SlideShare a Scribd company logo
4. ยาลดระดับไขมันในเลือด
(Agent Used in Hyperlipidemia)
ยาลดระดับไขมันในเลือด
4.1ยาที่ใช้ในภาวะ cholesterol ในเลือดสูง
4.1.1 Chelating agent (resin)
4.1.2 HMG-CoA reductase inhibitors (statin)
4.1.3 Ezetimibe
4.2ยาที่ใช้ในภาวะ triglyceride ในเลือดสูง
4.2.1 Fibrate
4.2.2 Nicotinic acid
4.2.3 Fish oil
4.1. ยาที่ใช้ในภาวะ cholesterol ในเลือดสูง
4.1.1 Chelating agents (Resin)
cholestyramine, colestipol , colesevelam
 ไม่ถูกดูดซึมเข้าร่างกาย
 พบว่าสามารถลดระดับ total cholesterol และ LDL cholesterol ได้
15-30%
colestipol
cholestyramine
colesevelam
เมื่อให้ยาเข้าสู่ร่างกายจะดูดซึมbile acidในลาไส้เล็ก
ยับยั้งการดูดกลับของ bile acid +เพิ่มการขับน้าดีออกทางอุจจาระ
มีการนาเอา cholesterol ในร่างกายมาใช้สร้างเป็ น bile acid
ทาให้ cholesterol ในร่างกายถูกดึงมาใช้มาก
ระดับ cholesterol ใน serum
การนาไปใช้ทางคลีนิก
ใช้ในผู้ป่ วยระดับ total cholesterol สูงในเลือด (จัดเป็ นยาที่ออกฤทธิ์ดี
ที่สุด) ยาชนิดนี้รสชาดไม่ดี รับประทานลาบาก (ยาผงผสมน้าดื่ม)
Cholestyramine (4g/ซอง) 4 g รับประทานวันละ 1-2 ครั้ง
อาการข้างเคียง
แน่นท้อง คลื่นไส้ ท้องอืด ลมในท้องมาก
ท้องผูก
ยาอาจมีผลรบกวนการดูดซึม Vitamin ชนิดที่ละลายในไขมัน
(A, D, E, K)
4.1.2 HMG-CoA reductase inhibitors
 หรือเรียกว่า ยากลุ่ม statins
Simvastatin, fluvastatin, atorvastatin
 มีผลลดระดับ plasma cholesterol
 ลดระดับ LDL ได้ 30-40%
 ลดระดับ TG ได้ 10-30%
 เพิ่มระดับ HDL ได้เล็กน้อย 5-15%
fluvastatin
atorvastatin
simvastatin
Mechanism of Action
• **ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ HMG-CoA reductase
• โดยปกติเป็ นเอนไซม์ที่สาคัญในการสังเคราะห์ cholesterol ที่ตับ
• ลดการสร้าง cholesterol ที่ตับและมีผลลดระดับ plasma cholesterol
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ใช้ในผู้ป่ วยระดับ total cholesterol สูงในเลือด
 สามารถใช้ยาในรูปแบบเดี่ยว หรือใช้ยากลุ่ม statins ร่วมกับยากลุ่ม resins หรือ
niacins เพื่อลดระดับ LDL
 เนื่องจากการสังเคราะห์ cholesterol มักเกิดขึ้นในช่วงเวลากลางคืน ฉะนั้นการใช้
ยากลุ่ม statins
 กรณีให้วันละครั้งควรให้รับประทานในตอนเย็น พร้อมอาหาร
 ยกเว้น atorvastatin, rosuvastatin
•
อาการข้างเคียง
• ปวดศีรษะ
• ไม่สบายท้อง
• ตับอักเสบ อาจพบระดับserum aminotransferase อาจสูงขึ้นถึง 3เท่า
ของค่าปกติ
• ผู้ป่ วยประมาณร้อยละ 10 อาจมีระดับ creatine kinase (CK) ในเลือดเพิ่มขึ้น
เล็กน้อย
• ผู้ป่ วยบางรายอาจมีอาการรุนแรงจนเกิด rhabdomyolysis และมี**อาการ
