SlideShare a Scribd company logo
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 
Antidotes 
Antivenoms Atropine 
Pralidoxime, 2-PAM 
N-acetylcysteine 
Sodium bicarbonate 
Polyethylene glycol electrolyte solution
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 
(ฉบับพกพา) 
สมาคมพิษวิทยาคลินิก
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 
พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2556 
จQำนวน 5,000 เล่ม 
จัดทQำโดย สมาคมพิษวิทยาคลินิก 
สQำนักงานชั่วคราว ศูนย์พิษวิทยา 
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 
270 ถนนพระราม 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 
โทรศัพท์ 0 2201 1084 
โทรสาร 0 2201 1085 กด 1 
แยกสี : บริษัท สแกนอาร์ต จQำกัด 
766/36-39 ซ.เจริญกรุง แขวงบางคอแหลม 
เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 
โทร. 0-229-0279-81, 0-2688-4840-41 
Fax. 0-2688-4842 
Email : scanart03@yahoo.com 
พิมพ์ที่ : บริษัท สแกน แอนด์ พริ้นท์ จQำกัด 
257 ม. 1 ต.แพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ 
จ.สมุทรปราการ 10270 
โทร. 0-2387-1452-4 
Fax. 0-2387-1455 
Email : scanandprint2010@yahoo.com
คู่มือยาต้าน พิษ ๒๕๕๖ 
(ฉบับพกพา) 
โครงการเพิ่มการเข้าถึงยากQำพร้ากลุ่มยาต้านพิษ: 
การประสานความร่วมมือพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ 
อย่างต่อเนื่อง ประจQำปี ๒๕๕๖ 
สนับสนุนโดย 
สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
สารบัญ 
ชื่อยาต้านพิษ ห้นา 
Snake antivenoms 1 
Atropine 4 
Pralidoxime (2-PAM) 6 
N-acetylcysteine (NAC) 7 
Sodium bicarbonate 11 
Polyethylene glycol electrolyte 14 
solution (PEG-ELS) 
ภาคผนวก 
การใช้โปรแกรมยาต้านพิษ 18 
คลินิกพิษจากสัตว์ 23 
ศูนย์พิษวิทยา ศิริราช 24 
ศูนย์พิษวิทยา รามาธิบดี 25 
D คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
Snake antivenoms 
ข้อบ่งใช้ (Indications) 
• เซรุ่มต้านพิษงูเห่า เซรุ่มต้านพิษงูจงอาง เซรุ่มต้านพิษ 
งูสามเหลี่ยม เซรุ่มต้านพิษงูทับสมิงคลา เซรุ่มต้านพิษงูรวม 
ระบบประสาท มีข้อใดข้อหนึ่งในต่อไปนี้ 
1. การมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มตั้งแต่มีหนังตาตก ไม่ต้อง 
รอให้มีภาวะหายใจล้มเหลว 
2. สงสัยงูทับสมิงคลา หรือ งูสามเหลี่ยมกัด ควรให้เซรุ่ม 
ทันทีที่วินิจฉัยได้แม้ยังไม่มีอาการ 
• เซรุ่มต้านพิษงูแมวเซา เซรุ่มต้านพิษงูกะปะ เซรุ่มต้าน 
พิษงูเขียวหางไหม้ เซรุ่มต้านพิษงูรวมระบบโลหิต มีข้อใดข้อ 
หนึ่งในต่อไปนี้ 
1. Systemic bleeding ยกเว้น microscopic hematuria 
2. Unclotted 20 minute whole blood clotting time 
(20WBCT) หรือ มี prothrombin time (PT) ยาวกว่าปกติ หรือ 
ค่า International normalized ratio (INR) มากกว่า 1.2 
3. เกล็ดเลือดตQ่ำกว่า 50,000/mm3 
4. มีอาการปวดบวมเฉพาะที่อย่างรุนแรง ซึ่งอาจเกิด 
compartmental syndrome 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 1
ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 
ไม่มี 
อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 
ปฏิกิริยาที่รุนแรงในระยะต้น (early reaction) เกิดขึ้นขณะ 
กQำลังรับเซรุ่ม หรือภายในระยะเวลาสั้นๆ หลังรับเซรุ่มหมด 
ได้แก่ ผื่นลมพิษ หน้าบวม หายใจไม่สะดวก หลอดลมหดเกร็ง 
ความดันโลหิตตก 
ปฏิกิริยาที่รุนแรงในระยะหลัง (late reaction) เกิดขึ้นที่ 
1-2 สัปดาห์หลังได้รับเซรุ่ม ได้แก่ อาการไข้ ปวดข้อ ผื่นตาม 
ร่างกาย 
ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) 
ไม่มี 
ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) 
• เซรุ่มต้านพิษงูเห่า 10 vials เซรุ่มต้านพิษงูจงอาง 10 vials 
เซรุ่มต้านพิษงูทับสมิงคลา 5 vials เซรุ่มต้านพิษงูสามเหลี่ยม 10 
vials และเซรุ่มต้านพิษงูรวมระบบประสาท 10 vials 
2 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
• เซรุ่มต้านพิษงูแมวเซา 3-5 vials เซรุ่มต้านพิษงูกะปะ 
3-5 vials เซรุ่มต้านพิษงูเขียวหางไหม้ 3 vials และเซรุ่มต้านพิษงู 
รวมระบบโลหิต 5 vials 
ขนาดเซรุ่มที่ใช้ในผู้ป่วยเด็ก หรือสตรีมีครรภ์เหมือน 
ในผู้ป่วยทั่วไป 
ไม่ต้องทQำ skin test ก่อนให้ 
หยดทางหลอดเลือดดQำภายใน 30 นาที 
รูปแบบของยา (Formulation) 
ผงแห้งบรรจุในขวดเล็ก (vial) และมีตัวทQำละลายเป็น 
นQ้ำกลั่น 10 มิลลิลิตร แนบมาด้วย 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 3
Atropine 
ข้อบ่งใช้ (Indications) 
1. รักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากสารกQำจัดแมลงกลุ่ม 
ออร์กาโนฟอสฟอรัสและคาร์บาเมต เฉพาะส่วนที่เกิดจากฤทธิ์ 
ที่เป็น muscarinic cholinergic 
2. หัวใจเต้นช้า (bradycardia) 
3. ภาวะหัวใจหยุดนิ่ง (asystole) 
4. หลอดลมตีบ (bronchospasm) 
ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 
1. แพ้ยาอะโทรปีน 
2. โรคต้อหินชนิดมุมแคบ (narrow-angle glaucoma) 
อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 
ปากแห้ง ตาพร่ามัว ปัสสาวะลQำบาก เพิ่มความดันลูกตา 
และไข้ 
ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) 
ไม่มีปฏิกิริยาต่อยาอื่นที่สQำคัญ 
4 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) 
Loading dose: 1.8 มิลลิกรัม IV และเพิ่มขึ้นเท่าตัวจนกว่า 
การตอบสนองถึงเป้าหมาย 
Maintenance dose: 10-20% ของ loading dose IV drip 
ต่อชั่วโมง 
รูปแบบของยา (Formulation) 
สารละลายอะโทรปีนขนาดหลอดละ 0.6 มิลลิกรัม 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 5
Pralidoxime, 2-PAM 
ข้อบ่งใช้ (Indications) 
รักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากสารกQำจัดแมลงกลุ่ม 
ออร์กาโนฟอสฟอรัส 
ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 
1. แพ้ยากลุ่ม oximes 
2. ภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากสารกQำจัดแมลงกลุ่ม 
คาร์บาเมตไม่ใช่ข้อห้ามสมบูรณ์ (absolute contraindication) 
อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 
เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว ความดันโลหิตสูง 
ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) 
ไม่มีปฏิกิริยาต่อยาอื่นที่สQำคัญ 
ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) 
Loading dose: 1–2 กรัม IV drip ใน 30-60 นาที 
Maintenance dose: 500-1000 มิลลิกรัม/ชั่วโมง (10-20 
มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง) IV 
รูปแบบของยา (Formulation) 
พราลิดอกซีมเป็นผงบรรจุในขวดเล็ก ขนาดขวดละ 1 กรัม 
6 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
N-acetylcysteine (NAC) 
ข้อบ่งใช้ (Indications) 
1. ภาวะพาราเซตามอลเกินขนาดหรือภาวะพิษจาก 
พาราเซตามอลดังนี้ 
• ผู้ป่วยที่ได้รับยาพาราเซตามอลเกินขนาด (ขนาด150 
มิลลิกรัม/กิโลกรัม หรือมากกว่า) แบบเฉียบพลัน 
• ผู้ป่วยที่ได้รับยาพาราเซตามอลแบบเฉียบพลัน 
เป็นกระบวนการได้รับยาที่มีระดับพาราเซตามอลในซีรัม 
มากกว่า treatment line ใน Rumack-Matthew Nomogram 
2. ผปู้ว่ ยทไี่ ดร้ บั ยาพาราเซตามอลเกนิ ขนาดแบบคอ่ ยเปน็ 
ค่อยไป (กินหลายครั้งหรือกระบวนการได้รับยาเสร็จภายในเวลา 
นานกว่า 8 ชั่วโมง) ดังนี้ 
• ขนาดเฉลี่ย ≥ 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ ≥ 
6 กรัม/24 ชั่วโมง (เลือกใช้ค่าที่น้อยกว่า) หากเป็นการกินเกิน 
ขนาดในช่วงระยะเวลา 48 ชั่วโมง หรือ 
• ขนาดเฉลี่ย ≥ 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ ≥ 
4 กรัม/24 ชั่วโมง หากเป็นการกินเกินขนาดในระยะเวลา 72 
ชั่วโมงหรือมากกว่า 
3. ภาวะตับอักเสบจากสารพิษบางชนิด เช่น เห็ดพิษ และ 
