SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
- 1 -
โครงการสร้างความเข้มแข็งให้คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. คาหลัก
1.1 การสร้างความเข้มแข็ง หมายถึง การพัฒนาศักยภาพ การเพิ่มบทบาทหน้าที่ของ
คณะกรรมการที่ปรึกษาในการทางานด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
1.2 คณะกรรมการที่ปรึกษา หมายถึง ตาแหน่งหรือบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากอธิบดี
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช ให้มีส่วนร่วมในการวางแผน การดาเนินงาน การติดตาม
ประเมินผลและมีอานาจแต่งตั้งคณะทางานในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
1.3 พื้นที่คุ้มครอง หมายถึง พื้นที่ดินหรือพื้นที่ทางทะเลที่ถูกจัดขึ้นเพื่อเป็นการป้ องกัน
และบารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรกรทางวัฒนธรรมและ
คุณค่าทางทัศนียภาพ ซึ่งดาเนินการโดยใช้กฎหมายในการจัดตั้งและบริหารจัดการ
1.4 การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่ปัจเจกบุคคล กลุ่มคนชุมชน องค์ประกอบของ
ประชาชนที่เห็นพ้องต้องกันเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมพิจารณา ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วม
ติดตามและประเมินผล ร่วมแก้ไขปัญหาและร่วมรับผิดชอบด้วยความสมัครใจ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและ
เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมาย
2. หลักการ
การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสาคัญและเป็น
ประเด็นหลักที่สังคมให้ความสนใจ เพื่อการพัฒนาเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการ
ธรรมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ
ร่วมดาเนินการ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการดาเนินงานของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับ
ร่วมกันของทุกๆ ฝ่าย
คาว่า การจัดการอย่างมีส่วนร่วม หรือ Joint Management สามารถจะนาคาอื่นมาใช้ได้อีก
ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ ข้อเท็จจริง หรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม เช่น Co-
Management หรือ Participatory หรือ Mixed Management หรือ Multi-party Management หรือ Round-table
Management ซึ่งมีความหมายที่ตรงกันหรือใกล้เคียงกันคือการมีส่วนร่วม
ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนด้านการมีส่วนร่วมจะปรากฏอยู่ใน
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ส่วนที่ 10 นโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน (ม.87)
และส่วนที่ 8 (ม.85) ส่วนที่ 5 สิทธิในทรัพย์สิน(ม. 42) หมวด 14 องคกรปกครองส่วนท้องถิ่น (ม.290)
พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การ
- 2 -
บริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ต่างให้ความสาคัญต่อ
การบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม
ในการกาหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐทุกระดับ
หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง
ทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการ สมาคม International Association for Public
Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้เป็น 5 ระดับ ดังนี้
1. การให้ข้อมูล ข่าวสาร เป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่าที่สุด แต่เป็นระดับ
ที่สาคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วน
ร่วมในเรื่องต่างๆ วิธีการให้ข้อมูลที่สามารถใช้ช่องทางต่างๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูล
ข่าวสาร ผ่านทางสื่อต่างๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้
ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล
ข้อเท็จจริง และความคิดเห็น เพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่างๆ เช่น การรับฟัง
ความคิดเห็น การสารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น
3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วม
เสนอแนะแนวทางที่นาไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่า ข้อมูลความคิดเห็นและ
ความต้องการของประชาชนจะถูกนาไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุม
เชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบาย ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทางานเพื่อเสนอแนะประเด็น
นโยบาย เป็นต้น
4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชน ผู้แทนภาคสาธารณะ มีส่วนร่วมโดยเป็น
หุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดาเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น
คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น
5. การเสริมอานาจให้แก่ประชาชน เป็นขั้นตอนที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด
โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นที่เป็นสาธารณประโยชน์ เช่น โครงการ
กองทุน หมู่บ้าน กองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ ที่มอบอานาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น
การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจทาได้หลายระดับและหลายวิธี ซึ่งบางวิธี
สามารถทาได้อย่างง่ายๆ แต่บางวิธีต้องใช้เวลา ขึ้นอยู่กับความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน
ค่าใช้จ่ายและความจาเป็นในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น
เรื่องละเอียดอ่อน จึงต้องมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน การ
รับฟังความคิดเห็น การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาทักษะและศักยภาพของ
ข้าราชการทุกระดับควบคู่กันไป
- 3 -
การมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของภาคราชการที่มาจากทุกภาคส่วนของสังคม โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและชุมชนท้องถิ่น จะช่วยทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความใกล้ชิดกับ
ประชาชนได้รับทราบความต้องการและปัญหาที่แท้จริง ลดความขัดแย้งและการต่อต้าน ทั้งยังเป็นการสร้าง
สังคมแห่งการเรียนรู้ที่เสริมสร้างให้ประชาชน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจในประเด็นต่างๆ ซึ่งเป็นบทบาทที่
หน่วยงานภาคราชการจะต้องดาเนินการให้เกิดขึ้น
อย่างไรก็ตาม การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและเครือข่ายภาค
ประชาสังคมทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นหุ้นส่วน จะประสบความสาเร็จหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับหน่วยงานต่างๆ ที่จะ
สนับสนุนให้เปิดการมีส่วนร่วมของประชาชนมากน้อยเพียงใด รวมทั้งต้องอาศัยกระบวนการความร่วมมือ
และการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคมเป็นพันธมิตรของภาคราชการ จะต้องร่วมมือกันเปิดระบบราชการให้
ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อทาให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีการแบ่งสรรทรัพยากรอย่าง
ยุติธรรมและลดความขัดแย้งในสังคมและที่สาคัญที่สุด คือ การสร้างกลไกของการพัฒนาระบบราชการที่
ยั่งยืนเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนั่นเอง
ฉะนั้น ความหมายของการมีส่วนร่วมจะหมายถึง การที่ปัจเจกบุคคล กลุ่มคน ชุมชน
องค์ประกอบของประชาชนที่เห็นพ้องต้องกันเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมพิจารณา ร่วมติดสินใจ
ร่วมปฏิบัติ ร่วมติดตามและประเมินผล ร่วมแก้ไขปัญหาและร่วมผิดชอบด้วยความสมัครใจ เพื่อให้เกิด
การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้
หรือ หมายถึง การที่ประชาชนมีความเป็นอิสระในการร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมทรัพย์
ร่วมความคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์ในโครงการต่างๆ ที่ต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
และตอบสนองความต้องการของชุมชน
ตามความหมายดังกล่าวสามารถที่จะนาเอาความหมายมาจัดทาเป็นกระบวนการมีส่วนร่วม
ได้หลายวิธีการ เช่น หลักนิติธรรม เสวนา/เวทีชาวบ้าน/ประชาชน/ฝึกอบรม/ดูงาน/สัมมนาเครือข่าย/รัฐ/
สนับสนุน/โดยมีการพิจารณาถึงปัจจัยการมีส่วนร่วม ดังรูปแบบ
- 4 -
- บทบาทของพนักงานเจ้าหน้าที่ภาครัฐในกระบวนการมีส่วนร่วมจะต้อง
1. สร้างกลไกหรือวิธีการที่จะทาให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่น การจัดทาคู่มือ
การสร้างเครือข่าย
2. เสริมสร้างให้ระดับการมีส่วนร่วมเกิดประสิทธิผล
3. อานวยความสะดวก สนับสนุนงบประมาณ
4. ออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ กติการองรับการทางาน
การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม (Joint Management of Protected Areas)
รายละเอียดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมได้อธิบายให้ทราบแล้ว ว่ามีหลักการอย่างไร
กระบวนการและผลประโยชน์ที่ได้รับจากการมีส่วนร่วม พื้นที่คุ้มครองซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Protected
Areas หรือพื้นที่คุ้มครอง แต่ในการพูดคุยกันมักจะกล่าวถึงพื้นที่อนุรักษ์ ถ้าหากเป็นพื้นที่คุ้มครองใน
ประเทศไทยก็จะหมายถึงอุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ที่บริหารจัดการ
โดยใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติสงวนและ
คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535
ความหมายของพื้นที่คุ้มครองตามหลักสากลหรือที่นานาชาติใช้กัน เช่น องค์กร IUCN
กาหนดความหมายไว้ว่า หมายถึง “พื้นที่ดินหรือพื้นที่ทางทะเลที่ถูกจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นการป้ องกันและ
บารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรม และ
คุณค่าทางทัศนียภาพ ซึ่งดาเนินการโดยใช้กฎหมายในการจัดตั้งและบริหารจัดการ”
ความเป็นอยู่
การมีส่วนร่วม
การแสวงหาอนาคต
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเทคโนโลยี
การบริหารองค์กร ความรู้
การสร้างกลไก จิตสานึกในการอนุรักษ์
- 5 -
คาว่า “PROTECT” มาจากคาว่า
P = Participation (ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ)
R = Relevance (งานที่ทาตรงกับภารกิจ)
O = Outcome (มุ่งเน้นผลที่ได้รับเป็นหลัก)
T = Team (ทางานเป็นทีม)
E = Efficiency (ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ)
C = Conservation (การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์)
T = Technology (นาวิชาการ เทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน)
การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมจึงเป็นยุทธศาสตร์และนโยบายที่สาคัญประการ
หนึ่งของหลายๆ หน่วยงานหรือหลายๆ องค์กร แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ก็มีการกาหนดให้
ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู บารุงรักษา ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน สิทธิของ
บุคคลร่วมกับภาครัฐและชุมชนในการบารุงรักษาคุ้มครอง และได้รับผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ
หรือความหลากหลายทางชีวภาพ ประชาชนมีสิทธิอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีคุณภาพดีและสามารถฟ้องร้อง
ภาครัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในกรณีที่ทาให้เกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นได้
แนวคิดของการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ใช้เป็นกลยุทธ์หนึ่งในการทางานด้านต่างๆ
ซึ่งรวมไปถึงการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จากผลการประชุม เรื่อง การจัดการอย่างมีส่วนร่วมในภูมิภาคเอเซีย
เมื่อปี พ.ศ. 2541 ได้มีความเห็นว่าการจัดการอย่างมีส่วนร่วม เป็นสถานการณ์ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบางส่วน
หรือทั้งหมดเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างมาก ทั้งกิจกรรมการจัดการโดยมีความเป็นพันธมิตรต่อกันโดยกระบวนการ
ของการมีส่วนร่วม
การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมจะมีลักษณะ
1. การเข้ามาเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป เช่น พนักงาน
เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบพื้นที่คุ้มครองกับชุมชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในพื้นที่และพึ่งพิง
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง
2. ข้อตกลงร่วมกันระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐกับผู้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่
เกี่ยวกับระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรธรรมชาตินั้นๆ เช่น สิทธิในการใช้ สิทธิในการดูแลหรือการจัดการ
สิทธิในการถ่ายโอน สิทธิของบุคคลหรือส่วนร่วม
3. กระบวนการเจรจาหาข้อตกลง ซึ่งมีผู้ได้รับผลกระทบจากการจัดการที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วม
4. การมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ คือ กระบวนการเจรจาต้องนาไปสู่การเข้ามามีบทบาท
และสามารถหาข้อสรุปในข้อตกลงได้
กล่าวโดยสรุป การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชน
ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามามีส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสาร มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น การ
วิเคราะห์ การวางแผนดาเนินการ รวมถึงการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล การจัดการพื้นที่
- 6 -
คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมอาจจะไม่เหมาะสมในทุกสถานการณ์ หรืออาจจะไม่เข้าไปสู่การจัดการที่ยั่งยืนใน
ทุกกรณี เช่น การตัดสินใจอย่างเร่งด่วน หรือการดาเนินงานทันที โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการทาลายระบบ
นิเวศหรือพื้นที่ที่มีความเปราะบาง แต่โดยทั่วไปหลักการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมยังมีความ
เหมาะสมในหลายสถานการณ์ โดยเฉพาะ
1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และความร่วมมือของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งมีความสาคัญอย่างมาก
ต่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
2. การเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ที่มีความสาคัญอย่างมากต่อความมั่นคงในวิถี
ชีวิตและรักษาประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น
3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น มีสิทธิตามวัฒนธรรมท้องถิ่นดั้งเดิมหรือสิทธิตาม
กฎหมาย
4. ชุมชนมีความสนใจในหลักการจัดการอย่างมีส่วนร่วมระดับท้องถิ่น ซึ่งส่งผลอย่างมาก
