SlideShare a Scribd company logo
1 of 49
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
จานวน 4 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 12 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่
มีกระดูกสันหลัง เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่
ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการ
เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลังต่อกระบวนการดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีความแตกต่างกันไปตามโครงสร้างของเซลล์
ได้แก่ โครงสร้างขาเทียม (pseudopodium) โครงสร้างซิเลีย (cilia) และโครงสร้าง
เฟลเจลลัม (flagellum)
- อะมีบาไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะแต่จะเคลื่อนที่โดยการไหลของ
ไซโทพลาสซึม (cyclosis) เกิดเป็นเท้าเทียม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชั้น
 ไซโทพลาสซึมชั้นนอก (ectoplasm)
 ไซโทพลาสซึมชั้นใน (endoplasm)
- สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดจะใช้โครงสร้างแฟลเจลลัมหรือซิเลียซึ่งเป็นโครงสร้างที่
เกิดจากการเรียงตัวของเส้นใยโปรตีนไมโครทูบูลแบบ 9+2 ในการเคลื่อนที่
ตัวอย่างเช่น พารามีเซียม ยูกลีนา
- สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในน้าและบนบกมีลักษณะการเคลื่อนที่และกลไกการ
เคลื่อนที่แตกต่างกัน
- การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในน้า
มีแรงเสียดทานต่อการเคลื่อนที่น้อย
มีแรงลอยตัวช่วยพยุงขณะเกิดการเคลื่อนที่
ดังนั้น การเคลื่อนที่อาศัยแค่อาศัยแรงดันน้าก็เพียงพอ
- การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่บนบกจะอาศัยการทางานร่วมกัน
ระหว่างระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างร่างกายในการเคลื่อนที่
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
เซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่
ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่อกระบวนการดารงชีวิต
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> การเคลื่อนที่ คืออะไร มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต อย่างไร
> เราสามารถแยกสิ่งมีชีวิตออกจากกันโดยอาศัยการเคลื่อนที่ได้หรือไม่ อย่างไร
> การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีประโยชน์อย่างไรต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการ
เคลื่อนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต” ว่า
 การเคลื่อนที่ ( Motile ) หมายถึง การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น กบกระโดด
, งูเลื้อย
 การเคลื่อนไหว ( Movement ) หมายถึง การขยับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย แต่จะไม่มี
การเคลื่อนที่ เช่น กบจาศีล, งูม้วนขดตัวนิ่ง
* การเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวต่างก็เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า
* ในสัตว์จะมีการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวได้ดีกว่าพืช
> สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวภายในไซโทพลาสซึม มีไซโทสเกเลตอนทาหน้าที่เป็นทั้งโครงร่าง
ค้าจุนให้คงรูปร่างอยู่ได้ และทาให้เกิดการเคลื่อนไหวภายในเซลล์ขึ้น
> สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะมีกรเคลื่อนที่ที่แตกต่างกันไปตามโครงสร้างของเซลล์
 เท้าเทียม
 แฟลเจลลัม
 ซิเลีย
> การเคลื่อนที่แบบอะมีบา ซึ่งไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะ แต่จะ
เคลื่อนที่โดยการไหลของไซโทพลาสซึมเป็นเท้าเทียม
o Ectoplasm = gel
o Endoplasm = sol
> สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด ใช้ flagellum and cilia ในการเคลื่อนที่
 โครงสร้างค้าจุน คือ microtubule 9 + 2
 ล้อมรอบด้วย cell membrane
 ระหว่าง microtubule จะมี dynein = dynein arm
> ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่โดยอาศัย cilia = paramecium และ
ตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่โดยอาศัย flagellum = euglena
> สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิด เช่น แมงกะพรุนจะมีของเหลว ที่เรียกว่า มีโซเก
ลีย อีกทั้งการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณของกระดิ่งและที่ผนังลาตัวสลับกัน เกิดแรงดันน้าผลักตัวพุ่งไป
ในทิศตรงข้าม
> การเคลื่อนที่ของหมึกเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลาตัว ทาให้น้าภายใน
พ่นออกทางไซฟอนและเคลื่อนที่ไปในทิศตรงข้าม
> ดาวทะเลมีการเคลื่อนที่โดยอาศัยแรงดันน้าจากภายนอกร่างกาย ผ่านระบบท่อน้า
 Madreporite + ampulla + tube feet + sucker
> ไส้เดือนดิน มีกล้ามเนื้อเจริญดี 2 ชุด
 Circular muscle
 Longitudinal muscle
ทางานแบบ antagonism + setae ปล้องลาตัว + ริมฝีปากปล้องหน้าสุด
> แมลง มีโครงสร้างแข็งภายนอก ช่วยค้ายังหรือพยุงร่างกายขณะเคลื่อนที่อีกทั้ง
ประกอบด้วยข้อต่อมากมายทาให้สะดวกในการเคลื่อนที่และสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว อาศัย
การทางานของกล้ามเนื้อ 2 ชุด แบบ antagonism คือ
 Flexor หดตัวแล้วอวัยวะส่วนนั้นงอเข้า
 Extensor หดตัวแล้วอวัยวะส่วนนั้นเหยียดออก
> การยกปีกขึ้นและการกดปีกลงขณะบิน เกิดจากกล้ามเนื้อ 2 ชุด ทางานแบบ
antagonism คือ
 ยึดเปลือกหุ้มส่วนอก
 ตามยาวที่ยึดกับปีก
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ
กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและ
กระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map
พร้อมกับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ
กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและ
กระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มี
กระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์
ไม่มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง
สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง
สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูก
สันหลัง: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน
หลัง: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์
เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูก
สันหลัง เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์
มีกระดูกสันหลัง
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสัน
หลังได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการ
เคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังต่อกระบวนการ
ดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- Antagonism หมายถึง การทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อเป็นคู่ โดยจะทางาน
ประสานกัน แต่มีทิศทางตรงกันข้าม เช่น เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์หดตัว กล้ามเนื้อ
เอกซ์เทนเซอร์จะคลายตัว เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอกซ์เทน
เซอร์จะหดตัว
- Antagonism เช่น กล้ามเนื้อ Flexor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะงอ
ตัว กล้ามเนื้อ Extensor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะเหยียดออก
- สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบโครงกระดูก ทาหน้าที่
 โครงร่างแข็งค้าจุนร่างกายให้คงรูป
 ช่วยในการเคลื่อนที่
- สัตว์มีกระดูกสันหลังมีทั้งที่อาศัยอยู่ในน้าและบนบกซึ่งมีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน
ดังนั้นการเคลื่อนที่จึงมีความแตกต่างกันในลักษณะต่างๆ
- ตัวอย่างการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่
 การเคลื่อนของปลา
 การที่เคลื่อนของกบ
 การเคลื่อนที่ของงู
 การเคลื่อนที่ของจระเข้
 การเคลื่อนที่ของนก
 การเคลื่อนที่ของวาฬ ,โลมา, เพนกวิน
 การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้า และสิงโตทะเล
 การเคลื่อนที่ของเสือชีต้า
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มี
กระดูกสันหลัง
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่
ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสัน
หลังต่อกระบวนการดารงชีวิต
