SlideShare a Scribd company logo
โครงงานสิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตร
              แจคเก็ตเพื่อพลังงาน
              Jacket for Energy




               ระดับชันมัธยมศึกษาตอนตน
                      ้
                นายศรัณญ สุนทรศารทูล
                 นายกฤตณัฐ คุมรักษา
                 เด็กชายพงศกร บัวผึ่ง
                     ครูผฝกสอน
                          ู
                นางสาวิตรี สิทธิชัยกานต
                   นายทวีศักดิ์ ภูชัย
โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
                          ํ
  สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1
   ํ
กิตติกรรมประกาศ

        ในการทําสิ่งประดิษฐ Jacket For Energy ครั้งนี้จะไมสามารถสําเร็จไดหากไมไดรับความ
อนุเคราะหจากคุณครูนิชาวี เชิดชิด คุณครูแววยูง สุขสถิตย คุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน คุณครูนิตยา พูลจันทร
คุณครูเฉลิมชัย โสทามวง พี่ๆนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1 เด็กชายพงศกร บัวผึ่ง นายกานต บูลยประมุข
คุ ณ แม ส มฤดี ภู ชั ย คุ ณ พ อ พ.ต.อ.สมบู ร ณ คะเลรั ม ย และคุ ณ แม ด ร.สุ ญ าดา สุ น ทรศารทู ล ผู ต อบ
แบบสอบถามทุกทานรวมถึงทานผูอํานวยการสมหมาย มัณยานนท ที่ไดใหโอกาสและกําลังใจในการ
สรางสรรคสิ่งประดิษฐในครั้งนี้

        กระผมนายศรั ณ ญ สุ น ทรศารทู ล เด็ ก ชายพงศกร บั ว ผึ่ ง และนายกฤตณั ฐ คุ ม รั ก ษา
ขอขอบพระคุณทุกๆทานที่ชวยเหลือจนพวกกระผมมีวันนี้ได



                                   นายศรัณญ สุนทรศารทูล นายกฤตณัฐ คุมรักษา และเด็กชายพงศกรบัวผึ่ง
ชื่อสิ่งประดิษฐ ภาษาไทย : แจ็กเก็ตเพื่อพลังงาน
                 ภาษาอังกฤษ : Jacket fo Energy
ผูจัดทํา        นายศรัณญ สุนทรศารทูล และ
                 นายกฤตณัฐ คุมรักษา
                 เด็กชายพงศกร บัวผึ่ง
ระดับชั้น        มัธยมศึกษาตอนตน
โรงเรียน         อนุราชประสิทธิ์
ครูที่ปรึกษา นางสาวิตรี สิทธิชัยกานต
                 นายทวีศักดิ์ ภูชัย



                                                      บทคัดยอ

         แจคเก็ตเพื่อพลังงาน (Jacket for Energy: JFE) ที่กลุมของพวกเราพัฒนาตอเนื่องมาจากสิ่งประดิษฐ
ที่มีชื่อวา Energy Box โดยเริ่มมาจากแนวคิดที่ตองการสรางเครื่องออกกําลังกายที่สามารถสรางพลังงาน
ไฟฟา จากพลังงานกล โดยอาศัยไดนาโมขนาด 3 โวลต จํานวน 3 เครื่อง เปนอุปกรณเปลี่ยนพลังงานกลจาก
การชกลมของ ผู อ อกกํ า ลั ง กายเป น พลั ง งานไฟฟ า ซึ่ ง ค า ความต า งศั ก ย ที่ ไ ด สู ง สุ ด อยู ที่ 25 โวลต
(กระแสสลับ) โดยเราสามารถนําพลังงานที่ไดไปตอเขากับ อุปกรณตางๆ เชน เครื่องวัดไฟฟาเพื่อแสดงผล
และสามารถนํ า ไปต อ กั บ อุ ป กรณ อื่ น ๆ ที่ ส ามารถกั ก เก็ บ หรื อ เปลี่ ย นรู ป พลั ง งานไฟฟ า เพื่ อ นํ า ไปใช
ประโยชนตอไปได
คํานํา

       สิ่งประดิษฐแจ็กเก็ตเพื่อพลังงานเปนสิ่งประดิษฐที่สรางขึ้น จากแนวคิดที่ตองการสรางเครื่องออก
กําลังกายที่สามารถสรางพลังงานไฟฟา จากพลังงานกลที่เกิดจากการขยับแขน โดยใชกระบวนการคิด
แกปญหา การรวบรวมขอมูล และการพัฒนาสิ่งประดิษฐดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทั้งนี้เพื่อมุงหวัง
ใหเกิดสุขอนามัยที่ดีตอประชาชนทุกเพศทุกวัย