ต่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
5. ความซับซ้อนและความแตกต่างกันในการตัดสินใจ เช่น มีความขัดแย้งกันในการ
จัดการพื้นที่และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
6. การจัดการพื้นที่คุ้มครองที่ผ่านมาไม่ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้
7. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพร้อมและต้องการเข้ามามีส่วนร่วม และ
8. เป็นเวลาที่เหมาะสมที่ต้องการเจรจาหาข้อตกลง เพื่อสร้างพันธะสัญญาร่วมกันในการ
จัดการพื้นที่อย่างยั่งยืน
หลักการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองไม่ว่าจะเป็นอุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่า โดยทั่วไปจะมีองค์กรและประชาชนจะมีบทบาทเข้ามาเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพื่อให้
เป็นไปตามหลักการการจัดการพื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศ จึงมีข้อกาหนดที่ให้มีการพิจารณาในเรื่องการมี
ส่วนร่วมโดยมีหลักการพิจารณาร่วมกันว่าจะทางานอย่างไรที่จะทาให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ
3. นโยบายการมีส่วนร่วม
3.1 คานา
นโยบายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ให้ความสาคัญสนับสนุน
ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ในฐานะหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการเข้ามา
มีส่วนร่วมของทุกภาคี ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง จึงมีความจาเป็นที่จะต้อง
ดาเนินการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ขึ้นในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อเป็นกลไกเปิดโอกาสให้ทุกภาคีได้เข้ามา
มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครองตามนโยบายดังกล่าว
3.2 หลักการ
เพื่อให้ภาคีต่างๆ มีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
- 7 -
3.3 แนวทางการนาไปสู่การปฏิบัติ
แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ เป็นการระดมความคิดเห็นที่มีมุมมองต่อ
พื้นที่คุ้มครองในภาพรวมของประเทศ ซี่งพื้นที่คุ้มครองในแต่ละแห่งต่างมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้ง
ในเรื่องประเด็นปัญหา และความสนใจเข้ามามีส่วนร่วมของภาคีแตกต่างกันไป ดังนั้นผลจากการสัมมนาซึ่ง
นามาเป็นข้อมูลในการจัดทาแนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ ที่ปรากฏอยู่ด้านล่างนี้ จึง
จาเป็นต้องมีความยืดหยุ่น เพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับพื้นที่ของตน และความสนใจของภาคีหลักในพื้นที่ได้ ดังนั้นหัวหน้าพื้นที่คุ้มครองจึงสามารถ
พิจารณาปรับลดหรือเพิ่มเติมในส่วนขององค์ประกอบ จานวนและบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการระดับ
พื้นที่ได้เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมสาหรับการปฏิบัติงานในแต่ละพื้นที่
สาหรับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการระดับพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ
จัดการพื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองและ
ดูแลรักษาพื้นที่คุ้มครอง (อุทยานแห่งชาติหรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า) และเพื่อการศึกษา วิจัยทางวิชาการ ให้
ดาเนินการขออนุมัติใช้อานาจของอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตามมาตรา 19 แห่ง
พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
พ.ศ. 2535 เป็นกรณีๆ ไป
3.4 กรอบแนวทางในการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่
1. ชื่อของคณะกรรมการระดับพื้นที่ ใช้ชื่อว่า “คณะกรรมการที่ปรึกษา xxxxxxx”
เช่น คณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติคลองลาน เป็นต้น
2. องค์ประกอบและสัดส่วน ประกอบไปด้วย ผู้แทนจากภาคส่วนต่างๆ โดยมี
สัดส่วนตามความเหมาะสมอย่างน้อยที่สุด ดังนี้
ผู้แทนฝ่ายปกครองส่วนภูมิภาค เช่น นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน
ผู้แทนฝ่ายปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ. ฯลฯ
ผู้แทนหน่วยราชการอื่นๆ ที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง เช่น หน่วยงานเกษตร ครู
หน่วยงานที่ดิน หน่วยงานพัฒนาการ หน่วยงานการท่องเที่ยว หน่วยงาน
ตารวจ หน่วยงานประมง ฯลฯ
ผู้แทนชุมชนอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรือองค์กรชุมชน เช่น
กลุ่มแม่บ้าน สหกรณ์ ฯลฯ
ผู้แทนหน่วยงานในสังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อื่นๆ
ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงหรือเกี่ยวข้อง เช่น หน่วยฯ ไฟป่า หน่วยฯ ต้นน้า
หน่วยป้องกันรักษาป่าฯ สถานีวิจัยฯ และพื้นที่คุ้มครองข้างเคียง ฯลฯ
ผู้แทนเจ้าหน้าที่จากอุทยานแห่งชาติ/ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า นั้นๆ
- 8 -
ผู้นาที่ไม่เป็ นทางการและ/หรือผู้ทรงคุณวุฒิ เช่น ผู้นาทางศาสนา
สถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ฯลฯ
ผู้แทนสื่อมวลชน
ผู้แทน NGOs
ฯลฯ
3. จานวนของคณะกรรมการที่ปรึกษา ไม่น้อยกว่า 15 คน แต่ไม่เกิน 25 คน
4. การสรรหาคณะกรรมการที่ปรึกษา
ให้หัวหน้าพื้นที่ในพื้นที่คุ้มครอง ทาการสรรหาคณะบุคคลตามองค์ประกอบ
ในข้อ 2 ในสัดส่วนที่เหมาะสม มาเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษา โดยจัดให้คณะกรรมการที่ปรึกษาที่สรรหามา
ได้ดาเนินการคัดเลือกกรรมการที่ปรึกษาท่านใดท่านหนึ่ง เป็นประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาและให้
หัวหน้าพื้นที่ในพื้นที่คุ้มครองนั้นๆ เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง และให้ผู้อานวยการสานัก
บริหารพื้นที่อนุรักษ์จัดประชุมโดยเชิญผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เช่น ผู้แทนชุมชน และผุ้แทนหน่วยงาน
ราชการ หารือเพื่อคัดเลือกกรรมการที่ปรึกษาให้ครอบคลุมทุกภาคส่วนอย่างเป็นทางการ ตามองค์ประกอบ
ในข้อ 2 เมื่อสรรหาคณะบุคคลได้ครบตามองค์ประกอบ แล้วให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองรีบดาเนินการนา
รายชื่อและจัดทาประวัติโดยย่อพร้อมอธิบายคุณสมบัติของแต่ละบุคคลได้รับการแต่งตั้ง เสนอผู้มีอานาจ
แต่งตั้งออกคาสั่งแต่งตั้งให้คณะบุคคลดังกล่าวเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาของพื้นที่คุ้มครองนั้นๆ โดยด่วน
ต่อไป
5. วาระในการดารงตาแหน่ง
- มีวาระในการดารงตาแหน่งคราวละ 2 ปี
- ให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองเสนอผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาชุด
ใหม่
- กรณีที่กรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ด้วยเหตุดังนี้
การตาย ลาออก เป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ
อยู่ระหว่างการดาเนินคดี หรือถูกพิพากษาให้ถูกจาคุก (ยกเว้น
ความผิดอันได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ)
คณะกรรมการที่ปรึกษามีมติให้ออก
คณะกรรมการที่ปรึกษาอาจเสนอผู้มีอานาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการแทน
ได้และให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน
- ในกรณีที่คณะกรรมการที่ปรึกษาเสนอผู้มีอานาจแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้น
ในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ซึ่ง
ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ได้ตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่
- 9 -
6. อานาจผู้แต่งตั้งเป็นอานาจของอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา
7. โครงสร้างของคณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษาจะเป็นกลไก
หลักในการอานวยการให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ดังนั้น มุมมองหรือ
เป้ าประสงค์ของคณะกรรมการที่ปรึกษา คือ การบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมโดยมี
อานาจแต่งตั้งคณะทางานเพื่อรองรับภารกิจต่างๆ ที่ระบุไว้ในบทบาทหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้าน
โดยอาจแบ่งตามเขตจังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน หรือแบบตามประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น ดังภาพ
8. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีดังนี้
8.1 มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผน
* ให้คาปรึกษาและแนะนา ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
* ให้คาปรึกษาและแนะนา ในการจัดทาหรือทบทวนแผนการจัดการพื้นที่
คุ้มครองที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
* ให้คาปรึกษาและแนะนา โครงการที่ขอใช้เงินจากกองทุนสนับสนุน
กิจกรรมชุมชน
8.2 มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน
* ให้คาปรึกษาและแนะนา กิจกรรมเพื่อการคุ้มครอง ดูแลรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
* ให้คาปรึกษาและแนะนา การจัดการแสดงความคิดเห็นของภาครัฐและ
เอกชนเกี่ยวกับนโยบายและที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
* ให้คาปรึกษาและแนะนา การจัดตั้งองค์กรชุมชนเพื่อการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการสร้างระบบเครือข่าย
* ให้คาปรึกษาและแนะนา กิจกรรมที่เอื้อต่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองและ
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่
คณะกรรมการที่ปรึกษา
คณะทางาน....
คณะทางานด้านป้ องกันไฟ คณะทางาน....
คณะทางาน....
คณะทางานแก้ไขปัญหา
แนวเขต
คณะทางาน....
- 10 -
* ให้คาปรึกษาและแนะนา และพิจารณาในการจัดทาข้อตกลง กฎ กติกา
ของชุมชน
* ให้คาปรึกษาและแนะนา และพิจารณาในการดาเนินงานพัฒนาชุมชนใน
พื้นที่คุ้มครอง
* เสนอความเห็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการแก้ไขใน
การดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครอง
8.3 การมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล
* ติดตามและประเมินผลในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการที่ปรึกษา
และคณะทางานที่ได้รับการแต่งตั้ง
* อานวยความสะดวกในการดาเนินงานติดตามและประเมินผล
8.4 แต่งตั้งคณะทางานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการที่ปรึกษา
มอบหมาย
8.5 ดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามที่ได้รับมอบหมายจากกรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
9. การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา
- หากกรณีประธานไม่มาประชุม หรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้คณะกรรมการ
เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดในที่
ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก
- การออกเสียงในการลงคะแนน ให้คณะกรรมการที่ปรึกษากาหนดให้
ชัดเจนก่อนการประชุมทุกครั้ง
- ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียง
เป็นเสียงชี้ขาด
- การประชุมคณะกรรรมการที่ปรึกษา ต้องมีกรรมการเข้าประชุมไม่น้อย
กว่ากึ่งหนึ่งของจานวนทั้งหมด
- กรณีที่กรรมการไม่สามารถมาร่วมประชุมได้ ให้ส่งชื่อผู้แทนให้
เลขานุการทราบก่อนการประชุม
- ให้จัดมีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง
4. ผลการปฏิบัติของคณะกรรมการที่ปรึกษา
การปฏิบัติงานของที่ปรึกษาโครงการ CATSPA ด้านการสร้างความเข้มแข็งให้
คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง ได้ทาการตรวจสอบข้อมูลผลการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษา
พื้นที่คุ้มครอง ทั้งอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตามแนวทางในหนังสือกรมอุทยานแห่งชาติ
สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ด่วนที่สุด ที่ ทส 0905.201/12931 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เรื่อง แนวทางการจัดตั้ง
- 11 -
คณะกรรมการระดับพื้นที่ (PAC) ที่ได้เล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน
เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง
การศึกษาข้อมูลผลการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติทุกแห่งที่ได้ส่ง
รายงานถึงสานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พบว่ามีประเด็นที่สาคัญๆ ดังนี้
4.1 เรื่องการจัดการที่ดินของชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติที่กาหนดให้มีการ
ผ่อนปรนตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เกี่ยวกับการตรวจสอบรังวัดหมายแนวเขตหลายๆ พื้นที่
ยังดาเนินการไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีแผนดาเนินการขั้นต่อไป
4.2 เรื่องให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่อุทยานแห่งชาติที่อยู่บนพื้นฐาน
ประเพณี วัฒนธรรม เช่น การรักษาป่า แหล่งต้นนา การบวชป่า การบูชาผีหัวน้า เป็นต้น
4.3 การสร้างจิตสานึกให้เยาวชนหรือประชาชนทั่วไปทั้งในและนอกสถาบันการศึกษา
เช่น การจัดค่ายเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การส่งเสริมให้สถานศึกษาใช้อุทยานแห่งชาติ
เป็นห้องเรียนธรรมชาติ พร้อมทั้งเสนอให้มีการอบรมมัคคุเทศก์ จัดวิทยากรที่มีความรู้ความชานาญของ
หน่วยงานเป็นวิทยากรในวิชาที่เกี่ยวข้อง
4.4 เรื่องการจัดการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยการพัฒนาการท่องเที่ยวในอุทยาน
แห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริการของระบบนิเวศความสาคัญของระบบนิเวศ การให้ชุมชนมีส่วน
ร่วมในการท่องเที่ยวเชิงระบบนิเวศและการใช้ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อการท่องเที่ยว
4.5 เรื่องการฟื้นฟูระบบนิเวศในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ พื้นที่บริเวณใดที่เคยเป็นไร่ร้าง ก็
ควรปล่อยทิ้งไว้ให้มีการพัฒนาเป็นป่ าโดยธรรมชาติหรืออาจจะปลูกเสริม โดยใช้พันธุ์ไม้ที่อานวย
ผลประโยชน์ทางด้านการเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยหรือหลบภัยของสัตว์ป่า ไม่ควรใช้หรือปลูกชนิดพันธุ์
เพียงชนิดเดียวที่ปลูกแบบสวนป่า
4.6 เรื่องการพัฒนาอาชีพให้แก่ชุมชน โดยไม่เป็นการทาลายระบบนิเวศ เนื่องจากทั้ง
ภายในและภายนอกพื้นที่มีราษฎรประกอบอาชีพด้านต่างๆ อาศัยอยู่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปจะมีการใช้
ประโยชน์จากพื้นที่คุ้มครอง เช่น การเก็บหาเห็ด หน่อไม้การลักลอบสัตว์ป่า หรือการลักลอบตัดไม้หรือเก็บ
หาของป่าอื่นๆ เพื่อลดปัญหาภัยคุกคามดังกล่าว จึงควรที่จะมีการพัฒนาชุมชนให้ประกอบอาชีพที่ไม่พึ่งพิง
ระบบนิเวศป่าธรรมชาติ เช่น การเลี้ยงผึ้ง การปลูกพันธุ์พืชที่ต้องการทางเศรษฐกิจในพื้นที่ดินของตนเอง
4.7 เรื่องการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เช่น เส้นทางตรวจ