กล้ามเนื้ออักเสบและปวดกล้ามเนื้อทั่ว
4.1.3 Ezetimibe เอซเซ็ทติมาย
• เป็ นยาลดไขมันกลุ่มใหม่
กลไกการออกฤทธิ์
• ยับยั้งการดูดซึม cholesterol และ phytosterol จากอาหารที่ลาไส้เล็ก และ
ยับยั้งการดูดซึมกลับของ cholesterol ในน้าดี
• พบว่าสามารถลด ระดับ LDL cholesterol ได้ 18-19%
• ลด TG ได้เล็กน้อย 4-10%
• และสามารถเพิ่มระดับ HDL ได้เล็กน้อย 3%
การนาไปใช้ทางคลีนิก
ใช้ในผู้ป่ วยที่ไม่สามารถใช้ ยาในกลุ่ม statins ได้
การให้ร่วมกับยากลุ่ม statins พบว่าสามารถลดระดับ LDL cholesterol ได้
ถึง 50%
Ezetimibe (tablet 10 mg) 1 tab/วัน
อาจมีผลต่อตับ ทาให้ตับทาหน้าที่ผิดปกติได้
อาการข้างเคียง
4.2 ยาที่ใช้ในภาวะ triglyceride ในเลือดสูง
(Hypertriglyceridemia)
4.2.1 ยากลุ่ม Fibrates
gemfibrozil , bezafibrate, fenofibrate
 ยาในขนาดสูงสามารถลดระดับ LDL cholesterol ได้เล็กน้อย
 เพิ่มระดับ HDL ได้เล็กน้อย (10-25%)
 ลดระดับ TG ได้ดี (20-70%)
ออกฤทธิ์เพิ่มการเผาผลาญไขมันในเนื้อเยื่อ
ส่วนหนึ่งยังเกิดจากการลดการหลั่ง VLDL จากตับ
กลไกการออกฤทธิ์
การนาไปใช้ทางคลีนิก
ใช้ในผู้ป่ วย combined hyperlipidemia (มี cholesterol และ TG
สูง) ได้ผลดี
Bezafibrate มีประโยชน์ในการรักษาภาวะหลอดเลือดแข็งตัว
(atherosclerosis) จากฤทธิ์ยับยั้งการรวมตัวของเกล็ดเลือด และเพิ่มการสลาย
ไฟบริท (fibrinolysis)
Gemfibrozil (capsule 300 mg, tablet 900 mg) 1,200 mg/วัน
Bezafibrate (tablet 200 mg, filmtab 400 mg) 200 mg tid. หรือ
400 mg OD.
อาการข้างเคียง
 เกิดนิ่ว ในถุงน้าดี (cholesterol gallstones) ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ในผู้ป่ วยที่เป็ นโรคทางเดินน้าดี
 ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (myalgia) จนเดินไม่ไหว โดยเฉพาะผู้ป่ วยที่มีปัญหาตับและไตทางานไม่ดี หรือให้ยาในขนาดสูง
 ระดับ potassium ลดลง (hypokalemia) อาจพบหัวใจเต้นผิดจังหวะ
 ตับอักเสบ ดังนั้นไม่ควรใช้ยาในผู้ป่ วยโรคตับ
 ไม่ควรให้ยา gemfibrozil ร่วมกับ repaglinide เนื่องจากทาให้ฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือดของยา repaglinide
อาจเพิ่มขึ้นและออกฤทธิ์นานขึ้นส่งผลให้ระดับน้าตาลในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว
 ส่วนผลข้างเคียงอื่น ได้แก่ ผื่นผิวหนัง, ลมพิษ, ผมร่วง, เพลีย, ปวดศีรษะ,วิงเวียน, หน้ามืด และโลหิตจาง
4.2.2 Nicotinic acids
(Niacin; Vitamin B3)
กลไกของ nicotinic acid ในการลดระดับ TG ยังไม่ทราบแน่ชัด
เชื่อว่าเกิดจากการลดการสร้าง free fatty acid ใน adipose tissue
ส่งผลลดการสังเคราะห์ VLDL
การเปลี่ยน fatty acid เป็ น triglyceride ในตับลดลง
• ลดระดับ TG ได้ 20-50%
