SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
- 1 -
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
ประเทศไทยมีการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เป็นอุทยานแห่งชาติทางบก
จานวน 127 แห่ง อุทยานแห่งชาติทางทะเล จานวน 22 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า จานวน 58 แห่ง เขตห้าม
ล่าสัตว์ป่า จานวน 60 แห่ง และวนอุทยานอีก จานวน 113 แห่ง ทั่วประเทศ โดยมีพื้นที่รวมกันที่เป็นพื้นที่ทาง
บก 20% และอุทยานแห่งชาติทางทะเล 8% ของพื้นที่ทั้งประเทศ พื้นที่คุ้มครองหลายๆ พื้นที่มีการบริหาร
จัดการที่เป็นระบบตามนโยบายที่ชัดจน มีกระบวนการดาเนินงานที่เป็นมาตรฐานของการจัดการพื้นที่
คุ้มครองที่กระจายอยู่ทั่วประเทศและอานวยผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่ดีให้แก่
ชุมชนท้องถิ่นและประชาชนในประเทศ ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นถึงความสาคัญและมีประสิทธิภาพใน
ระดับชาติ เป็นการแสดงให้เห็นถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และให้ความสาคัญของพื้นที่
คุ้มครองเป็นส่วนหนึ่งของงานที่ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
ถ้าหากว่าหน่วยงานรับผิดชอบการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองดาเนินการตามนโยบายและมี
หน่วยงานภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมการดาเนินงานพื้นที่คุ้มครองก็จะมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันพื้นที่
คุ้มครองของประเทศไทยกาลังเผชิญกับภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุ้มครองจึงเป็นเรื่องสาคัญของนโยบายระดับประเทศ จากการประเมินพบว่า :
 มีความต้องการให้เป็นแหล่งผลิตอาหารเพิ่มขึ้น ความต้องการไม้ใช้สอย ของป่ าหรือ
ผลผลิตทางการเกษตร เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการบุกรุกยึดถือครอบครองที่ดินหรือบุกรุกเข้าไปใช้ประโยชน์
ในพื้นที่คุ้มครอง การลักลอบล่าสัตว์ป่า การเก็บหาของป่า รวมถึงการลับลอบตัดไม้ของชุมชนท้องถิ่น
 การเปลี่ยนแปลงประชากรของประเทศและการพัฒนาของบ้านเมืองทาให้มีการใช้
ประโยชน์พื้นที่คุ้มครอง ทาให้เกิดปัญหาในการบริหารจัดการ
 การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในท้องถิ่น มีการเผาป่า การลับลอบแผ้วถางป่าของ
เกษตรกร การลักลอบทาไม้ทาให้เกิดผลกระทบกับพื้นที่คุ้มครองและชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่คุ้มครอง
 การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเกิดลมพายุที่รุนแรง ฝนตกหนักทาให้เกิดน้าท่วม
ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรมีการเปลี่ยนแปลงรวมถึงราคาพืชผลทางการเกษตร และการเปลี่ยนแปลงเวลา
หรือฤดูการท่องเที่ยว
 ความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่าเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่นทั้งภายในและรอบพื้นที่ (ช้างป่า
หมูป่า หรือลิง) อันอาจจะเกิดจากประชากรของสัตว์ป่าเพิ่มขึ้นและต้องการถิ่นที่อาศัยเพื่อการดารงชีวิต
- 2 -
 ความต้องการจากการตลาดการค้าจากต่างประเทศรวมทั้งการรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
จะมีผลกระทบกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เช่น การลักลอบตัดไม้พะยูงส่งไปขายต่างประเทศ การลักลอบล่า
เสือโคร่ง หมีหรือลิ่น เป็นต้น
พื้นที่คุ้มครองเป็นที่รวมของระบบนิเวศต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับชุมชนท้องถิ่นและเมือง
ต่างๆ พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งต้นน้าลาธารและแหล่งอานวยน้าให้แก่ประชาชน การท่องเที่ยวและ
วัตถุประสงค์อื่นๆ การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองก็เพื่อต้องการให้มีการบริการของระบบนิเวศแก่
ประชาชนในเรื่องการสนับสนุนด้านแหล่งผลิตอาหาร เส้นใย หรือเยื่อไม้ ซึ่งหลักการจัดการจะต้องสร้าง
ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เมื่อคานึงถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากพื้นที่คุ้มครองที่เป็นการแสดงให้เห็นถึงคุณค่าที่เชื่อมโยง
กับการดารงชีวิตของมนุษย์เช่น
1. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มีความอุดมสมบูรณ์เพื่อใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ
2. การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์พืชที่เป็นเวชภัณฑ์ คุณค่าทางด้านพันธุกรรม โดยเฉพาะพืชป่าที่เป็น
ชนิดพันธุ์ดั้งเดิม
3. การใช้พื้นที่คุ้มครองในท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ
4. รักษาไว้ซึ่งความสะอาดและคุณภาพของน้าให้แก่ชุมชน
5. ลดและชะลอการตกตะกอนของดินในลาน้า แม่น้า และอ่างเก็บน้า
6. อนุรักษ์ชนิดพันธุ์ดั้งเดิมเพื่อความปลอดภัยของแหล่งอาหารและการเกษตร
7. การอนุรักษ์ถิ่นที่อาศัยของชนิดพันธุ์ที่มีประโยชน์ต่อผลผลิตทางการเกษตรและขจัดศัตรูพืช
8. ป้องกันภัยธรรมชาติ เช่น การเกิดน้าท่วม หรือการเกิดลมพายุที่รุนแรงตามชายฝั่งทะเล
9. การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ปลา
10.การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็นการรักษาไว้ซึ่งโครงสร้างและองค์ประกอบ
ของระบบนิเวศ
11.รักษาไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรม
12.การอนุรักษ์สถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือศาสนสถาน
13.มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว
14.ช่วยลดความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
15.การแก้ไขความขัดแย้งระหว่างการใช้ประโยชน์ในที่ดินรวมทั้งกิจกรรมแนวเชื่อมต่อระบบ
นิเวศ
- 3 -
เป้ าประสงค์ของการวิเคราะห์
การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการ SWOT Analysis เป็นการสรุป จุดแข็งของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ว่ามีรูปแบบที่ชัดเจน พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับการศึกษาในระดับสูงและได้รับการฝึกอบรม มี
ลักษณะการเป็นผู้นา มีผลประโยชน์ที่ได้รับจากพื้นที่คุ้มครองเชิงเศรษฐกิจ ความปลอดภัยและการได้รับการ
สนับสนุนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จุดอ่อน พิจารณาถึงพื้นที่ถิ่นที่อาศัยบางส่วนยังไม่มีความปลอดภัยจากการ
บุกรุกครอบครองหรือมีการใช้ประโยชน์ ขาดแผนการจัดการ พื้นที่ป่าถูกทาลายจนแยกจากกัน กฎหมายที่ใช้
บังคับไม่มีความเข้มแข็งพอ มีการลักลอบล่าสัตว์ป่า แนวเขตไม่ชัดเจน ความไม่มั่นคงในหน้าที่การงานของ
พนักงานเจ้าหน้าที่ ขาดการประสานงานกับหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ไม่มีการจัดการเรื่องการท่องเที่ยว การ
บุกรุกจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่น โอกาส พิจารณาว่ามีแผนงานระดับชาติ แผนการพัฒนาเฉพาะพื้นที่ที่มีการ
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย โครงการการป้ องกันการลักลอบล่าสัตว์ป่า การจัดทาแนวเขตให้ชัดเจน การพัฒนา
บุคลากร การสร้างความร่วมมือ ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว การศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการ กลไกการจัดการ
แหล่งทุน ความเสี่ยง สัตว์ป่าหลายชนิดมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ มีปัญหาการจัดการถ้าหากไม่มีการ
ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ไม่มีการจัดการกองทุน การขยายพื้นที่และสิ่งก่อสร้างและการขาดการสนับสนุน
จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
การวิเคราะห์
ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครองก็เพื่อเป็นแนวทางในการบริหาร
จัดการพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์ได้สรุปรวมจากการปฏิบัติงานภาคสนามและร่วมปรึกษาหารือกับ
พนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่พื้นที่นาร่องของโครงการและจากประสบการณ์ของผู้ดาเนินการวิเคราะห์
สามารถจะสรุปได้อย่างคร่าวๆ เพราะว่ายังมีข้อมูลอีกมากที่จะต้องค้นหาเพื่อให้มีประโยชน์ต่อการจัดการ
พื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย ซึ่งจะรวมถึงขนาดพื้นที่ที่แตกต่างกัน ที่ตั้งในภูมิภาค องค์ประกอบของชนิด
พันธุ์และปัจจัยอื่นๆ สาหรับการวิเคราะห์ข้อคิดเห็นต่างๆ ทุกข้อ ไม่สามารถใช้ได้กับทุกๆ พื้นที่คุ้มครอง
แต่เป็นการกาหนดระบบพื้นที่คุ้มครองโดยทั่วๆ ไป
จุดแข็ง (Strengths)
จุดแข็งของการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยได้รับการปรับปรุงให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น
1. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง
ชีวภาพทั่วประเทศ แต่ยังมีบางส่วนที่เป็นช่องว่างอยู่แต่ก็ได้ดาเนินการให้มีความสาคัญในระดับชาติ การ
อนุรักษ์ถิ่นที่อาศัยให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่หาได้ยากหรือใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูก
คุกคาม เช่น เสือโคร่ง ละองละมั่ง และเนื้อทราย ซึ่งบางชนิดพันธุ์ก็ได้มีโครงการนาปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ
- 4 -
การสร้างแนวเชื่อมต่อในระบบนิเวศเพื่อให้สัตว์ป่าเดินทางไปมาเพื่อหาอาหารได้ เช่น ช้างป่า นกเงือก เป็น
ชนิดพันธุ์ที่มีการปรับตัวในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ
2. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองได้มีการป้ องกันรักษาดูแลภายใต้กฎหมายที่กาหนด คือ
พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 (แก้ไข พ.ศ. 2535) พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พ.ร.บ. ป่า
สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พ.ร.บ.รักษาพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 (แก้ไข พ.ศ. 2535) พ.ร.บ.ผังเมือง พ.ศ. 2518 และ
พ.ร.บ.ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535
3. พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ที่ทาหน้าที่บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีมากกว่า 5,000 คน ซึ่งได้รับ
การศึกษาและการฝึกอบรมหรือพัฒนาองค์ความรู้ความสามารถในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องจากสถาบันการศึกษา
ในระดับสูง มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหัวหน้าพื้นที่
คุ้มครองที่มีคุณภาพจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย มีการฝึกอบรมในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น Smart
Patrolling เป็นต้น ที่เน้นหนักไปในเรื่องของการพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ภาคสนาม ลูกจ้าง
ชั่วคราวส่วนใหญ่มาจากคนในท้องถิ่นตามหมู่บ้านรอบๆ พื้นที่คุ้มครองหลังจากที่ทางานครบ 5 ปี ก็ได้รับ
การสนับสนุนให้เป็นลูกจ้างประจาตามตาแหน่งโดยการสอบแข่งขันและขึ้นอยู่กับประสบการณ์
4. มีการศึกษาวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองในพื้นที่
คุ้มครองนั้นๆ มีนักวิจัยในสาขาต่างๆ เช่น ชีววิทยา สัตว์ป่า นิเวศวิทยา ถิ่นที่อาศัยและนักวิจัยสาขาอื่นๆ จาก
ทั้งภายในสถาบันและนอกสถาบัน เช่น จากมหาวิทยาลัย สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า องค์กรพัฒนา แม้แต่ภายใน
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เองก็ดาเนินการศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครอง การอนุรักษ์เสือโคร่งที่
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ซึ่งก็ได้มีการนาเอาผลงานวิจัยไปตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชน
5. พื้นที่คุ้มครองเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่ง ที่ทาให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ
ในหลายๆ พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งบริการของระบบนิเวศ เช่น เป็นแหล่งอานวยน้าที่สะอาดให้แก่ชุมชน การ
อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การรักษาอุณหภูมิของอากาศ การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ดั้งเดิม และการ
บริการของระบบนิเวศในด้านอื่นๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยว การดูดซับหรือการเก็บกักคาร์บอน
6. การรักษาความปลอดภัยของประเทศชาติ โดยเฉพาะพื้นที่ตามแนวชายแดนของประเทศที่มี
ความอุดมสมบูรณ์เป็นแนวป้องกันการบุกรุกและเส้นทางอพยพของชนิดพันธุ์สัตว์ป่า
7. มีการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ เช่น กรมป่าไม้ หน่วยงานของ
กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรงคมนาคม กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว องค์การสวนสัตว์ โครงการหลวง มหาวิทยาลัยต่างๆ
จังหวัด และคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
8. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีความสัมพันธ์หรือตอบสนองกับอนุสัญญานานาชาติ
หลายฉบับ เช่น อนุสัญญามรดกโลก อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่
ชุ่มน้า อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่ าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และ
อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนปลงสภาพภูมิอากาศ
- 5 -
9. พื้นที่คุ้มครองได้รับการสนับสนุนจากชุมชนท้องถิ่น นักท่องเที่ยวที่ไปชมธรรมชาติโดย
ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์แผ่นพับหรือเว็บไซต์ โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และภาคเอกชน รวมทั้ง
คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
10.พื้นที่คุ้มครองได้รับการสนับสนุนให้มีการจัดการพื้นที่เพื่อประโยชน์แก่ชุมชนในท้องถิ่น
เช่น การขายของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวและสินค้าพื้นเมือง ทาให้เกิดรายได้ในท้องถิ่น โดยเฉพาะผู้ที่อาศัย
และประกอบอาชีพในพื้นที่แนวกันชนเพื่อนาสินค้ามาขาย ทาให้ลดปัญหาการเข้าไปใช้ประโยชน์ในเขต
พื้นที่คุ้มครอง
11.มีองค์กรภาคเอกชนหลายๆ องค์กรได้สนับสนุนการทางานการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
ของภาครัฐ เช่น สมาคมการอนุรักษ์สัตว์ป่า มูลนิธิสืบนาคะเสถียร กองทุนสัตว์ป่าโลก กองทุนฟรีแลนด์
สมาคมอนุรักษ์นกแห่งประเทศไทย กองทุนสัตว์ป่าโลกและองค์กรภาคเอกชนอื่นๆ
12.ได้รับความร่วมมือการสนับสนุนด้านงบประมาณจากองค์กรนานาชาติ เช่น ออสเตรเลีย
(AUAIS) แคนาดา (CIDA) เดนมาร์ค (DANIDA) สหรัฐอเมริกา (USAID), Smithsonian, GEF, The World
Bank, ITTO และ AEAN
13.ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากภาคเอกชนหลายๆ หน่วยงาน เช่น งานส่งเสริมการ
ท่องเที่ยว บริษัทต่างๆ ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ที่สนใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและกิจการการ
ท่องเที่ยว ผู้ที่มีความสนใจ มีการสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ เอกสารเผยแพร่ด้านพื้นที่คุ้มครอง เช่น
ปตท.สผ, เบียร์ช้าง เป็นต้น
จุดอ่อน
1. พื้นที่บางส่วนของพื้นที่คุ้มครองมีปัญหาการป้ องกันหรือดูแลรักษา เช่น บริเวณที่ราบต่า
แหล่งน้าจืด ป่าชายเลน ป่าพรุ ทุ่งหญ้า จะมีประชาชนเข้าไปใช้ประโยชน์ทาให้มีผลกระทบกับชนิดพันธุ์สัตว์
และชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่ดังกล่าว
2. แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองแต่ละพื้นที่ได้มีการจัดทาขึ้น แต่การปฏิบัติงานจริงมิได้
เป็นไปตามแผนและงบประมาณ การจัดทาแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองส่วนใหญ่เป็นการจ้างภาคเอกชน
หรือสถาบันการศึกษาจัดทา ซึ่งจะขาดความชัดเจนและความต้องการกิจกรรมในการทางาน แผนการจัดการ
พื้นที่คุ้มครองบางแหล่งหมดอายุลงแล้ว แต่อย่างไรก็ดีแผนการจัดการก็ยังมีความจาเป็นที่จะต้องใช้เป็นคู่มือ
ในการทางานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง
3. ผลกระทบจากการที่พื้นที่ป่าไม้แยกจากกันเป็นกลุ่มๆ โดยเฉพาะสิ่งที่เกิดขึ้นจากโครงการ
ต่างๆ เช่น การสร้างถนนระหว่างเมือง อ่างเก็บน้าหรือพื้นที่การเกษตร ทาให้ชนิดพันธุ์บางชนิดไม่สามารถ
เดินทางไปมาหาสู่กันได้ ทาให้ประชากรชนิดพันธุ์ลดน้อยลง บางชนิดพันธุ์สูญหายไป ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นจะ
เข้าไปครอบครอบพื้นที่ มีภัยคุกคามเกิดขึ้น จึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ที่
รับผิดชอบโครงการ
- 6 -
4. กฎหมายนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง แต่การบังคับใช้
กฎหมายไม่ทันต่อเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เป็นอุปสรรคต่อการทางานในสภาวะที่มีการ
เปลี่ยนแปลง ควรจะได้มีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเท็จจริง
 กฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองมิได้กาหนดเรื่องการจัดการแนวกันชน (Buffer Zone)
หรือการจาแนกเขตการจัดการที่มีความจาเป็นในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีการทางานร่วมกับชุมชนท้องถิ่น กลุ่มชาวบ้าน กลุ่มนักเรียน
หรือเยาวชนเข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นที่บางกิจกรรมต้องฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือกฎหมาย ซึ่งกฎหมายมิได้
กาหนดให้หัวหน้ามีอานาจอนุมัติให้กระทาได้
 จากรายงานของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ว่ามีราษฎรอาศัยอยู่ในพื้นที่
คุ้มครองอย่างผิดกฎหมายและอาศัยอยู่นานแล้วมีไม่ต่ากว่า 500,000 คน มักจะมีการลักลอบตัดไม้ล่าสัตว์ป่า
เก็บหาของป่าหรือทาไร่
 มีความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่า เช่น ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่า ไม่ปรากฏ
ในกฎหมายว่าให้ดาเนินการอย่างไร
 การกาหนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง (PAC) เป็นเพียง
นโยบายของหน่วยงาน (ระดับกรมฯ) ที่มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะและร่วมจัดทาแผนการ
ติดตามประเมินผล และการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น ทหาร พลเรือน สมาคม แต่สถานภาพไม่มี
อานาจตามกฎหมาย จาต้องปรับปรุงแก้ไขกฎหมายในเรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาระดับพื้นที่
และกาหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน
 จานวนพื้นที่คุ้มครองมีขนาดที่แตกต่างกันในเรื่องของการบริหารของระบบนิเวศ
จานวนนักท่องเที่ยวและปัจจัยอื่นๆ ควรจะอยู่ภายใต้กฎหมายแต่ละแห่งและมีความแตกต่างกันในการบริหาร
จัดการหรืออาจจะมีกฎระเบียบอาศัยกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
 แหล่งเงินทุนสาหรับการดาเนินงานโดยเฉพาะกองทุนอนุรักษ์ (CTF) กลไกการจัดการ
ทุนสาหรับพื้นที่คุ้มครอง ยังไม่มีกลไกภายใต้กฎหมายที่กาหนด งบประมาณสาหรับการบริหารจัดการได้รับ
จากภาครัฐและรายได้จากค่าธรรมเนียม (บางแห่ง)
 การบริการของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) ควรจะมี
กฎหมายกาหนดเพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับผลประโยชน์และใช้เงินกองทุนในการ
ป้ องกันดูแลรักษาป่าหรือแหล่งต้นน้าหรือพื้นที่คุ้มครอง ควรดาเนินการเป็นอย่างยิ่งและควรทาให้เป็น
ตัวอย่างเกิดขึ้น
 กฎหมายเดิมมิได้การกาหนดให้มีการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้าไปทาลายหรือ
แพร่พันธุ์ในพื้นที่คุ้มครอง
 กฎหมายที่ใช้บังคับได้ใช้มาเป็นเวลานานแล้วไม่ทันสมัยและไม่เข้มแข็งพอที่ใช้บังคับ
บทกาหนดโทษต่า ไม่แข็งแรงพอในการดาเนินงานในทุกพื้นที่คุ้มครองของประเทศ
- 7 -
5. ถึงแม้ว่าจะมีการฝึกอบรมพนักงานพิทักษ์ป่าในหลักสูตรการฝึกอบรม Smart Patrolling
แต่การลักลอบล่าสัตว์ป่า การลักลอบตัดไม้ยังเป็นปัญหา เป็นภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น
ไม้พะยูงมีราคาสูงเป็นที่ต้องการของตลาดในต่างประเทศ เป็นต้น ปัญหาด้านเงินงบประมาณจาภาครัฐมี
จากัด การดาเนินงานจึงกระทาไม่ได้เต็มที่จึงต้องการประสานความร่วมมือกับทหารหรือตารวจหรือฝ่าย
ปกครอง
6. พื้นที่คุ้มครองบางแห่งหรือหลายๆ แห่งมีแนวเขตไม่ชัดเจน ทาให้เกิดปัญหาการบุกรุกเพื่อ
การใช้ประโยชน์ในที่ดินของราษฎรท้องถิ่นหรือบุคคลทั่วไป
7. พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นคงในหน้าที่ หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีการ
โยกย้ายบ่อยครั้งขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา ควรกาหนดให้เป็นแผนระยะยาวในเรื่องการดารง
ตาแหน่งและการพัฒนาศักยภาพ กาหนดให้มีสวัสดิการ การประกันทางสังคม ให้รัฐใช้งบประมาณจัดสรร
แจกจ่ายชุดปฏิบัติงานภาคสนามให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่โดยการจัดเป็นสวัสดิการสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่
เพื่อการลาดตระเวนตรวจตราป้องกันภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้น ส่งเสริมการศึกษาของบุตรธิดาของพนักงาน
เจ้าหน้าที่ การคัดเลือกบุคคลเข้าทางานให้อยู่บนพื้นฐานการศึกษา ความชานาญ ควรให้มีการปรับปรุงแก้ไข
กฎหมายเพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน
8. กาหนดให้มีการประสานงานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานพื้นที่คุ้มครองที่มีอาณาเขต
ติดต่อกัน โดยให้คานึงถึงประโยชน์ในการอนุรักษ์พื้นที่ขนาดใหญ่ แต่บางแห่งก็มีความร่วมมือกันเป็นอย่าง
ดี โดยเฉพาะการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองของแต่ละพื้นที่ บางพื้นที่คุ้มครองมีพื้นที่ที่
ตั้งอยู่ในสองสามจังหวัดไม่ได้มีการประสานร่วมกันระหว่างจังหวัดที่มีความสาคัญในการอนุรักษ์ภูมิทัศน์
เช่น ในพื้นที่ WEFCOM หรือ EFCOM นอกจากนี้ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในพื้นที่
เช่น หน่วยงานจัดการต้นน้า หน่วยงานควบคุมไฟป่า หน่วยงานฟื้นฟูและป้ องกันรักษาป่าที่มีแนวคิดและ
ปัญหาแตกต่างกัน ไม่มีความร่วมมือซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน
9. การจัดการด้านการท่องเที่ยว จานวนนักท่องเที่ยวกับรายได้ยังไม่สมดุล รายได้ค่อนข้างต่า
แต่มีนักท่องเที่ยวจานวนมาก ถึงแม้ว่าจะมีการเก็บค่าธรรมเนียมเป็นรายได้ของพื้นที่คุ้มครอง พนักงาน
เจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครองจะต้องให้บริการนักท่องเที่ยวมากกว่าดาเนินการกิจกรรมอื่นๆ การประชาสัมพันธ์
โดยเฉพาะการจัดทาสื่อเผยแพร่ข่าวสารทางเวบไซต์มีจากัด ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการเผยแพร่มีเฉพาะ
ภาษาไทยและอังกฤษ ทั้งๆ ที่นักท่องเที่ยวมาจากประเทศอื่นที่ไม่รู้ภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย ควรมีภาษาจีน
สเปน หรือรัสเซีย เป็นต้น
10.การประชุมนานาชาติที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ยังขาดความร่วมมือที่
เพียงพอ การเข้าร่วมกับกิจกรรมตามอนุสัญญา โดยเฉพาะการเข้าร่วมประชุม ร่วมกิจกรรมมีกลไก
การประชุมที่ทุกส่วนร่วมมือกัน อาจเป็นระหว่างกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
ห้วยขาแข้งเป็นพื้นที่มรดกโลก แต่พนักงานเจ้าหน้าที่ในกระทรวงอื่นๆ ยังไม่เป็นที่ทราบโดยทั่วกัน และยัง
ไม่เข้มแข็งพอ การเข้ามาร่วมดาเนินการน้อยมากอาจจะมีเฉพาะการประชุมแต่การปฏิบัติยังมีอยู่น้อยมาก
- 8 -
11.ภัยคุกคามจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในพื้นที่คุ้มครองทาให้มีการทาลายระบบนิเวศและทาลาย
การดารงชีวิตของมนุษย์เช่น ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าก็เป็นพวกหนู นกพิราบ หอยเชอรี่ หรือพืชพันธุ์บางชนิด เช่น