สารกลุ่ม chlorinated hydrocarbon 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 7
ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 
ผู้ป่วยที่มีประวัติภาวะแพ้ NAC 
อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 
1. การบริหาร NAC ทางทางเดินอาหารอาจทQำให้เกิด 
อาการคลื่นไส้ อาเจียนได้ 
2. การบริหาร NAC ทางหลอดเลือดดQำอาจทQำให้เกิด 
ปฏิกิริยา anaphylactoid ได้แก่ เกิดภาวะผื่นลมพิษหรือผื่นแบบ 
angioedema ภาวะหลอดลมหดเกร็ง ความดันโลหิตตQ่ำ หรือ 
ช็อคได้ 
ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) 
การบริหาร NAC ทางทางเดินอาหารร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ 
อาจทQำให้ NAC บางส่วนถูกดูดซับไว้ได้ 
ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administration) 
1. ทางทางเดินอาหาร: เริ่มด้วยขนาด 140 มิลลิกรัม/ 
กิโลกรัม ตามด้วย 70 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ทุก 4 ชั่วโมงอีก 17 
ครั้ง 
2. ทางหลอดเลือดดQำ: 
2.1 สQำหรับผู้ใหญ่ (นQ้ำหนักตัว≥ ≥ 40 กิโลกรัม) 
บริหารยาโดย 
8 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
• NAC 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 200 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 60 นาที ตามด้วย 
• NAC 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 500 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 4 ชั่วโมง ตามด้วย 
• NAC 100 มิลลิลิตร ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 
1000 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 16 ชั่วโมง 
2.2 สQำหรับเด็ก (นQ้ำหนักตัว 20-40 กิโลกรัม) 
บริหารยาโดย 
• NAC 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 100 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 30 นาที ตามด้วย 
• NAC 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 250 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 4 ชั่วโมง ตามด้วย 
• NAC 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 500 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 16 ชั่วโมง 
2.3 สQำหรับเด็ก (นQ้ำหนักตัว < 20 กิโลกรัม) 
บริหารยาโดย 
• NAC 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 3 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ให้ในเวลา 30 นาที ตามด้วย 
• NAC 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 7 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ให้ในเวลา 4 ชั่วโมง ตามด้วย 
• NAC 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in 
water 14 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ให้ในเวลา 16 ชั่วโมง 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 9
2.4 กรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะตับอักเสบที่เกิดจากพาราเซตามอล 
บริหาร NAC ทางหลอดเลือดดQำในขนาด 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม 
ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 1000 มิลลิลิตร ในเวลา 
24 ชั่วโมง โดยบริหารต่อเนื่องจนภาวะพิษต่อตับดีขึ้นโดย 
เอ็นซัยม์ตับลดลงและผู้ป่วยไม่มีลักษณะที่บ่งชี้ภาวะตับวาย 
การหยุดการรักษาด้วย NAC, ให้พิจารณาหยุดได้ถ้า 
• ผู้ป่วยมีค่าเอ็นซัยม์ตับปกติ และระดับยาพาราเซตามอล 
ในซีรัมน้อยกว่า 10 มิลลิกรัม/ลิตร ที่เวลาอย่างน้อย 36 ชั่วโมง 
หลังจากการได้รับยาเกินขนาด หรือ 
• ผู้ป่วยมีค่าเอ็นซัยม์ตับปกติที่เวลาอย่างน้อย 48 ชั่วโมง 
หลังจากการได้รับยาเกินขนาด 
รูปแบบของยา (Formulation) 
• ยาผง (powder หรือ granules) สQำหรับผสมนQ้ำเพื่อดื่ม 
หรือบริหารทางสายสวนกระเพาะอาหาร ขนาด 100, 200 และ 
600 มิลลิกรัม ต่อซอง 
• ยาเม็ด (effervescent tablet) สQำหรับผสมนQ้ำเพื่อดื่ม 
หรือบริหารทางสายสวนกระเพาะอาหาร ขนาด 600 มิลลิกรัม 
ต่อเม็ด 
• สารละลายสQำหรับให้ทางหลอดเลือดดQำ (intravenous 
infusion) ความเข้มข้น 100 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร 
10 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
Sodium Bicarbonate 
ข้อบ่งใช้ (Indications) 
1. Cardiotoxicity จากยา fast sodium channel blockade 
(widening QRS complex) ได้แก่ยาในกลุ่ม tricyclic antidepres-sants 
(เช่น amitriptyline, doxepin, imipramine, nortriptyline เป็นต้น) 
type Ia, Ic antiarrhythmic drugs (เช่น quinidine, f lecainide, 
encainide, propafenone, moricizine) 
2. Urine alkalinization จาก salicylate, phenobarbital, chlor-propamide 
overdose มีการใช้ในภาวะ severe rhabdomyolysis 
แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันประสิทธิภาพที่ชัดเจน 
3. Metabolic acidosis 
4. Hyperkalemia 
ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 
1. Severe alkalemia ได้แก่ serum pH> 7.55 
2. Severe hypernatremia 
3. Severe hypokalemia 
4. Severe pulmonary edema, congestive heart failure, 
anuria without plan for dialysis 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 11
อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 
1. Alkalemia ส่งผลให้เกิด hypokalemia, hypocalcemia 
2. Hypernatremia ส่งผลให้เกิด volume overload ทQำให้ 
ภาวะ heart failure, pulmonary edema แย่ลง 
3. Inf lflammation และ necrosis จากการสัมผัสสารละลาย 
โซเดียมไบคาร์บอเนตโดยตรง หากมีการซึมออกนอกหลอด 
เลือด 
ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) 
การให้ร่วมกบั ยาทมี่ คี วามเป็นกรด อาจทำQ ให้ระดบั ยาลด 
ลงหรือได้ผลทางเภสัชวิทยาไม่เต็มที่ 
หากการให้โซเดียมไบคาร์บอเนตทQำให้เกิดภาวะด่างใน 
ร่างกายหรือปัสสาวะมีความเป็นด่างมากขึ้น ทQำให้มีการขับยาที่ 
มีคุณสมบัติเป็นกรดมากขึ้นทางไต เช่น salicylate, phenobarbital, 
chlorpropamide 
ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administration) 
1. Cardiotoxicity จาก sodium channel blockade ให้ 1-2 
มิลลิอิควิวาเลนท์/กิโลกรัม IV bolus ในเวลา 1-2 นาที แล้วติดตาม 
คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (QRS complex widening, wide QRS complex 
tachycardia, hypotension) ภายใน 5 นาทีหากยังผิดปกติ สามารถ 
ให้ซQ้ำได้ โดยรักษา serum pH 7.45-7.55 ไม่แนะนQำการให้ทาง 
หลอดเลือดดQำอย่างต่อเนื่อง (continuous IV infusion) 
12 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
2. Urine alkalinization ให้ผสม 7.5% sodium bicarbonate 
150 มิลลิลิตร ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 1000 มิลลิลิตร 
หยดทางหลอดเลือดดQำในอัตรา 2-3 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง 
(อาจให้ช้าลงในรายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคหัวใจและผู้ป่วยโรคไต) 
ติดตาม urine pH ให้อยู่ในระดับ 7.5-8 ระวังภาวะด่างในเลือด 
รักษา serum pH ไม่ให้เกิน 7.55 เฝ้าระวังให้โปแตสเซียมใน 
เลือดอยู่ในเกณฑ์ 
รูปแบบของยา (Formulation) 
• ยาเม็ด: sodamint 300 มิลลิกรัม 
• สารละลายสQำหรับให้ทางหลอดเลือดดQำ: 7.5% sodium 
bicarbonate injection (0.89 มิลลิอิควิวาเลนท์/มิลลิลิตร ขนาด 10 
มิลลิลิตร และ 50 มิลลิลิตร) การรักษาภาวะพิษให้ใช้เฉพาะรูป 
แบบนี้เท่านั้น 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 13
Polyethylene glycol electrolyte solution (PEG-ELS) 
ข้อบ่งใช้ (Indications) 
1. กินยาที่ออกฤทธิ์ช้า (sustained-release) หรือ ยาเม็ด 
เคลือบ (enteric-coated) ปริมาณมากซึ่งอาจทQำให้เกิดพิษ เช่น 
sustained-release verapamil 
2. กินยาหรือสารปริมาณมากจนถึงระดับที่เกิดพิษได้ของ 