• ลดระดับ LDL ได้ 20-30%
กลไกการออกฤทธิ์
การนาไปใช้ทางคลีนิก
 ใช้ในผู้ป่ วย มี cholesterol และ TG สูง
 ใช้ลดระดับ VLDL และ LDL ได้ดี
 พบว่าการใช้ niacin ร่วมกับยากลุ่ม resins หรือ statins ช่วยให้
ระดับ LDL ลดลงสู่ระดับปกติ
Nicotinic acids (tablet 50 mg) 100 mg tid.
อาการข้างเคียง
 อาการผื่นคัน (pruritus, rash), ผิวแห้ง
 ร้อนวูบวาบตามตัว หน้าแดง จากยามีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด
 ปวดท้อง คลื่นไส้
 นอกจากนี้อาจพบ ระดับกรดยูริกในเลือดสูง
 ระดับน้าตาลในเลือดสูง
 การทางานของตับผิดปกติ ทาให้เกิดภาวะตับอักเสบ
4.2.3 น้ามันปลา
(Fish oil; Omega-3-Polyunsaturates)
 จากการศึกษาพบว่า น้ามันปลา (fish oil) ขนาดสูงสามารถลดระดับ TG ได้ดี
 อาการข้างเคียง
 ทาให้การรวมตัวของเกล็ดเลือดเกิดจ้าเลือดได้ง่าย
 บางรายอาจพบเหงื่อและลมหายใจมีกลิ่นคล้ายคาวปลา
4.2.4 Orilstat
 ออกฤทธิ์ : ยับยั้งการดูดซึมของไขมันที่รับประทานเข้าไปในลาไส้ โดยลดการดูดซึมของ
ไขมันเข้าร่างกายได้ประมาณ 30%
 อาการข้างเคียง : ท้องอืด ผายลม อุจจาระเป็ นน้ามัน
การพยาบาลผู้ที่ได้รับยาลดระดับไขมันในเลือด
• แนะนาให้รับประทานยาพร้อมอาหารเพื่อป้ องกันการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
• ยากลุ่ม statin ควรให้รับประทานในตอนเย็น (ยกเว้น atorvastatin, rosuvastatin)
• กรณีที่ได้รับยาอื่น ควรระวังการเกิดปฏิกริยาต่อกันระหว่างยา
– ควรแนะนาการรับประทานยาที่ถูกต้อง เช่น ยากลุ่ม resins ควรรับประทานยาอื่นประมาณ 1 ชั่วโมง
ก่อนทานยากลุ่ม resins หรือ ทานหลังจากทานยากลุ่ม resins แล้ว 4-6 ชั่วโมง
• สังเกตอาการข้างเคียงหลังรับยาแต่ละชนิด สังเกตอาการกรณีรับประทานยาที่บ้าน หากเกิดอาการข้างเคียงรุนแรง
ควรกลับมาพบแพทย์
การพยาบาล
Statin Niacin Fibrate Resins
•ติดตามระดับ
serum
aminotransferase
•ควรให้คาแนะนาให้
ผู้ป่ วยสังเกตอาการ
อาการปวดกล้ามเนื้อ
ทั่วร่างกาย
•Rhabdomyolysis
•ระวังระดับ creatine
kinase (CK)
•แนะนาผู้ป่ วยเรื่องการ
เกิดผิวหนังแดงและอุ่น
ให้เข้าใจ
•ติดตามระดับ
aminotransferase หรือ
alkalinephosphatase
•ให้ผู้ป่ วยดื่มน้ามากๆเพื่อ
ไม่ให้เกิดผลึกยูริค
•ควรให้ยาพร้อมอาหาร
สังเกตอาการปวดท้อง
สังเกตุอาการถ่ายดา
•สังเกตอาการผิดปกติ
ลมพิษ, ผมร่วง, ปวด
กล้ามเนื้อ, เพลีย, ปวด
ศีรษะ
•เมื่อใช้ร่วมกับ
anticoagulant ต้อง
ติดตาม PT
•ร่วมกับHMG-CoA
reductase inhibitors
เฝ้ าระวังระดับ creatine
kinase (CK)
•รับประทานอาหารที่มี
กากใย ลดอาการ
ท้องผูก
•แนะนาให้ผู้ป่ วยดื่มน้า
มากๆ กลิ่นรสยาไม่ดี
•แนะนาอาหารที่เสริม
วิตามินเหล่านี้ A, D, E,
K
•เมื่อใช้ร่วมกับ
anticoagulant ต้อง
ติดตาม PT