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> การเคลื่อนที่ คืออะไร มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต อย่างไร
> เราสามารถแยกสิ่งมีชีวิตออกจากกันโดยอาศัยการเคลื่อนที่ได้หรือไม่ อย่างไร
> การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีประโยชน์อย่างไรต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการ
เคลื่อนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง” ว่า
> สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบโครงกระดูก ทาหน้าที่
 โครงร่างแข็งช่วยค้าจุนร่างกายให้คงรูป
 ช่วยในการเคลื่อน
o ยกลาตัวให้สูงขึ้นไม่สัมผัสกับผิวดินเพื่อลดแรงเสียดทาน
o มีลักษณะเป็นท่อนๆเพื่อสะดวกในการเคลื่อนที่ทิศทางต่างๆ
> การเคลื่อนที่ของปลา
 ลาตัวจะมีลักษณะโค้งไปมา เพราะกล้ามเนื้อลาตัวที่ยึดติดอยู่กับกระดูกสัน
หลังหดตัวแต่ละส่วนไม่พร้อมกัน เริ่มทยอยจากด้านหัวไปหาง (ครีบหาง)
 เคลื่อนที่ในน้าได้ 3 มิติ = หน้า-หลัง ,ซ้าย-ขวา และ ขึ้น-ลง (ครีบหลัง อก
สะโพก)
 รูปร่างเพรียว ผิวเรียบลื่น(เมือก) ลดแรงเสียดทาน
> การเคลื่อนที่ของกบ
> การเคลื่อนที่ของงู
> การเคลื่อนที่ของจระเข้
> การเคลื่อนที่ของวาฬ, โลมา, เพนกวิน : มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็น
พาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์ (flipper)
> การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้า และสิงโตทะเล
> การเคลื่อนที่ของนก
 การทางานของกล้ามเนื้อ 2 ชุด คือ ยึดกระดูกโคนปีกและยึดกระดูกอก
 โครงสร้างการบิน ประกอบด้วย กระดูกมีรูพรุน น้าหนักเบา และถุงลม
สารองอากาศผลิตพลังงานขณะบิน
> การเคลื่อนที่ของเสือชีต้า
 ความแข็งแรงและประสิทธิภาพของกล้ามเนื้อ
 โครงกระดูกรับน้าหนักและเพิ่มช่วงการเคลื่อนที่
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ
กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของ
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการ
เคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map
พร้อมกับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ
กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของ
โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการ
เคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง
สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง
สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง:
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูก
สันหลัง
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้
ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้
ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี
ความสาคัญต่อกระบวนการเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี
ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี
ความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี
ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีต่อกระบวนการการดารงชีวิตของ
มนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- การเคลื่อนที่ของคนต้องอาศัยการทางานสัมพันธ์กันระหว่าง
ระบบโครงกระดูก (skeleton system)
ระบบกล้ามเนื้อ (muscular system)
- ระบบโครงกระดูก (skeleton system)
กระดูกแกน (axial skeleton)
กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton)
- การจาแนกชนิดกระดูก (Type of bone)
กระดูกแท่งยาว (long bone)
กระดูกแท่งสั้น (short bone)
กระดูกแบน (flat bone)
กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone)
- ชนิดข้อต่อ (Type of joint)
ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint)
ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint)
ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint)
1. Ball and socket joint
2. Hinge joint
3. Pivot joint
4. Gliding joint
5. Saddle joint
6. Condyloid joint
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี
ความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของ
มนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีต่อ
กระบวนการการดารงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> กระดูกแกนและกระดูกระยางค์มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์อย่างไร
> ขณะที่ร่างกายเคลื่อนที่ การทางานของกระดูก กล้ามเนื้อและข้อต่อมีความสัมพันธ์
กันอย่างไร
> เอ็นยึดข้อและเอ็นยึดกระดูกเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร
เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากล้ามเนื้อแขนที่ขณะออกแรงยก
หนังสือหรือกดพื้นโต๊ะกับวางราบบนพื้นโต๊ะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่ของมนุษย์กับสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ระบบกระดูกของมนุษย์” ว่า
> การเคลื่อนที่ของคนเกิดจากการทางานประสานสัมพันธ์กันระหว่าง
 ระบบโครงกระดูก (skeleton system) เป็นโครงร่างค้าจุนพยุงร่างกายและ
ข้อต่อต่างๆ (joint)
 ระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) หดตัวดึงเกิดการงอเข้าและคลายตัว
ดันให้เกิดการเหยียดออก
 endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton)
แบ่งเป็น
o cartilage เป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex
polysaccharide
o bone ประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt)
> ระบบโครงกระดูก เมื่อคนเจริญเติบโตเต็มที่จะประกอบด้วยกระดูกประมาณ 206 ชิ้นต่อ
กัน แบ่งเป็น
 กระดูกแกน 80 ชิ้น ได้แก่ กะโหลก สันหลัง หน้าอก ซี่โครง
 กระดูกรยางค์ 120 ชิ้น ได้แก่ แขน ขา สะบัก เชิงกราน
> การจาแนกชนิดกระดูก
1. กระดูกแท่งยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน,ปลายแขน,ต้นขา,หน้าแข้ง,กระดูกน่อง
,ไหปลาร้า
2. กระดูกแท่งสั้น (short bone) ได้แก่ ข้อมือ,ข้อเท้า
3. กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลก,เชิงกราน,สะบัก,อก,ซี่โครง
4. กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ สันหลัง,แก้ม,ขากรรไกร
> ชนิดข้อต่อ
1. ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางๆ ยึด
กระดูกสองชิ้นไว้ หรืออาจหุ้มภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรีษะ
2. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่นข้อต่อ
ระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิงกราน
ซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว
3. ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วยกระดูก
อย่างน้อย 2 ชิ้น
> ข้อต่อและเอ็นยึดกระดูก
 ข้อต่อ คือ ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้นมาต่อกันช่วยให้อวัยวะต่างๆเคลื่อนไหว
ได้สะดวก
o ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้ากระดูก
o ข้อต่อแบบบานพับ
o ข้อต่อแบบเดือย
o ข้อต่ออานม้า
o ข้อต่อแบบสไลด์
o เอ็น เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
 ที่ยึดให้ส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางานสัมพันธ์กัน มี 2 ชนิด
o เอ็นยึดกระดูก = กระดูก กับ กล้ามเนื้อ
o เอ็นยึดข้อ = กระดูก กับ กระดูก
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับอธิบายความหมาย ความสาคัญและ
องค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและ
หน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้
เนื้อหาบทเรียนเรื่องระบบกระดูกของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ
ระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของ
ระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่อง
ระบบกระดูกของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี
ความสาคัญต่อกระบวนการเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี
ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสาคัญ
ต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับ
การเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีต่อกระบวนการการดารงชีวิตของมนุษย์
ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ
- การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกันของ nerves, bones,