การณ์ อาคารสถานที่ ระบบน้าประปาภูเขา การสร้างฝายกักน้าและกักตะกอน การสร้างฝายกักน้าเพื่อผลิต
กระแสไฟฟ้าสาหรับหมู่บ้าน การวางทุนจอดเรือ การสร้างท่าเรือเพื่อการท่องเที่ยวในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
ทางทะเล การปลูกพืชอาหารสัตว์ป่า การปรับปรุงป้ายสื่อต่างๆ และการป้องกันไฟป่า
4.8 เรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติในพื้นที่อุทยาน
แห่งชาติหลายๆ แห่ง พบว่ามีนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ไปศึกษาวิจัยที่ได้ดาเนินงานร่วมกับหัวหน้า
อุทยานแห่งชาติ ยังไม่ได้เป็นการวิจัยที่นามาใช้เพื่อการจัดการพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นการวิจัยข้อมูลพื้นฐาน
- 12 -
หรือชีววิทยาหรือความหลากหลายทางชีวภาพ การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ การวิจัยการใช้ประโยชน์
ที่ดินตามมติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541
4.9 เรื่องการจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาอาชีพของชุมชนที่เกี่ยวกับการ
อนุรักษ์พื้นที่อุทยานแห่งชาติ
4.10 เรื่องอื่นๆ ที่มีการนาเสนอใจที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา เช่น ปัญหาขยะ การ
จัดทาแผนยุทธศาสตร์อุทยานแห่งชาติกับแผนยุทธศาสตร์จังหวัด การสร้างเครือข่ายของประชาชนเพื่อแก้ไข
การบุกรุกที่ดิน การแก้ไขปัญหาการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ การปลูกป่า การปลูกยางพารา การ
หมายแนวเขตอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วม การจัดการจราจร การกู้ภัย เป็นต้น
4.11 เรื่องการจัดการที่ดินของชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและทับซ้อน
ตามแนวเขต การผ่อนปรนตามมติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ตลอดจนการรังวัดหมายแนวเขต เพื่อให้มี
การจัดระเบียบชุมชน โดยเฉพาะชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมหรือชนเผ่าต่างๆ ที่มีประเพณีวัฒนธรรม เพื่อเป็นการ
ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม
4.12 เรื่องการแก้ไขปัญหาช้างป่าและสัตว์ป่าจากเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเข้าไปกินพืชผล
และทาลายพื้นที่เกษตรกรรมของชาวบ้าน การจัดตั้งกองทุนอาหารช้าง สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อ
ค้นหาข้อมูลเพื่อการจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
4.13 การฟื้นฟูระบบนิเวศในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ที่เคยเป็น
ไร่ร้างมาก่อน ควรปล่อยให้มีการพัฒนาตามธรรมชาติหรือการปลูกเสริมโดยใช้ชนิดพันธุ์ไม้ที่อานวย
ผลประโยชน์ทางด้านการเป็นแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัยและแหล่งหลบภัยสาหรับสัตว์ป่าและไม่ควรใช้พันธุ์ไม้
ชนิดเดียวปลูกเป็นแบบสวนป่า
4.14 เรื่องการสร้างจิตสานึกด้านการอนุรักษ์ในรูปแบบของการฝึกอบรมนักเรียน
นักศึกษา หรือเยาวชน โดยการจัดจ่ายเยาวชน ส่งเสริมให้มีการใช้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเป็นห้องเรียน
ธรรมชาติ การฝึกอบรมมัคคุเทศก์ท่องเที่ยวสาหรับสัตว์ป่า พร้อมทั้งจัดวิทยากรที่มีความรู้ความชานาญของ
หน่วยงานเป็นผู้สอนในวิชาการที่เกี่ยวข้อง
4.15 เรื่องการปล่อยสัตว์ป่ าคืนสู่ธรรมชาติหลายๆ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ ามีพื้นที่ที่
เหมาะสมสาหรับเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหากินของสัตว์ป่าบางชนิด โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีสัตว์ป่าชนิดนั้นอาศัยอยู่
ก่อนแล้วหาได้ยาก ในขณะเดียวกันก็มีการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ชนิดพันธุ์ที่ต้องการตามสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์
ป่าต่างๆ จึงได้นาสัตว์ป่าที่ต้องการไปปล่อย เช่น ละองละมั่ง เนื้อทราย อีเก้งและกวางป่า เป็นต้น พร้อมทั้ง
ให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามผล
4.16 การวางแผนและโครงการร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ มีหลายๆ หน่วยงานมี
ความคิดเห็นตรงกันในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่มีหลายๆ หน่วยงานตั้งอยู่ เช่น หน่วยจัดการต้นน้า หน่วย
ป้ องกันรักษาป่า ตลอดจนองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ควรจะได้วางแผนและโครงการร่วมกันว่ามี
กิจกรรมใดบ้างที่ดาเนินการในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
- 13 -
4.17 เรื่องปัญหาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่หลายๆ พื้นที่ที่ประสบ
ปัญหาการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ เช่น การเลี้ยงปศุสัตว์การเก็บเห็ด การเก็บหาหน่อไม้ ตลอดจนการลักลอบ
ล่าสัตว์ป่าและการลักลอบตัดไม้จึงได้มีการนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึ้น
4.18 การทางานร่วมกับพันธมิตรที่ได้เข้ามาดาเนินการในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มูลนิธิ
องค์กรอนุรักษ์หรือเครือข่ายต่างๆ ทาให้เกิดผลประโยชน์กับพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เช่น มูลนิธิสืบ
องค์กร WWF เป็นต้น
4.19 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มีพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
หลายแห่งเหมาะสมเป็นที่ศึกษาสัตว์ป่า ชนิดพันธุ์ไม้จะมีนักอนุรักษ์สัตว์ป่า โดยเฉพาะนักดูนกจะเข้าไปใช้
พื้นที่เป็นจานวนมากหรือบางพื้นที่ได้นาเอาสัตว์ป่าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ไปปล่อยคืนสู่ป่าและ
กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่าที่สาคัญ นักท่องเที่ยวได้ขออนุญาตเข้าชมตามระเบียบ ซึ่งการท่องเที่ยว
เชิงระบบนิเวศไม่เป็นการทาลายชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและถิ่นที่อาศัย
4.20 เรื่องอื่นๆ ที่พบว่ามีการนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
เช่น การสร้างเครือข่ายกับชุมชนในการป้ องกันรักษาป่า การสร้างความร่วมมือกับทหาร การจัดตั้งอาสามัค
รจากหมู่บ้านเข้ามาช่วยดูแลป่าไม้ การปลูกพืชในที่ดินของผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า การปลูก
ยางพารา ปัญหาขยะ ปัญหาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว โครงการศูนย์เรียนรู้จากงบประมาณจังหวัด และการใช้
โรงเรียนช่วยประชาสัมพันธ์การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น
5. สรุปผลการดาเนินงานต่างๆ ที่ผ่านมา
5.1 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขข้อขัดแย้ง
ระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐกับชุมชน การให้ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา เช่น การจัดทา
แนวเขตที่ทากินและแนวเขตพื้นที่คุ้มครองให้ชัดเจน เพื่อไม่ให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่า ร่วมแก้ปัญหาและความ
รับผิดชอบ ร่วมให้คาแนะนาปรับปรุงกฎกติกาของชุมชนอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนแนวคิดการใช้
ประโยชน์อย่างยั่งยืน เช่น การเก็บหาของป่า เป็นต้น
5.2 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง ได้จัดกิจกรรมที่เป็นการสร้างจิตสานึกด้าน
การอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่ให้แก่ชุมชน เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาให้
คาแนะนาในด้านการอนุรักษ์ การประชาสัมพันธ์ การฝึกอบรมและการศึกษาดูงาน ตลอดจนให้มีการขยาย
ผลการอนุรักษ์สู่ชมุชนอื่นๆ ตลอดจนการติดตามผลการดาเนินงาน
5.3 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเสนอให้เจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครองศึกษาวิจัย
จัดทาฐานข้อมูลของพื้นที่เพื่อใช้ในการวางแผนดาเนินงานก่อให้เกิดการจัดการอย่างมีส่วนร่วม
คณะกรรมการที่ปรึกษาพร้อมที่จะสนับสนุนข้อมูล ตลอดจนให้มีการจัดตั้งกองทุน เพื่อประโยชน์ในการ
บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
- 14 -
5.4 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองได้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนส่งเสริมอาชีพ
ให้แก่ชุมชน ที่เน้นไปในเรี่องการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนและการอยู่รวมกันของชุมชน สร้างเสริม
กระบวนการเรียนรู้ในการอนุรักษ์ที่ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ให้คาแนะนาแก่ชุมชนในการทาโครงการ
และประสานงานด้านการพัฒนาอาชีพ
5.5 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองให้ข้อเสนอแนะเป็นประโยชน์หรือเสนอแนะ
แหล่งทุนอื่นๆ ที่สามารถนาเข้ามาเสริมหรือทดแทนงบประมาณที่โครงการของพื้นที่คุ้มครองไม่สามารถ
สนับสนุนได้
5.6 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองประกอบด้วยผู้แทนแต่ละหน่วยงานที่มีความรู้
เฉพาะ เช่น เกษตร ประมง ปศุสัตว์การปกครอง เป็นต้น ถือว่าเป็นคณะบุคคลที่มีความรู้ความชานาญเฉพาะ
เป็นพิเศษ หากว่ามีปัญหาใดๆ ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับสาขาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคณะกรรมการสามารถ
หาแนวทางแก้ไขร่วมกันได้
6. แนวทางการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการที่ปรึกษาโดยกาหนดวิธีการ
6.1 การเพิ่มความเข้มแข็งในบทบาทและหน้าของการมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่
คุ้มครองของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
6.1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดทาคู่มือสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่และ
คู่มือปฏิบัติงานด้านการมีส่วนร่วม
6.1.2 การฝึกอบรม
6.1.3 การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งและความเสี่ยงคณะการกรรมการที่ปรึกษา
6.2 การเพิ่มศักยภาพให้กับคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองในการสนับสนุนการ
บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
6.2.1 ศึกษากรณีตัวอย่างของกิจกรรมการมีส่วนร่วมที่เข้มแข็ง
6.2.2 การปรับปรุงบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ
6.2.3 การศึกษาดูงานของคณะกรรมการพื้นที่คุ้มครองจากพื้นที่นาร่อง
6.3 การพัฒนาต้นแบบของกิจกรรมการจัดการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่เพื่อ
เป็นตัวอย่างในการทางานของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
6.3.1 ค้นหาและพัฒนาต้นแบบของกิจกรรมการจัดการอย่างมีส่วนร่วมในการ
จัดการพื้นที่เพื่อเป็นตัวอย่างในการทางานของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
6.3.2 ค้นหาและพัฒนาต้นแบบการทางานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ
6.3.3 ค้นหาและพัฒนาต้นแบบการทางานร่วมกับชุมชนในพื้นที่คุ้มครอง
- 15 -
7. ข้อเสนอแนะในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง (PAC)
จากประชุมร่วมกันของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองในพื้นที่เป้ าหมาย (นาร่อง)
พอที่จะสรุปได้ดังนี้
7.1 ควรมีการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง โดยการจัดให้มี
การฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ เช่น หลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง การ
จัดการอุทยานแห่งชาติ การจัดการสัตว์ป่า การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการ
จัดการความขัดแย้ง ตลอดจนให้มีการศึกษาดูงานทั้งภายในและต่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับ
คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ
7.2 การจัดทาคู่มือแนวทางปฏิบัติงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง เพื่อ
กาหนดให้การมีส่วนร่วมในการทางานของคณะกรรมการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน
7.3 การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง (PAC) เป็นเพียงนโยบายการมีส่วน
ร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ มีหน้าที่ให้คาปรึกษา
แนะนา เสนอแนะและร่วมจัดทาแผน การติดตามผลของพื้นที่ แต่สถานภาพไม่มีอานาจตามกฎหมาย จาต้อง
ให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายคือ พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และ พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์
ป่า พ.ศ. 2535 กาหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาระดับพื้นที่ถูกต้องตามกฎหมายและกาหนด
บทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน
7.4 ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเสนอความเห็นเชิงนโยบาย
หรือกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานระดับกรมหรือกระทรวง เพื่อปรับปรุงกลไกและ
กระบวนการทางานด้านการมีส่วนร่วมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อนาไปสู่นโยบายของรัฐที่ชัดเจน เช่น
ระเบียบการเก็บรายได้ค่าธรรมเนียมให้พื้นที่อุทยานแห่งชาติ การบริหารกองทุน เป็นต้น
7.5 ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จัดประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่
คุ้มครองร่วมกันทั่วประเทศ เพื่อให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์
ร่วมกัน
7.6 การคัดเลือกบุคคลให้เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง ควรจะให้ชุมชน
เสนอรายชื่อผู้แทนชุมชนที่มีความสมัครใจและเป็นที่ยอมรับของชุมชน ซึ่งมีความตั้งใจในการปฏิบัติงาน
การมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง
7.7 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองหลายท่านมีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง
เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการมีโอกาสบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ใช้อย่างจริงจัง เช่น การแต่งตั้ง
คณะทางานเฉพาะกิจ เป็นต้น
7.8 ข้อสังเกตจากการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองที่เป็นหน่วย
ราชการมักจะส่งผู้แทนหรือตัวแทนเข้าประชุม การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา ควรแต่งตั้งโดยใช้
ตาแหน่ง เนื่อจากการแต่งตั้งที่ระบุบุคคลจะมีปัญหาเนื่องจากมีการโยกย้ายบ่อยครั้งมาก การแต่งตั้งโดยใช้
ตาแหน่งให้พิจารณาเลือกสรรบุคคลที่ตั้งใจทางานการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง
- 16 -
7.9 ค้นหาวิธีการที่จะให้คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองให้พิจารณาร่วมกันและ
การให้ความเห็นชอบในการส่งเสริมการท่องเที่ยว การพัฒนาอาชีพให้แก่ชุมชนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน
พื้นที่คุ้มครองโดยไม่กระทบต่อพื้นที่บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่
---------------------------