More Related Content

What's hot

IESAC
IESACIESAC
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
Ziwapohn Peecharoensap
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Utai Sukviwatsirikul
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
Sirinoot Jantharangkul
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
Rachanont Hiranwong
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
Junee Sara
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
Utai Sukviwatsirikul
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
Utai Sukviwatsirikul
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
Ziwapohn Peecharoensap
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
Utai Sukviwatsirikul
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
Pa'rig Prig
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

IESAC
IESACIESAC
IESAC
 
Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553Handbook for-pharmacist-vol.22553
Handbook for-pharmacist-vol.22553
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
 
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
ยาลดระดับน้ำตาลในเลือด
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
Antibiotic_1
Antibiotic_1 Antibiotic_1
Antibiotic_1
 
ระบบยา
ระบบยาระบบยา
ระบบยา
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 
ยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวานยารักษาโรคเบาหวาน
ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Naranjo
NaranjoNaranjo
Naranjo
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
ความรู้ทั่วไปเรื่องยา (ภญโมเรศ)
 
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลาสรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
สรุปยาหยอดตา ประภัสสร ผาติกุลศิลา
 
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree TantisiriDRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT  by Dr. Mayuree Tantisiri
DRUGS ACTING ON THE GASTROINTESTINAL TRACT by Dr. Mayuree Tantisiri
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัชเรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
เรื่องเล่าเร้าพลัง งานเยี่ยมบ้าน ร้านยาคุณภาพศิวพรเภสัช
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 

Viewers also liked

Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
Sirinoot Jantharangkul
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
Pa'rig Prig
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Sirinoot Jantharangkul
 
Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูงsecret_123
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
Sirinoot Jantharangkul
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงbird090533
 
Corticosteroids the often used but least understood drug
Corticosteroids the often used but least understood drugCorticosteroids the often used but least understood drug
Corticosteroids the often used but least understood drug
Avijit Prusty
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
Jumpon Utta
 
Topical corticosteroids
Topical corticosteroids Topical corticosteroids
Topical corticosteroids
nop108
 
Opiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem LectureOpiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem Lecture
sagar joshi
 
Narcotics and non narcotics analgesics
Narcotics and non narcotics analgesicsNarcotics and non narcotics analgesics
Narcotics and non narcotics analgesics
FarazaJaved
 
Anticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugs
Anticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugsAnticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugs
Anticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugsraj kumar
 

Viewers also liked (16)

Drugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulationDrugs used in disorders of coagulation
Drugs used in disorders of coagulation
 
Guidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemiaGuidelines for management of dyslipidemia
Guidelines for management of dyslipidemia
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Ppt. HAD
Ppt. HADPpt. HAD
Ppt. HAD
 
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
Antibiotic_2 :Antiviral agents, Antituberculotic drugs, Antifungal drugs, Ant...
 