ผักตบชวา หญ้าคา ซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอื่นๆ แต่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
มิได้ดาเนินการแก้ไขปัญหา
12.การศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครองมีมากมายหลายเรื่อง แต่ผลการศึกษาวิจัยมิได้นามาใช้ในการ
จัดการพื้นที่คุ้มครองมากนัก การวิจัยทางวนวัฒน์มีความสาคัญต่อการป่ าไม้แต่ไม่จาเป็นสาหรับพื้นที่
คุ้มครอง การศึกษาวิจัยบางเรื่องดาเนินการจากบุคคลภายนอก เช่น สถาบันการศึกษา ก็ไม่ได้นามาใช้ในการ
จัดการพื้นที่คุ้มครองและมีความร่วมมือกันน้อยมาก
โอกาส (Opportunities)
1. แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางให้มีการดาเนินงานอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ การอนุรักษ์ป่าไม้ ถิ่นที่อาศัย การบริการของน้า แผนการจะดาเนินการทั้งใน
พื้นที่คุ้มครองและพื้นที่การเกษตรให้สัมพันธ์กัน รวมทั้งพื้นที่ที่รกร้างว่างเปล่า ซึ่งมีความสาคัญต่อชนิดพันธุ์
ที่หาได้ยาก และเป็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทั้งหมด เช่น พันธุกรรม ชนิดพันธุ์และระบบ
นิเวศ พื้นที่คุ้มครองที่มีแผนการจัดการกาหนดขึ้นมาใหม่ก็ควรจะมีการจัดการเขตกันชนด้วย
2. กระบวนการวางแผนการจัดการควรจะดาเนินการโดยหัวหน้าพื้นที่คุ้มครองร่วมกับนัก
วางแผน ให้มีการพิจารณาถึงงานที่ดาเนินการอยู่ในพื้นที่ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่กาหนดและ
วางเป้าหมายที่ต้องการใช้ในกระบวนการจัดการ แผนการจัดการควรกาหนดเป็นระยะเวลา 5 ปี ระบุแผนราย
ปีให้สัมพันธ์กับงบประมาณหรือการจัดทายุทธศาสตร์งบประมาณหรือแผนธุรกิจ (Business Plan) อธิบดี
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ควรจะอนุมัติแผนรายปีและงบประมาณ รวมทั้งรายจ่ายและรายได้
แผนการจัดการควรประกอบด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ เช่น แผนการป้ องกันการลักลอบล่าสัตว์ป่า แผนการแก้ไข
ปัญหาระหว่างคนกับสัตว์ป่า การกาหนดแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง การมีส่วนร่วมของชุมชน การจัดหาทุน การ
จัดตั้งกองทุนและการพัฒนาบุคลากรของพื้นที่คุ้มครอง
3. การประกาศใช้แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อความเป็นระบบใน
การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แผนจะต้องมีกิจกรรมครอบคลุมถึง :
 การกาหนดเขตกันชน (Buffer Zone) ไว้ในแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งการ
กาหนดเขตการจัดการให้ชัดเจนเพื่อการจัดการที่มีความสาคัญเช่นกัน
 ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มเยาวชนคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่
คุ้มครองกับพื้นที่คุ้มครอง การนากฎหมาย กฎระเบียบไปชี้แจงให้ประชาชนทราบรวมถึงวิธีการจัดการพื้นที่
คุ้มครอง เพื่อให้มีการทางานร่วมกัน
 รวบรวมบทเรียน ข้อขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ทั้งที่เกิดขึ้นภายในประเทศและ
ต่างประเทศ เพื่อนาเอากฎเกณฑ์พิจารณามาใช้ในการแก้ไขปัญหาเท่าที่เป็นไปได้
- 9 -
 การประเมินผลการประชุมและประสบการณ์ของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่
คุ้มครองตลอดจนกิจกรรมที่แสดงความคิดเห็นของคณะกรรมการฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งการแก้ไขปรับปรุง
กฎหมายหรือกฎระเบียบในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 การกาหนดประเภทของพื้นที่คุ้มครองตามระเบียบของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่
คุ้มครอง
 การพิจารณานาเอากลไก ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) มาใช้เป็นการนาเอาเทคนิค
ใหม่ๆ มาดาเนินงาน โดยเฉพาะการพิจารณาระเบียบ มีรายละเอียดข้อบังคับรวมถึงการกาหนดกฎหมาย ทา
อย่างไรที่จะทาให้พื้นที่คุ้มครองมีการบริการของระบบนิเวศและให้ชุมชนที่ส่วนร่วมในกลไกของค่าแทน
คุณระบบนิเวศ (PES)
 การทบทวนเอกสารการปฏิบัติงานหรือประสบการณ์จากพื้นที่อื่นๆ มาพิจารณา
เพื่อให้ชุมชนมีผลประโยชน์จากพื้นที่คุ้มครอง โดยมีกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องหรือกฏกติกาของชุมชน เพื่อ
ร่วมกันดูแลการดาเนินงานป้องกันดูแลพื้นที่คุ้มครองในลักษณะของ Community Conserved Areas
 ทบทวนหรือประเมินสถานภาพของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นโดยเฉพาะพืชต่างถิ่นในพื้นที่
คุ้มครอง ปัญหาที่เกิดขึ้นจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ควรมีกฎหมายห้ามที่ชัดเจนหรือลดผลกระทบที่เกิดจากชนิด
พันธุ์ต่างถิ่น
4. แผนการจัดการแนวใหม่ กระบวนการและกฎหมายเปิดโอกาสให้มีการปรับปรุงการบริหาร
จัดการอย่างมีส่วนร่วมหน่วยงานต่างๆ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในพื้นที่จะต้องมีการ
ร่วมกันจัดทาแผนการจัดการ เพื่อให้ดาเนินงานมีประสิทธิภาพและมีการใช้ประโยชน์ร่วมกัน
5. การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ การสร้างเส้นทางคมนาคม ถนน คลองส่งน้า เขื่อน การวางท่อ
ประปา สิ่งก่อสร้างเหล่านี้ จะทาให้เกิดปัญหาผลกระทบกับพื้นที่ป่าไม้ถูกแบ่งแยกออกจากกันจะต้องมีการ
ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุ้มครอง หน่วยงานรับผิดชอบจะต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะเป็น
กา รทา ใ ห้พื้ นที่ ป่ าไ ม้แยก จาก กันกา รพิจา รณาต้อง ให้มี กา รพิจา รณากัน ทุ กระ ดับ
ถ้าจาเป็นที่จะต้องดาเนินการก็จะต้องพิจารณาให้มีผลกระทบน้อยที่สุด เช่น ทางเดินของชนิดพันธุ์สัตว์ที่เดิน
ข้ามไปมา การปิดการใช้ถนนในเวลากลางคืน การใช้ประโยชน์จากอ่างเก็บน้า เป็นต้น
6. การฝึกอบรม Smart Patrolling เป็นการเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาพนักงานเจ้าหน้าที่ด้าน
การลาดตระเวนโดยให้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งเป็นศูนย์กลาง เพื่อเป็นการแก้ปัญหาการลักลอบล่า
สัตว์ป่าและการลักลอบต้นไม้ โดยมีความร่วมมือของตารวจ ทหาร และร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีการ
ฝึกอบรมในวิชานี้ได้ร่วมมือซึ่งกันและกัน
7. แผนการจัดการเกี่ยวกับแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ได้มีการกาหนดและจัดทาแนวเขตให้ชัดเจน
โดยความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่น
- 10 -
8. ถ้าหากจะมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จะต้อง
จัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ การเรียนรู้และการแต่งตั้งควรทาให้เป็นมาตรฐาน
เดียวกัน เพื่อให้การปฏิบัติที่มีประสบการณ์ในพื้นที่และรวมกับหน่วยงานอื่นๆ
9. การให้ความสาคัญด้านการจัดการการท่องเที่ยว ควรให้มีการพิจารณาร่วมกันระหว่าง
ภาครัฐและเอกชนในเรื่องผลประโยชน์ร่วมกัน การใช้พื้นที่ แผนการจัดการการท่องเที่ยวจะต้องดาเนินการ
ในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติหรือนานาชาติ กาหนดให้มีการพัฒนาสื่อความหมาย ข้อมูลข่าวสารผ่าน
Website ให้มีความสามารถในการใช้ภาษาได้หลายภาษาเพื่อให้นักท่องเที่ยวต่างชาติทราบรายละเอียด
10.แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ควรให้มีการนาเอาหลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ
จัดการ มีการศึกษาวิจัยเพื่อผลประโยชน์ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
11.การนาเอากลไกการหาแหล่งทุนงบประมาณ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสที่จะหาแหล่งทุนมาใช้
ดาเนินการได้นอกเหนือจากงบประมาณปกติ แหล่งเงินทุนอาจจะมาจากองค์กรภาคเอกชนสมาคมหรืองค์กร
นานาชาติ เช่น CBD, UNFCCC, RAMSAR เป็นต้น
ความเสี่ยง (Threats)
1. มีความเสี่ยงจากการไม่ยอมรับในเรื่องผลประโยชน์ที่ได้รับ ความพึงพอใจในสภาพที่
เป็นอยู่หรือยอมรับในระบบการจัดการใหม่ๆ หรือแนวคิดใหม่ๆ ที่กาหนดในแผนการจัดการ
2. การจัดทาแผนการจัดการที่ไม่ประสบผลสาเร็จ ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากก็จะหมดไปจากพื้นที่
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นมีเพิ่มขึ้น รวมถึงการลดจานวนลงของนักท่องเที่ยว
3. ปัญหาจากกฎหมายที่ใช้บังคับไม่ทันสมัย มีนโยบายที่ไม่แน่นอนรวมทั้งความชัดเจนในการ
แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่คุ้มครอง
4. กลไกการขอและจัดสรรงบประมาณไม่เป็นไปตามที่กาหนด ควรมีกฎหมายหรือ
กฎระเบียบการหาแหล่งทุนจากภายนอก การแก้ไขปัญหาการคอรัปชั่น
5. มีความขัดแย้งเกิดขึ้นในนโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดินรวมทั้งการเมือง
6. ความไม่ปลอดภัยในชีวิตของพนักงานเจ้าหน้าที่และข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่
คุ้มครอง
7. การขยายตัวของโครงการพัฒนาในด้านต่างๆ มีการก่อสร้างที่เข้าไปทาลายถิ่นอาศัยของ
สัตว์ป่า ทัศนียภาพที่สาคัญ
8. ภัยจากอิทธิพลในระดับท้องถิ่นภายนอก จนหัวหน้าพื้นที่คุ้มครองไม่สามารถทางานได้
9. มีความสูญเสียความเชื่อถือจากสาธารณชนในระยะยาว
10.การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและความไม่มั่นคงทางการเมือง
11.ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง จนไม่สามารถจะทาให้กลับคืนสภาพเดิมได้
- 11 -
บทสรุป
สาหรับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยมีจุดแข็ง จุดอ่อน
โอกาสและความเสี่ยงมีรูปแบบที่ชัดเจนที่สามารถนาไปใช้ในการพิจารณาวางแผนยุทธศาสตร์การจัดการได้
กล่าวคือ :
1. จุดแข็ง ที่กล่าวถึงมีอยู่หลายประการ มีรูปแบบการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่ชัดเจน พนักงาน
เจ้าหน้าที่ได้รับการศึกษาและการฝึกอบรม มีความเป็นผู้นา มีงานศึกษาวิจัย พื้นที่คุ้มครองอานวย
ผลประโยชน์ให้แก่ชุมชนท้องถิ่น ความร่วมมือในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ การได้รับ
การสนับสนุนและความสนใจจากสาธารณชน
2. จุดอ่อน มีหลายรูปแบบโดยเฉพาะถิ่นที่อาศัยบางแห่งยังมีการบุกรุก การคุ้มครองยังไม่มี
ประสิทธิภาพ แผนการจัดการก็ไม่มีประสิทธิภาพ ถิ่นที่อาศัยเกิดการแตกแยกจากการพัฒนา กฎหมายที่ใช้
บังคับไม่ทันสมัย มีการลักลอบตัดไม้ เก็บหาของป่าและการลักลอบล่าสัตว์ป่า แนวเขตไม่ชัดเจน ความไม่
มั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ขาดการประสานงานและความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้ง
ในพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่ใกล้เคียง การจัดการการท่องเที่ยวก็ยังไม่ดีพอ และปัญหาการรุกรานของชนิด
พันธุ์ต่างถิ่น
3. โอกาส จะขึ้นอยู่กับแผนความเข้มแข็งของระบบพื้นที่คุ้มครอง กระบวนการจัดทาแผน
การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย การปฏิบัติตามแผนการจัดการที่เป็นระบบ การจัดทาแนวเขตให้ชัดเจน
การปรับปรุงศักยภาพของการจัดการ มีการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่หรือรอบๆ พื้นที่คุ้มครอง
มีแผนยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวในระดับชาติ การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับ
โครงการหรือกิจกรรม การพัฒนาความรู้ความเข้าใจที่เชื่อมต่อกันระหว่างหลักวิทยาศาสตร์และการจัดการ
ตลอดจนความสามารถของปรับปรุงกลไกงบประมาณ
4. ความเสี่ยง อาจจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หรือใช้ประโยชน์
ในด้านอื่นๆ ชนิดพันธุ์ท้องถิ่นสูญหายไป การกระทาบางอย่างที่ไม่มีการอนุรักษ์ ไม่ได้ดาเนินการแก้ไข
ปัญหากฎหมาย ไม่มีมาตรการและกลไกในการหาแหล่งทุนหรือเงินงบประมาณ การขยายสิ่งก่อสร้างหรือ
การสร้างที่มีผลกระทบหรือเกิดภัยคุกคามกับพื้นที่คุ้มครองและไม่ได้รับการสนับสนุนจากสาธารณชน
----------------------------------------------

