏิบัติภาคสนาม ภาคบ่ายและค่า: บรรยายเรื่อง การท่องเที่ยวในพื้นที่คุ้มครอง การพัฒนา เขื่อนพลังน้าที่สัมพันธ์กับการเกษตร และการใช้ประโยชน์ที่ดินอื่นๆ เรื่อง ของกฎหมายในส่วนที่รับผิดชอบของกระทรวงเกษตรและป่าไม้ซึ่งเป็น การนาเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง พักค้างคืน :
  • 12. - 11 - ข- วันที่ 3 เดินทางออกจากที่พักเดินทางโดยรถยนต์ถึง Thrumshingla National Park ระหว่างการเดินทางจะพบเห็นว่ามีถนนตัดผ่านอุทยานแห่งชาติและ มีชุมชนอาศัยอยู่ภายในพื้นที่ ฟังคาบรรยายและร่วมอภิปรายกับพนักงาน เจ้าหน้าที่อุทยานแห่งชาติ และดูงานในพื้นที่หมู่บ้านที่ดาเนินการสร้าง ความร่วมมือระหว่างชุมชนกับธรรมชาติ พักค้างคืน: วันที่ 4 ภาคเช้า: เดินทางไปศึกษาดูงานในพื้นที่ที่เกี่ยวกับความขัดแย้งระหว่างคน กับสัตว์ป่า ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) การท่องเที่ยวและอื่นๆที่ เกี่ยวข้อง ภาคบ่าย : เดินทางโดยรถยนต์ไปยัง Manas National Park พักค้างคืน: วันที่ 5 ภาคเช้า : เดินทางต่อโดยรถยนต์ถึง Manas National Park ประมาณเที่ยง วัน ภาคบ่าย : บรรยายสรุปเรื่องการจัดการสัตว์ป่า (เสือโคร่ง ช้างป่า กระทิง ควายป่า แรด และชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากอื่นๆ) วันที่ 6 ภาคเช้า : ดูงานในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ Manas National Park จนถึงเวลา เที่ยงวันจึงเดินทางต่อโดยรถยนต์ถึงเมือง Thimphu พักค้างคืน: วันที่ 7 ประชุมร่วมกันระหว่างเจ้าหน้าที่ทั้งฝ่ายไทยและภูฏานเพื่อสรุปผล การศึกษาดูงานและบทเรียน ภาคค่า : ร่วมรับประทานอาหารค่า พร้อมด้วยการเสนอข้อคิดเห็นและ กล่าวขอบคุณผู้เข้าร่วมโครงการ วันที่ 8 เดินทางกลับกรุงเทพฯ ข้อพิจารณา : เนี่องจากคณะผู้ศึกษาดูงานจากประเทศไทยมีหลายระดับ จะแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่คุ้มครอง ควรจะได้ไปศึกษาในพื้นที่คุ้มครองทุกแห่งรวมทั้งการรับฟังคา บรรยาย ส่วนระดับผู้บริหารควรจะการเจาะลึกในเรื่องนโยบาย เช่น กฎหมาย โครงสร้างการจัดการหรือ นโยบายการจัดการ พิจารณา: (ฝ่ายไทย)
  • 13. - 12 - ข- โครงการศึกษาดูงานในต่างประเทศ (2) ภายใต้โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของการจัดการระบบ พื้นที่คุ้มครอง (CATSPA) ------------------------------ 1. พื้นที่เป้ าหมาย (2) อุทยานแห่งชาติทางทะเล Bali Barat ประเทศอินโดนีเซีย 2. ผู้ร่วมเดินทาง : พนักงานเจ้าหน้าที่จากกรมอุทยานแห่งชาติตะรุเตาและหน่วยงานอื่นๆ จากฝั่งทะเลอัน อันดามัน จานวน 10 คน 3. หลักการและเหตุผล เป้าหมายของการศึกษาดูงานเพื่อร่วมพิจารณาประสบการณ์ในการจัดการพื้นที่คุ้มครองทาง ทะเล โดยเฉพาะการท่องเที่ยวและรายได้จากการท่องเที่ยว Bali Barat เป็นอุทยานแห่งชาติที่ตั้งอยู่ทางทิศ ตะวันตกของเกาะบาหลี จะประกอบด้วยพื้นที่ทั้งบนบกและทะเล เป็นถิ่นที่อาศัยของนกหายาก โดยเฉพาะ นกขุนทองบาหลี เป็นแหล่งปะการังที่สมบูรณ์ที่สุดของเกาะบาหลี เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญ มีหาดทรายที่ สวยงาม มีป่าชายเลนและแหล่งปะการัง อุทยานแห่งชาติทางทะเลประกอบด้วยเกาะต่างๆ ที่มีลักษณะ เดียวกันกับหมู่เกาะตะรุเตาและเกาะหลีเปะ ที่มีการพัฒนาการท่องเที่ยว เป็นถิ่นที่อาศัยทางทะเลที่สาคัญ ระดับนานาชาติ มีการกาหนดเขตการจัดการและเขตบริการใกล้ๆ กับ Bali Barat เป็นช่องแคบและติดต่อกับ อุทยานแห่งชาติทางทะเล Baluran ซึ่งก็มีแหล่งปะการังที่สวยงามเช่นกันและใช้เป็นที่ดูงานอีกแห่งหนึ่ง 4. วัตถุประสงค์ 4.1 เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ของอินโดนีเซียและไทย รวมทั้งบทบาทของการจัดการพื้นที่ทางทะเลที่ได้รับแรงกดดันจากนักท่องเที่ยวที่มีปริมาณมาก 4.2 ร่วมพิจารณาถึงกลไกของการเงินงบประมาณ การศึกษาถึงคุณค่าการบริการของระบบ นิเวศในพื้นที่คุ้มครองทางทะเล 4.3 การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่คุ้มครองกับการท่องเที่ยวภาคเอกชนภายใน พื้นที่คุ้มครองและใกล้เคียง การพัฒนาการเงินงบประมาณ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวที่เกาะบาหลี 4.4 เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่คุ้มครองกับองค์กรอนุรักษ์ภาคเอกชน เช่น WWF องค์กรอนุรักษ์นานาชาติ 5. กรอบเวลากาหนดการ วันที่ 1 เดินทางจากกรุงเทพฯ ถึงเมือง Denpasar, Bali ภาคบ่าย: ประชุมร่วมกับ เจ้าหน้าที่อินโดนีเซียที่เกี่ยวข้อง ร่วมรับประทานอาหารค่ากับผู้มีส่วนได้
  • 14. - 13 - ข- ส่วนเสียจากพื้นที่คุ้มครองทางทะเล ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน รวมทั้งภาค การท่องเที่ยว พักค้างคืน: ที่ Denpasar วันที่ 2 ภาคเช้า: เดินทางจากเมือง Denpasar ไปยังอุทยานแห่งชาติ Bali Barat โดย รถยนต์ใช้เวลาในการเดินทางประมาณ 2-3 ชั่วโมง ประชุมร่วมกับหัวหน้า อุทยานแห่งชาติ Bali Barat เกี่ยวกับการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเล การ จัดการการท่องเที่ยวและการอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยาก วันที่ 3 ดูงานในพื้นที่ ณ อุทยานแห่งชาติ Bali Barat ร่วมปรึกษาหาหรือ และ เดินทางไปยังอุทยานแห่งชาติ Baluran โดยทางเรือ ร่วมปรึกษาหารือถึง ความสัมพันธ์ระหว่างอุทยานแห่งชาติทั้งสองแห่ง ที่แบ่งแยกโดยช่องแคบมี ความกว้าง 2.4 กิโลเมตร มีเรือเฟอรี่บริการ พักค้างคืน: ที่ Baluran หรือ ใกล้เคียง วันที่ 4 ศึกษางานในพื้นที่และอภิปรายร่วมกันกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เดินทางกลับ บาหลีแวะเยี่ยมชมพื้นที่อื่นๆ ที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยว ด้านการจัดการ พื้นที่คุ้มครองทางทะเล รวมทั้งภาคการท่องเที่ยวที่เกี่ยวกับการจัดการและ การเงิน และเดินทางต่อถึงเมือง Denpasar ในตอนเย็น วันที่ 5 ประชุมร่วมกันกับหน่วยงานของรัฐบาลอินโดนีเซีย การท่องเที่ยว ภาคเอกชน และองค์กรภาคเอกชน สรุปบทเรียนและเดินทางกลับกรุงเทพฯ ข้อพิจารณา : ประเทศอินโดนีเซียดาเนินการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเล มาตั้งแต่ปี 1980 ได้ประกาศจัดตั้งพื้นที่คุ้มครองทางทะเลไปแล้ว 31 แห่ง มีพื้นที่ รวมกันประมาณ 6,000,000 ha และมีแผนจัดตั้ง MPA อีก 45 แห่ง ซึ่งรัฐบาล อินโดนีเซียมีเป้าหมายจัดตั้ง MPA ให้ได้20,000,000 ha ภายในปี 2020 และ มีโครงการฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานด้านการป้องกันทางน้า และมีการอนุรักษ์ร่วมกันกับประเทศมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ปาปัว นิวกีนี ติมอร์ เลสเต้และหมู่เกาะโซโลมอน ในลักษณะ Coral Triangle Initiative ได้จัดตั้งกองทุนอนุรักษ์พื้นที่ โดยการสนับสนุนของ USAID, ADB, GEF, CI, TNC, WWF และ AusAID ส่วนประเทศไทยตั้งอยู่ภายนอก พื้นที่ได้รับประโยชน์จากบทเรียนในการจัดการแหล่งปะการัง การประมง และแหล่งอาหารทางทะเล