Powerpointความดันโลหิตสูง
PowerpointความดันโลหิตสูงPowerpointความดันโลหิตสูง
Powerpointความดันโลหิตสูง
 
Drug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of HypertensionDrug Therapy of Hypertension
Drug Therapy of Hypertension
 
โรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูงโรคความดันโลหิตสูง
โรคความดันโลหิตสูง
 
Corticosteroids the often used but least understood drug
Corticosteroids the often used but least understood drugCorticosteroids the often used but least understood drug
Corticosteroids the often used but least understood drug
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
Ppt. HT
Ppt. HTPpt. HT
Ppt. HT
 
Topical corticosteroids
Topical corticosteroids Topical corticosteroids
Topical corticosteroids
 
Opiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem LectureOpiod analgesics Med Chem Lecture
Opiod analgesics Med Chem Lecture
 
Corticosteroids(2&3)
Corticosteroids(2&3)Corticosteroids(2&3)
Corticosteroids(2&3)
 
Narcotics and non narcotics analgesics
Narcotics and non narcotics analgesicsNarcotics and non narcotics analgesics
Narcotics and non narcotics analgesics
 
Anticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugs
Anticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugsAnticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugs
Anticoagulant, antithrombotic and anti platelet drugs
 

Similar to Agent used in hyperlipidemia

PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
CAPD AngThong
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
CAPD AngThong
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
Nanthaka Boonsong
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
Sirinoot Jantharangkul
 
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลสมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลJintana Somrit
 

Similar to Agent used in hyperlipidemia (7)

PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรังอาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
อาหารในผู้ป่วยไตเรื้อรัง
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอลสมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
สมุนไพร ลดไขมันในเส้นเลือด คลอเรสเตอรอล
 
Present.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapdPresent.อาหารโรคไตcapd
Present.อาหารโรคไตcapd
 

More from Sirinoot Jantharangkul

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
Sirinoot Jantharangkul
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
Sirinoot Jantharangkul
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
Sirinoot Jantharangkul
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Sirinoot Jantharangkul
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
Sirinoot Jantharangkul
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
Sirinoot Jantharangkul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
Sirinoot Jantharangkul
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
Sirinoot Jantharangkul
 

More from Sirinoot Jantharangkul (9)

Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)Memantine (NAMENDA)
Memantine (NAMENDA)
 
Vildagliptin
Vildagliptin Vildagliptin
Vildagliptin
 
Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)Rozerem (ramelteon)
Rozerem (ramelteon)
 
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride) Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
Cymbalta (duloxetine hydrochloride)
 
Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2Tarceva ( erlotinib ) 2
Tarceva ( erlotinib ) 2
 
Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )Tarceva ( erlotinib )
Tarceva ( erlotinib )
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 
Cardiovascular drugs
Cardiovascular drugsCardiovascular drugs
Cardiovascular drugs
 