More Related Content

What's hot

กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งUNDP
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์Yaowaluk Chaobanpho
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54Oui Nuchanart
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการUNDP
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) Radda Larpnun
 
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)UNDP
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศSomyot Ongkhluap
 
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกคู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกUtai Sukviwatsirikul
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpsskaew393
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์UNDP
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายNakhon Pathom Rajabhat University
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)Taraya Srivilas
 

What's hot (20)

กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่งกรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
กรอบของแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองทางทะเลและชายฝั่ง
 
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
ความขัดแย้งกรณีหมู่เกาะสแปรตลีย์
 
อวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึกอวัยวะรับความรู้สึก
อวัยวะรับความรู้สึก
 
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
ระบบภูมิคุ้มกัน (Immune system) by pitsanu duangkartok
 
เวียดนาม
เวียดนามเวียดนาม
เวียดนาม
 
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาทศูนย์ควบคุมระบบประสาท
ศูนย์ควบคุมระบบประสาท
 
Pre o-net thai6
Pre o-net thai6Pre o-net thai6
Pre o-net thai6
 
การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54การลำเลียงสาร54
การลำเลียงสาร54
 
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
การวิเคราะห์ความเป็นไปได้ของแนวทางการจัดการ
 
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES) แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเลเกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
แนวทางการบริหารจัดการอุทยานแห่งชาติทางทะเล เกี่ยวกับการตอบแทนคุณระบบนิเวศ (PES)
 
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบกคู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก  สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
คู่มือการดูแลสุขภาพจิตกำลังพลกองทัพบก สำหรับโรงพยาบาลกองทัพบก
 
สอนSpss
สอนSpssสอนSpss
สอนSpss
 
sense organs
sense organssense organs
sense organs
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
 
ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)ภาษากาย (Body language)
ภาษากาย (Body language)
 

Viewers also liked

Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติUNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS bookUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินUNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...UNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ UNDP
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandUNDP
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าAuraphin Phetraksa
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศUNDP
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
PES book
PES bookPES book
PES bookUNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่างAuraphin Phetraksa
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศUNDP
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗Auraphin Phetraksa
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...UNDP
 

Viewers also liked (19)

Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
The Value of Nature
The Value of NatureThe Value of Nature
The Value of Nature
 
Carrying Capacity
Carrying CapacityCarrying Capacity
Carrying Capacity
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58Cc 3 ส.ค. 58
Cc 3 ส.ค. 58
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
ข้อเสนอแนะแนวทางการบังคับใช้กฎหมาย เพื่อการดำเนินงานแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 

Similar to การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย

แนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทย
แนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทยแนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทย
แนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทยUNDP
 
สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค UNDP
 
แนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพแนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพyah2527
 
แนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐาน
แนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐานแนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐาน
แนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐานUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง UNDP
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพUNDP
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรUNDP
 

Similar to การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย (8)

แนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทย
แนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทยแนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทย
แนวทางจัดทำแผนระบบ พื้นที่คุ้มครองไทย
 
สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค
 
แนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพแนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
แนวทางการประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพ
 
แนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐาน
แนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐานแนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐาน
แนวทางการวิเคาระห์ข้อมูลพื้นฐาน
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
 
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
5.3 แนวทางการออกแบบและการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
 
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพรายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
รายงานข้อเสนอแนะแนวทางการเพิ่มประสิทธิภาพ
 
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตรการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
การจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อการพัฒนาการเกษตร
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfUNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personalityUNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area bookUNDP
 
METT book
METT bookMETT book
METT bookUNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองUNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งUNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการUNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศUNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายUNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณUNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนUNDP
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรUNDP
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) UNDP
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าUNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกUNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม UNDP
 

More from UNDP (18)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กรเทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
เทคนิคแนวทางการพัฒนาศักยภาพบุคลากรและองค์กร
 
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE) นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
นำเสนอต่อผู้ประเมินโครงการ (TE)
 
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่าแนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
แนวทางการจัดการแนวเชื่อมต่อถิ่นที่อาศัยสำหรับสัตว์ป่า
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออกข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
ข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินงานการจัดการแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศในกลุ่มป่าตะวันออก
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 

การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย

  • 1.
  • 2. - 1 - การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- ประเทศไทยมีการดาเนินงานด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เป็นอุทยานแห่งชาติทางบก จานวน 127 แห่ง อุทยานแห่งชาติทางทะเล จานวน 22 แห่ง เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า จานวน 58 แห่ง เขตห้าม ล่าสัตว์ป่า จานวน 60 แห่ง และวนอุทยานอีก จานวน 113 แห่ง ทั่วประเทศ โดยมีพื้นที่รวมกันที่เป็นพื้นที่ทาง บก 20% และอุทยานแห่งชาติทางทะเล 8% ของพื้นที่ทั้งประเทศ พื้นที่คุ้มครองหลายๆ พื้นที่มีการบริหาร จัดการที่เป็นระบบตามนโยบายที่ชัดจน มีกระบวนการดาเนินงานที่เป็นมาตรฐานของการจัดการพื้นที่ คุ้มครองที่กระจายอยู่ทั่วประเทศและอานวยผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ที่ดีให้แก่ ชุมชนท้องถิ่นและประชาชนในประเทศ ซึ่งเป็นการแสดงให้เห็นถึงความสาคัญและมีประสิทธิภาพใน ระดับชาติ เป็นการแสดงให้เห็นถึงการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และให้ความสาคัญของพื้นที่ คุ้มครองเป็นส่วนหนึ่งของงานที่ใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ถ้าหากว่าหน่วยงานรับผิดชอบการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองดาเนินการตามนโยบายและมี หน่วยงานภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วมการดาเนินงานพื้นที่คุ้มครองก็จะมีประสิทธิภาพ ปัจจุบันพื้นที่ คุ้มครองของประเทศไทยกาลังเผชิญกับภัยคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม ความท้าทายที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุ้มครองจึงเป็นเรื่องสาคัญของนโยบายระดับประเทศ จากการประเมินพบว่า :  มีความต้องการให้เป็นแหล่งผลิตอาหารเพิ่มขึ้น ความต้องการไม้ใช้สอย ของป่ าหรือ ผลผลิตทางการเกษตร เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดการบุกรุกยึดถือครอบครองที่ดินหรือบุกรุกเข้าไปใช้ประโยชน์ ในพื้นที่คุ้มครอง การลักลอบล่าสัตว์ป่า การเก็บหาของป่า รวมถึงการลับลอบตัดไม้ของชุมชนท้องถิ่น  การเปลี่ยนแปลงประชากรของประเทศและการพัฒนาของบ้านเมืองทาให้มีการใช้ ประโยชน์พื้นที่คุ้มครอง ทาให้เกิดปัญหาในการบริหารจัดการ  การเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในท้องถิ่น มีการเผาป่า การลับลอบแผ้วถางป่าของ เกษตรกร การลักลอบทาไม้ทาให้เกิดผลกระทบกับพื้นที่คุ้มครองและชนิดพันธุ์ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่คุ้มครอง  การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การเกิดลมพายุที่รุนแรง ฝนตกหนักทาให้เกิดน้าท่วม ทาให้ผลผลิตทางการเกษตรมีการเปลี่ยนแปลงรวมถึงราคาพืชผลทางการเกษตร และการเปลี่ยนแปลงเวลา หรือฤดูการท่องเที่ยว  ความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่าเกิดขึ้นกับชุมชนท้องถิ่นทั้งภายในและรอบพื้นที่ (ช้างป่า หมูป่า หรือลิง) อันอาจจะเกิดจากประชากรของสัตว์ป่าเพิ่มขึ้นและต้องการถิ่นที่อาศัยเพื่อการดารงชีวิต
  • 3. - 2 -  ความต้องการจากการตลาดการค้าจากต่างประเทศรวมทั้งการรุกรานของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น จะมีผลกระทบกับการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เช่น การลักลอบตัดไม้พะยูงส่งไปขายต่างประเทศ การลักลอบล่า เสือโคร่ง หมีหรือลิ่น เป็นต้น พื้นที่คุ้มครองเป็นที่รวมของระบบนิเวศต่างๆ ที่มีความสัมพันธ์กับชุมชนท้องถิ่นและเมือง ต่างๆ พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งต้นน้าลาธารและแหล่งอานวยน้าให้แก่ประชาชน การท่องเที่ยวและ วัตถุประสงค์อื่นๆ การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองก็เพื่อต้องการให้มีการบริการของระบบนิเวศแก่ ประชาชนในเรื่องการสนับสนุนด้านแหล่งผลิตอาหาร เส้นใย หรือเยื่อไม้ ซึ่งหลักการจัดการจะต้องสร้าง ความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เมื่อคานึงถึงผลประโยชน์ที่ได้รับจากพื้นที่คุ้มครองที่เป็นการแสดงให้เห็นถึงคุณค่าที่เชื่อมโยง กับการดารงชีวิตของมนุษย์เช่น 1. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มีความอุดมสมบูรณ์เพื่อใช้เป็นแหล่งพักผ่อนหย่อนใจ 2. การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์พืชที่เป็นเวชภัณฑ์ คุณค่าทางด้านพันธุกรรม โดยเฉพาะพืชป่าที่เป็น ชนิดพันธุ์ดั้งเดิม 3. การใช้พื้นที่คุ้มครองในท้องถิ่นเพื่อประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ 4. รักษาไว้ซึ่งความสะอาดและคุณภาพของน้าให้แก่ชุมชน 5. ลดและชะลอการตกตะกอนของดินในลาน้า แม่น้า และอ่างเก็บน้า 6. อนุรักษ์ชนิดพันธุ์ดั้งเดิมเพื่อความปลอดภัยของแหล่งอาหารและการเกษตร 7. การอนุรักษ์ถิ่นที่อาศัยของชนิดพันธุ์ที่มีประโยชน์ต่อผลผลิตทางการเกษตรและขจัดศัตรูพืช 8. ป้องกันภัยธรรมชาติ เช่น การเกิดน้าท่วม หรือการเกิดลมพายุที่รุนแรงตามชายฝั่งทะเล 9. การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ปลา 10.การอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ ซึ่งเป็นการรักษาไว้ซึ่งโครงสร้างและองค์ประกอบ ของระบบนิเวศ 11.รักษาไว้ซึ่งมรดกทางวัฒนธรรม 12.การอนุรักษ์สถานที่ศักดิ์สิทธิ์หรือศาสนสถาน 13.มีความเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว 14.ช่วยลดความรุนแรงในการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ 15.การแก้ไขความขัดแย้งระหว่างการใช้ประโยชน์ในที่ดินรวมทั้งกิจกรรมแนวเชื่อมต่อระบบ นิเวศ
  • 4. - 3 - เป้ าประสงค์ของการวิเคราะห์ การวิเคราะห์โดยใช้วิธีการ SWOT Analysis เป็นการสรุป จุดแข็งของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ว่ามีรูปแบบที่ชัดเจน พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานได้รับการศึกษาในระดับสูงและได้รับการฝึกอบรม มี ลักษณะการเป็นผู้นา มีผลประโยชน์ที่ได้รับจากพื้นที่คุ้มครองเชิงเศรษฐกิจ ความปลอดภัยและการได้รับการ สนับสนุนจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย จุดอ่อน พิจารณาถึงพื้นที่ถิ่นที่อาศัยบางส่วนยังไม่มีความปลอดภัยจากการ บุกรุกครอบครองหรือมีการใช้ประโยชน์ ขาดแผนการจัดการ พื้นที่ป่าถูกทาลายจนแยกจากกัน กฎหมายที่ใช้ บังคับไม่มีความเข้มแข็งพอ มีการลักลอบล่าสัตว์ป่า แนวเขตไม่ชัดเจน ความไม่มั่นคงในหน้าที่การงานของ พนักงานเจ้าหน้าที่ ขาดการประสานงานกับหน่วยงานที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ ไม่มีการจัดการเรื่องการท่องเที่ยว การ บุกรุกจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่น โอกาส พิจารณาว่ามีแผนงานระดับชาติ แผนการพัฒนาเฉพาะพื้นที่ที่มีการ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย โครงการการป้ องกันการลักลอบล่าสัตว์ป่า การจัดทาแนวเขตให้ชัดเจน การพัฒนา บุคลากร การสร้างความร่วมมือ ยุทธศาสตร์การท่องเที่ยว การศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการ กลไกการจัดการ แหล่งทุน ความเสี่ยง สัตว์ป่าหลายชนิดมีความเสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ มีปัญหาการจัดการถ้าหากไม่มีการ ปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย ไม่มีการจัดการกองทุน การขยายพื้นที่และสิ่งก่อสร้างและการขาดการสนับสนุน จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การวิเคราะห์ ในการวิเคราะห์ประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครองก็เพื่อเป็นแนวทางในการบริหาร จัดการพื้นที่คุ้มครอง การวิเคราะห์ได้สรุปรวมจากการปฏิบัติงานภาคสนามและร่วมปรึกษาหารือกับ พนักงานเจ้าหน้าที่ในท้องที่พื้นที่นาร่องของโครงการและจากประสบการณ์ของผู้ดาเนินการวิเคราะห์ สามารถจะสรุปได้อย่างคร่าวๆ เพราะว่ายังมีข้อมูลอีกมากที่จะต้องค้นหาเพื่อให้มีประโยชน์ต่อการจัดการ พื้นที่คุ้มครองของประเทศไทย ซึ่งจะรวมถึงขนาดพื้นที่ที่แตกต่างกัน ที่ตั้งในภูมิภาค องค์ประกอบของชนิด พันธุ์และปัจจัยอื่นๆ สาหรับการวิเคราะห์ข้อคิดเห็นต่างๆ ทุกข้อ ไม่สามารถใช้ได้กับทุกๆ พื้นที่คุ้มครอง แต่เป็นการกาหนดระบบพื้นที่คุ้มครองโดยทั่วๆ ไป จุดแข็ง (Strengths) จุดแข็งของการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยได้รับการปรับปรุงให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น 1. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ความหลากหลายทาง ชีวภาพทั่วประเทศ แต่ยังมีบางส่วนที่เป็นช่องว่างอยู่แต่ก็ได้ดาเนินการให้มีความสาคัญในระดับชาติ การ อนุรักษ์ถิ่นที่อาศัยให้เป็นแหล่งที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์สัตว์ป่าที่หาได้ยากหรือใกล้จะสูญพันธุ์หรือถูก คุกคาม เช่น เสือโคร่ง ละองละมั่ง และเนื้อทราย ซึ่งบางชนิดพันธุ์ก็ได้มีโครงการนาปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ
  • 5. - 4 - การสร้างแนวเชื่อมต่อในระบบนิเวศเพื่อให้สัตว์ป่าเดินทางไปมาเพื่อหาอาหารได้ เช่น ช้างป่า นกเงือก เป็น ชนิดพันธุ์ที่มีการปรับตัวในสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ 2. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองได้มีการป้ องกันรักษาดูแลภายใต้กฎหมายที่กาหนด คือ พ.ร.บ.สงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า พ.ศ. 2503 (แก้ไข พ.ศ. 2535) พ.ร.บ.อุทยานแห่งชาติ พ.ศ. 2504 พ.ร.บ. ป่า สงวนแห่งชาติ พ.ศ. 2507 พ.ร.บ.รักษาพันธุ์พืช พ.ศ. 2518 (แก้ไข พ.ศ. 2535) พ.ร.บ.ผังเมือง พ.ศ. 2518 และ พ.ร.บ.ส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 3. พนักงานเจ้าหน้าที่ผู้ที่ทาหน้าที่บริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีมากกว่า 5,000 คน ซึ่งได้รับ การศึกษาและการฝึกอบรมหรือพัฒนาองค์ความรู้ความสามารถในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องจากสถาบันการศึกษา ในระดับสูง มีความรู้ความสามารถในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองได้เป็นอย่างดี โดยเฉพาะหัวหน้าพื้นที่ คุ้มครองที่มีคุณภาพจบการศึกษาจากมหาวิทยาลัย มีการฝึกอบรมในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เช่น Smart Patrolling เป็นต้น ที่เน้นหนักไปในเรื่องของการพัฒนาศักยภาพของพนักงานเจ้าหน้าที่ภาคสนาม ลูกจ้าง ชั่วคราวส่วนใหญ่มาจากคนในท้องถิ่นตามหมู่บ้านรอบๆ พื้นที่คุ้มครองหลังจากที่ทางานครบ 5 ปี ก็ได้รับ การสนับสนุนให้เป็นลูกจ้างประจาตามตาแหน่งโดยการสอบแข่งขันและขึ้นอยู่กับประสบการณ์ 4. มีการศึกษาวิจัยในด้านต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองในพื้นที่ คุ้มครองนั้นๆ มีนักวิจัยในสาขาต่างๆ เช่น ชีววิทยา สัตว์ป่า นิเวศวิทยา ถิ่นที่อาศัยและนักวิจัยสาขาอื่นๆ จาก ทั้งภายในสถาบันและนอกสถาบัน เช่น จากมหาวิทยาลัย สมาคมอนุรักษ์สัตว์ป่า องค์กรพัฒนา แม้แต่ภายใน กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช เองก็ดาเนินการศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครอง การอนุรักษ์เสือโคร่งที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้ง ซึ่งก็ได้มีการนาเอาผลงานวิจัยไปตีพิมพ์เพื่อเผยแพร่สู่สาธารณชน 5. พื้นที่คุ้มครองเป็นองค์ประกอบอย่างหนึ่ง ที่ทาให้เกิดการพัฒนาทางเศรษฐกิจของประเทศ ในหลายๆ พื้นที่คุ้มครองเป็นแหล่งบริการของระบบนิเวศ เช่น เป็นแหล่งอานวยน้าที่สะอาดให้แก่ชุมชน การ อนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ การรักษาอุณหภูมิของอากาศ การอนุรักษ์ชนิดพันธุ์ดั้งเดิม และการ บริการของระบบนิเวศในด้านอื่นๆ เช่น แหล่งท่องเที่ยว การดูดซับหรือการเก็บกักคาร์บอน 6. การรักษาความปลอดภัยของประเทศชาติ โดยเฉพาะพื้นที่ตามแนวชายแดนของประเทศที่มี ความอุดมสมบูรณ์เป็นแนวป้องกันการบุกรุกและเส้นทางอพยพของชนิดพันธุ์สัตว์ป่า 7. มีการดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานอื่นๆ ที่ตั้งอยู่ในพื้นที่ เช่น กรมป่าไม้ หน่วยงานของ กระทรวงกลาโหม กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรงคมนาคม กระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การท่องเที่ยว องค์การสวนสัตว์ โครงการหลวง มหาวิทยาลัยต่างๆ จังหวัด และคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง 8. การบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองมีความสัมพันธ์หรือตอบสนองกับอนุสัญญานานาชาติ หลายฉบับ เช่น อนุสัญญามรดกโลก อนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ อนุสัญญาว่าด้วยพื้นที่ ชุ่มน้า อนุสัญญาว่าด้วยการค้าระหว่างประเทศซึ่งชนิดพันธุ์สัตว์ป่าและพืชป่ าที่ใกล้จะสูญพันธุ์ และ อนุสัญญาว่าด้วยการเปลี่ยนปลงสภาพภูมิอากาศ
  • 6. - 5 - 9. พื้นที่คุ้มครองได้รับการสนับสนุนจากชุมชนท้องถิ่น นักท่องเที่ยวที่ไปชมธรรมชาติโดย ผ่านสื่อสิ่งพิมพ์แผ่นพับหรือเว็บไซต์ โดยกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช และภาคเอกชน รวมทั้ง คณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง 10.พื้นที่คุ้มครองได้รับการสนับสนุนให้มีการจัดการพื้นที่เพื่อประโยชน์แก่ชุมชนในท้องถิ่น เช่น การขายของที่ระลึกแก่นักท่องเที่ยวและสินค้าพื้นเมือง ทาให้เกิดรายได้ในท้องถิ่น โดยเฉพาะผู้ที่อาศัย และประกอบอาชีพในพื้นที่แนวกันชนเพื่อนาสินค้ามาขาย ทาให้ลดปัญหาการเข้าไปใช้ประโยชน์ในเขต พื้นที่คุ้มครอง 11.มีองค์กรภาคเอกชนหลายๆ องค์กรได้สนับสนุนการทางานการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ของภาครัฐ เช่น สมาคมการอนุรักษ์สัตว์ป่า มูลนิธิสืบนาคะเสถียร กองทุนสัตว์ป่าโลก กองทุนฟรีแลนด์ สมาคมอนุรักษ์นกแห่งประเทศไทย กองทุนสัตว์ป่าโลกและองค์กรภาคเอกชนอื่นๆ 12.ได้รับความร่วมมือการสนับสนุนด้านงบประมาณจากองค์กรนานาชาติ เช่น ออสเตรเลีย (AUAIS) แคนาดา (CIDA) เดนมาร์ค (DANIDA) สหรัฐอเมริกา (USAID), Smithsonian, GEF, The World Bank, ITTO และ AEAN 13.ได้รับการส่งเสริมสนับสนุนจากภาคเอกชนหลายๆ หน่วยงาน เช่น งานส่งเสริมการ ท่องเที่ยว บริษัทต่างๆ ภาคอุตสาหกรรมต่างๆ ที่สนใจในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและกิจการการ ท่องเที่ยว ผู้ที่มีความสนใจ มีการสนับสนุนการจัดพิมพ์หนังสือ เอกสารเผยแพร่ด้านพื้นที่คุ้มครอง เช่น ปตท.สผ, เบียร์ช้าง เป็นต้น จุดอ่อน 1. พื้นที่บางส่วนของพื้นที่คุ้มครองมีปัญหาการป้ องกันหรือดูแลรักษา เช่น บริเวณที่ราบต่า แหล่งน้าจืด ป่าชายเลน ป่าพรุ ทุ่งหญ้า จะมีประชาชนเข้าไปใช้ประโยชน์ทาให้มีผลกระทบกับชนิดพันธุ์สัตว์ และชนิดพันธุ์พืชในพื้นที่ดังกล่าว 2. แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองแต่ละพื้นที่ได้มีการจัดทาขึ้น แต่การปฏิบัติงานจริงมิได้ เป็นไปตามแผนและงบประมาณ การจัดทาแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองส่วนใหญ่เป็นการจ้างภาคเอกชน หรือสถาบันการศึกษาจัดทา ซึ่งจะขาดความชัดเจนและความต้องการกิจกรรมในการทางาน แผนการจัดการ พื้นที่คุ้มครองบางแหล่งหมดอายุลงแล้ว แต่อย่างไรก็ดีแผนการจัดการก็ยังมีความจาเป็นที่จะต้องใช้เป็นคู่มือ ในการทางานของหัวหน้าพื้นที่คุ้มครอง 3. ผลกระทบจากการที่พื้นที่ป่าไม้แยกจากกันเป็นกลุ่มๆ โดยเฉพาะสิ่งที่เกิดขึ้นจากโครงการ ต่างๆ เช่น การสร้างถนนระหว่างเมือง อ่างเก็บน้าหรือพื้นที่การเกษตร ทาให้ชนิดพันธุ์บางชนิดไม่สามารถ เดินทางไปมาหาสู่กันได้ ทาให้ประชากรชนิดพันธุ์ลดน้อยลง บางชนิดพันธุ์สูญหายไป ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นจะ เข้าไปครอบครอบพื้นที่ มีภัยคุกคามเกิดขึ้น จึงมีความจาเป็นที่จะต้องมีความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ ที่ รับผิดชอบโครงการ