muscles โดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่
ทางานตรงข้ามกัน เช่น การงอแขน : กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) :
กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลายตัว (เป็น antagonist)
- กล้ามเนื้อทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว
อาจเรียกเซลล์กล้ามเนื้อได้ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใย
กล้ามเนื้อมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin
- กล้ามเนื้อแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่พบ โครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่
กล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletal muscle)
กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle)
กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle)
- การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ thin filament
เรียก sliding-filament model การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความกว้างของ
sarcomere ลดลง, ระยะทางระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที่, I band แคบเข้า, H
zone หายไป พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหลักๆ อยู่ในรูปของ creatine
phosphate
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี
ความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี
ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีต่อ
กระบวนการการดารงชีวิตของมนุษย์
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจาบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจาบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจาบทเรียน
4. แบบบันทึกการทา
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจา
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจาบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจา
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ทากิจกรรมประจา
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา
การเรียนการสอนประจา
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจาบทเรียน
3. การตรวจสอบคาตอบกับ
คาเฉลยแบบทดสอบประจา
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจาบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
> กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบมีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่หรือการ
เคลื่อนไหวของมนุษย์อย่างไร
> ขณะที่ร่างกายมนุษย์กาลังเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหวการทางานของกล้ามเนื้อแต่ละ
ประเภทมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร
> การทางานของระบบกล้ามเนื้อและระบบกระดูกของมนุษย์ต้องอาศัยปัจจัยที่เหมือนหรือ
แตกต่างกันอย่างไร
เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากล้ามเนื้อแขนที่ขณะออกแรงยกหนังสือ
หรือกดพื้นโต๊ะกับวางราบบนพื้นโต๊ะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว
เช่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่ของมนุษย์กับสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์” ว่า
> การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกันของ nerves, bones, muscles
โดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ทางานตรงข้ามกัน เช่น การงอ
แขน : กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) : กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลายตัว (เป็น
antagonist)
> กล้ามเนื้อทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว อาจ
เรียกเซลล์กล้ามเนื้อได้ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใยกล้ามเนื้อมีโปรตีนที่
เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin
> กล้ามเนื้อแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่พบ โครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่
กล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletal muscle) กล้ามเนื้อในร่างกายส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนื้อสเกเลทัล
กล้ามเนื้อนี้เกาะยึดติดกับกระดูก สามารถหดตัวได้เมื่อถูกกระตุ้น และอยู่ภายใต้การควบคุม
ของระบบประสาทส่วนกลาง (voluntory muscle)
กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) พบแห่งเดียวคือกล้ามเนื้อที่หัวใจ และผนังของเส้นเลือด
ใหญ่ที่ต่อกับหัวใจ เป็นกล้ามเนื้อที่มีลายเช่นเดียวกับ skeletal muscle ต่างกันที่กล้ามเนื้อ
หัวใจอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง (Involuntory muscle) และการ
ทางานเกิดขึ้นติดต่อกันตลอดเวลา
กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบไม่เห็นลาย ถึงแม้ว่าภายในเซลล์จะ
มีแอกทิน และ ไมโอซิน แต่การเรียงตัวไม่เป็นระเบียบเหมือนอย่างใน skeletal muscle และ
Cardiac muscle ลักษณะเซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบเป็นรูปกระสวย หัวท้ายแหลม และมีหนึ่ง
นิวเคลียสอยู่กลางเซลล์
> การเรียงตัวประกอบกันเป็นมัดกล้ามเนื้อ skeleton มีเยื่อเกี่ยวพันหุ้มเป็นขั้นตอนและทั้งมัด
กล้ามเนื้อจะติดต่อกับเอ็นซึ่งไปยึดติดกับกระดูก: tendon โดยskeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle
fiber (cell) มารวมกัน ซึ่งmuscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ที่มีหลายนิวเคลียส (หลาย ๆ เซลล์ในระยะแรก
รวมกัน) แต่ละ muscle fiber เกิดจากมัดของmyofibrils มารวมกัน
> myofibrils : myofilaments 2 ชนิด คือ 1. Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ
regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย มาพันกัน 2. Thick filament เกิดจากmyosinมารวมกันเป็น
มัด (การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทาให้เกิด light-dark band ซ้าๆ กัน = sarcomere)
> การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ thin filament เรียก
sliding-filament model การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความกว้างของ sarcomere ลดลง, ระยะทาง
ระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที่, I band แคบเข้า, H zone หายไป พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของ
กล้ามเนื้อหลักๆ อยู่ในรูปของ creatine phosphate
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับอธิบายความหมาย ความสาคัญและ
องค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและ
หน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้
เนื้อหาบทเรียนเรื่องระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ
ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของ
ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียน
เรื่องระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
ใบกิจกรรม เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง
พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น
ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ.............
คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้
3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก
ที่ ชื่อ-สกุล
การตอบคาถาม
การร่วมกิจกรรม
การแสดงความคิดเห็น
การซักถาม
รวมคะแนน
ระดับคะแนน
10-12 7-9 4-6
3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
แบบประเมินการทางานกลุ่ม
รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............
ที่ ชื่อ-สกุล
ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน
ความรับผิดชอบของ
แต่ละคน
การมีส่วนร่วมในการ
ทางาน
ความคิดสร้างสรรค์
ผลงาน
รวม 20-25 12-19 5-11
5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน
5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น
4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี
3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด
2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป
1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan
3 movement plan