Agent used in hyperlipidemia

  • 2. ยาลดระดับไขมันในเลือด 4.1ยาที่ใช้ในภาวะ cholesterol ในเลือดสูง 4.1.1 Chelating agent (resin) 4.1.2 HMG-CoA reductase inhibitors (statin) 4.1.3 Ezetimibe 4.2ยาที่ใช้ในภาวะ triglyceride ในเลือดสูง 4.2.1 Fibrate 4.2.2 Nicotinic acid 4.2.3 Fish oil
  • 3. 4.1. ยาที่ใช้ในภาวะ cholesterol ในเลือดสูง 4.1.1 Chelating agents (Resin) cholestyramine, colestipol , colesevelam  ไม่ถูกดูดซึมเข้าร่างกาย  พบว่าสามารถลดระดับ total cholesterol และ LDL cholesterol ได้ 15-30% colestipol cholestyramine colesevelam
  • 4. เมื่อให้ยาเข้าสู่ร่างกายจะดูดซึมbile acidในลาไส้เล็ก ยับยั้งการดูดกลับของ bile acid +เพิ่มการขับน้าดีออกทางอุจจาระ มีการนาเอา cholesterol ในร่างกายมาใช้สร้างเป็ น bile acid ทาให้ cholesterol ในร่างกายถูกดึงมาใช้มาก ระดับ cholesterol ใน serum
  • 5.
  • 6. การนาไปใช้ทางคลีนิก ใช้ในผู้ป่ วยระดับ total cholesterol สูงในเลือด (จัดเป็ นยาที่ออกฤทธิ์ดี ที่สุด) ยาชนิดนี้รสชาดไม่ดี รับประทานลาบาก (ยาผงผสมน้าดื่ม) Cholestyramine (4g/ซอง) 4 g รับประทานวันละ 1-2 ครั้ง
  • 7. อาการข้างเคียง แน่นท้อง คลื่นไส้ ท้องอืด ลมในท้องมาก ท้องผูก ยาอาจมีผลรบกวนการดูดซึม Vitamin ชนิดที่ละลายในไขมัน (A, D, E, K)
  • 8. 4.1.2 HMG-CoA reductase inhibitors  หรือเรียกว่า ยากลุ่ม statins Simvastatin, fluvastatin, atorvastatin  มีผลลดระดับ plasma cholesterol  ลดระดับ LDL ได้ 30-40%  ลดระดับ TG ได้ 10-30%  เพิ่มระดับ HDL ได้เล็กน้อย 5-15% fluvastatin atorvastatin simvastatin
  • 9. Mechanism of Action • **ยับยั้งการทางานของเอนไซม์ HMG-CoA reductase • โดยปกติเป็ นเอนไซม์ที่สาคัญในการสังเคราะห์ cholesterol ที่ตับ • ลดการสร้าง cholesterol ที่ตับและมีผลลดระดับ plasma cholesterol
  • 10. การนาไปใช้ทางคลีนิก  ใช้ในผู้ป่ วยระดับ total cholesterol สูงในเลือด  สามารถใช้ยาในรูปแบบเดี่ยว หรือใช้ยากลุ่ม statins ร่วมกับยากลุ่ม resins หรือ niacins เพื่อลดระดับ LDL  เนื่องจากการสังเคราะห์ cholesterol มักเกิดขึ้นในช่วงเวลากลางคืน ฉะนั้นการใช้ ยากลุ่ม statins  กรณีให้วันละครั้งควรให้รับประทานในตอนเย็น พร้อมอาหาร  ยกเว้น atorvastatin, rosuvastatin •
  • 11. อาการข้างเคียง • ปวดศีรษะ • ไม่สบายท้อง • ตับอักเสบ อาจพบระดับserum aminotransferase อาจสูงขึ้นถึง 3เท่า ของค่าปกติ • ผู้ป่ วยประมาณร้อยละ 10 อาจมีระดับ creatine kinase (CK) ในเลือดเพิ่มขึ้น เล็กน้อย • ผู้ป่ วยบางรายอาจมีอาการรุนแรงจนเกิด rhabdomyolysis และมี**อาการ กล้ามเนื้ออักเสบและปวดกล้ามเนื้อทั่ว