สาร/ยาที่ไม่ดูดซับด้วย activated charcoal โดยที่วิธีอื่นของการ 
ชะล้างทางลQำไส้ทQำไม่ได้หรือไม่ได้ผลดี เช่น เหล็ก (iron), ตะกั่ว 
(lead), lithium 
3. ใช้ในกรณีผู้ป่วยที่ตั้งใจกลืนห่อที่บรรจุยา/สารเสพติด 
(body packers) หรือผู้ที่กินอย่างเร่งรีบเพื่อหลบหนีตQำรวจ (body 
stuffers) ซึ่งมักนิยมบรรจุในถุงยางอนามัย ถุงพลาสติก 
ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 
1. ผู้ป่วยที่ไม่มีรีเฟล็กซ์ป้องกันทางเดินหายใจหรือในผู้ป่วย 
ที่อาจมีปัญหาป้องกันทางเดินหายใจตนเองไม่ได้ (unprotected, 
compromised airway) 
2. ผู้ป่วยที่มีทางเดินอาหารผิดปกติ เช่น ไม่เคลื่อนไหว 
(ileus), อุดตัน, เลือดออกในทางเดินอาหาร หรือผู้ที่มีสัญญาณ 
ชีพไม่คงที่ (hemodynamic instability) ซึ่งส่งผลต่อการเคลื่อนไหว 
ของลQำไส้ 
14 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
3. ผู้ป่วยที่อาเจียนเตลอดเวลา 
อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 
คลื่นไส้อาเจียนโดยเฉพาะในกรณีที่ให้เร็ว ท้องอืด แน่น 
ท้อง ปวดเกร็งท้อง ผายลม ท้องเสีย ลิ้นรับรสผิดปกติ 
ผลข้างเคียงอื่น เช่น ลQำไส้ทะลุซึ่งเกิดในผู้ป่วยที่มี 
diverticulitis มีเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน (upper gas-trointestinal 
bleeding) หลอดอาหารทะลุ สQำลักลงปอด 
ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) 
ลดความสามารถในการดูดซึมของผงถ่านกัมมันต์ 
ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) 
อายุ 9 เดือน - 6 ปี ให้ 500 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง 
อายุ 6 ปี - 12 ปี ให้ 1,000 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง 
เด็กวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ให้ 1,500-2,000 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 15
รูปแบบของยา (Formulation) 
PEG-ELS รูปแบบพร้อมใช้ 
PEG-ELS ที่โรงพยาบาลเตรียมเอง เช่น PEG-ELS, 4000 ของ 
โรงพยาบาลรามาธิบดี ประกอบด้วย ซองผง PEG 4000 และซอง 
ผง sodium and potassium salt ผสมนํ้าต้มสุกเป็นของเหลวเมื่อ 
จะใช้ 
16 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 17
โปรแกรมบริหารจัดการยากQำพร้า 
สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 
www.nhso.go.th 
วิธีเข้าใช้งานโปรแกรม 
1. เข้าสู่ website สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) 
ที่ www.nhso.go.th 
2. เลือกเมนู บริการออนไลน์ 
3. เลือกหัวข้อ ระบบยา 
18 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
4. เลือกโปรแกรมยาต้านพิษ 
5. Login เข้าสู่ระบบ 
5.1 กรณีหน่วยบริการยังไม่มี US/PW ให้ติดต่อ สปสช. เขต 
เพื่อออก US/PW 
5.2 กรณีหน่วยบริการมี US/PW แล้ว แต่ไม่สามารถใช้งาน 
ได้ ให้ติดต่อ สปสช. เขต เพื่อ activate US/PW หรือปัก 
หมุดเพื่อเชื่อมต่อ stock online ของหน่วยบริการกับ GIS 
6. หน่วยบริการกรอกข้อมูลเพื่อเบิกชดเชยยาผ่านโปรแกรมเบิก 
ชดเชยยากQำพร้าของ สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 
โดยข้อมูลที่จQำเป็นในเบิกชดเชยประกอบด้วย 
6.1 เลขที่บัตรประจQำตัวประชาชนผู้ป่วย (หากไม่สามารถ 
ระบุได้ ให้ใช้เลข HN หรือ AN แทน) 
6.2 Diagnosis 
6.3 รายการยาที่ใช้ 
6.4 จQำนวนยาที่ใช้ 
6.5 รายละเอียดการจัดส่งยา และค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ให้หน่วย 
บริการที่เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการขนส่งเป็นผู้ 
กรอกข้อมูลในส่วนค่าขนส่ง 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 19
• กรณีหน่วยบริการที่ใช้ยา ไม่ใช่หน่วยบริการที่เป็น 
แหล่งสQำรองยา ให้หน่วยบริการที่ใช้ยาเป็นผู้ key ข้อมูล 
• หน่วยบริการสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งาน 
โปรแกรม ได้ที่ 
http://drugfund.nhso.go.th/drugfund/firstLogin 
20 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
ช่องทางติดต่อผู้รับผิดชอบ 
โครงการยากQำพร้ากลุ่มยาต้านพิษ สปสช. 
ชื่อ สกุล หมายเลข E-mail 
โทรศัพท์มือถือ 
ภญ. วรรณภา ไกรโรจนานันท์ 084-3878045 wannapa.s@nhso.go.th 
สปสช.ส่วนกลาง 
นางสาว ศศิธร ทรงไตร 02-141-4000 sasitorl.s@nhso.go.th 
สปสช.ส่วนกลาง 
ภญ. สิริพร เว๊าะบ๊ะห์ 081-9322718 siriporn.w@nhso.go.th 
เขต 1 เชียงใหม่ 
ภญ. กษมา ทองแบบ 090-1975165 kasama.t@nhso.go.th 
เขต 2 พิษณุโลก 
ภก. สราชัย สุขประสงค์ 085-4875034 sarachai.s@nhso.go.th 
เขต 3 นครสวรรค์ 
ภญ. โชติกา ชูพงษ์เสริฐ 090-197 5182 chotika.c@nhso.go.th 
เขต 4 สระบุรี 
ภญ. ปรางวไล เหล่าชัย 090-197 5192 prangwalai.l@nhso.go.th 
เขต 5 ราชบุรี 
นางสาว อุไรวรรณ หิรัญโรจน์ 090-197 5198 uraiwan.h@nhso.go.th 
เขต 6 ระยอง 
ภญ. วิไลพร ใหญ่สูงเนิน 090-197 5220 wilaiporn.y@nhso.go.th 
เขต 7 ขอนแก่น 
ภก. รัฐพงศ์ ขันเดช 090-1975220 ruttapong.k@nhso.go.th 
เขต 8 อุดรธานี 
ภญ. พงศ์ผกา ภัณฑลักษณ์ 089-8458529 pongpaka.p@nhso.go.th 
เขต 9 นครราชสีมา 
ภญ. จิรัญญา มุขขันธ์ 084-7510930 jiranya.m@nhso.go.th 
เขต 10 อุบลราชธานี 
ภญ. เสาวภา ก้าวสมบูรณ์ 089-4743735 saowapa.g@nhso.go.th 
เขต 11 สุราษฎร์ธานี 
ภญ. ปาริชาติ สุขสุวรรณ์ 081-9562262 Parichat.s@nhso.go.th 
เขต 12 สงขลา 
ภญ. จิราทิพย์ ตั้งสิริวรกานต์ 089-4773478 jirathip.t@nhso.go.th 
เขต 13 กรุงเทพมหานคร 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 21
1. ศาสตราจารย์นายแพทย์วินัย วนานุกูล 
2. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุดา วรรณประสาท 
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์สุชัย สุเทพารักษ์ 
4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์สัมมน โฉมฉาย 
5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงสาทริยา ตระกูลศรีชัย 
6. แพทย์หญิงธัญจิรา จิรนันทกาญจน์ 
6. นายแพทย์กิติศักดิ์ แสนประเสริฐ 
7. เภสัขกรหญิงวรรณภา ไกรโรจนานันท์ 
8. นางสาวจารุวรรณ ศรีอาภา 
22 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
คลินิกพิษจากสัตว์ 
โทร. 02-2520161-4 ต่อ 125 
เวลาทQำการ วันจันทร์–วันศุกร์ 8.30–16.30 น. 
Email address: queensaovabha@hotmail.com 
Website: www.saovabha.com 
สถานที่ติดต่อ: ตึกอQำนวยการ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย 
ถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน กทม. 10330 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 23
ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลศิริราช 
ห้องปฏิบัติการพิษวิทยาคลินิก โทร. 02-4197317-8 
หน่วยข้อมูลยาและพิษวิทยา โทร. 02-4197007 
เปิด 24 ชั่วโมง 
Website: http://www.si.mahidol.ac.th/th/division/shtc/ 
สถานที่ติดต่อ: ตึกผะอบ ชั้น 3 รพ.ศิริราช ถนนพรานนก 
บางกอกน้อย กทม. 10700 
24 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี 
(อัตโนมัติ 30 คู่สาย) 
เปิด 24 ชั่วโมง 
Line ID: poisrequest 
Email address: poisrequest@hotmail.com 
Website: www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/ 
PoisonCenter.mahidol.ac.th 
สถานที่ติดต่อ: อาคารวิจัยและสวัสดิการชั้น 1 
ถนนพระราม 6 ราชเทวี กทม. 10400 
คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 25
ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี 
(อัตโนมัติ 30 คู่สาย) 
เปิด 24 ชั่วโมง 
Line ID: poisrequest 
Email address: poisrequest@hotmail.com 
Website: www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/ 
PoisonCenter.mahidol.ac.th 
สถานที่ติดต่อ: อาคารวิจัยและสวัสดิการชั้น 1 
รพ.รามาธิบดี ถนนพระราม 6 ราชเทวี กทม. 10400
Antidotes