  • 15. - 14 - ข- การดาเนินงานเรื่อง PES ประเทศภูฏาน ลักษณะภูมิประเทศ ประเทศภูฏานตั้งอยู่ทางทิศตะวันออกของเทือกเขาหิมาลัย มีลักษณะเป็นเทือกเขาสลับซับซ้อนที่ ประกอบด้วยพื้นที่ป่าไม้ถึง 60% ของพื้นที่ทั้งประเทศ มีทรัพยากรธรรมชาติด้านป่าไม้มากมาย เป็นป่ารกทึบ เป็นแหล่งต้นน้าลาธาร ลักษณะเช่นนี้เป็นโอกาสที่ทาให้พื้นที่เป็นแหล่งอานวยการบริการของระบบนิเวศ หลายๆอย่าง เช่น อานวยน้าที่สะอาดให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น การผลิตกระแสไฟฟ้า และการพัฒนาแหล่ง ท่องเที่ยว รัฐบาลของประเทศภูฏานได้จัดทาแผนยุทธศาสตร์การจัดการป่ าไม้ไว้ในระยะยาวถึง 20 ปี (RGoB,1999) มีนโยบายอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมของประเทศ มีการดาเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ (Payments for Ecosystem Services: PES) โดยคานึงถึงผลประโยชน์ที่ได้รับที่เป็นรายได้จากทรัพยากรธรรมชาติสาหรับ ชุมชนในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาชุมชนของตนเอง ขณะเดียวกันได้มีการประกาศพื้นที่ป่าไม้ให้เป็นอุทยาน ธรรมชาติให้เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า ส่วนพื้นที่ที่ทาการเกษตรมีเพียง 8% และพบว่า 69% ของประชากรมี อาชีพทาการเกษตร เพื่อการบริโภคประชาชนภายในประเทศ จากการประกอบอาชีพภาคการเกษตรทาให้มี การใช้ประโยชน์ที่ดินเพิ่มขึ้นขณะเดียวกันมีการลดลงของความอุดมสมบูรณ์ของดิน จึงได้มีการพิจารณาถึง กลไกในการพัฒนาที่ดินให้สมดุลกับการพัฒนาทางด้านการอนุรักษ์ จึงได้นาหลักการ PES มาใช้โดยให้มี การดาเนินงานของชุมชนท้องถิ่นเอง ผู้ที่ใช้บริการของระบบนิเวศในทางเศรษฐกิจก็มี เช่น การท่องเที่ยวและการผลิตกระแสไฟฟ้า ซึ่งจะ ให้มีการลงทุนได้รับผลประโยชน์เพื่อภาคส่วนเศรษฐกิจ เช่น เขื่อนพลังน้า การท่องเที่ยว ผู้ใช้ก็เป็นชุมชน ท้องถิ่นมีการกาหนดกลไกให้เจ้าของที่ดินจ่ายเพื่อการบริการ เพื่อให้เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากร ในการที่จะให้ผู้ใช้บริการในท้องถิ่นหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ได้รับผลประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน ให้มีการใช้ระบบนิเวศเพื่อการดารงชีวิตของชุมชน โดยเฉพาะความปลอดภัยทางอาหาร การจัดการพื้นที่ต้นน้า คุณภาพและปริมาณของน้าปลายน้า จึงได้มี แผนการจัดการทรัพยากรป่าไม้ ความเชื่อมโยงระหว่าง PES กับกิจกรรมให้ความปลอดภัยของอาหาร เพื่อสร้างความเข้าใจกับ ชุมชนท้องถิ่นตามเป้ าหมาย โดยเฉพาะ (1) ผู้ที่พึ่งพิงทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการดารงชีวิต (2) เป็นผู้ ให้บริการด้านระบบนิเวศและผู้ได้รับผลประโยชน์ในชุมชนอื่นๆ (3) ผู้ที่ไม่ได้รับผลประโยชน์จากการใช้ ประโยชน์ที่ดิน และการใช้ประโยชน์จากป่าไม้ /วัตถุประสงค์...