  • 12. 4.1.3 Ezetimibe เอซเซ็ทติมาย • เป็ นยาลดไขมันกลุ่มใหม่ กลไกการออกฤทธิ์ • ยับยั้งการดูดซึม cholesterol และ phytosterol จากอาหารที่ลาไส้เล็ก และ ยับยั้งการดูดซึมกลับของ cholesterol ในน้าดี • พบว่าสามารถลด ระดับ LDL cholesterol ได้ 18-19% • ลด TG ได้เล็กน้อย 4-10% • และสามารถเพิ่มระดับ HDL ได้เล็กน้อย 3%
  • 13. การนาไปใช้ทางคลีนิก ใช้ในผู้ป่ วยที่ไม่สามารถใช้ ยาในกลุ่ม statins ได้ การให้ร่วมกับยากลุ่ม statins พบว่าสามารถลดระดับ LDL cholesterol ได้ ถึง 50% Ezetimibe (tablet 10 mg) 1 tab/วัน อาจมีผลต่อตับ ทาให้ตับทาหน้าที่ผิดปกติได้ อาการข้างเคียง
  • 14. 4.2 ยาที่ใช้ในภาวะ triglyceride ในเลือดสูง (Hypertriglyceridemia) 4.2.1 ยากลุ่ม Fibrates gemfibrozil , bezafibrate, fenofibrate  ยาในขนาดสูงสามารถลดระดับ LDL cholesterol ได้เล็กน้อย  เพิ่มระดับ HDL ได้เล็กน้อย (10-25%)  ลดระดับ TG ได้ดี (20-70%) ออกฤทธิ์เพิ่มการเผาผลาญไขมันในเนื้อเยื่อ ส่วนหนึ่งยังเกิดจากการลดการหลั่ง VLDL จากตับ กลไกการออกฤทธิ์
  • 15. การนาไปใช้ทางคลีนิก ใช้ในผู้ป่ วย combined hyperlipidemia (มี cholesterol และ TG สูง) ได้ผลดี Bezafibrate มีประโยชน์ในการรักษาภาวะหลอดเลือดแข็งตัว (atherosclerosis) จากฤทธิ์ยับยั้งการรวมตัวของเกล็ดเลือด และเพิ่มการสลาย ไฟบริท (fibrinolysis) Gemfibrozil (capsule 300 mg, tablet 900 mg) 1,200 mg/วัน Bezafibrate (tablet 200 mg, filmtab 400 mg) 200 mg tid. หรือ 400 mg OD.
  • 16. อาการข้างเคียง  เกิดนิ่ว ในถุงน้าดี (cholesterol gallstones) ดังนั้นจึงไม่ควรใช้ในผู้ป่ วยที่เป็ นโรคทางเดินน้าดี  ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ (myalgia) จนเดินไม่ไหว โดยเฉพาะผู้ป่ วยที่มีปัญหาตับและไตทางานไม่ดี หรือให้ยาในขนาดสูง  ระดับ potassium ลดลง (hypokalemia) อาจพบหัวใจเต้นผิดจังหวะ  ตับอักเสบ ดังนั้นไม่ควรใช้ยาในผู้ป่ วยโรคตับ  ไม่ควรให้ยา gemfibrozil ร่วมกับ repaglinide เนื่องจากทาให้ฤทธิ์ลดน้าตาลในเลือดของยา repaglinide อาจเพิ่มขึ้นและออกฤทธิ์นานขึ้นส่งผลให้ระดับน้าตาลในเลือดลดลงอย่างรวดเร็ว  ส่วนผลข้างเคียงอื่น ได้แก่ ผื่นผิวหนัง, ลมพิษ, ผมร่วง, เพลีย, ปวดศีรษะ,วิงเวียน, หน้ามืด และโลหิตจาง
  • 17. 4.2.2 Nicotinic acids (Niacin; Vitamin B3) กลไกของ nicotinic acid ในการลดระดับ TG ยังไม่ทราบแน่ชัด เชื่อว่าเกิดจากการลดการสร้าง free fatty acid ใน adipose tissue ส่งผลลดการสังเคราะห์ VLDL การเปลี่ยน fatty acid เป็ น triglyceride ในตับลดลง • ลดระดับ TG ได้ 20-50% • ลดระดับ LDL ได้ 20-30% กลไกการออกฤทธิ์