More Related Content

What's hot

แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Utai Sukviwatsirikul
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
Utai Sukviwatsirikul
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain clinic pnk
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
Siwaporn Khureerung
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
Ballista Pg
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
tacrm
 
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
SlideShare-เยอะเกิน-กฤตยา ศรีริ
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่Sae-ung May
 
Oestrogel เอสโตรเจล ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง
Oestrogel  เอสโตรเจล  ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง Oestrogel  เอสโตรเจล  ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง
Oestrogel เอสโตรเจล ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง
Utai Sukviwatsirikul
 
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptxอุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
Kru Bio Hazad
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
Utai Sukviwatsirikul
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Asthma guideline children
Asthma guideline childrenAsthma guideline children
Asthma guideline children
 
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษPain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
Pain พระนั่งเกล้า14 พค. 56 พิเศษ
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
Mna thai
Mna thaiMna thai
Mna thai
 
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
คู่มือการดูแลโรคตาเบื้องต้น โรงพยาบาลเมตตาประชารักษ์ (วัดไร่ขิง)
 
Clinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injuryClinical practice guidelines mild head injury
Clinical practice guidelines mild head injury
 
mass casualty management
mass casualty managementmass casualty management
mass casualty management
 
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัยการดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
การดูแลทันตสุขภาพแต่ละช่วงวัย
 
Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
ปกข้อสอบกลางภาค2557 2
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
งานจักสารผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่
 
Oestrogel เอสโตรเจล ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง
Oestrogel  เอสโตรเจล  ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง Oestrogel  เอสโตรเจล  ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง
Oestrogel เอสโตรเจล ฮอร์โมนทดแทน ในเพศหญิงวัยทอง
 
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptxอุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
อุปกรณ์วิทยาศาสตร์.pptx
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
Anesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medicationAnesthetics and pain medication
Anesthetics and pain medication
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 

Similar to Antidote pocket guide v.3

Antidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteineAntidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteine
สะไลแชร์ แช
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
Utai Sukviwatsirikul
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
Utai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
611026-5.doc
611026-5.doc611026-5.doc
611026-5.doc
EeRayaNitem
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
Aiman Sadeeyamu
 
Acute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol PoisoningAcute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol Poisoningyinyinyin
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)Aimmary
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
Ziwapohn Peecharoensap
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to Antidote pocket guide v.3 (20)

Antidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteineAntidote book3 06-n-acetylcysteine
Antidote book3 06-n-acetylcysteine
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
Smoking Cessation
Smoking CessationSmoking Cessation
Smoking Cessation
 
Clinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptivesClinical case emergency contraceptives
Clinical case emergency contraceptives
 
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
Thailand guideline for management of chb  and chc 2015Thailand guideline for management of chb  and chc 2015
Thailand guideline for management of chb and chc 2015
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบบีและซีเรื้อรัง ในประเทศไทย ปี 2558
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559
 
Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016Hep c guideline 2016
Hep c guideline 2016
 
Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016Thailand practice hep c guideline 2016
Thailand practice hep c guideline 2016
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
611026-5.doc
611026-5.doc611026-5.doc
611026-5.doc
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับยาที่มีความเสี่ยงสูง (High Alert Drugs)
 
Acute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol PoisoningAcute Paracetamol Poisoning
Acute Paracetamol Poisoning
 
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
24.hbv and hcv guideline 2012 (update)
 
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
ตอบคำถามจาก Soap note กรณีศึกษา Hypertension non compliance.
 