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพSirintip Arunmuang
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดWan Ngamwongwan
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกThanyamon Chat.
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1Sumarin Sanguanwong
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1Wuttipong Tubkrathok
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตBiobiome
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพแบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
แบบทดสอบก่อนเรียนความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือดระบบหมุนเวียนเลือด
ระบบหมุนเวียนเลือด
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอกการสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
การสืบพันธุ์ของพืชดอกโครงสร้างดอก
 
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
8. ชุดที่ 5 การลำเลียง
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
Lessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduceLessonplan 4animalreproduce
Lessonplan 4animalreproduce
 
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
ระบบสืบพันธุ์ (Reproductive System)
 
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคนเล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
เล่มที่ 4 การเคลื่อนที่ของคน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
Kingdom monera
Kingdom moneraKingdom monera
Kingdom monera
 
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
ใบความรู้เรื่องเซลล์ของสิ่งมีชีวิต1
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1การถ่ายโอนความร้อน ม.1
การถ่ายโอนความร้อน ม.1
 
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
translocation in plant
translocation in planttranslocation in plant
translocation in plant
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 

Similar to 3 movement plan

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)Prajak NaJa
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5Su Surut
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชWichai Likitponrak
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวnokbiology
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกายO-SOT Kanesuna POTATO
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตtarcharee1980
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายSurapol Imi
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตTa Lattapol
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2Wichai Likitponrak
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2Kobchai Khamboonruang
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนสำเร็จ นางสีคุณ
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2Tatthep Deesukon
 

Similar to 3 movement plan (20)

การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต (1)
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต 5
 
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรมบทที่ ๑๐ พฤติกรรม
บทที่ ๑๐ พฤติกรรม
 
การเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมชการเคลื่อนที่สมช
การเคลื่อนที่สมช
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกายชุดที่ 1  ระบบภายในร่างกาย
ชุดที่ 1 ระบบภายในร่างกาย
 
สิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิตสิ่งมีชีวิต
สิ่งมีชีวิต
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
Animal System
Animal SystemAnimal System
Animal System
 
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตายการเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
การเปลี่ยนแปลงหลังการตาย
 
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 2 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต
 
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
บทที่ 3 ระบบร่างกาย ม.2
 
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
พื้นฐานทางสรีรวิทยาของพฤติกรรม Present2
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียนใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
ใบงาน พฤติกรรม สิ่งมีชีวิต นักเรียน
 
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต2
 
การรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนองการรับรู้และการตอบสนอง
การรับรู้และการตอบสนอง
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