  • 16. - 15 - ข- วัตถุประสงค์และผลประโยชน์ที่ได้รับ เป้ าหมายของโครงการ PES คือ การปรับปรุงการจัดการทรัพยากรธรรมชาติเพื่อสนับสนุนการ บริการสิ่งแวดล้อม เพื่อการดารงชีวิตของชุมชน มีกิจกรรเพื่อผลผลิตของอาหารที่ปลอดภัยและมีคุณค่าโดย การเพิ่มผลผลิตในระบบฟาร์ม ป้ องกันมิให้เกิดผลกระทบกับการเปลี่ยนแปลงของภูมิอากาศ การได้รับการ ชดเชยในการดูแลรักษาทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุประสงค์ของโครงการ PES 1. พัฒนาองค์ความรู้ด้าน ES - การประเมินคุณค่าของ ES - การสนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยโครงการพัฒนา PES ในระยะยาว - การพัฒนาองค์กรความรู้ในการจัดการพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม - การสร้างความเข้าใจระหว่าง PES กับความปลอดภัยทางอาหาร 2. กาหนดรูปแบบและกลไกการมีส่วนร่วมของ PES - วิธีการ กลไกการจัดการค่าใช้จ่ายในการป้องกันหรือสนับสนุนในกรอบของ PES - การทดลองความเป็นไปได้ของกลไก PES เพื่อความมั่นคงของอาหาร และแก้ไขปัญหา ความยากจน - ให้ชุมชนท้องถิ่นมีความร่วมมือ พัฒนา ปรับปรุงทรัพยากรธรรมชาติ การอนุรักษ์พื้นที่ให้ ได้รับผลประโยชน์จาก ES 3. พัฒนารูปแบบของ ES และนาสู่ภาคปฏิบัติ - การสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนท้องถิ่น การจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ที่อยู่บนพื้นฐานของทรัพยากร - การสร้างความเข้มแข็งให้กับผู้จัดการ ที่ดาเนินการป้ องกันดูแลรักษาพื้นที่ให้ปราศจากภัย คุกคามต่าง ๆ ผลที่คาดว่าจะได้รับ - การพัฒนาและสร้างความตระหนักถึงคุณค่าของ ES โดยมีผู้ใช้บริการและมีผู้ซื้อ - การพัฒนาการมีส่วนร่วมในการกาหนดรูปแบบและการประเมิน ES - การทดสอบกลไกของ PES และมีคู่มือดาเนินงาน - การจัดทาข้อตกลงในการดาเนินงาน PES คือ หน่วยงานรับผิดชอบทุกขั้นตอน /พื้นที่...
  • 17. - 16 - ข- พื้นที่เป้ าหมาย การดาเนินงานตามกลไกในพื้นที่มีความแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์ในเรื่องของการบริการของ สิ่งแวดล้อม ที่ผู้ใช้ประโยชน์สามารถจ่ายเงินให้ได้คือ เขื่อนพลังน้าผลิตกระแสไฟฟ้า การท่องเที่ยว น้าดื่มที่ สะอาด เช่น ที่ Woochu ซึ่งเป็นพื้นที่แหล่งต้นน้า มีการสร้างขื่อนผลิตพลังงานไฟฟ้า ประปาภูเขาของชุมชน การจัดการป่าชุมชน สาหรับกองพันทหาร โรงงานอุตสาหกรรม สนามบินและโรงเรียน พื้นที่ Yalepugang เป็นพื้นที่ต้นน้าที่อานวยผลประโยชน์ด้านน้าให้แก่ประชาชนในเมือง เทศบาล การพัฒนาพื้นที่ป่าไม้ จาก ปัญหาความเสื่อมโทรมของพื้นที่และบริเวณหุบเขา Phobjbha เป็นแหล่งท่องเที่ยว มีภูมิประเทศที่สวยงาม มี ความหลากหลายทางชีวภาพ มีนกน้านานาชนิดมาอาศัยอยู่ทาให้มีนักท่องเที่ยวมาชมสัตว์ป่า มีการจัดตั้ง กองทุนเพื่อสนับสนุนกิจกรรมในพื้นที่คุ้มครองเพื่อการดารงชีวิตของชุมชน กระบวนการที่สาคัญ: องค์ประกอบที่ 1 การพัฒนา PES ในระดับชาติและการปฏิบัติ กิจกรรมที่ 1.1 การพัฒนากลไกความสามารถของกระบวนการ PES - การสร้างกลไก PES โดยพนักงานเจ้าหน้าที่ ผู้เชี่ยวชาญร่วมดาเนินงาน - การสนับสนุนจากชุมชนท้องถิ่น การจัดตั้งกองทุนจากการใช้บริการของระบบนิเวศ (ES) - การให้รัฐบาลและท้องถิ่นจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบ PES ที่เป็นการทางานอย่างมีส่วน ร่วม กิจกรรมที่ 1.2 รูปแบบการดาเนินงาน PES - กาหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ - การให้ชุมชนท้องถิ่นร่วมวิเคราะห์ พัฒนา ผลประโยชน์จากธรรมชาติ - การกาหนดให้เป็นนโยบาย - การกาหนดหลักเกณฑ์ในการคัดเลือก/การลงทุน องค์ประกอบที่ 2 การปรับปรุงเกี่ยวกับการลงทุน ES การพัฒนาพื้นฐาน ทางวิทยาศาสตร์และเศรษฐศาสตร์ด้านการลงทุน ES จะต้องมี กระบวนการเจรจา ในเรื่องความรู้ความเข้าใจถึงผลประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมตลอดจนนโยบายการอนุรักษ์ กิจกรรมที่ 2.1 กระบวนการเจรจา - การศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการที่ดินกับผลกระทบที่เกิดขึ้น - เข้าใจความสัมพันธ์เรื่องการบริการของระบบนิเวศกับการเปลี่ยนแปลงจากการใช้ ประโยชน์ - การวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงจากการที่ดินและน้า /กิจกรรม...
  • 18. - 17 - ข- กิจกรรม 2.2 - การประเมินค่าตอบแทนที่ได้จากลงทุนด้าน ES - การวิเคราะห์ต้นทุนและกาไรของภาคการเกษตร - การประเมินความเป็นอยู่ของเกษตรกร ชุมชน ในพื้นที่ที่มีการจัดการเรื่อง ES - การวิเคราะห์ถึงความปลอดภัยของอาหาร และการสร้างความเชื่อมโยงของ PES องค์ประกอบที่ 3 กลไกการมีส่วนร่วมและการปฏิบัติตามแผนของ PES ของชุมชนท้องถิ่น กิจกรรมที่ 3.1 การประเมินการมีส่วนร่วมของ ES - การวิเคราะห์จานวนครัวเรือน อาชีพ กิจกรรมของกองทุน พื้นที่อานวยผลประโยชน์แก่ ชุมชนท้องถิ่น - กลไกการเจรจา ปรับแผน ศักยภาพของการมีส่วนร่วม (การฝึกอบรมด้านเกษตรอินทรีย์ การท่องเที่ยว) กิจกรรมที่ 3.2 การจัดตั้งหน่วยงานรับผิดชอบและการสร้างเครือข่าย ประสานงานกับพื้นที่ กิจกรรมที่ 3.3 การพิจารณาจัดทาข้อตกลง เรื่อง PES องค์ประกอบที่ 4 การจัดการข้อมูลและการนาบทเรียนไปใช้ มีการติดตามผลงานและขยายไปสู่พื้นที่อื่น ๆ การประชาสัมพันธ์การดาเนินงานจากการใช้ทรัพยากร ผู้มีส่วนร่วมทั้งระดับส่วนกลาง และระดับ ท้องถิ่น หน่วยงานรับผิดชอบ: กองจัดการต้นน้า (WMD) กรมป่าไม้(DoF ) กระทรวงเกษตร (MoA) ศักยภาพของหน่วยงาน: 1. พนักงานเจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจในการจัดการโครงการ 2. มีพนักงานเจ้าหน้าที่รับผิดชอบโดยตรง 3. สามารถติดต่อประสานงานกับภาคเอกชนได้ 4. มีความเข้าใจในกลไกของ PES 5. มีประสบการณ์ในการมีส่วนร่วมและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ หน่วยงานสนับสนุน : กรมปศุสัตว์ กรมการเกษตร กรมการค้า หน่วยงานวิจัย FAO, SNV, DANIDA องค์การช่วยเหลือจากนานาชาติ