  • 7. - 6 - 4. กฎหมายนับว่าเป็นหัวใจสาคัญที่ใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง แต่การบังคับใช้ กฎหมายไม่ทันต่อเหตุการณ์ที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น เป็นอุปสรรคต่อการทางานในสภาวะที่มีการ เปลี่ยนแปลง ควรจะได้มีการปรับปรุงแก้ไขตามข้อเท็จจริง  กฎหมายเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองมิได้กาหนดเรื่องการจัดการแนวกันชน (Buffer Zone) หรือการจาแนกเขตการจัดการที่มีความจาเป็นในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง  หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีการทางานร่วมกับชุมชนท้องถิ่น กลุ่มชาวบ้าน กลุ่มนักเรียน หรือเยาวชนเข้ามาใช้ประโยชน์ในพื้นที่บางกิจกรรมต้องฝ่าฝืนกฎระเบียบหรือกฎหมาย ซึ่งกฎหมายมิได้ กาหนดให้หัวหน้ามีอานาจอนุมัติให้กระทาได้  จากรายงานของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ว่ามีราษฎรอาศัยอยู่ในพื้นที่ คุ้มครองอย่างผิดกฎหมายและอาศัยอยู่นานแล้วมีไม่ต่ากว่า 500,000 คน มักจะมีการลักลอบตัดไม้ล่าสัตว์ป่า เก็บหาของป่าหรือทาไร่  มีความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่า เช่น ความขัดแย้งระหว่างคนกับช้างป่า ไม่ปรากฏ ในกฎหมายว่าให้ดาเนินการอย่างไร  การกาหนดให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง (PAC) เป็นเพียง นโยบายของหน่วยงาน (ระดับกรมฯ) ที่มีหน้าที่ให้คาปรึกษา แนะนา เสนอแนะและร่วมจัดทาแผนการ ติดตามประเมินผล และการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ เช่น ทหาร พลเรือน สมาคม แต่สถานภาพไม่มี อานาจตามกฎหมาย จาต้องปรับปรุงแก้ไขกฎหมายในเรื่องการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาระดับพื้นที่ และกาหนดบทบาทหน้าที่ให้ชัดเจน  จานวนพื้นที่คุ้มครองมีขนาดที่แตกต่างกันในเรื่องของการบริหารของระบบนิเวศ จานวนนักท่องเที่ยวและปัจจัยอื่นๆ ควรจะอยู่ภายใต้กฎหมายแต่ละแห่งและมีความแตกต่างกันในการบริหาร จัดการหรืออาจจะมีกฎระเบียบอาศัยกฎหมายที่เกี่ยวข้อง  แหล่งเงินทุนสาหรับการดาเนินงานโดยเฉพาะกองทุนอนุรักษ์ (CTF) กลไกการจัดการ ทุนสาหรับพื้นที่คุ้มครอง ยังไม่มีกลไกภายใต้กฎหมายที่กาหนด งบประมาณสาหรับการบริหารจัดการได้รับ จากภาครัฐและรายได้จากค่าธรรมเนียม (บางแห่ง)  การบริการของระบบนิเวศที่เกี่ยวข้องกับค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) ควรจะมี กฎหมายกาหนดเพื่อให้ชุมชนท้องถิ่นหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้รับผลประโยชน์และใช้เงินกองทุนในการ ป้ องกันดูแลรักษาป่าหรือแหล่งต้นน้าหรือพื้นที่คุ้มครอง ควรดาเนินการเป็นอย่างยิ่งและควรทาให้เป็น ตัวอย่างเกิดขึ้น  กฎหมายเดิมมิได้การกาหนดให้มีการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้าไปทาลายหรือ แพร่พันธุ์ในพื้นที่คุ้มครอง  กฎหมายที่ใช้บังคับได้ใช้มาเป็นเวลานานแล้วไม่ทันสมัยและไม่เข้มแข็งพอที่ใช้บังคับ บทกาหนดโทษต่า ไม่แข็งแรงพอในการดาเนินงานในทุกพื้นที่คุ้มครองของประเทศ
  • 8. - 7 - 5. ถึงแม้ว่าจะมีการฝึกอบรมพนักงานพิทักษ์ป่าในหลักสูตรการฝึกอบรม Smart Patrolling แต่การลักลอบล่าสัตว์ป่า การลักลอบตัดไม้ยังเป็นปัญหา เป็นภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพ เช่น ไม้พะยูงมีราคาสูงเป็นที่ต้องการของตลาดในต่างประเทศ เป็นต้น ปัญหาด้านเงินงบประมาณจาภาครัฐมี จากัด การดาเนินงานจึงกระทาไม่ได้เต็มที่จึงต้องการประสานความร่วมมือกับทหารหรือตารวจหรือฝ่าย ปกครอง 6. พื้นที่คุ้มครองบางแห่งหรือหลายๆ แห่งมีแนวเขตไม่ชัดเจน ทาให้เกิดปัญหาการบุกรุกเพื่อ การใช้ประโยชน์ในที่ดินของราษฎรท้องถิ่นหรือบุคคลทั่วไป 7. พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติงานไม่มีความมั่นคงในหน้าที่ หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองมีการ โยกย้ายบ่อยครั้งขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของผู้บังคับบัญชา ควรกาหนดให้เป็นแผนระยะยาวในเรื่องการดารง ตาแหน่งและการพัฒนาศักยภาพ กาหนดให้มีสวัสดิการ การประกันทางสังคม ให้รัฐใช้งบประมาณจัดสรร แจกจ่ายชุดปฏิบัติงานภาคสนามให้กับพนักงานเจ้าหน้าที่โดยการจัดเป็นสวัสดิการสาหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ เพื่อการลาดตระเวนตรวจตราป้องกันภัยคุกคามที่อาจจะเกิดขึ้น ส่งเสริมการศึกษาของบุตรธิดาของพนักงาน เจ้าหน้าที่ การคัดเลือกบุคคลเข้าทางานให้อยู่บนพื้นฐานการศึกษา ความชานาญ ควรให้มีการปรับปรุงแก้ไข กฎหมายเพื่อสนับสนุนการดาเนินงาน 8. กาหนดให้มีการประสานงานความร่วมมือระหว่างหน่วยงานพื้นที่คุ้มครองที่มีอาณาเขต ติดต่อกัน โดยให้คานึงถึงประโยชน์ในการอนุรักษ์พื้นที่ขนาดใหญ่ แต่บางแห่งก็มีความร่วมมือกันเป็นอย่าง ดี โดยเฉพาะการแต่งตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองของแต่ละพื้นที่ บางพื้นที่คุ้มครองมีพื้นที่ที่ ตั้งอยู่ในสองสามจังหวัดไม่ได้มีการประสานร่วมกันระหว่างจังหวัดที่มีความสาคัญในการอนุรักษ์ภูมิทัศน์ เช่น ในพื้นที่ WEFCOM หรือ EFCOM นอกจากนี้ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในพื้นที่ เช่น หน่วยงานจัดการต้นน้า หน่วยงานควบคุมไฟป่า หน่วยงานฟื้นฟูและป้ องกันรักษาป่าที่มีแนวคิดและ ปัญหาแตกต่างกัน ไม่มีความร่วมมือซึ่งกันและกันอย่างชัดเจน 9. การจัดการด้านการท่องเที่ยว จานวนนักท่องเที่ยวกับรายได้ยังไม่สมดุล รายได้ค่อนข้างต่า แต่มีนักท่องเที่ยวจานวนมาก ถึงแม้ว่าจะมีการเก็บค่าธรรมเนียมเป็นรายได้ของพื้นที่คุ้มครอง พนักงาน เจ้าหน้าที่พื้นที่คุ้มครองจะต้องให้บริการนักท่องเที่ยวมากกว่าดาเนินการกิจกรรมอื่นๆ การประชาสัมพันธ์ โดยเฉพาะการจัดทาสื่อเผยแพร่ข่าวสารทางเวบไซต์มีจากัด ข้อมูลต่างๆ ที่ใช้ในการเผยแพร่มีเฉพาะ ภาษาไทยและอังกฤษ ทั้งๆ ที่นักท่องเที่ยวมาจากประเทศอื่นที่ไม่รู้ภาษาอังกฤษหรือภาษาไทย ควรมีภาษาจีน สเปน หรือรัสเซีย เป็นต้น 10.การประชุมนานาชาติที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง ยังขาดความร่วมมือที่ เพียงพอ การเข้าร่วมกับกิจกรรมตามอนุสัญญา โดยเฉพาะการเข้าร่วมประชุม ร่วมกิจกรรมมีกลไก การประชุมที่ทุกส่วนร่วมมือกัน อาจเป็นระหว่างกระทรวง ทบวง กรมต่างๆ เช่น เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า ห้วยขาแข้งเป็นพื้นที่มรดกโลก แต่พนักงานเจ้าหน้าที่ในกระทรวงอื่นๆ ยังไม่เป็นที่ทราบโดยทั่วกัน และยัง ไม่เข้มแข็งพอ การเข้ามาร่วมดาเนินการน้อยมากอาจจะมีเฉพาะการประชุมแต่การปฏิบัติยังมีอยู่น้อยมาก
  • 9. - 8 - 11.ภัยคุกคามจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่นในพื้นที่คุ้มครองทาให้มีการทาลายระบบนิเวศและทาลาย การดารงชีวิตของมนุษย์เช่น ชนิดพันธุ์สัตว์ป่าก็เป็นพวกหนู นกพิราบ หอยเชอรี่ หรือพืชพันธุ์บางชนิด เช่น ผักตบชวา หญ้าคา ซึ่งอาจจะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานอื่นๆ แต่กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช มิได้ดาเนินการแก้ไขปัญหา 12.การศึกษาวิจัยในพื้นที่คุ้มครองมีมากมายหลายเรื่อง แต่ผลการศึกษาวิจัยมิได้นามาใช้ในการ จัดการพื้นที่คุ้มครองมากนัก การวิจัยทางวนวัฒน์มีความสาคัญต่อการป่ าไม้แต่ไม่จาเป็นสาหรับพื้นที่ คุ้มครอง การศึกษาวิจัยบางเรื่องดาเนินการจากบุคคลภายนอก เช่น สถาบันการศึกษา ก็ไม่ได้นามาใช้ในการ จัดการพื้นที่คุ้มครองและมีความร่วมมือกันน้อยมาก โอกาส (Opportunities) 1. แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่กาหนดขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางให้มีการดาเนินงานอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ การอนุรักษ์ป่าไม้ ถิ่นที่อาศัย การบริการของน้า แผนการจะดาเนินการทั้งใน พื้นที่คุ้มครองและพื้นที่การเกษตรให้สัมพันธ์กัน รวมทั้งพื้นที่ที่รกร้างว่างเปล่า ซึ่งมีความสาคัญต่อชนิดพันธุ์ ที่หาได้ยาก และเป็นการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทั้งหมด เช่น พันธุกรรม ชนิดพันธุ์และระบบ นิเวศ พื้นที่คุ้มครองที่มีแผนการจัดการกาหนดขึ้นมาใหม่ก็ควรจะมีการจัดการเขตกันชนด้วย 2. กระบวนการวางแผนการจัดการควรจะดาเนินการโดยหัวหน้าพื้นที่คุ้มครองร่วมกับนัก วางแผน ให้มีการพิจารณาถึงงานที่ดาเนินการอยู่ในพื้นที่ให้สอดคล้องกับงบประมาณที่กาหนดและ วางเป้าหมายที่ต้องการใช้ในกระบวนการจัดการ แผนการจัดการควรกาหนดเป็นระยะเวลา 5 ปี ระบุแผนราย ปีให้สัมพันธ์กับงบประมาณหรือการจัดทายุทธศาสตร์งบประมาณหรือแผนธุรกิจ (Business Plan) อธิบดี กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ควรจะอนุมัติแผนรายปีและงบประมาณ รวมทั้งรายจ่ายและรายได้ แผนการจัดการควรประกอบด้วยนวัตกรรมใหม่ๆ เช่น แผนการป้ องกันการลักลอบล่าสัตว์ป่า แผนการแก้ไข ปัญหาระหว่างคนกับสัตว์ป่า การกาหนดแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง การมีส่วนร่วมของชุมชน การจัดหาทุน การ จัดตั้งกองทุนและการพัฒนาบุคลากรของพื้นที่คุ้มครอง 3. การประกาศใช้แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครองให้เป็นไปตามกฎหมาย เพื่อความเป็นระบบใน การแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น แผนจะต้องมีกิจกรรมครอบคลุมถึง :  การกาหนดเขตกันชน (Buffer Zone) ไว้ในแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง รวมทั้งการ กาหนดเขตการจัดการให้ชัดเจนเพื่อการจัดการที่มีความสาคัญเช่นกัน  ความสัมพันธ์ระหว่างชุมชนท้องถิ่นและกลุ่มเยาวชนคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่ คุ้มครองกับพื้นที่คุ้มครอง การนากฎหมาย กฎระเบียบไปชี้แจงให้ประชาชนทราบรวมถึงวิธีการจัดการพื้นที่ คุ้มครอง เพื่อให้มีการทางานร่วมกัน  รวบรวมบทเรียน ข้อขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ทั้งที่เกิดขึ้นภายในประเทศและ ต่างประเทศ เพื่อนาเอากฎเกณฑ์พิจารณามาใช้ในการแก้ไขปัญหาเท่าที่เป็นไปได้