More Related Content

Viewers also liked

METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย UNDP
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆUNDP
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Silpakorn University
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015Silpakorn University
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 

Viewers also liked (20)

METT book
METT bookMETT book
METT book
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
ข้อเสนอแนะแนวทางการศึกษาวิจัย
 
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศการวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
การวางแผนและการจัดการภายใต้การเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
 
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015Sustainable tourism planning part vi vii viii ix  mar 2015
Sustainable tourism planning part vi vii viii ix mar 2015
 
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015Sustainable tourism planning part iii iv v  feb 2015
Sustainable tourism planning part iii iv v feb 2015
 
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
Sustainable tourism planning part i and ii jan 2015
 
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015Sustainable tourism planning part x xi xii  apr 2015
Sustainable tourism planning part x xi xii apr 2015
 
Eco
EcoEco
Eco
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 

Similar to เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง

การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศWisut Lakhamsai
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชTaraya Srivilas
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8fernfielook
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8nattawad147
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8wanneemayss
 

Similar to เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง (12)

การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
นวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศนวัตกรรมและสารสนเทศ
นวัตกรรมและสารสนเทศ
 
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
แบบฟอร์ม+Storytellingครั้งที่ 1รอบ2 56
 
รางวัลเจ้าฟ้าไอที
รางวัลเจ้าฟ้าไอทีรางวัลเจ้าฟ้าไอที
รางวัลเจ้าฟ้าไอที
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
การมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชชการมีส่วนร่วม ปชช
การมีส่วนร่วม ปชช
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTUNDP
 