  • 18. การนาไปใช้ทางคลีนิก  ใช้ในผู้ป่ วย มี cholesterol และ TG สูง  ใช้ลดระดับ VLDL และ LDL ได้ดี  พบว่าการใช้ niacin ร่วมกับยากลุ่ม resins หรือ statins ช่วยให้ ระดับ LDL ลดลงสู่ระดับปกติ Nicotinic acids (tablet 50 mg) 100 mg tid.
  • 19. อาการข้างเคียง  อาการผื่นคัน (pruritus, rash), ผิวแห้ง  ร้อนวูบวาบตามตัว หน้าแดง จากยามีฤทธิ์ขยายหลอดเลือด  ปวดท้อง คลื่นไส้  นอกจากนี้อาจพบ ระดับกรดยูริกในเลือดสูง  ระดับน้าตาลในเลือดสูง  การทางานของตับผิดปกติ ทาให้เกิดภาวะตับอักเสบ
  • 20. 4.2.3 น้ามันปลา (Fish oil; Omega-3-Polyunsaturates)  จากการศึกษาพบว่า น้ามันปลา (fish oil) ขนาดสูงสามารถลดระดับ TG ได้ดี  อาการข้างเคียง  ทาให้การรวมตัวของเกล็ดเลือดเกิดจ้าเลือดได้ง่าย  บางรายอาจพบเหงื่อและลมหายใจมีกลิ่นคล้ายคาวปลา
  • 21. 4.2.4 Orilstat  ออกฤทธิ์ : ยับยั้งการดูดซึมของไขมันที่รับประทานเข้าไปในลาไส้ โดยลดการดูดซึมของ ไขมันเข้าร่างกายได้ประมาณ 30%  อาการข้างเคียง : ท้องอืด ผายลม อุจจาระเป็ นน้ามัน
  • 22. การพยาบาลผู้ที่ได้รับยาลดระดับไขมันในเลือด • แนะนาให้รับประทานยาพร้อมอาหารเพื่อป้ องกันการระคายเคืองกระเพาะอาหาร • ยากลุ่ม statin ควรให้รับประทานในตอนเย็น (ยกเว้น atorvastatin, rosuvastatin) • กรณีที่ได้รับยาอื่น ควรระวังการเกิดปฏิกริยาต่อกันระหว่างยา – ควรแนะนาการรับประทานยาที่ถูกต้อง เช่น ยากลุ่ม resins ควรรับประทานยาอื่นประมาณ 1 ชั่วโมง ก่อนทานยากลุ่ม resins หรือ ทานหลังจากทานยากลุ่ม resins แล้ว 4-6 ชั่วโมง • สังเกตอาการข้างเคียงหลังรับยาแต่ละชนิด สังเกตอาการกรณีรับประทานยาที่บ้าน หากเกิดอาการข้างเคียงรุนแรง ควรกลับมาพบแพทย์
  • 23. การพยาบาล Statin Niacin Fibrate Resins •ติดตามระดับ serum aminotransferase •ควรให้คาแนะนาให้ ผู้ป่ วยสังเกตอาการ อาการปวดกล้ามเนื้อ ทั่วร่างกาย •Rhabdomyolysis •ระวังระดับ creatine kinase (CK) •แนะนาผู้ป่ วยเรื่องการ เกิดผิวหนังแดงและอุ่น ให้เข้าใจ •ติดตามระดับ aminotransferase หรือ alkalinephosphatase •ให้ผู้ป่ วยดื่มน้ามากๆเพื่อ ไม่ให้เกิดผลึกยูริค •ควรให้ยาพร้อมอาหาร สังเกตอาการปวดท้อง สังเกตุอาการถ่ายดา •สังเกตอาการผิดปกติ ลมพิษ, ผมร่วง, ปวด กล้ามเนื้อ, เพลีย, ปวด ศีรษะ •เมื่อใช้ร่วมกับ anticoagulant ต้อง ติดตาม PT •ร่วมกับHMG-CoA reductase inhibitors เฝ้ าระวังระดับ creatine kinase (CK) •รับประทานอาหารที่มี กากใย ลดอาการ ท้องผูก •แนะนาให้ผู้ป่ วยดื่มน้า มากๆ กลิ่นรสยาไม่ดี •แนะนาอาหารที่เสริม วิตามินเหล่านี้ A, D, E, K •เมื่อใช้ร่วมกับ anticoagulant ต้อง ติดตาม PT