3 movement plan

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต จานวน 4 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 12 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว และสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่ มีกระดูกสันหลัง เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการ เคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน หลังต่อกระบวนการดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวมีความแตกต่างกันไปตามโครงสร้างของเซลล์ ได้แก่ โครงสร้างขาเทียม (pseudopodium) โครงสร้างซิเลีย (cilia) และโครงสร้าง เฟลเจลลัม (flagellum) - อะมีบาไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะแต่จะเคลื่อนที่โดยการไหลของ ไซโทพลาสซึม (cyclosis) เกิดเป็นเท้าเทียม ซึ่งสามารถแบ่งได้เป็น 2 ชั้น  ไซโทพลาสซึมชั้นนอก (ectoplasm)  ไซโทพลาสซึมชั้นใน (endoplasm) - สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิดจะใช้โครงสร้างแฟลเจลลัมหรือซิเลียซึ่งเป็นโครงสร้างที่ เกิดจากการเรียงตัวของเส้นใยโปรตีนไมโครทูบูลแบบ 9+2 ในการเคลื่อนที่ ตัวอย่างเช่น พารามีเซียม ยูกลีนา - สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในน้าและบนบกมีลักษณะการเคลื่อนที่และกลไกการ เคลื่อนที่แตกต่างกัน - การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่ในน้า
  • 3. มีแรงเสียดทานต่อการเคลื่อนที่น้อย มีแรงลอยตัวช่วยพยุงขณะเกิดการเคลื่อนที่ ดังนั้น การเคลื่อนที่อาศัยแค่อาศัยแรงดันน้าก็เพียงพอ - การเคลื่อนที่ของสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังที่อยู่บนบกจะอาศัยการทางานร่วมกัน ระหว่างระบบกล้ามเนื้อและโครงร่างร่างกายในการเคลื่อนที่ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังต่อกระบวนการดารงชีวิต 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > การเคลื่อนที่ คืออะไร มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต อย่างไร > เราสามารถแยกสิ่งมีชีวิตออกจากกันโดยอาศัยการเคลื่อนที่ได้หรือไม่ อย่างไร > การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีประโยชน์อย่างไรต่อการดารงชีวิตของมนุษย์
  • 4. ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการ เคลื่อนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “โครงสร้างและการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต” ว่า  การเคลื่อนที่ ( Motile ) หมายถึง การเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง เช่น กบกระโดด , งูเลื้อย  การเคลื่อนไหว ( Movement ) หมายถึง การขยับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกาย แต่จะไม่มี การเคลื่อนที่ เช่น กบจาศีล, งูม้วนขดตัวนิ่ง * การเคลื่อนที่และการเคลื่อนไหวต่างก็เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้า * ในสัตว์จะมีการเคลื่อนที่ หรือการเคลื่อนไหวได้ดีกว่าพืช > สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวภายในไซโทพลาสซึม มีไซโทสเกเลตอนทาหน้าที่เป็นทั้งโครงร่าง ค้าจุนให้คงรูปร่างอยู่ได้ และทาให้เกิดการเคลื่อนไหวภายในเซลล์ขึ้น > สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว จะมีกรเคลื่อนที่ที่แตกต่างกันไปตามโครงสร้างของเซลล์  เท้าเทียม  แฟลเจลลัม  ซิเลีย
  • 5. > การเคลื่อนที่แบบอะมีบา ซึ่งไม่มีโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่โดยเฉพาะ แต่จะ เคลื่อนที่โดยการไหลของไซโทพลาสซึมเป็นเท้าเทียม o Ectoplasm = gel o Endoplasm = sol > สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวบางชนิด ใช้ flagellum and cilia ในการเคลื่อนที่  โครงสร้างค้าจุน คือ microtubule 9 + 2  ล้อมรอบด้วย cell membrane  ระหว่าง microtubule จะมี dynein = dynein arm > ตัวอย่างสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่โดยอาศัย cilia = paramecium และ ตัวอย่าง สิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวที่เคลื่อนที่โดยอาศัย flagellum = euglena > สัตว์ไม่มีกระดูกสันหลังหลายชนิด เช่น แมงกะพรุนจะมีของเหลว ที่เรียกว่า มีโซเก ลีย อีกทั้งการหดตัวของเนื้อเยื่อบริเวณของกระดิ่งและที่ผนังลาตัวสลับกัน เกิดแรงดันน้าผลักตัวพุ่งไป ในทิศตรงข้าม
  • 6. > การเคลื่อนที่ของหมึกเกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อบริเวณลาตัว ทาให้น้าภายใน พ่นออกทางไซฟอนและเคลื่อนที่ไปในทิศตรงข้าม > ดาวทะเลมีการเคลื่อนที่โดยอาศัยแรงดันน้าจากภายนอกร่างกาย ผ่านระบบท่อน้า  Madreporite + ampulla + tube feet + sucker > ไส้เดือนดิน มีกล้ามเนื้อเจริญดี 2 ชุด  Circular muscle  Longitudinal muscle ทางานแบบ antagonism + setae ปล้องลาตัว + ริมฝีปากปล้องหน้าสุด > แมลง มีโครงสร้างแข็งภายนอก ช่วยค้ายังหรือพยุงร่างกายขณะเคลื่อนที่อีกทั้ง ประกอบด้วยข้อต่อมากมายทาให้สะดวกในการเคลื่อนที่และสามารถเคลื่อนที่ได้อย่างรวดเร็ว อาศัย การทางานของกล้ามเนื้อ 2 ชุด แบบ antagonism คือ  Flexor หดตัวแล้วอวัยวะส่วนนั้นงอเข้า  Extensor หดตัวแล้วอวัยวะส่วนนั้นเหยียดออก
  • 7. > การยกปีกขึ้นและการกดปีกลงขณะบิน เกิดจากกล้ามเนื้อ 2 ชุด ทางานแบบ antagonism คือ  ยึดเปลือกหุ้มส่วนอก  ตามยาวที่ยึดกับปีก นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและ กระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อมกับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและ กระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มี กระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ ไม่มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 8. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูก สันหลัง: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสัน หลัง: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์ เดียวและสัตว์ไม่มีกระดูกสันหลัง 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูก สันหลัง เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์ มีกระดูกสันหลัง 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสัน หลังได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ใช้ในการ เคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังต่อกระบวนการ ดารงชีวิตได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - Antagonism หมายถึง การทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อเป็นคู่ โดยจะทางาน ประสานกัน แต่มีทิศทางตรงกันข้าม เช่น เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์หดตัว กล้ามเนื้อ เอกซ์เทนเซอร์จะคลายตัว เมื่อกล้ามเนื้อเฟล็กเซอร์คลายตัว กล้ามเนื้อเอกซ์เทน เซอร์จะหดตัว - Antagonism เช่น กล้ามเนื้อ Flexor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะงอ ตัว กล้ามเนื้อ Extensor คือกล้ามเนื้อที่เมื่อหดตัวจะทาให้อวัยวะเหยียดออก - สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบโครงกระดูก ทาหน้าที่  โครงร่างแข็งค้าจุนร่างกายให้คงรูป  ช่วยในการเคลื่อนที่ - สัตว์มีกระดูกสันหลังมีทั้งที่อาศัยอยู่ในน้าและบนบกซึ่งมีสภาพแวดล้อมแตกต่างกัน ดังนั้นการเคลื่อนที่จึงมีความแตกต่างกันในลักษณะต่างๆ - ตัวอย่างการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ได้แก่  การเคลื่อนของปลา
  • 10.  การที่เคลื่อนของกบ  การเคลื่อนที่ของงู  การเคลื่อนที่ของจระเข้  การเคลื่อนที่ของนก  การเคลื่อนที่ของวาฬ ,โลมา, เพนกวิน  การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้า และสิงโตทะเล  การเคลื่อนที่ของเสือชีต้า 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและกระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มี กระดูกสันหลัง ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของโครงสร้างที่ ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสัน หลังต่อกระบวนการดารงชีวิต 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
  • 11. > การเคลื่อนที่ คืออะไร มีประโยชน์ต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต อย่างไร > เราสามารถแยกสิ่งมีชีวิตออกจากกันโดยอาศัยการเคลื่อนที่ได้หรือไม่ อย่างไร > การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีประโยชน์อย่างไรต่อการดารงชีวิตของมนุษย์ ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดมีการ เคลื่อนแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น การศึกษาการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตมีผลต่อการดารงชีวิตของมนุษย์อย่างไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง” ว่า > สัตว์มีกระดูกสันหลังทุกชนิดมีระบบโครงกระดูก ทาหน้าที่  โครงร่างแข็งช่วยค้าจุนร่างกายให้คงรูป  ช่วยในการเคลื่อน o ยกลาตัวให้สูงขึ้นไม่สัมผัสกับผิวดินเพื่อลดแรงเสียดทาน o มีลักษณะเป็นท่อนๆเพื่อสะดวกในการเคลื่อนที่ทิศทางต่างๆ > การเคลื่อนที่ของปลา  ลาตัวจะมีลักษณะโค้งไปมา เพราะกล้ามเนื้อลาตัวที่ยึดติดอยู่กับกระดูกสัน หลังหดตัวแต่ละส่วนไม่พร้อมกัน เริ่มทยอยจากด้านหัวไปหาง (ครีบหาง)  เคลื่อนที่ในน้าได้ 3 มิติ = หน้า-หลัง ,ซ้าย-ขวา และ ขึ้น-ลง (ครีบหลัง อก สะโพก)  รูปร่างเพรียว ผิวเรียบลื่น(เมือก) ลดแรงเสียดทาน
  • 12. > การเคลื่อนที่ของกบ > การเคลื่อนที่ของงู > การเคลื่อนที่ของจระเข้ > การเคลื่อนที่ของวาฬ, โลมา, เพนกวิน : มีขาคู่หน้าที่เปลี่ยนแปลงไปมีลักษณะเป็น พาย ที่เรียกว่า ฟลิบเปอร์ (flipper)
  • 13. > การเคลื่อนที่ของเต่าทะเล แมวน้า และสิงโตทะเล > การเคลื่อนที่ของนก  การทางานของกล้ามเนื้อ 2 ชุด คือ ยึดกระดูกโคนปีกและยึดกระดูกอก  โครงสร้างการบิน ประกอบด้วย กระดูกมีรูพรุน น้าหนักเบา และถุงลม สารองอากาศผลิตพลังงานขณะบิน > การเคลื่อนที่ของเสือชีต้า  ความแข็งแรงและประสิทธิภาพของกล้ามเนื้อ  โครงกระดูกรับน้าหนักและเพิ่มช่วงการเคลื่อนที่ นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของ โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการ เคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อมกับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและ กระบวนการของการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง ลักษณะและกระบวนการทางานที่สาคัญของ โครงสร้างที่ใช้ในการเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการ เคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลังในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 14. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูกสันหลัง: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของสัตว์มีกระดูก สันหลัง 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อม มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี ความสาคัญต่อกระบวนการเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี ความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีต่อกระบวนการการดารงชีวิตของ มนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - การเคลื่อนที่ของคนต้องอาศัยการทางานสัมพันธ์กันระหว่าง ระบบโครงกระดูก (skeleton system) ระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) - ระบบโครงกระดูก (skeleton system) กระดูกแกน (axial skeleton) กระดูกรยางค์ (appendicular skeleton) - การจาแนกชนิดกระดูก (Type of bone) กระดูกแท่งยาว (long bone) กระดูกแท่งสั้น (short bone) กระดูกแบน (flat bone) กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) - ชนิดข้อต่อ (Type of joint) ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint)
  • 16. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) 1. Ball and socket joint 2. Hinge joint 3. Pivot joint 4. Gliding joint 5. Saddle joint 6. Condyloid joint 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มี ความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของ มนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีต่อ กระบวนการการดารงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า