More from UNDP (14)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
 

เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง

  • 1.
  • 2. - 1 - โครงการสร้างความเข้มแข็งให้คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA --------------------------------------------------------------------------------------------------------------- 1. คาหลัก 1.1 การสร้างความเข้มแข็ง หมายถึง การพัฒนาศักยภาพ การเพิ่มบทบาทหน้าที่ของ คณะกรรมการที่ปรึกษาในการทางานด้านการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง 1.2 คณะกรรมการที่ปรึกษา หมายถึง ตาแหน่งหรือบุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งจากอธิบดี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช ให้มีส่วนร่วมในการวางแผน การดาเนินงาน การติดตาม ประเมินผลและมีอานาจแต่งตั้งคณะทางานในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง 1.3 พื้นที่คุ้มครอง หมายถึง พื้นที่ดินหรือพื้นที่ทางทะเลที่ถูกจัดขึ้นเพื่อเป็นการป้ องกัน และบารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและทรัพยากรกรทางวัฒนธรรมและ คุณค่าทางทัศนียภาพ ซึ่งดาเนินการโดยใช้กฎหมายในการจัดตั้งและบริหารจัดการ 1.4 การมีส่วนร่วม หมายถึง การที่ปัจเจกบุคคล กลุ่มคนชุมชน องค์ประกอบของ ประชาชนที่เห็นพ้องต้องกันเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิดร่วมพิจารณา ร่วมตัดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วม ติดตามและประเมินผล ร่วมแก้ไขปัญหาและร่วมรับผิดชอบด้วยความสมัครใจ เพื่อให้เกิดการพัฒนาและ เปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมาย 2. หลักการ การมีส่วนร่วมของประชาชน ถือเป็นหลักการสากลที่อารยประเทศให้ความสาคัญและเป็น ประเด็นหลักที่สังคมให้ความสนใจ เพื่อการพัฒนาเข้าสู่ระบอบประชาธิปไตยแบบมีส่วนร่วมตามหลักการ ธรรมาภิบาลที่ภาครัฐจะต้องเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องทุกภาคส่วนรับรู้ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมดาเนินการ เพื่อสร้างความโปร่งใสและเพิ่มคุณภาพการดาเนินงานของภาครัฐให้ดีขึ้น และเป็นที่ยอมรับ ร่วมกันของทุกๆ ฝ่าย คาว่า การจัดการอย่างมีส่วนร่วม หรือ Joint Management สามารถจะนาคาอื่นมาใช้ได้อีก ซึ่งขึ้นอยู่กับสถานการณ์หรือเหตุการณ์ ข้อเท็จจริง หรือเรื่องที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม เช่น Co- Management หรือ Participatory หรือ Mixed Management หรือ Multi-party Management หรือ Round-table Management ซึ่งมีความหมายที่ตรงกันหรือใกล้เคียงกันคือการมีส่วนร่วม ในการบริหารราชการเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนด้านการมีส่วนร่วมจะปรากฏอยู่ใน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ส่วนที่ 10 นโยบายด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน (ม.87) และส่วนที่ 8 (ม.85) ส่วนที่ 5 สิทธิในทรัพย์สิน(ม. 42) หมวด 14 องคกรปกครองส่วนท้องถิ่น (ม.290) พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)พ.ศ. 2545 พระราชบัญญัติสภาตาบลและองค์การ
  • 3. - 2 - บริหารส่วนตาบล พ.ศ. 2537 แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) พระราชกฤษฎีกาว่าด้วยหลักเกณฑ์และการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 ต่างให้ความสาคัญต่อ การบริหารราชการอย่างโปร่งใส สุจริต เปิดเผยข้อมูล และการเปิดโอกาสให้ประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วม ในการกาหนดนโยบายสาธารณะ การตัดสินใจทางการเมือง รวมถึงการตรวจสอบการใช้อานาจรัฐทุกระดับ หลักการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนและผู้เกี่ยวข้อง ทุกภาคส่วนของสังคมได้เข้ามามีส่วนร่วมกับภาคราชการ สมาคม International Association for Public Participation ได้แบ่งระดับของการสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชนไว้เป็น 5 ระดับ ดังนี้ 1. การให้ข้อมูล ข่าวสาร เป็นการมีส่วนร่วมของประชาชนในระดับต่าที่สุด แต่เป็นระดับ ที่สาคัญที่สุด เพราะเป็นก้าวแรกของการที่ภาคราชการจะเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้าสู่กระบวนการมีส่วน ร่วมในเรื่องต่างๆ วิธีการให้ข้อมูลที่สามารถใช้ช่องทางต่างๆ เช่น เอกสารสิ่งพิมพ์ การเผยแพร่ข้อมูล ข่าวสาร ผ่านทางสื่อต่างๆ การจัดนิทรรศการ จดหมายข่าว การจัดงานแถลงข่าว การติดประกาศ และการให้ ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น 2. การรับฟังความคิดเห็น เป็นกระบวนการที่เปิดให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูล ข้อเท็จจริง และความคิดเห็น เพื่อประกอบการตัดสินใจของหน่วยงานภาครัฐด้วยวิธีต่างๆ เช่น การรับฟัง ความคิดเห็น การสารวจความคิดเห็น การจัดเวทีสาธารณะ การแสดงความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ เป็นต้น 3. การเกี่ยวข้อง เป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงาน หรือร่วม เสนอแนะแนวทางที่นาไปสู่การตัดสินใจ เพื่อสร้างความมั่นใจให้ประชาชนว่า ข้อมูลความคิดเห็นและ ความต้องการของประชาชนจะถูกนาไปพิจารณาเป็นทางเลือกในการบริหารงานของภาครัฐ เช่น การประชุม เชิงปฏิบัติการเพื่อพิจารณาประเด็นนโยบาย ประชาพิจารณ์ การจัดตั้งคณะทางานเพื่อเสนอแนะประเด็น นโยบาย เป็นต้น 4. ความร่วมมือ เป็นการให้กลุ่มประชาชน ผู้แทนภาคสาธารณะ มีส่วนร่วมโดยเป็น หุ้นส่วนกับภาครัฐในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ และมีการดาเนินกิจกรรมร่วมกันอย่างต่อเนื่อง เช่น คณะกรรมการที่มีฝ่ายประชาชนร่วมเป็นกรรมการ เป็นต้น 5. การเสริมอานาจให้แก่ประชาชน เป็นขั้นตอนที่ให้บทบาทประชาชนในระดับสูงที่สุด โดยให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจ เช่น การลงประชามติในประเด็นที่เป็นสาธารณประโยชน์ เช่น โครงการ กองทุน หมู่บ้าน กองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ ที่มอบอานาจให้ประชาชนเป็นผู้ตัดสินใจทั้งหมด เป็นต้น การสร้างการมีส่วนร่วมของประชาชน อาจทาได้หลายระดับและหลายวิธี ซึ่งบางวิธี สามารถทาได้อย่างง่ายๆ แต่บางวิธีต้องใช้เวลา ขึ้นอยู่กับความต้องการเข้ามามีส่วนร่วมของประชาชน ค่าใช้จ่ายและความจาเป็นในการเปิดโอกาส ให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม การมีส่วนร่วมของประชาชนเป็น เรื่องละเอียดอ่อน จึงต้องมีการพัฒนาความรู้ความเข้าใจในการให้ข้อมูลข่าวสารที่ถูกต้องแก่ประชาชน การ รับฟังความคิดเห็น การเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม รวมทั้งพัฒนาทักษะและศักยภาพของ ข้าราชการทุกระดับควบคู่กันไป
  • 4. - 3 - การมีส่วนร่วมในการดาเนินงานของภาคราชการที่มาจากทุกภาคส่วนของสังคม โดยเฉพาะ อย่างยิ่งประชาชนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและชุมชนท้องถิ่น จะช่วยทาให้เจ้าหน้าที่ของรัฐมีความใกล้ชิดกับ ประชาชนได้รับทราบความต้องการและปัญหาที่แท้จริง ลดความขัดแย้งและการต่อต้าน ทั้งยังเป็นการสร้าง สังคมแห่งการเรียนรู้ที่เสริมสร้างให้ประชาชน ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจในประเด็นต่างๆ ซึ่งเป็นบทบาทที่ หน่วยงานภาคราชการจะต้องดาเนินการให้เกิดขึ้น อย่างไรก็ตาม การบริหารแบบมีส่วนร่วมที่เปิดโอกาสให้ประชาชนและเครือข่ายภาค ประชาสังคมทุกภาคส่วนเข้ามาเป็นหุ้นส่วน จะประสบความสาเร็จหรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับหน่วยงานต่างๆ ที่จะ สนับสนุนให้เปิดการมีส่วนร่วมของประชาชนมากน้อยเพียงใด รวมทั้งต้องอาศัยกระบวนการความร่วมมือ และการมีส่วนร่วมของทุกฝ่ายในสังคมเป็นพันธมิตรของภาคราชการ จะต้องร่วมมือกันเปิดระบบราชการให้ ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมเพื่อทาให้เกิดการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี มีการแบ่งสรรทรัพยากรอย่าง ยุติธรรมและลดความขัดแย้งในสังคมและที่สาคัญที่สุด คือ การสร้างกลไกของการพัฒนาระบบราชการที่ ยั่งยืนเพื่อประโยชน์สุขของประชาชนนั่นเอง ฉะนั้น ความหมายของการมีส่วนร่วมจะหมายถึง การที่ปัจเจกบุคคล กลุ่มคน ชุมชน องค์ประกอบของประชาชนที่เห็นพ้องต้องกันเข้ามามีส่วนร่วมในการร่วมคิด ร่วมพิจารณา ร่วมติดสินใจ ร่วมปฏิบัติ ร่วมติดตามและประเมินผล ร่วมแก้ไขปัญหาและร่วมผิดชอบด้วยความสมัครใจ เพื่อให้เกิด การพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ต้องการและบรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้ หรือ หมายถึง การที่ประชาชนมีความเป็นอิสระในการร่วมแรง ร่วมใจ ร่วมทรัพย์ ร่วมความคิด ร่วมปฏิบัติ ร่วมรับผลประโยชน์ในโครงการต่างๆ ที่ต่อเนื่อง ทั้งนี้ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และตอบสนองความต้องการของชุมชน ตามความหมายดังกล่าวสามารถที่จะนาเอาความหมายมาจัดทาเป็นกระบวนการมีส่วนร่วม ได้หลายวิธีการ เช่น หลักนิติธรรม เสวนา/เวทีชาวบ้าน/ประชาชน/ฝึกอบรม/ดูงาน/สัมมนาเครือข่าย/รัฐ/ สนับสนุน/โดยมีการพิจารณาถึงปัจจัยการมีส่วนร่วม ดังรูปแบบ
  • 5. - 4 - - บทบาทของพนักงานเจ้าหน้าที่ภาครัฐในกระบวนการมีส่วนร่วมจะต้อง 1. สร้างกลไกหรือวิธีการที่จะทาให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่วม เช่น การจัดทาคู่มือ การสร้างเครือข่าย 2. เสริมสร้างให้ระดับการมีส่วนร่วมเกิดประสิทธิผล 3. อานวยความสะดวก สนับสนุนงบประมาณ 4. ออกกฎระเบียบ ข้อบังคับ กติการองรับการทางาน การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วม (Joint Management of Protected Areas) รายละเอียดเกี่ยวกับการมีส่วนร่วมได้อธิบายให้ทราบแล้ว ว่ามีหลักการอย่างไร กระบวนการและผลประโยชน์ที่ได้รับจากการมีส่วนร่วม พื้นที่คุ้มครองซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Protected Areas หรือพื้นที่คุ้มครอง แต่ในการพูดคุยกันมักจะกล่าวถึงพื้นที่อนุรักษ์ ถ้าหากเป็นพื้นที่คุ้มครองใน ประเทศไทยก็จะหมายถึงอุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หรือเขตห้ามล่าสัตว์ป่า ที่บริหารจัดการ โดยใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้อง คือ พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และพระราชบัญญัติสงวนและ คุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 ความหมายของพื้นที่คุ้มครองตามหลักสากลหรือที่นานาชาติใช้กัน เช่น องค์กร IUCN กาหนดความหมายไว้ว่า หมายถึง “พื้นที่ดินหรือพื้นที่ทางทะเลที่ถูกจัดตั้งขึ้น เพื่อเป็นการป้ องกันและ บารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรทางธรรมชาติและทรัพยากรทางวัฒนธรรม และ คุณค่าทางทัศนียภาพ ซึ่งดาเนินการโดยใช้กฎหมายในการจัดตั้งและบริหารจัดการ” ความเป็นอยู่ การมีส่วนร่วม การแสวงหาอนาคต ภูมิปัญญาท้องถิ่นเทคโนโลยี การบริหารองค์กร ความรู้ การสร้างกลไก จิตสานึกในการอนุรักษ์