Management of patient with asthma
Management of patient with asthmaManagement of patient with asthma
Management of patient with asthma
 
Cpg ped
Cpg pedCpg ped
Cpg ped
 

More from sucheera Leethochawalit

ตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdf
ตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdfตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdf
ตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdf
sucheera Leethochawalit
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
sucheera Leethochawalit
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
sucheera Leethochawalit
 
Chemo ebookสงขลา
Chemo ebookสงขลาChemo ebookสงขลา
Chemo ebookสงขลา
sucheera Leethochawalit
 
Km การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
Km การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจKm การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
Km การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
sucheera Leethochawalit
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
sucheera Leethochawalit
 
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตันแนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
sucheera Leethochawalit
 
ตำราเภสัชกรรมไทย
ตำราเภสัชกรรมไทย ตำราเภสัชกรรมไทย
ตำราเภสัชกรรมไทย
sucheera Leethochawalit
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์ แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
sucheera Leethochawalit
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
sucheera Leethochawalit
 
antidote y57
antidote y57antidote y57

More from sucheera Leethochawalit (11)

ตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdf
ตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdfตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdf
ตารางคำแนะนำการให้วัคซีนป้องกันโรคสำหรับผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2566 .pdf
 
คู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากรคู่มือโภชนากร
คู่มือโภชนากร
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัดเอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
เอกสารประกอบการเรียนวิชาโภชนบำบัด
 
Chemo ebookสงขลา
Chemo ebookสงขลาChemo ebookสงขลา
Chemo ebookสงขลา
 
Km การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
Km การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจKm การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
Km การดูแลผู้ป่วยได้รับยาละลายลิ่มเลือดในผู้ป่วยผ่าตัดลิ้นหัวใจ
 
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้าแนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
แนวเวชปฏิบัติโรคพิษสุนัขบ้า
 
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตันแนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
แนวทางการรักษาโรคหลอดเลือดสมองอุดตัน
 
ตำราเภสัชกรรมไทย
ตำราเภสัชกรรมไทย ตำราเภสัชกรรมไทย
ตำราเภสัชกรรมไทย
 
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์ แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยถูกงูกัดและได้รับพิษจากสัตว์
 
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
หลักทั่วไปในการให้วัคซีน
 
antidote y57
antidote y57antidote y57
antidote y57
 

Antidote pocket guide v.3

  • 1. คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ Antidotes Antivenoms Atropine Pralidoxime, 2-PAM N-acetylcysteine Sodium bicarbonate Polyethylene glycol electrolyte solution
  • 2. คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ (ฉบับพกพา) สมาคมพิษวิทยาคลินิก
  • 3. คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ พิมพ์ครั้งที่ 1 ตุลาคม 2556 จQำนวน 5,000 เล่ม จัดทQำโดย สมาคมพิษวิทยาคลินิก สQำนักงานชั่วคราว ศูนย์พิษวิทยา คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี 270 ถนนพระราม 6 ราชเทวี กรุงเทพฯ 10400 โทรศัพท์ 0 2201 1084 โทรสาร 0 2201 1085 กด 1 แยกสี : บริษัท สแกนอาร์ต จQำกัด 766/36-39 ซ.เจริญกรุง แขวงบางคอแหลม เขตบางคอแหลม กรุงเทพฯ 10120 โทร. 0-229-0279-81, 0-2688-4840-41 Fax. 0-2688-4842 Email : scanart03@yahoo.com พิมพ์ที่ : บริษัท สแกน แอนด์ พริ้นท์ จQำกัด 257 ม. 1 ต.แพรกษา อ.เมืองสมุทรปราการ จ.สมุทรปราการ 10270 โทร. 0-2387-1452-4 Fax. 0-2387-1455 Email : scanandprint2010@yahoo.com
  • 4. คู่มือยาต้าน พิษ ๒๕๕๖ (ฉบับพกพา) โครงการเพิ่มการเข้าถึงยากQำพร้ากลุ่มยาต้านพิษ: การประสานความร่วมมือพัฒนาศักยภาพหน่วยบริการ อย่างต่อเนื่อง ประจQำปี ๒๕๕๖ สนับสนุนโดย สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
  • 5. สารบัญ ชื่อยาต้านพิษ ห้นา Snake antivenoms 1 Atropine 4 Pralidoxime (2-PAM) 6 N-acetylcysteine (NAC) 7 Sodium bicarbonate 11 Polyethylene glycol electrolyte 14 solution (PEG-ELS) ภาคผนวก การใช้โปรแกรมยาต้านพิษ 18 คลินิกพิษจากสัตว์ 23 ศูนย์พิษวิทยา ศิริราช 24 ศูนย์พิษวิทยา รามาธิบดี 25 D คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 6. Snake antivenoms ข้อบ่งใช้ (Indications) • เซรุ่มต้านพิษงูเห่า เซรุ่มต้านพิษงูจงอาง เซรุ่มต้านพิษ งูสามเหลี่ยม เซรุ่มต้านพิษงูทับสมิงคลา เซรุ่มต้านพิษงูรวม ระบบประสาท มีข้อใดข้อหนึ่งในต่อไปนี้ 1. การมีกล้ามเนื้ออ่อนแรง เริ่มตั้งแต่มีหนังตาตก ไม่ต้อง รอให้มีภาวะหายใจล้มเหลว 2. สงสัยงูทับสมิงคลา หรือ งูสามเหลี่ยมกัด ควรให้เซรุ่ม ทันทีที่วินิจฉัยได้แม้ยังไม่มีอาการ • เซรุ่มต้านพิษงูแมวเซา เซรุ่มต้านพิษงูกะปะ เซรุ่มต้าน พิษงูเขียวหางไหม้ เซรุ่มต้านพิษงูรวมระบบโลหิต มีข้อใดข้อ หนึ่งในต่อไปนี้ 1. Systemic bleeding ยกเว้น microscopic hematuria 2. Unclotted 20 minute whole blood clotting time (20WBCT) หรือ มี prothrombin time (PT) ยาวกว่าปกติ หรือ ค่า International normalized ratio (INR) มากกว่า 1.2 3. เกล็ดเลือดตQ่ำกว่า 50,000/mm3 4. มีอาการปวดบวมเฉพาะที่อย่างรุนแรง ซึ่งอาจเกิด compartmental syndrome คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 1
  • 7. ข้อห้ามใช้ (Contraindications) ไม่มี อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) ปฏิกิริยาที่รุนแรงในระยะต้น (early reaction) เกิดขึ้นขณะ กQำลังรับเซรุ่ม หรือภายในระยะเวลาสั้นๆ หลังรับเซรุ่มหมด ได้แก่ ผื่นลมพิษ หน้าบวม หายใจไม่สะดวก หลอดลมหดเกร็ง ความดันโลหิตตก ปฏิกิริยาที่รุนแรงในระยะหลัง (late reaction) เกิดขึ้นที่ 1-2 สัปดาห์หลังได้รับเซรุ่ม ได้แก่ อาการไข้ ปวดข้อ ผื่นตาม ร่างกาย ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) ไม่มี ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) • เซรุ่มต้านพิษงูเห่า 10 vials เซรุ่มต้านพิษงูจงอาง 10 vials เซรุ่มต้านพิษงูทับสมิงคลา 5 vials เซรุ่มต้านพิษงูสามเหลี่ยม 10 vials และเซรุ่มต้านพิษงูรวมระบบประสาท 10 vials 2 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 8. • เซรุ่มต้านพิษงูแมวเซา 3-5 vials เซรุ่มต้านพิษงูกะปะ 3-5 vials เซรุ่มต้านพิษงูเขียวหางไหม้ 3 vials และเซรุ่มต้านพิษงู รวมระบบโลหิต 5 vials ขนาดเซรุ่มที่ใช้ในผู้ป่วยเด็ก หรือสตรีมีครรภ์เหมือน ในผู้ป่วยทั่วไป ไม่ต้องทQำ skin test ก่อนให้ หยดทางหลอดเลือดดQำภายใน 30 นาที รูปแบบของยา (Formulation) ผงแห้งบรรจุในขวดเล็ก (vial) และมีตัวทQำละลายเป็น นQ้ำกลั่น 10 มิลลิลิตร แนบมาด้วย คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 3
  • 9. Atropine ข้อบ่งใช้ (Indications) 1. รักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากสารกQำจัดแมลงกลุ่ม ออร์กาโนฟอสฟอรัสและคาร์บาเมต เฉพาะส่วนที่เกิดจากฤทธิ์ ที่เป็น muscarinic cholinergic 2. หัวใจเต้นช้า (bradycardia) 3. ภาวะหัวใจหยุดนิ่ง (asystole) 4. หลอดลมตีบ (bronchospasm) ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 1. แพ้ยาอะโทรปีน 2. โรคต้อหินชนิดมุมแคบ (narrow-angle glaucoma) อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) ปากแห้ง ตาพร่ามัว ปัสสาวะลQำบาก เพิ่มความดันลูกตา และไข้ ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) ไม่มีปฏิกิริยาต่อยาอื่นที่สQำคัญ 4 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 10. ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) Loading dose: 1.8 มิลลิกรัม IV และเพิ่มขึ้นเท่าตัวจนกว่า การตอบสนองถึงเป้าหมาย Maintenance dose: 10-20% ของ loading dose IV drip ต่อชั่วโมง รูปแบบของยา (Formulation) สารละลายอะโทรปีนขนาดหลอดละ 0.6 มิลลิกรัม คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 5
  • 11. Pralidoxime, 2-PAM ข้อบ่งใช้ (Indications) รักษาภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากสารกQำจัดแมลงกลุ่ม ออร์กาโนฟอสฟอรัส ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 1. แพ้ยากลุ่ม oximes 2. ภาวะเป็นพิษเฉียบพลันจากสารกQำจัดแมลงกลุ่ม คาร์บาเมตไม่ใช่ข้อห้ามสมบูรณ์ (absolute contraindication) อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) เวียนศีรษะ ตาพร่ามัว ความดันโลหิตสูง ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) ไม่มีปฏิกิริยาต่อยาอื่นที่สQำคัญ ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) Loading dose: 1–2 กรัม IV drip ใน 30-60 นาที Maintenance dose: 500-1000 มิลลิกรัม/ชั่วโมง (10-20 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง) IV รูปแบบของยา (Formulation) พราลิดอกซีมเป็นผงบรรจุในขวดเล็ก ขนาดขวดละ 1 กรัม 6 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 12. N-acetylcysteine (NAC) ข้อบ่งใช้ (Indications) 1. ภาวะพาราเซตามอลเกินขนาดหรือภาวะพิษจาก พาราเซตามอลดังนี้ • ผู้ป่วยที่ได้รับยาพาราเซตามอลเกินขนาด (ขนาด150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม หรือมากกว่า) แบบเฉียบพลัน • ผู้ป่วยที่ได้รับยาพาราเซตามอลแบบเฉียบพลัน เป็นกระบวนการได้รับยาที่มีระดับพาราเซตามอลในซีรัม มากกว่า treatment line ใน Rumack-Matthew Nomogram 2. ผปู้ว่ ยทไี่ ดร้ บั ยาพาราเซตามอลเกนิ ขนาดแบบคอ่ ยเปน็ ค่อยไป (กินหลายครั้งหรือกระบวนการได้รับยาเสร็จภายในเวลา นานกว่า 8 ชั่วโมง) ดังนี้ • ขนาดเฉลี่ย ≥ 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ ≥ 6 กรัม/24 ชั่วโมง (เลือกใช้ค่าที่น้อยกว่า) หากเป็นการกินเกิน ขนาดในช่วงระยะเวลา 48 ชั่วโมง หรือ • ขนาดเฉลี่ย ≥ 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/ชั่วโมง หรือ ≥ 4 กรัม/24 ชั่วโมง หากเป็นการกินเกินขนาดในระยะเวลา 72 ชั่วโมงหรือมากกว่า 3. ภาวะตับอักเสบจากสารพิษบางชนิด เช่น เห็ดพิษ และ สารกลุ่ม chlorinated hydrocarbon คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 7