  • 17. > กระดูกแกนและกระดูกระยางค์มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์อย่างไร > ขณะที่ร่างกายเคลื่อนที่ การทางานของกระดูก กล้ามเนื้อและข้อต่อมีความสัมพันธ์ กันอย่างไร > เอ็นยึดข้อและเอ็นยึดกระดูกเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากล้ามเนื้อแขนที่ขณะออกแรงยก หนังสือหรือกดพื้นโต๊ะกับวางราบบนพื้นโต๊ะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่ของมนุษย์กับสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ระบบกระดูกของมนุษย์” ว่า > การเคลื่อนที่ของคนเกิดจากการทางานประสานสัมพันธ์กันระหว่าง  ระบบโครงกระดูก (skeleton system) เป็นโครงร่างค้าจุนพยุงร่างกายและ ข้อต่อต่างๆ (joint)  ระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) หดตัวดึงเกิดการงอเข้าและคลายตัว ดันให้เกิดการเหยียดออก  endoskeleton ประกอบด้วย living and metabolizing cells (ต่างจาก exoskeleton) แบ่งเป็น o cartilage เป็นส่วนประกอบของ protein collagen และ complex polysaccharide o bone ประกอบด้วย collagen ปนอยู่กับ apatite (calcium and phosphate salt) > ระบบโครงกระดูก เมื่อคนเจริญเติบโตเต็มที่จะประกอบด้วยกระดูกประมาณ 206 ชิ้นต่อ กัน แบ่งเป็น
  • 18.  กระดูกแกน 80 ชิ้น ได้แก่ กะโหลก สันหลัง หน้าอก ซี่โครง  กระดูกรยางค์ 120 ชิ้น ได้แก่ แขน ขา สะบัก เชิงกราน > การจาแนกชนิดกระดูก 1. กระดูกแท่งยาว (long bone) ได้แก่ ต้นแขน,ปลายแขน,ต้นขา,หน้าแข้ง,กระดูกน่อง ,ไหปลาร้า 2. กระดูกแท่งสั้น (short bone) ได้แก่ ข้อมือ,ข้อเท้า 3. กระดูกแบน (flat bone) ได้แก่ กะโหลก,เชิงกราน,สะบัก,อก,ซี่โครง 4. กระดูกรูปร่างไม่แน่นอน (irregular bone) ได้แก่ สันหลัง,แก้ม,ขากรรไกร > ชนิดข้อต่อ 1. ข้อต่อไฟบรัส (fibrous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวไม่ได้และมีเนื้อเยื่อเกี่ยวพันบางๆ ยึด กระดูกสองชิ้นไว้ หรืออาจหุ้มภายนอกไว้ เช่น กระดูกกะโหลกศรีษะ
  • 19. 2. ข้อต่อกระดูกอ่อน (cartilagenous joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้เล็กน้อย เช่นข้อต่อ ระหว่างกระดูกซี่โครงกับกระดูกอก ข้อต่อระหว่างท่อนกระดูกสันหลัง ข้อต่อระหว่างกระดูกเชิงกราน ซีกซ้ายกับซีกขวาทางด้านหัวหน่าว 3. ข้อต่อซิลโนเวียล (sylnovial joint) เป็นข้อต่อที่เคลื่อนไหวได้มาก ประกอบด้วยกระดูก อย่างน้อย 2 ชิ้น > ข้อต่อและเอ็นยึดกระดูก  ข้อต่อ คือ ตาแหน่งที่กระดูก 2 ชิ้นมาต่อกันช่วยให้อวัยวะต่างๆเคลื่อนไหว ได้สะดวก o ข้อต่อแบบลูกกลมในเบ้ากระดูก o ข้อต่อแบบบานพับ o ข้อต่อแบบเดือย o ข้อต่ออานม้า o ข้อต่อแบบสไลด์ o เอ็น เป็นเนื้อเยื่อเกี่ยวพัน
  • 20.  ที่ยึดให้ส่วนประกอบที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหวทางานสัมพันธ์กัน มี 2 ชนิด o เอ็นยึดกระดูก = กระดูก กับ กล้ามเนื้อ o เอ็นยึดข้อ = กระดูก กับ กระดูก นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับอธิบายความหมาย ความสาคัญและ องค์ประกอบของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและ หน้าที่ที่สาคัญของระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้ เนื้อหาบทเรียนเรื่องระบบกระดูกของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ ระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของ ระบบกระดูกของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบกระดูกของมนุษย์ 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน
  • 21. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 22. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี ความสาคัญต่อกระบวนการเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสาคัญ ต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับ การเคลื่อนที่ของมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีต่อกระบวนการการดารงชีวิตของมนุษย์ ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระสาคัญ - การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกันของ nerves, bones, muscles โดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ ทางานตรงข้ามกัน เช่น การงอแขน : กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) : กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลายตัว (เป็น antagonist) - กล้ามเนื้อทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว อาจเรียกเซลล์กล้ามเนื้อได้ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใย กล้ามเนื้อมีโปรตีนที่เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin - กล้ามเนื้อแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่พบ โครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่ กล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletal muscle) กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) - การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ thin filament เรียก sliding-filament model การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความกว้างของ sarcomere ลดลง, ระยะทางระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที่, I band แคบเข้า, H
  • 23. zone หายไป พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของกล้ามเนื้อหลักๆ อยู่ในรูปของ creatine phosphate 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี ความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปโครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มี ความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความสาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีต่อ กระบวนการการดารงชีวิตของมนุษย์ 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจาบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจาบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจาบทเรียน 4. แบบบันทึกการทา กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจา บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจาบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจา บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ทากิจกรรมประจา บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ทา การเรียนการสอนประจา บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจาบทเรียน 3. การตรวจสอบคาตอบกับ คาเฉลยแบบทดสอบประจา บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจาบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ คาตอบอย่างน้อยไม่ต่า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา : ครูตั้งคาถามก่อนนาไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบคาถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจาวัน ว่า > กล้ามเนื้อลาย กล้ามเนื้อหัวใจและกล้ามเนื้อเรียบมีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่หรือการ เคลื่อนไหวของมนุษย์อย่างไร > ขณะที่ร่างกายมนุษย์กาลังเกิดการเคลื่อนที่หรือการเคลื่อนไหวการทางานของกล้ามเนื้อแต่ละ ประเภทมีความสัมพันธ์กันหรือไม่ อย่างไร > การทางานของระบบกล้ามเนื้อและระบบกระดูกของมนุษย์ต้องอาศัยปัจจัยที่เหมือนหรือ แตกต่างกันอย่างไร