  • 6. - 5 - คาว่า “PROTECT” มาจากคาว่า P = Participation (ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ) R = Relevance (งานที่ทาตรงกับภารกิจ) O = Outcome (มุ่งเน้นผลที่ได้รับเป็นหลัก) T = Team (ทางานเป็นทีม) E = Efficiency (ทางานอย่างมีประสิทธิภาพ) C = Conservation (การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติให้สมบูรณ์) T = Technology (นาวิชาการ เทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงาน) การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมจึงเป็นยุทธศาสตร์และนโยบายที่สาคัญประการ หนึ่งของหลายๆ หน่วยงานหรือหลายๆ องค์กร แม้แต่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ก็มีการกาหนดให้ ชุมชนท้องถิ่นมีสิทธิในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู บารุงรักษา ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสมดุลและยั่งยืน สิทธิของ บุคคลร่วมกับภาครัฐและชุมชนในการบารุงรักษาคุ้มครอง และได้รับผลประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติ หรือความหลากหลายทางชีวภาพ ประชาชนมีสิทธิอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มีคุณภาพดีและสามารถฟ้องร้อง ภาครัฐ เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในกรณีที่ทาให้เกิดปัญหามลพิษทางสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่นได้ แนวคิดของการมีส่วนร่วมของประชาชนที่ใช้เป็นกลยุทธ์หนึ่งในการทางานด้านต่างๆ ซึ่งรวมไปถึงการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จากผลการประชุม เรื่อง การจัดการอย่างมีส่วนร่วมในภูมิภาคเอเซีย เมื่อปี พ.ศ. 2541 ได้มีความเห็นว่าการจัดการอย่างมีส่วนร่วม เป็นสถานการณ์ที่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียบางส่วน หรือทั้งหมดเข้ามาเกี่ยวข้องอย่างมาก ทั้งกิจกรรมการจัดการโดยมีความเป็นพันธมิตรต่อกันโดยกระบวนการ ของการมีส่วนร่วม การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมจะมีลักษณะ 1. การเข้ามาเกี่ยวข้องของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตั้งแต่สองกลุ่มขึ้นไป เช่น พนักงาน เจ้าหน้าที่ของรัฐที่รับผิดชอบพื้นที่คุ้มครองกับชุมชนท้องถิ่นที่อาศัยอยู่ในพื้นที่และพึ่งพิง ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง 2. ข้อตกลงร่วมกันระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐกับผู้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่ เกี่ยวกับระบบกรรมสิทธิ์ในทรัพยากรธรรมชาตินั้นๆ เช่น สิทธิในการใช้ สิทธิในการดูแลหรือการจัดการ สิทธิในการถ่ายโอน สิทธิของบุคคลหรือส่วนร่วม 3. กระบวนการเจรจาหาข้อตกลง ซึ่งมีผู้ได้รับผลกระทบจากการจัดการที่ได้เข้าไปมีส่วนร่วม 4. การมีส่วนร่วมที่มีประสิทธิภาพ คือ กระบวนการเจรจาต้องนาไปสู่การเข้ามามีบทบาท และสามารถหาข้อสรุปในข้อตกลงได้ กล่าวโดยสรุป การจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมเป็นการเปิดโอกาสให้ประชาชน ชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามามีส่วนรับรู้ข้อมูลข่าวสาร มีส่วนร่วมในการเสนอความคิดเห็น การ วิเคราะห์ การวางแผนดาเนินการ รวมถึงการมีส่วนร่วมในการติดตามและประเมินผล การจัดการพื้นที่
  • 7. - 6 - คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมอาจจะไม่เหมาะสมในทุกสถานการณ์ หรืออาจจะไม่เข้าไปสู่การจัดการที่ยั่งยืนใน ทุกกรณี เช่น การตัดสินใจอย่างเร่งด่วน หรือการดาเนินงานทันที โดยเฉพาะในพื้นที่ที่มีการทาลายระบบ นิเวศหรือพื้นที่ที่มีความเปราะบาง แต่โดยทั่วไปหลักการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมยังมีความ เหมาะสมในหลายสถานการณ์ โดยเฉพาะ 1. มีความมุ่งมั่น ตั้งใจ และความร่วมมือของผุ้มีส่วนได้ส่วนเสีย ซึ่งมีความสาคัญอย่างมาก ต่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 2. การเข้าถึงทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ที่มีความสาคัญอย่างมากต่อความมั่นคงในวิถี ชีวิตและรักษาประเพณีวัฒนธรรมของชุมชนท้องถิ่น 3. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่น มีสิทธิตามวัฒนธรรมท้องถิ่นดั้งเดิมหรือสิทธิตาม กฎหมาย 4. ชุมชนมีความสนใจในหลักการจัดการอย่างมีส่วนร่วมระดับท้องถิ่น ซึ่งส่งผลอย่างมาก ต่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 5. ความซับซ้อนและความแตกต่างกันในการตัดสินใจ เช่น มีความขัดแย้งกันในการ จัดการพื้นที่และการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ 6. การจัดการพื้นที่คุ้มครองที่ผ่านมาไม่ประสบผลสาเร็จตามเป้าหมายที่กาหนดไว้ 7. ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความพร้อมและต้องการเข้ามามีส่วนร่วม และ 8. เป็นเวลาที่เหมาะสมที่ต้องการเจรจาหาข้อตกลง เพื่อสร้างพันธะสัญญาร่วมกันในการ จัดการพื้นที่อย่างยั่งยืน หลักการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่คุ้มครองไม่ว่าจะเป็นอุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า โดยทั่วไปจะมีองค์กรและประชาชนจะมีบทบาทเข้ามาเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพื่อให้ เป็นไปตามหลักการการจัดการพื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศ จึงมีข้อกาหนดที่ให้มีการพิจารณาในเรื่องการมี ส่วนร่วมโดยมีหลักการพิจารณาร่วมกันว่าจะทางานอย่างไรที่จะทาให้เกิดผลลัพธ์ที่มีประสิทธิภาพ 3. นโยบายการมีส่วนร่วม 3.1 คานา นโยบายกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้ให้ความสาคัญสนับสนุน ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในฐานะหน่วยงานหลักที่รับผิดชอบทรัพยากรธรรมชาติของประเทศ ได้เล็งเห็นถึงความสาคัญของการเข้ามา มีส่วนร่วมของทุกภาคี ในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง จึงมีความจาเป็นที่จะต้อง ดาเนินการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ขึ้นในพื้นที่คุ้มครอง เพื่อเป็นกลไกเปิดโอกาสให้ทุกภาคีได้เข้ามา มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครองตามนโยบายดังกล่าว 3.2 หลักการ เพื่อให้ภาคีต่างๆ มีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
  • 8. - 7 - 3.3 แนวทางการนาไปสู่การปฏิบัติ แนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ เป็นการระดมความคิดเห็นที่มีมุมมองต่อ พื้นที่คุ้มครองในภาพรวมของประเทศ ซี่งพื้นที่คุ้มครองในแต่ละแห่งต่างมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัว ทั้ง ในเรื่องประเด็นปัญหา และความสนใจเข้ามามีส่วนร่วมของภาคีแตกต่างกันไป ดังนั้นผลจากการสัมมนาซึ่ง นามาเป็นข้อมูลในการจัดทาแนวทางการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ ที่ปรากฏอยู่ด้านล่างนี้ จึง จาเป็นต้องมีความยืดหยุ่น เพื่อใช้เป็นกรอบแนวคิดให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองสามารถนาไปประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับพื้นที่ของตน และความสนใจของภาคีหลักในพื้นที่ได้ ดังนั้นหัวหน้าพื้นที่คุ้มครองจึงสามารถ พิจารณาปรับลดหรือเพิ่มเติมในส่วนขององค์ประกอบ จานวนและบทบาทหน้าที่ ของคณะกรรมการระดับ พื้นที่ได้เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมสาหรับการปฏิบัติงานในแต่ละพื้นที่ สาหรับการปฏิบัติงานของคณะกรรมการระดับพื้นที่ เพื่อให้สอดคล้องกับหลักการ จัดการพื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศ ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ในการปฏิบัติงาน เพื่อประโยชน์ในการคุ้มครองและ ดูแลรักษาพื้นที่คุ้มครอง (อุทยานแห่งชาติหรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า) และเพื่อการศึกษา วิจัยทางวิชาการ ให้ ดาเนินการขออนุมัติใช้อานาจของอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ตามมาตรา 19 แห่ง พระราชบัญญัติอุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และมาตรา 38 แห่งพระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2535 เป็นกรณีๆ ไป 3.4 กรอบแนวทางในการจัดตั้งคณะกรรมการระดับพื้นที่ 1. ชื่อของคณะกรรมการระดับพื้นที่ ใช้ชื่อว่า “คณะกรรมการที่ปรึกษา xxxxxxx” เช่น คณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติคลองลาน เป็นต้น 2. องค์ประกอบและสัดส่วน ประกอบไปด้วย ผู้แทนจากภาคส่วนต่างๆ โดยมี สัดส่วนตามความเหมาะสมอย่างน้อยที่สุด ดังนี้ ผู้แทนฝ่ายปกครองส่วนภูมิภาค เช่น นายอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน ผู้แทนฝ่ายปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ. ฯลฯ ผู้แทนหน่วยราชการอื่นๆ ที่มีบทบาทเกี่ยวข้อง เช่น หน่วยงานเกษตร ครู หน่วยงานที่ดิน หน่วยงานพัฒนาการ หน่วยงานการท่องเที่ยว หน่วยงาน ตารวจ หน่วยงานประมง ฯลฯ ผู้แทนชุมชนอย่างเป็นทางการและไม่เป็นทางการ หรือองค์กรชุมชน เช่น กลุ่มแม่บ้าน สหกรณ์ ฯลฯ ผู้แทนหน่วยงานในสังกัดกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช อื่นๆ ที่อยู่ในพื้นที่ใกล้เคียงหรือเกี่ยวข้อง เช่น หน่วยฯ ไฟป่า หน่วยฯ ต้นน้า หน่วยป้องกันรักษาป่าฯ สถานีวิจัยฯ และพื้นที่คุ้มครองข้างเคียง ฯลฯ ผู้แทนเจ้าหน้าที่จากอุทยานแห่งชาติ/ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า นั้นๆ
  • 9. - 8 - ผู้นาที่ไม่เป็ นทางการและ/หรือผู้ทรงคุณวุฒิ เช่น ผู้นาทางศาสนา สถาบันการศึกษา ผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ฯลฯ ผู้แทนสื่อมวลชน ผู้แทน NGOs ฯลฯ 3. จานวนของคณะกรรมการที่ปรึกษา ไม่น้อยกว่า 15 คน แต่ไม่เกิน 25 คน 4. การสรรหาคณะกรรมการที่ปรึกษา ให้หัวหน้าพื้นที่ในพื้นที่คุ้มครอง ทาการสรรหาคณะบุคคลตามองค์ประกอบ ในข้อ 2 ในสัดส่วนที่เหมาะสม มาเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษา โดยจัดให้คณะกรรมการที่ปรึกษาที่สรรหามา ได้ดาเนินการคัดเลือกกรรมการที่ปรึกษาท่านใดท่านหนึ่ง เป็นประธานคณะกรรมการที่ปรึกษาและให้ หัวหน้าพื้นที่ในพื้นที่คุ้มครองนั้นๆ เป็นกรรมการและเลขานุการโดยตาแหน่ง และให้ผู้อานวยการสานัก บริหารพื้นที่อนุรักษ์จัดประชุมโดยเชิญผู้ที่มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่ เช่น ผู้แทนชุมชน และผุ้แทนหน่วยงาน ราชการ หารือเพื่อคัดเลือกกรรมการที่ปรึกษาให้ครอบคลุมทุกภาคส่วนอย่างเป็นทางการ ตามองค์ประกอบ ในข้อ 2 เมื่อสรรหาคณะบุคคลได้ครบตามองค์ประกอบ แล้วให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองรีบดาเนินการนา รายชื่อและจัดทาประวัติโดยย่อพร้อมอธิบายคุณสมบัติของแต่ละบุคคลได้รับการแต่งตั้ง เสนอผู้มีอานาจ แต่งตั้งออกคาสั่งแต่งตั้งให้คณะบุคคลดังกล่าวเป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาของพื้นที่คุ้มครองนั้นๆ โดยด่วน ต่อไป 5. วาระในการดารงตาแหน่ง - มีวาระในการดารงตาแหน่งคราวละ 2 ปี - ให้หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองเสนอผู้มีอานาจแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาชุด ใหม่ - กรณีที่กรรมการพ้นจากตาแหน่งก่อนวาระ ด้วยเหตุดังนี้ การตาย ลาออก เป็นผู้ไร้ความสามารถ หรือเสมือนไร้ความสามารถ อยู่ระหว่างการดาเนินคดี หรือถูกพิพากษาให้ถูกจาคุก (ยกเว้น ความผิดอันได้กระทาโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ) คณะกรรมการที่ปรึกษามีมติให้ออก คณะกรรมการที่ปรึกษาอาจเสนอผู้มีอานาจแต่งตั้งผู้อื่นเป็นกรรมการแทน ได้และให้ผู้ซึ่งได้รับแต่งตั้งอยู่ในตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่ของกรรมการซึ่งตนแทน - ในกรณีที่คณะกรรมการที่ปรึกษาเสนอผู้มีอานาจแต่งตั้งกรรมการเพิ่มขึ้น ในระหว่างที่กรรมการซึ่งแต่งตั้งไว้แล้ว ยังมีวาระอยู่ในตาแหน่ง ให้ผู้ซึ่ง ได้รับแต่งตั้งเป็นกรรมการเพิ่มขึ้นอยู่ได้ตาแหน่งเท่ากับวาระที่เหลืออยู่