  • 10. - 9 -  การประเมินผลการประชุมและประสบการณ์ของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่ คุ้มครองตลอดจนกิจกรรมที่แสดงความคิดเห็นของคณะกรรมการฯ เพื่อให้ได้มาซึ่งการแก้ไขปรับปรุง กฎหมายหรือกฎระเบียบในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง  การกาหนดประเภทของพื้นที่คุ้มครองตามระเบียบของคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่ คุ้มครอง  การพิจารณานาเอากลไก ค่าแทนคุณระบบนิเวศ (PES) มาใช้เป็นการนาเอาเทคนิค ใหม่ๆ มาดาเนินงาน โดยเฉพาะการพิจารณาระเบียบ มีรายละเอียดข้อบังคับรวมถึงการกาหนดกฎหมาย ทา อย่างไรที่จะทาให้พื้นที่คุ้มครองมีการบริการของระบบนิเวศและให้ชุมชนที่ส่วนร่วมในกลไกของค่าแทน คุณระบบนิเวศ (PES)  การทบทวนเอกสารการปฏิบัติงานหรือประสบการณ์จากพื้นที่อื่นๆ มาพิจารณา เพื่อให้ชุมชนมีผลประโยชน์จากพื้นที่คุ้มครอง โดยมีกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องหรือกฏกติกาของชุมชน เพื่อ ร่วมกันดูแลการดาเนินงานป้องกันดูแลพื้นที่คุ้มครองในลักษณะของ Community Conserved Areas  ทบทวนหรือประเมินสถานภาพของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นโดยเฉพาะพืชต่างถิ่นในพื้นที่ คุ้มครอง ปัญหาที่เกิดขึ้นจากชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ควรมีกฎหมายห้ามที่ชัดเจนหรือลดผลกระทบที่เกิดจากชนิด พันธุ์ต่างถิ่น 4. แผนการจัดการแนวใหม่ กระบวนการและกฎหมายเปิดโอกาสให้มีการปรับปรุงการบริหาร จัดการอย่างมีส่วนร่วมหน่วยงานต่างๆ ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ในพื้นที่จะต้องมีการ ร่วมกันจัดทาแผนการจัดการ เพื่อให้ดาเนินงานมีประสิทธิภาพและมีการใช้ประโยชน์ร่วมกัน 5. การพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจ การสร้างเส้นทางคมนาคม ถนน คลองส่งน้า เขื่อน การวางท่อ ประปา สิ่งก่อสร้างเหล่านี้ จะทาให้เกิดปัญหาผลกระทบกับพื้นที่ป่าไม้ถูกแบ่งแยกออกจากกันจะต้องมีการ ประเมินผลกระทบที่เกิดขึ้นกับพื้นที่คุ้มครอง หน่วยงานรับผิดชอบจะต้องพิจารณาอย่างละเอียด เพราะเป็น กา รทา ใ ห้พื้ นที่ ป่ าไ ม้แยก จาก กันกา รพิจา รณาต้อง ให้มี กา รพิจา รณากัน ทุ กระ ดับ ถ้าจาเป็นที่จะต้องดาเนินการก็จะต้องพิจารณาให้มีผลกระทบน้อยที่สุด เช่น ทางเดินของชนิดพันธุ์สัตว์ที่เดิน ข้ามไปมา การปิดการใช้ถนนในเวลากลางคืน การใช้ประโยชน์จากอ่างเก็บน้า เป็นต้น 6. การฝึกอบรม Smart Patrolling เป็นการเปิดโอกาสให้มีการพัฒนาพนักงานเจ้าหน้าที่ด้าน การลาดตระเวนโดยให้เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าห้วยขาแข้งเป็นศูนย์กลาง เพื่อเป็นการแก้ปัญหาการลักลอบล่า สัตว์ป่าและการลักลอบต้นไม้ โดยมีความร่วมมือของตารวจ ทหาร และร่วมกับประเทศเพื่อนบ้านที่มีการ ฝึกอบรมในวิชานี้ได้ร่วมมือซึ่งกันและกัน 7. แผนการจัดการเกี่ยวกับแนวเขตพื้นที่คุ้มครอง ได้มีการกาหนดและจัดทาแนวเขตให้ชัดเจน โดยความร่วมมือของชุมชนท้องถิ่น
  • 11. - 10 - 8. ถ้าหากจะมีการปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช จะต้อง จัดให้มีการฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ การเรียนรู้และการแต่งตั้งควรทาให้เป็นมาตรฐาน เดียวกัน เพื่อให้การปฏิบัติที่มีประสบการณ์ในพื้นที่และรวมกับหน่วยงานอื่นๆ 9. การให้ความสาคัญด้านการจัดการการท่องเที่ยว ควรให้มีการพิจารณาร่วมกันระหว่าง ภาครัฐและเอกชนในเรื่องผลประโยชน์ร่วมกัน การใช้พื้นที่ แผนการจัดการการท่องเที่ยวจะต้องดาเนินการ ในระดับท้องถิ่นหรือระดับชาติหรือนานาชาติ กาหนดให้มีการพัฒนาสื่อความหมาย ข้อมูลข่าวสารผ่าน Website ให้มีความสามารถในการใช้ภาษาได้หลายภาษาเพื่อให้นักท่องเที่ยวต่างชาติทราบรายละเอียด 10.แผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ควรให้มีการนาเอาหลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์มาใช้ในการ จัดการ มีการศึกษาวิจัยเพื่อผลประโยชน์ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 11.การนาเอากลไกการหาแหล่งทุนงบประมาณ ซึ่งเป็นการเปิดโอกาสที่จะหาแหล่งทุนมาใช้ ดาเนินการได้นอกเหนือจากงบประมาณปกติ แหล่งเงินทุนอาจจะมาจากองค์กรภาคเอกชนสมาคมหรืองค์กร นานาชาติ เช่น CBD, UNFCCC, RAMSAR เป็นต้น ความเสี่ยง (Threats) 1. มีความเสี่ยงจากการไม่ยอมรับในเรื่องผลประโยชน์ที่ได้รับ ความพึงพอใจในสภาพที่ เป็นอยู่หรือยอมรับในระบบการจัดการใหม่ๆ หรือแนวคิดใหม่ๆ ที่กาหนดในแผนการจัดการ 2. การจัดทาแผนการจัดการที่ไม่ประสบผลสาเร็จ ชนิดพันธุ์ที่หาได้ยากก็จะหมดไปจากพื้นที่ ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นมีเพิ่มขึ้น รวมถึงการลดจานวนลงของนักท่องเที่ยว 3. ปัญหาจากกฎหมายที่ใช้บังคับไม่ทันสมัย มีนโยบายที่ไม่แน่นอนรวมทั้งความชัดเจนในการ แก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่คุ้มครอง 4. กลไกการขอและจัดสรรงบประมาณไม่เป็นไปตามที่กาหนด ควรมีกฎหมายหรือ กฎระเบียบการหาแหล่งทุนจากภายนอก การแก้ไขปัญหาการคอรัปชั่น 5. มีความขัดแย้งเกิดขึ้นในนโยบายการใช้ประโยชน์ที่ดินรวมทั้งการเมือง 6. ความไม่ปลอดภัยในชีวิตของพนักงานเจ้าหน้าที่และข้าราชการที่ปฏิบัติงานอยู่ในพื้นที่ คุ้มครอง 7. การขยายตัวของโครงการพัฒนาในด้านต่างๆ มีการก่อสร้างที่เข้าไปทาลายถิ่นอาศัยของ สัตว์ป่า ทัศนียภาพที่สาคัญ 8. ภัยจากอิทธิพลในระดับท้องถิ่นภายนอก จนหัวหน้าพื้นที่คุ้มครองไม่สามารถทางานได้ 9. มีความสูญเสียความเชื่อถือจากสาธารณชนในระยะยาว 10.การเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและความไม่มั่นคงทางการเมือง 11.ภัยธรรมชาติที่เกิดขึ้นอย่างรุนแรง จนไม่สามารถจะทาให้กลับคืนสภาพเดิมได้
  • 12. - 11 - บทสรุป สาหรับการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของประเทศไทยมีจุดแข็ง จุดอ่อน โอกาสและความเสี่ยงมีรูปแบบที่ชัดเจนที่สามารถนาไปใช้ในการพิจารณาวางแผนยุทธศาสตร์การจัดการได้ กล่าวคือ : 1. จุดแข็ง ที่กล่าวถึงมีอยู่หลายประการ มีรูปแบบการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่ชัดเจน พนักงาน เจ้าหน้าที่ได้รับการศึกษาและการฝึกอบรม มีความเป็นผู้นา มีงานศึกษาวิจัย พื้นที่คุ้มครองอานวย ผลประโยชน์ให้แก่ชุมชนท้องถิ่น ความร่วมมือในระดับท้องถิ่น ระดับชาติและระดับนานาชาติ การได้รับ การสนับสนุนและความสนใจจากสาธารณชน 2. จุดอ่อน มีหลายรูปแบบโดยเฉพาะถิ่นที่อาศัยบางแห่งยังมีการบุกรุก การคุ้มครองยังไม่มี ประสิทธิภาพ แผนการจัดการก็ไม่มีประสิทธิภาพ ถิ่นที่อาศัยเกิดการแตกแยกจากการพัฒนา กฎหมายที่ใช้ บังคับไม่ทันสมัย มีการลักลอบตัดไม้ เก็บหาของป่าและการลักลอบล่าสัตว์ป่า แนวเขตไม่ชัดเจน ความไม่ มั่นคงในหน้าที่การงานของพนักงานเจ้าหน้าที่ที่ขาดการประสานงานและความร่วมมือกับหน่วยงานอื่นๆ ทั้ง ในพื้นที่คุ้มครองหรือพื้นที่ใกล้เคียง การจัดการการท่องเที่ยวก็ยังไม่ดีพอ และปัญหาการรุกรานของชนิด พันธุ์ต่างถิ่น 3. โอกาส จะขึ้นอยู่กับแผนความเข้มแข็งของระบบพื้นที่คุ้มครอง กระบวนการจัดทาแผน การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย การปฏิบัติตามแผนการจัดการที่เป็นระบบ การจัดทาแนวเขตให้ชัดเจน การปรับปรุงศักยภาพของการจัดการ มีการประสานงานกับหน่วยงานอื่นๆ ในพื้นที่หรือรอบๆ พื้นที่คุ้มครอง มีแผนยุทธศาสตร์การจัดการท่องเที่ยวในระดับชาติ การประเมินผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับ โครงการหรือกิจกรรม การพัฒนาความรู้ความเข้าใจที่เชื่อมต่อกันระหว่างหลักวิทยาศาสตร์และการจัดการ ตลอดจนความสามารถของปรับปรุงกลไกงบประมาณ 4. ความเสี่ยง อาจจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่หรือใช้ประโยชน์ ในด้านอื่นๆ ชนิดพันธุ์ท้องถิ่นสูญหายไป การกระทาบางอย่างที่ไม่มีการอนุรักษ์ ไม่ได้ดาเนินการแก้ไข ปัญหากฎหมาย ไม่มีมาตรการและกลไกในการหาแหล่งทุนหรือเงินงบประมาณ การขยายสิ่งก่อสร้างหรือ การสร้างที่มีผลกระทบหรือเกิดภัยคุกคามกับพื้นที่คุ้มครองและไม่ได้รับการสนับสนุนจากสาธารณชน ----------------------------------------------