  • 24. เริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากล้ามเนื้อแขนที่ขณะออกแรงยกหนังสือ หรือกดพื้นโต๊ะกับวางราบบนพื้นโต๊ะมีลักษณะแตกต่างกันหรือไม่ อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งคาถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น เปรียบเทียบประสิทธิภาพในการเคลื่อนที่ของมนุษย์กับสัตว์มีกระดูกสันหลังอื่นๆ ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์” ว่า > การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกายเกิดจากการทางานร่วมกันของ nerves, bones, muscles โดยการหด-คลายตัวของกล้ามเนื้อเป็นการทางานร่วมกันของกล้ามเนื้อ 2 ชุด ที่ทางานตรงข้ามกัน เช่น การงอ แขน : กล้ามเนื้อ biceps (flexor) หดตัว (เป็น agonist) : กล้ามเนื้อ triceps(extensor) คลายตัว (เป็น antagonist) > กล้ามเนื้อทาหน้าที่เกี่ยวกับการเคลื่อนไหวของร่างกาย ประกอบด้วยเซลล์ที่มีลักษณะยาว อาจ เรียกเซลล์กล้ามเนื้อได้ว่า เส้นใยกล้ามเนื้อ (muscle fiber) ในไซโตพลาสซึมของเส้นใยกล้ามเนื้อมีโปรตีนที่ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ 2 ชนิด คือ actin และ myosin > กล้ามเนื้อแบ่งออกได้เป็น 3 ชนิด ขึ้นอยู่กับตาแหน่งที่พบ โครงสร้าง และหน้าที่ ได้แก่ กล้ามเนื้อยึดกระดูก (skeletal muscle) กล้ามเนื้อในร่างกายส่วนใหญ่เป็นกล้ามเนื้อสเกเลทัล กล้ามเนื้อนี้เกาะยึดติดกับกระดูก สามารถหดตัวได้เมื่อถูกกระตุ้น และอยู่ภายใต้การควบคุม ของระบบประสาทส่วนกลาง (voluntory muscle) กล้ามเนื้อหัวใจ (cardiac muscle) พบแห่งเดียวคือกล้ามเนื้อที่หัวใจ และผนังของเส้นเลือด ใหญ่ที่ต่อกับหัวใจ เป็นกล้ามเนื้อที่มีลายเช่นเดียวกับ skeletal muscle ต่างกันที่กล้ามเนื้อ หัวใจอยู่นอกการควบคุมของระบบประสาทส่วนกลาง (Involuntory muscle) และการ ทางานเกิดขึ้นติดต่อกันตลอดเวลา
  • 25. กล้ามเนื้อเรียบ (smooth muscle) ในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบไม่เห็นลาย ถึงแม้ว่าภายในเซลล์จะ มีแอกทิน และ ไมโอซิน แต่การเรียงตัวไม่เป็นระเบียบเหมือนอย่างใน skeletal muscle และ Cardiac muscle ลักษณะเซลล์ของกล้ามเนื้อเรียบเป็นรูปกระสวย หัวท้ายแหลม และมีหนึ่ง นิวเคลียสอยู่กลางเซลล์ > การเรียงตัวประกอบกันเป็นมัดกล้ามเนื้อ skeleton มีเยื่อเกี่ยวพันหุ้มเป็นขั้นตอนและทั้งมัด กล้ามเนื้อจะติดต่อกับเอ็นซึ่งไปยึดติดกับกระดูก: tendon โดยskeleton muscle เกิดจากมัดของ muscle fiber (cell) มารวมกัน ซึ่งmuscle fiberแต่ละอันคือ 1 เซลล์ที่มีหลายนิวเคลียส (หลาย ๆ เซลล์ในระยะแรก รวมกัน) แต่ละ muscle fiber เกิดจากมัดของmyofibrils มารวมกัน > myofibrils : myofilaments 2 ชนิด คือ 1. Thin filamentเกิดจากactin 2 สายและ regulatory protein (tropomyosin) 1 สาย มาพันกัน 2. Thick filament เกิดจากmyosinมารวมกันเป็น มัด (การจัดเรียงตัวของ myofilaments ทาให้เกิด light-dark band ซ้าๆ กัน = sarcomere) > การหดตัวของกล้ามเนื้อ skeleton เกิดจากการเลื่อนเข้ามาซ้อนกันของ thin filament เรียก sliding-filament model การหดตัวของกล้ามเนื้อเกิดโดยความกว้างของ sarcomere ลดลง, ระยะทาง ระหว่าง Z line สั้นลง, A band คงที่, I band แคบเข้า, H zone หายไป พลังงานที่ใช้ในการหดตัวของ กล้ามเนื้อหลักๆ อยู่ในรูปของ creatine phosphate
  • 26. นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับอธิบายความหมาย ความสาคัญและ องค์ประกอบของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและ หน้าที่ที่สาคัญของระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้ เนื้อหาบทเรียนเรื่องระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับทาใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความสาคัญและองค์ประกอบของ ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสาคัญต่อกระบวนการเคลื่อนที่ของมนุษย์ โครงสร้างและหน้าที่ที่สาคัญของ ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ที่มีความสัมพันธ์กับการเคลื่อนที่ของมนุษย์ อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียน เรื่องระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ระบบกล้ามเนื้อของมนุษย์ 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………
  • 27. ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 28. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ ใบกิจกรรม เรื่อง การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิต คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
  • 29. แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะดาเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก ที่ ชื่อ-สกุล การตอบคาถาม การร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การซักถาม รวมคะแนน ระดับคะแนน 10-12 7-9 4-6 3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
  • 30. แบบประเมินการทางานกลุ่ม รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ ที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน ความรับผิดชอบของ แต่ละคน การมีส่วนร่วมในการ ทางาน ความคิดสร้างสรรค์ ผลงาน รวม 20-25 12-19 5-11 5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การให้คะแนน 5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น 4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่กาหนด 2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่ากว่ามาตรฐานทั่วไป 1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