  • 10. - 9 - 6. อานาจผู้แต่งตั้งเป็นอานาจของอธิบดีกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช แต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา 7. โครงสร้างของคณะกรรมการที่ปรึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษาจะเป็นกลไก หลักในการอานวยการให้เกิดการมีส่วนร่วมของภาคีในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ดังนั้น มุมมองหรือ เป้ าประสงค์ของคณะกรรมการที่ปรึกษา คือ การบริหารจัดการของพื้นที่คุ้มครองอย่างมีส่วนร่วมโดยมี อานาจแต่งตั้งคณะทางานเพื่อรองรับภารกิจต่างๆ ที่ระบุไว้ในบทบาทหน้าที่ในการแก้ไขปัญหาเฉพาะด้าน โดยอาจแบ่งตามเขตจังหวัด อาเภอ ตาบล หมู่บ้าน หรือแบบตามประเด็นปัญหาที่เกิดขึ้น ดังภาพ 8. บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการที่ปรึกษา มีดังนี้ 8.1 มีส่วนร่วมในกระบวนการวางแผน * ให้คาปรึกษาและแนะนา ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง * ให้คาปรึกษาและแนะนา ในการจัดทาหรือทบทวนแผนการจัดการพื้นที่ คุ้มครองที่สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาลด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ * ให้คาปรึกษาและแนะนา โครงการที่ขอใช้เงินจากกองทุนสนับสนุน กิจกรรมชุมชน 8.2 มีส่วนร่วมในการดาเนินงาน * ให้คาปรึกษาและแนะนา กิจกรรมเพื่อการคุ้มครอง ดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกิจกรรมการพัฒนาความเป็นอยู่ของชุมชนอย่างมีส่วนร่วม * ให้คาปรึกษาและแนะนา การจัดการแสดงความคิดเห็นของภาครัฐและ เอกชนเกี่ยวกับนโยบายและที่เกี่ยวข้องกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง * ให้คาปรึกษาและแนะนา การจัดตั้งองค์กรชุมชนเพื่อการอนุรักษ์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม รวมถึงการสร้างระบบเครือข่าย * ให้คาปรึกษาและแนะนา กิจกรรมที่เอื้อต่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองและ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ คณะกรรมการที่ปรึกษา คณะทางาน.... คณะทางานด้านป้ องกันไฟ คณะทางาน.... คณะทางาน.... คณะทางานแก้ไขปัญหา แนวเขต คณะทางาน....
  • 11. - 10 - * ให้คาปรึกษาและแนะนา และพิจารณาในการจัดทาข้อตกลง กฎ กติกา ของชุมชน * ให้คาปรึกษาและแนะนา และพิจารณาในการดาเนินงานพัฒนาชุมชนใน พื้นที่คุ้มครอง * เสนอความเห็นเกี่ยวกับปัญหา อุปสรรค และแนวทางในการแก้ไขใน การดาเนินงานของพื้นที่คุ้มครอง 8.3 การมีส่วนร่วมในการติดตามประเมินผล * ติดตามและประเมินผลในการปฏิบัติงานของคณะกรรมการที่ปรึกษา และคณะทางานที่ได้รับการแต่งตั้ง * อานวยความสะดวกในการดาเนินงานติดตามและประเมินผล 8.4 แต่งตั้งคณะทางานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่คณะกรรมการที่ปรึกษา มอบหมาย 8.5 ดาเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ตามที่ได้รับมอบหมายจากกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช 9. การประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา - หากกรณีประธานไม่มาประชุม หรือไม่อยู่ในที่ประชุม ให้คณะกรรมการ เลือกกรรมการคนหนึ่งเป็นประธานในที่ประชุม การวินิจฉัยชี้ขาดในที่ ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก - การออกเสียงในการลงคะแนน ให้คณะกรรมการที่ปรึกษากาหนดให้ ชัดเจนก่อนการประชุมทุกครั้ง - ถ้าคะแนนเสียงเท่ากัน ให้ประธานที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียง เป็นเสียงชี้ขาด - การประชุมคณะกรรรมการที่ปรึกษา ต้องมีกรรมการเข้าประชุมไม่น้อย กว่ากึ่งหนึ่งของจานวนทั้งหมด - กรณีที่กรรมการไม่สามารถมาร่วมประชุมได้ ให้ส่งชื่อผู้แทนให้ เลขานุการทราบก่อนการประชุม - ให้จัดมีการประชุมอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 4. ผลการปฏิบัติของคณะกรรมการที่ปรึกษา การปฏิบัติงานของที่ปรึกษาโครงการ CATSPA ด้านการสร้างความเข้มแข็งให้ คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง ได้ทาการตรวจสอบข้อมูลผลการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษา พื้นที่คุ้มครอง ทั้งอุทยานแห่งชาติและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ตามแนวทางในหนังสือกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ด่วนที่สุด ที่ ทส 0905.201/12931 ลงวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 เรื่อง แนวทางการจัดตั้ง
  • 12. - 11 - คณะกรรมการระดับพื้นที่ (PAC) ที่ได้เล็งเห็นความสาคัญในการส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน เข้ามามีบทบาทและมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่คุ้มครอง การศึกษาข้อมูลผลการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติทุกแห่งที่ได้ส่ง รายงานถึงสานักอุทยานแห่งชาติ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช พบว่ามีประเด็นที่สาคัญๆ ดังนี้ 4.1 เรื่องการจัดการที่ดินของชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติที่กาหนดให้มีการ ผ่อนปรนตามมติ ค.ร.ม. เมื่อวันที่ 30 มิถุนายน 2541 เกี่ยวกับการตรวจสอบรังวัดหมายแนวเขตหลายๆ พื้นที่ ยังดาเนินการไม่แล้วเสร็จ หรือยังไม่มีแผนดาเนินการขั้นต่อไป 4.2 เรื่องให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์พื้นที่อุทยานแห่งชาติที่อยู่บนพื้นฐาน ประเพณี วัฒนธรรม เช่น การรักษาป่า แหล่งต้นนา การบวชป่า การบูชาผีหัวน้า เป็นต้น 4.3 การสร้างจิตสานึกให้เยาวชนหรือประชาชนทั่วไปทั้งในและนอกสถาบันการศึกษา เช่น การจัดค่ายเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การส่งเสริมให้สถานศึกษาใช้อุทยานแห่งชาติ เป็นห้องเรียนธรรมชาติ พร้อมทั้งเสนอให้มีการอบรมมัคคุเทศก์ จัดวิทยากรที่มีความรู้ความชานาญของ หน่วยงานเป็นวิทยากรในวิชาที่เกี่ยวข้อง 4.4 เรื่องการจัดการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ โดยการพัฒนาการท่องเที่ยวในอุทยาน แห่งชาติให้เป็นแหล่งเรียนรู้ด้านการบริการของระบบนิเวศความสาคัญของระบบนิเวศ การให้ชุมชนมีส่วน ร่วมในการท่องเที่ยวเชิงระบบนิเวศและการใช้ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าเพื่อการท่องเที่ยว 4.5 เรื่องการฟื้นฟูระบบนิเวศในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ พื้นที่บริเวณใดที่เคยเป็นไร่ร้าง ก็ ควรปล่อยทิ้งไว้ให้มีการพัฒนาเป็นป่ าโดยธรรมชาติหรืออาจจะปลูกเสริม โดยใช้พันธุ์ไม้ที่อานวย ผลประโยชน์ทางด้านการเป็นแหล่งอาหาร ที่อาศัยหรือหลบภัยของสัตว์ป่า ไม่ควรใช้หรือปลูกชนิดพันธุ์ เพียงชนิดเดียวที่ปลูกแบบสวนป่า 4.6 เรื่องการพัฒนาอาชีพให้แก่ชุมชน โดยไม่เป็นการทาลายระบบนิเวศ เนื่องจากทั้ง ภายในและภายนอกพื้นที่มีราษฎรประกอบอาชีพด้านต่างๆ อาศัยอยู่กระจัดกระจายอยู่ทั่วไปจะมีการใช้ ประโยชน์จากพื้นที่คุ้มครอง เช่น การเก็บหาเห็ด หน่อไม้การลักลอบสัตว์ป่า หรือการลักลอบตัดไม้หรือเก็บ หาของป่าอื่นๆ เพื่อลดปัญหาภัยคุกคามดังกล่าว จึงควรที่จะมีการพัฒนาชุมชนให้ประกอบอาชีพที่ไม่พึ่งพิง ระบบนิเวศป่าธรรมชาติ เช่น การเลี้ยงผึ้ง การปลูกพันธุ์พืชที่ต้องการทางเศรษฐกิจในพื้นที่ดินของตนเอง 4.7 เรื่องการพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ เช่น เส้นทางตรวจ การณ์ อาคารสถานที่ ระบบน้าประปาภูเขา การสร้างฝายกักน้าและกักตะกอน การสร้างฝายกักน้าเพื่อผลิต กระแสไฟฟ้าสาหรับหมู่บ้าน การวางทุนจอดเรือ การสร้างท่าเรือเพื่อการท่องเที่ยวในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ทางทะเล การปลูกพืชอาหารสัตว์ป่า การปรับปรุงป้ายสื่อต่างๆ และการป้องกันไฟป่า 4.8 เรื่องการศึกษาวิจัยเพื่อการบริหารจัดการพื้นที่อุทยานแห่งชาติในพื้นที่อุทยาน แห่งชาติหลายๆ แห่ง พบว่ามีนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยต่างๆ ไปศึกษาวิจัยที่ได้ดาเนินงานร่วมกับหัวหน้า อุทยานแห่งชาติ ยังไม่ได้เป็นการวิจัยที่นามาใช้เพื่อการจัดการพื้นที่ ส่วนใหญ่จะเป็นการวิจัยข้อมูลพื้นฐาน
  • 13. - 12 - หรือชีววิทยาหรือความหลากหลายทางชีวภาพ การปล่อยสัตว์ป่าคืนสู่ธรรมชาติ การวิจัยการใช้ประโยชน์ ที่ดินตามมติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 4.9 เรื่องการจัดตั้งกองทุนเพื่อการอนุรักษ์และพัฒนาอาชีพของชุมชนที่เกี่ยวกับการ อนุรักษ์พื้นที่อุทยานแห่งชาติ 4.10 เรื่องอื่นๆ ที่มีการนาเสนอใจที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษา เช่น ปัญหาขยะ การ จัดทาแผนยุทธศาสตร์อุทยานแห่งชาติกับแผนยุทธศาสตร์จังหวัด การสร้างเครือข่ายของประชาชนเพื่อแก้ไข การบุกรุกที่ดิน การแก้ไขปัญหาการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ การปลูกป่า การปลูกยางพารา การ หมายแนวเขตอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วม การจัดการจราจร การกู้ภัย เป็นต้น 4.11 เรื่องการจัดการที่ดินของชุมชนที่ตั้งอยู่ในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าและทับซ้อน ตามแนวเขต การผ่อนปรนตามมติ ค.ร.ม. วันที่ 30 มิถุนายน 2541 ตลอดจนการรังวัดหมายแนวเขต เพื่อให้มี การจัดระเบียบชุมชน โดยเฉพาะชุมชนพื้นเมืองดั้งเดิมหรือชนเผ่าต่างๆ ที่มีประเพณีวัฒนธรรม เพื่อเป็นการ ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ประเพณีวัฒนธรรม 4.12 เรื่องการแก้ไขปัญหาช้างป่าและสัตว์ป่าจากเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเข้าไปกินพืชผล และทาลายพื้นที่เกษตรกรรมของชาวบ้าน การจัดตั้งกองทุนอาหารช้าง สนับสนุนให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อ ค้นหาข้อมูลเพื่อการจัดการเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 4.13 การฟื้นฟูระบบนิเวศในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าโดยเฉพาะบริเวณพื้นที่ที่เคยเป็น ไร่ร้างมาก่อน ควรปล่อยให้มีการพัฒนาตามธรรมชาติหรือการปลูกเสริมโดยใช้ชนิดพันธุ์ไม้ที่อานวย ผลประโยชน์ทางด้านการเป็นแหล่งอาหาร ที่อยู่อาศัยและแหล่งหลบภัยสาหรับสัตว์ป่าและไม่ควรใช้พันธุ์ไม้ ชนิดเดียวปลูกเป็นแบบสวนป่า 4.14 เรื่องการสร้างจิตสานึกด้านการอนุรักษ์ในรูปแบบของการฝึกอบรมนักเรียน นักศึกษา หรือเยาวชน โดยการจัดจ่ายเยาวชน ส่งเสริมให้มีการใช้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเป็นห้องเรียน ธรรมชาติ การฝึกอบรมมัคคุเทศก์ท่องเที่ยวสาหรับสัตว์ป่า พร้อมทั้งจัดวิทยากรที่มีความรู้ความชานาญของ หน่วยงานเป็นผู้สอนในวิชาการที่เกี่ยวข้อง 4.15 เรื่องการปล่อยสัตว์ป่ าคืนสู่ธรรมชาติหลายๆ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ ามีพื้นที่ที่ เหมาะสมสาหรับเป็นแหล่งที่อยู่อาศัยหากินของสัตว์ป่าบางชนิด โดยเฉพาะพื้นที่ที่มีสัตว์ป่าชนิดนั้นอาศัยอยู่ ก่อนแล้วหาได้ยาก ในขณะเดียวกันก็มีการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ชนิดพันธุ์ที่ต้องการตามสถานีเพาะเลี้ยงสัตว์ ป่าต่างๆ จึงได้นาสัตว์ป่าที่ต้องการไปปล่อย เช่น ละองละมั่ง เนื้อทราย อีเก้งและกวางป่า เป็นต้น พร้อมทั้ง ให้มีการศึกษาวิจัยเพื่อการติดตามผล 4.16 การวางแผนและโครงการร่วมกันระหว่างหน่วยงานต่างๆ มีหลายๆ หน่วยงานมี ความคิดเห็นตรงกันในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่มีหลายๆ หน่วยงานตั้งอยู่ เช่น หน่วยจัดการต้นน้า หน่วย ป้ องกันรักษาป่า ตลอดจนองค์การบริหารส่วนตาบล (อบต.) ควรจะได้วางแผนและโครงการร่วมกันว่ามี กิจกรรมใดบ้างที่ดาเนินการในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