  • 13. ข้อห้ามใช้ (Contraindications) ผู้ป่วยที่มีประวัติภาวะแพ้ NAC อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 1. การบริหาร NAC ทางทางเดินอาหารอาจทQำให้เกิด อาการคลื่นไส้ อาเจียนได้ 2. การบริหาร NAC ทางหลอดเลือดดQำอาจทQำให้เกิด ปฏิกิริยา anaphylactoid ได้แก่ เกิดภาวะผื่นลมพิษหรือผื่นแบบ angioedema ภาวะหลอดลมหดเกร็ง ความดันโลหิตตQ่ำ หรือ ช็อคได้ ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) การบริหาร NAC ทางทางเดินอาหารร่วมกับผงถ่านกัมมันต์ อาจทQำให้ NAC บางส่วนถูกดูดซับไว้ได้ ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administration) 1. ทางทางเดินอาหาร: เริ่มด้วยขนาด 140 มิลลิกรัม/ กิโลกรัม ตามด้วย 70 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ทุก 4 ชั่วโมงอีก 17 ครั้ง 2. ทางหลอดเลือดดQำ: 2.1 สQำหรับผู้ใหญ่ (นQ้ำหนักตัว≥ ≥ 40 กิโลกรัม) บริหารยาโดย 8 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 14. • NAC 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 200 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 60 นาที ตามด้วย • NAC 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 500 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 4 ชั่วโมง ตามด้วย • NAC 100 มิลลิลิตร ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 1000 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 16 ชั่วโมง 2.2 สQำหรับเด็ก (นQ้ำหนักตัว 20-40 กิโลกรัม) บริหารยาโดย • NAC 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 100 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 30 นาที ตามด้วย • NAC 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 250 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 4 ชั่วโมง ตามด้วย • NAC 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 500 มิลลิลิตร ให้ในเวลา 16 ชั่วโมง 2.3 สQำหรับเด็ก (นQ้ำหนักตัว < 20 กิโลกรัม) บริหารยาโดย • NAC 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 3 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ให้ในเวลา 30 นาที ตามด้วย • NAC 50 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 7 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ให้ในเวลา 4 ชั่วโมง ตามด้วย • NAC 100 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 14 มิลลิลิตร/กิโลกรัม ให้ในเวลา 16 ชั่วโมง คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 9
  • 15. 2.4 กรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะตับอักเสบที่เกิดจากพาราเซตามอล บริหาร NAC ทางหลอดเลือดดQำในขนาด 150 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 1000 มิลลิลิตร ในเวลา 24 ชั่วโมง โดยบริหารต่อเนื่องจนภาวะพิษต่อตับดีขึ้นโดย เอ็นซัยม์ตับลดลงและผู้ป่วยไม่มีลักษณะที่บ่งชี้ภาวะตับวาย การหยุดการรักษาด้วย NAC, ให้พิจารณาหยุดได้ถ้า • ผู้ป่วยมีค่าเอ็นซัยม์ตับปกติ และระดับยาพาราเซตามอล ในซีรัมน้อยกว่า 10 มิลลิกรัม/ลิตร ที่เวลาอย่างน้อย 36 ชั่วโมง หลังจากการได้รับยาเกินขนาด หรือ • ผู้ป่วยมีค่าเอ็นซัยม์ตับปกติที่เวลาอย่างน้อย 48 ชั่วโมง หลังจากการได้รับยาเกินขนาด รูปแบบของยา (Formulation) • ยาผง (powder หรือ granules) สQำหรับผสมนQ้ำเพื่อดื่ม หรือบริหารทางสายสวนกระเพาะอาหาร ขนาด 100, 200 และ 600 มิลลิกรัม ต่อซอง • ยาเม็ด (effervescent tablet) สQำหรับผสมนQ้ำเพื่อดื่ม หรือบริหารทางสายสวนกระเพาะอาหาร ขนาด 600 มิลลิกรัม ต่อเม็ด • สารละลายสQำหรับให้ทางหลอดเลือดดQำ (intravenous infusion) ความเข้มข้น 100 มิลลิกรัม/มิลลิลิตร 10 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 16. Sodium Bicarbonate ข้อบ่งใช้ (Indications) 1. Cardiotoxicity จากยา fast sodium channel blockade (widening QRS complex) ได้แก่ยาในกลุ่ม tricyclic antidepres-sants (เช่น amitriptyline, doxepin, imipramine, nortriptyline เป็นต้น) type Ia, Ic antiarrhythmic drugs (เช่น quinidine, f lecainide, encainide, propafenone, moricizine) 2. Urine alkalinization จาก salicylate, phenobarbital, chlor-propamide overdose มีการใช้ในภาวะ severe rhabdomyolysis แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันประสิทธิภาพที่ชัดเจน 3. Metabolic acidosis 4. Hyperkalemia ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 1. Severe alkalemia ได้แก่ serum pH> 7.55 2. Severe hypernatremia 3. Severe hypokalemia 4. Severe pulmonary edema, congestive heart failure, anuria without plan for dialysis คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 11
  • 17. อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) 1. Alkalemia ส่งผลให้เกิด hypokalemia, hypocalcemia 2. Hypernatremia ส่งผลให้เกิด volume overload ทQำให้ ภาวะ heart failure, pulmonary edema แย่ลง 3. Inf lflammation และ necrosis จากการสัมผัสสารละลาย โซเดียมไบคาร์บอเนตโดยตรง หากมีการซึมออกนอกหลอด เลือด ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) การให้ร่วมกบั ยาทมี่ คี วามเป็นกรด อาจทำQ ให้ระดบั ยาลด ลงหรือได้ผลทางเภสัชวิทยาไม่เต็มที่ หากการให้โซเดียมไบคาร์บอเนตทQำให้เกิดภาวะด่างใน ร่างกายหรือปัสสาวะมีความเป็นด่างมากขึ้น ทQำให้มีการขับยาที่ มีคุณสมบัติเป็นกรดมากขึ้นทางไต เช่น salicylate, phenobarbital, chlorpropamide ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administration) 1. Cardiotoxicity จาก sodium channel blockade ให้ 1-2 มิลลิอิควิวาเลนท์/กิโลกรัม IV bolus ในเวลา 1-2 นาที แล้วติดตาม คลื่นไฟฟ้าหัวใจ (QRS complex widening, wide QRS complex tachycardia, hypotension) ภายใน 5 นาทีหากยังผิดปกติ สามารถ ให้ซQ้ำได้ โดยรักษา serum pH 7.45-7.55 ไม่แนะนQำการให้ทาง หลอดเลือดดQำอย่างต่อเนื่อง (continuous IV infusion) 12 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 18. 2. Urine alkalinization ให้ผสม 7.5% sodium bicarbonate 150 มิลลิลิตร ในสารนQ้ำ 5% Dextrose in water 1000 มิลลิลิตร หยดทางหลอดเลือดดQำในอัตรา 2-3 มิลลิลิตร/กิโลกรัม/ชั่วโมง (อาจให้ช้าลงในรายผู้สูงอายุ ผู้ป่วยโรคหัวใจและผู้ป่วยโรคไต) ติดตาม urine pH ให้อยู่ในระดับ 7.5-8 ระวังภาวะด่างในเลือด รักษา serum pH ไม่ให้เกิน 7.55 เฝ้าระวังให้โปแตสเซียมใน เลือดอยู่ในเกณฑ์ รูปแบบของยา (Formulation) • ยาเม็ด: sodamint 300 มิลลิกรัม • สารละลายสQำหรับให้ทางหลอดเลือดดQำ: 7.5% sodium bicarbonate injection (0.89 มิลลิอิควิวาเลนท์/มิลลิลิตร ขนาด 10 มิลลิลิตร และ 50 มิลลิลิตร) การรักษาภาวะพิษให้ใช้เฉพาะรูป แบบนี้เท่านั้น คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 13