  • 14. - 13 - 4.17 เรื่องปัญหาการใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่หลายๆ พื้นที่ที่ประสบ ปัญหาการใช้ประโยชน์ในพื้นที่ เช่น การเลี้ยงปศุสัตว์การเก็บเห็ด การเก็บหาหน่อไม้ ตลอดจนการลักลอบ ล่าสัตว์ป่าและการลักลอบตัดไม้จึงได้มีการนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาที่ เกิดขึ้น 4.18 การทางานร่วมกับพันธมิตรที่ได้เข้ามาดาเนินการในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มูลนิธิ องค์กรอนุรักษ์หรือเครือข่ายต่างๆ ทาให้เกิดผลประโยชน์กับพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เช่น มูลนิธิสืบ องค์กร WWF เป็นต้น 4.19 การท่องเที่ยวเชิงนิเวศในพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า มีพื้นที่เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า หลายแห่งเหมาะสมเป็นที่ศึกษาสัตว์ป่า ชนิดพันธุ์ไม้จะมีนักอนุรักษ์สัตว์ป่า โดยเฉพาะนักดูนกจะเข้าไปใช้ พื้นที่เป็นจานวนมากหรือบางพื้นที่ได้นาเอาสัตว์ป่าที่ได้จากการเพาะเลี้ยงขยายพันธุ์ไปปล่อยคืนสู่ป่าและ กลายเป็นแหล่งท่องเที่ยวชมสัตว์ป่าที่สาคัญ นักท่องเที่ยวได้ขออนุญาตเข้าชมตามระเบียบ ซึ่งการท่องเที่ยว เชิงระบบนิเวศไม่เป็นการทาลายชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและถิ่นที่อาศัย 4.20 เรื่องอื่นๆ ที่พบว่ามีการนาเข้าที่ประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เช่น การสร้างเครือข่ายกับชุมชนในการป้ องกันรักษาป่า การสร้างความร่วมมือกับทหาร การจัดตั้งอาสามัค รจากหมู่บ้านเข้ามาช่วยดูแลป่าไม้ การปลูกพืชในที่ดินของผู้ที่อาศัยอยู่ในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า การปลูก ยางพารา ปัญหาขยะ ปัญหาการปลูกพืชเชิงเดี่ยว โครงการศูนย์เรียนรู้จากงบประมาณจังหวัด และการใช้ โรงเรียนช่วยประชาสัมพันธ์การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นต้น 5. สรุปผลการดาเนินงานต่างๆ ที่ผ่านมา 5.1 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขข้อขัดแย้ง ระหว่างพนักงานเจ้าหน้าที่ของรัฐกับชุมชน การให้ข้อเสนอแนะและแนวทางการแก้ไขปัญหา เช่น การจัดทา แนวเขตที่ทากินและแนวเขตพื้นที่คุ้มครองให้ชัดเจน เพื่อไม่ให้มีการบุกรุกพื้นที่ป่า ร่วมแก้ปัญหาและความ รับผิดชอบ ร่วมให้คาแนะนาปรับปรุงกฎกติกาของชุมชนอย่างต่อเนื่อง การสนับสนุนแนวคิดการใช้ ประโยชน์อย่างยั่งยืน เช่น การเก็บหาของป่า เป็นต้น 5.2 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง ได้จัดกิจกรรมที่เป็นการสร้างจิตสานึกด้าน การอนุรักษ์ทรัพยากรในพื้นที่ให้แก่ชุมชน เป็นการสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชน รวมทั้งเป็นที่ปรึกษาให้ คาแนะนาในด้านการอนุรักษ์ การประชาสัมพันธ์ การฝึกอบรมและการศึกษาดูงาน ตลอดจนให้มีการขยาย ผลการอนุรักษ์สู่ชมุชนอื่นๆ ตลอดจนการติดตามผลการดาเนินงาน 5.3 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเสนอให้เจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครองศึกษาวิจัย จัดทาฐานข้อมูลของพื้นที่เพื่อใช้ในการวางแผนดาเนินงานก่อให้เกิดการจัดการอย่างมีส่วนร่วม คณะกรรมการที่ปรึกษาพร้อมที่จะสนับสนุนข้อมูล ตลอดจนให้มีการจัดตั้งกองทุน เพื่อประโยชน์ในการ บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
  • 15. - 14 - 5.4 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองได้มีส่วนร่วมในการสนับสนุนส่งเสริมอาชีพ ให้แก่ชุมชน ที่เน้นไปในเรี่องการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืนและการอยู่รวมกันของชุมชน สร้างเสริม กระบวนการเรียนรู้ในการอนุรักษ์ที่ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมชาติ ให้คาแนะนาแก่ชุมชนในการทาโครงการ และประสานงานด้านการพัฒนาอาชีพ 5.5 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองให้ข้อเสนอแนะเป็นประโยชน์หรือเสนอแนะ แหล่งทุนอื่นๆ ที่สามารถนาเข้ามาเสริมหรือทดแทนงบประมาณที่โครงการของพื้นที่คุ้มครองไม่สามารถ สนับสนุนได้ 5.6 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองประกอบด้วยผู้แทนแต่ละหน่วยงานที่มีความรู้ เฉพาะ เช่น เกษตร ประมง ปศุสัตว์การปกครอง เป็นต้น ถือว่าเป็นคณะบุคคลที่มีความรู้ความชานาญเฉพาะ เป็นพิเศษ หากว่ามีปัญหาใดๆ ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับสาขาหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคณะกรรมการสามารถ หาแนวทางแก้ไขร่วมกันได้ 6. แนวทางการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง แนวทางการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการที่ปรึกษาโดยกาหนดวิธีการ 6.1 การเพิ่มความเข้มแข็งในบทบาทและหน้าของการมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่ คุ้มครองของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง 6.1.1 การประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดทาคู่มือสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่และ คู่มือปฏิบัติงานด้านการมีส่วนร่วม 6.1.2 การฝึกอบรม 6.1.3 การวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งและความเสี่ยงคณะการกรรมการที่ปรึกษา 6.2 การเพิ่มศักยภาพให้กับคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองในการสนับสนุนการ บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง 6.2.1 ศึกษากรณีตัวอย่างของกิจกรรมการมีส่วนร่วมที่เข้มแข็ง 6.2.2 การปรับปรุงบทบาทและหน้าที่ของคณะกรรมการ 6.2.3 การศึกษาดูงานของคณะกรรมการพื้นที่คุ้มครองจากพื้นที่นาร่อง 6.3 การพัฒนาต้นแบบของกิจกรรมการจัดการอย่างมีส่วนร่วมในการจัดการพื้นที่เพื่อ เป็นตัวอย่างในการทางานของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง 6.3.1 ค้นหาและพัฒนาต้นแบบของกิจกรรมการจัดการอย่างมีส่วนร่วมในการ จัดการพื้นที่เพื่อเป็นตัวอย่างในการทางานของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง 6.3.2 ค้นหาและพัฒนาต้นแบบการทางานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ 6.3.3 ค้นหาและพัฒนาต้นแบบการทางานร่วมกับชุมชนในพื้นที่คุ้มครอง
  • 16. - 15 - 7. ข้อเสนอแนะในการสร้างความเข้มแข็งให้แก่คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง (PAC) จากประชุมร่วมกันของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองในพื้นที่เป้ าหมาย (นาร่อง) พอที่จะสรุปได้ดังนี้ 7.1 ควรมีการพัฒนาศักยภาพของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง โดยการจัดให้มี การฝึกอบรมในหลักสูตรที่เกี่ยวกับบทบาทและหน้าที่ เช่น หลักสูตรการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง การ จัดการอุทยานแห่งชาติ การจัดการสัตว์ป่า การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ การท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน และการ จัดการความขัดแย้ง ตลอดจนให้มีการศึกษาดูงานทั้งภายในและต่างประเทศเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้กับ คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ 7.2 การจัดทาคู่มือแนวทางปฏิบัติงานของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง เพื่อ กาหนดให้การมีส่วนร่วมในการทางานของคณะกรรมการเป็นไปในทิศทางเดียวกัน 7.3 การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง (PAC) เป็นเพียงนโยบายการมีส่วน ร่วมของประชาชนในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติร่วมกับเจ้าหน้าที่ภาครัฐ มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะและร่วมจัดทาแผน การติดตามผลของพื้นที่ แต่สถานภาพไม่มีอานาจตามกฎหมาย จาต้อง ให้มีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมายคือ พ.ร.บ. อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 และ พ.ร.บ. สงวนและคุ้มครองสัตว์ ป่า พ.ศ. 2535 กาหนดให้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาระดับพื้นที่ถูกต้องตามกฎหมายและกาหนด บทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน 7.4 ควรเปิดโอกาสให้คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองเสนอความเห็นเชิงนโยบาย หรือกฎหมายหรือกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องกับหน่วยงานระดับกรมหรือกระทรวง เพื่อปรับปรุงกลไกและ กระบวนการทางานด้านการมีส่วนร่วมให้มีความต่อเนื่องและยั่งยืน เพื่อนาไปสู่นโยบายของรัฐที่ชัดเจน เช่น ระเบียบการเก็บรายได้ค่าธรรมเนียมให้พื้นที่อุทยานแห่งชาติ การบริหารกองทุน เป็นต้น 7.5 ให้กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จัดประชุมคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่ คุ้มครองร่วมกันทั่วประเทศ เพื่อให้ทุกคนได้แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้และประสบการณ์ ร่วมกัน 7.6 การคัดเลือกบุคคลให้เป็นคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง ควรจะให้ชุมชน เสนอรายชื่อผู้แทนชุมชนที่มีความสมัครใจและเป็นที่ยอมรับของชุมชน ซึ่งมีความตั้งใจในการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง 7.7 คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองหลายท่านมีความรู้ความสามารถเฉพาะทาง เพื่อส่งเสริมให้คณะกรรมการมีโอกาสบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาในพื้นที่ใช้อย่างจริงจัง เช่น การแต่งตั้ง คณะทางานเฉพาะกิจ เป็นต้น 7.8 ข้อสังเกตจากการประชุมของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองที่เป็นหน่วย ราชการมักจะส่งผู้แทนหรือตัวแทนเข้าประชุม การแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา ควรแต่งตั้งโดยใช้ ตาแหน่ง เนื่อจากการแต่งตั้งที่ระบุบุคคลจะมีปัญหาเนื่องจากมีการโยกย้ายบ่อยครั้งมาก การแต่งตั้งโดยใช้ ตาแหน่งให้พิจารณาเลือกสรรบุคคลที่ตั้งใจทางานการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง
  • 17. - 16 - 7.9 ค้นหาวิธีการที่จะให้คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองให้พิจารณาร่วมกันและ การให้ความเห็นชอบในการส่งเสริมการท่องเที่ยว การพัฒนาอาชีพให้แก่ชุมชนและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นใน พื้นที่คุ้มครองโดยไม่กระทบต่อพื้นที่บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่ ---------------------------