  • 19. Polyethylene glycol electrolyte solution (PEG-ELS) ข้อบ่งใช้ (Indications) 1. กินยาที่ออกฤทธิ์ช้า (sustained-release) หรือ ยาเม็ด เคลือบ (enteric-coated) ปริมาณมากซึ่งอาจทQำให้เกิดพิษ เช่น sustained-release verapamil 2. กินยาหรือสารปริมาณมากจนถึงระดับที่เกิดพิษได้ของ สาร/ยาที่ไม่ดูดซับด้วย activated charcoal โดยที่วิธีอื่นของการ ชะล้างทางลQำไส้ทQำไม่ได้หรือไม่ได้ผลดี เช่น เหล็ก (iron), ตะกั่ว (lead), lithium 3. ใช้ในกรณีผู้ป่วยที่ตั้งใจกลืนห่อที่บรรจุยา/สารเสพติด (body packers) หรือผู้ที่กินอย่างเร่งรีบเพื่อหลบหนีตQำรวจ (body stuffers) ซึ่งมักนิยมบรรจุในถุงยางอนามัย ถุงพลาสติก ข้อห้ามใช้ (Contraindications) 1. ผู้ป่วยที่ไม่มีรีเฟล็กซ์ป้องกันทางเดินหายใจหรือในผู้ป่วย ที่อาจมีปัญหาป้องกันทางเดินหายใจตนเองไม่ได้ (unprotected, compromised airway) 2. ผู้ป่วยที่มีทางเดินอาหารผิดปกติ เช่น ไม่เคลื่อนไหว (ileus), อุดตัน, เลือดออกในทางเดินอาหาร หรือผู้ที่มีสัญญาณ ชีพไม่คงที่ (hemodynamic instability) ซึ่งส่งผลต่อการเคลื่อนไหว ของลQำไส้ 14 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 20. 3. ผู้ป่วยที่อาเจียนเตลอดเวลา อาการอันไม่พึงประสงค์จากยา (Adverse reactions) คลื่นไส้อาเจียนโดยเฉพาะในกรณีที่ให้เร็ว ท้องอืด แน่น ท้อง ปวดเกร็งท้อง ผายลม ท้องเสีย ลิ้นรับรสผิดปกติ ผลข้างเคียงอื่น เช่น ลQำไส้ทะลุซึ่งเกิดในผู้ป่วยที่มี diverticulitis มีเลือดออกในทางเดินอาหารส่วนบน (upper gas-trointestinal bleeding) หลอดอาหารทะลุ สQำลักลงปอด ปฏิกิริยาต่อยาอื่น (Drug interaction) ลดความสามารถในการดูดซึมของผงถ่านกัมมันต์ ขนาดและวิธีใช้ (Dosage and administrations) อายุ 9 เดือน - 6 ปี ให้ 500 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง อายุ 6 ปี - 12 ปี ให้ 1,000 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง เด็กวัยรุ่นและผู้ใหญ่ ให้ 1,500-2,000 มิลลิลิตรต่อชั่วโมง คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 15
  • 21. รูปแบบของยา (Formulation) PEG-ELS รูปแบบพร้อมใช้ PEG-ELS ที่โรงพยาบาลเตรียมเอง เช่น PEG-ELS, 4000 ของ โรงพยาบาลรามาธิบดี ประกอบด้วย ซองผง PEG 4000 และซอง ผง sodium and potassium salt ผสมนํ้าต้มสุกเป็นของเหลวเมื่อ จะใช้ 16 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 23. โปรแกรมบริหารจัดการยากQำพร้า สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ www.nhso.go.th วิธีเข้าใช้งานโปรแกรม 1. เข้าสู่ website สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ที่ www.nhso.go.th 2. เลือกเมนู บริการออนไลน์ 3. เลือกหัวข้อ ระบบยา 18 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 24. 4. เลือกโปรแกรมยาต้านพิษ 5. Login เข้าสู่ระบบ 5.1 กรณีหน่วยบริการยังไม่มี US/PW ให้ติดต่อ สปสช. เขต เพื่อออก US/PW 5.2 กรณีหน่วยบริการมี US/PW แล้ว แต่ไม่สามารถใช้งาน ได้ ให้ติดต่อ สปสช. เขต เพื่อ activate US/PW หรือปัก หมุดเพื่อเชื่อมต่อ stock online ของหน่วยบริการกับ GIS 6. หน่วยบริการกรอกข้อมูลเพื่อเบิกชดเชยยาผ่านโปรแกรมเบิก ชดเชยยากQำพร้าของ สQำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยข้อมูลที่จQำเป็นในเบิกชดเชยประกอบด้วย 6.1 เลขที่บัตรประจQำตัวประชาชนผู้ป่วย (หากไม่สามารถ ระบุได้ ให้ใช้เลข HN หรือ AN แทน) 6.2 Diagnosis 6.3 รายการยาที่ใช้ 6.4 จQำนวนยาที่ใช้ 6.5 รายละเอียดการจัดส่งยา และค่าใช้จ่าย ทั้งนี้ให้หน่วย บริการที่เป็นผู้รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการขนส่งเป็นผู้ กรอกข้อมูลในส่วนค่าขนส่ง คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 19
  • 25. • กรณีหน่วยบริการที่ใช้ยา ไม่ใช่หน่วยบริการที่เป็น แหล่งสQำรองยา ให้หน่วยบริการที่ใช้ยาเป็นผู้ key ข้อมูล • หน่วยบริการสามารถศึกษารายละเอียดการใช้งาน โปรแกรม ได้ที่ http://drugfund.nhso.go.th/drugfund/firstLogin 20 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 26. ช่องทางติดต่อผู้รับผิดชอบ โครงการยากQำพร้ากลุ่มยาต้านพิษ สปสช. ชื่อ สกุล หมายเลข E-mail โทรศัพท์มือถือ ภญ. วรรณภา ไกรโรจนานันท์ 084-3878045 wannapa.s@nhso.go.th สปสช.ส่วนกลาง นางสาว ศศิธร ทรงไตร 02-141-4000 sasitorl.s@nhso.go.th สปสช.ส่วนกลาง ภญ. สิริพร เว๊าะบ๊ะห์ 081-9322718 siriporn.w@nhso.go.th เขต 1 เชียงใหม่ ภญ. กษมา ทองแบบ 090-1975165 kasama.t@nhso.go.th เขต 2 พิษณุโลก ภก. สราชัย สุขประสงค์ 085-4875034 sarachai.s@nhso.go.th เขต 3 นครสวรรค์ ภญ. โชติกา ชูพงษ์เสริฐ 090-197 5182 chotika.c@nhso.go.th เขต 4 สระบุรี ภญ. ปรางวไล เหล่าชัย 090-197 5192 prangwalai.l@nhso.go.th เขต 5 ราชบุรี นางสาว อุไรวรรณ หิรัญโรจน์ 090-197 5198 uraiwan.h@nhso.go.th เขต 6 ระยอง ภญ. วิไลพร ใหญ่สูงเนิน 090-197 5220 wilaiporn.y@nhso.go.th เขต 7 ขอนแก่น ภก. รัฐพงศ์ ขันเดช 090-1975220 ruttapong.k@nhso.go.th เขต 8 อุดรธานี ภญ. พงศ์ผกา ภัณฑลักษณ์ 089-8458529 pongpaka.p@nhso.go.th เขต 9 นครราชสีมา ภญ. จิรัญญา มุขขันธ์ 084-7510930 jiranya.m@nhso.go.th เขต 10 อุบลราชธานี ภญ. เสาวภา ก้าวสมบูรณ์ 089-4743735 saowapa.g@nhso.go.th เขต 11 สุราษฎร์ธานี ภญ. ปาริชาติ สุขสุวรรณ์ 081-9562262 Parichat.s@nhso.go.th เขต 12 สงขลา ภญ. จิราทิพย์ ตั้งสิริวรกานต์ 089-4773478 jirathip.t@nhso.go.th เขต 13 กรุงเทพมหานคร คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 21
  • 27. 1. ศาสตราจารย์นายแพทย์วินัย วนานุกูล 2. รองศาสตราจารย์แพทย์หญิงสุดา วรรณประสาท 3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์สุชัย สุเทพารักษ์ 4. ผู้ช่วยศาสตราจารย์นายแพทย์สัมมน โฉมฉาย 5. ผู้ช่วยศาสตราจารย์แพทย์หญิงสาทริยา ตระกูลศรีชัย 6. แพทย์หญิงธัญจิรา จิรนันทกาญจน์ 6. นายแพทย์กิติศักดิ์ แสนประเสริฐ 7. เภสัขกรหญิงวรรณภา ไกรโรจนานันท์ 8. นางสาวจารุวรรณ ศรีอาภา 22 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 28. คลินิกพิษจากสัตว์ โทร. 02-2520161-4 ต่อ 125 เวลาทQำการ วันจันทร์–วันศุกร์ 8.30–16.30 น. Email address: queensaovabha@hotmail.com Website: www.saovabha.com สถานที่ติดต่อ: ตึกอQำนวยการ สถานเสาวภา สภากาชาดไทย ถนนพระราม 4 เขตปทุมวัน กทม. 10330 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 23
  • 29. ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลศิริราช ห้องปฏิบัติการพิษวิทยาคลินิก โทร. 02-4197317-8 หน่วยข้อมูลยาและพิษวิทยา โทร. 02-4197007 เปิด 24 ชั่วโมง Website: http://www.si.mahidol.ac.th/th/division/shtc/ สถานที่ติดต่อ: ตึกผะอบ ชั้น 3 รพ.ศิริราช ถนนพรานนก บางกอกน้อย กทม. 10700 24 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖
  • 30. ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี (อัตโนมัติ 30 คู่สาย) เปิด 24 ชั่วโมง Line ID: poisrequest Email address: poisrequest@hotmail.com Website: www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/ PoisonCenter.mahidol.ac.th สถานที่ติดต่อ: อาคารวิจัยและสวัสดิการชั้น 1 ถนนพระราม 6 ราชเทวี กทม. 10400 คู่มือยาต้านพิษ ๒๕๕๖ 25
  • 31. ศูนย์พิษวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี (อัตโนมัติ 30 คู่สาย) เปิด 24 ชั่วโมง Line ID: poisrequest Email address: poisrequest@hotmail.com Website: www.ra.mahidol.ac.th/poisoncenter/ PoisonCenter.mahidol.ac.th สถานที่ติดต่อ: อาคารวิจัยและสวัสดิการชั้น 1 รพ.รามาธิบดี ถนนพระราม 6 ราชเทวี กทม. 10400