       สิ่งประดิษฐนี้ยังไมถือวาเปน จุด สิ้น สุดของเครื่องออกกําลังกาย พวกเราหวังเปนอยางยิ่งวาจะ
สามารถพัฒนาสิ่งประดิษ ฐนี้ใ หดี และเหมาะสมกับการออกกําลังกายให สมบูรณ มากยิ่งขึ้นไปอีก หาก
ผูสนใจมีขอเสนอแนะแกพวกเรา พวกเรายินดีเปนอยางยิ่งที่จะไดรับคําแนะนําจากพวกทานไปปรับปรุง
ผลงานของพวกเรา

                              นายศรัณญ สุนทรศารทูล นายกฤตณัฐ คุมรักษา และเด็กชายพงศกรบัวผึ่ง
สารบัญ

                                                                                หนา

บทที่ 1 บทนํา                                                                    1
          1. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน                                        1
          2. จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา                                       1
          3. สมมติฐานในการศึกษาคนควา                                           2
          4. ขอบเขตการศึกษาคนควาหาความรู                                      2
          5. การกําหนดตัวแปรที่ศึกษาจากการทดลอง                                  2
          6. นิยามเชิงปฏิบติการ
                          ั                                                      2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ                                                      4
          1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ                                          4
          2. การเกิดภาวะเรือนกระจก                                               6
          3. พลังงานกล                                                           8
          4. ไดนาโม                                                              8
          5. แรงเสียดทาน                                                         9
          6. หลอดไดโอดเปลงแสง                                                  11
บทที่ 3 วัสดุอปกรณและวิธการ
              ุ          ี                                                      12
บทที่ 4 ผลการทดลอง                                                              14
บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผล                                                        15
          1. ความพึงพอใจของผูใชที่มตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for Energy
                                     ี                                          15
          2. สรุปผลการศึกษา                                                     19
          3. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ                                          19
          4. ขอเสนอแนะ                                                         19
บรรณานุกรม                                                                      20
ภาคผนวก
1


                                              บทที่ 1
                                              บทนํา

1.ที่มาและและความสําคัญของโครงงาน
          คนชุมชนเมืองในปจจุบันตองทํางานแขงกับเวลา ตื่นเชากลับดึก จึงไมมีเวลาไดออกกําลังกาย
จากผลการสํารวจพฤติกรรมการออกกําลังกายของคนไทยในป 2550 โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ
พบบวารอยละ 30 ของประชากรทั้งประเทศที่ออกกําลังกาย โดยใชบริการสวนสาธารณะหรือฟตเนส
(Fitness) (หนังสือพิมพขาวสด : 11 มกราคม 2553) ซึ่งตองเสียคาใชจายคอนขางสูงเพราะเครื่องออกกํา
ลงกายราคาแพงเนื่องจากตองใชพลังงานไฟฟาเปนจํานวนมาก คนในชุมชนเมืองหันมาใสใจสุขภาพกัน
มากขึ้นโดยเฉพาะการรับประทานอาหารกันสวนใหญ เปนอาหารฟาสฟูด (fast food) เปนหลัก ทําให
คนจํานวนไมนอยนําเงินหลายพันบาทมาใชบริการกับศูนยออกกําลังกาย (ฟสเนส) เพื่อใหสุขภาพที่
แข็งแรง ไมวาจะเปนคนหนุมสาว คนวัยกลางคนแมกระทั้งผูสูงอายุ
          ดั้งนั้นจึงมีการคิดสิ่งประดิษฐ เครื่องออกกําลังกาย ที่ชวยใหคนในสังคม หันมาออกกําลังกาย
และยั ง ได รั บ ประโยชน จ ากการออกกํ า ลั ง กายด ว ย โดยมี สุ ข ภาพร า งกายที่ แ ข็ ง แรงแล ว ยั ง ได รั บ
ประโยชนจากการ ออกกําลังกายควบคูกันไป แตเครื่องออกกําลังกายสวนใหญ ตองใชกระแสไฟฟา ทํา
ใหสิ้นเปลืองพลังงานไปเพื่อแลกประโยชนจากการออกกําลังกาย พลังงานเปนของมีคา ที่ใชแลวหมด
สิ้นไป แตมีพลังงานที่เกิดขึ้นขณะออกกําลังกายที่ทุกคนมองขามกันไป ไมสามารถนําพลังงานสวนนั้น
มาใชประโยชนไดอยางคุมคา พลังงานที่ไดจากการออกกําลังสามารถนํามาผลิตเปนพลังงานไฟฟาได
สิ่งประดิษฐดังกลาวคือ Energy box จากการใช Energy box ยังมีปญหาเกี่ยวกับลักษณะของ
สิ่งประดิษฐที่ไมเหมาะสมกับสรีระของผูใช
          คณะผูจัดทําจึงคิดพัฒนารูปแบบใหมีความเหมาะสมกับการใชงานมากขึ้น โดยใชชื่อวา Jacket
for energy ซึ่งเปนเครื่องออกกําลังกายที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟาโดยใชพลังงานกลจาก การออกแรง
ดึงเครื่องออกกําลังกาย

2.จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา
         1.เพื่อพัฒนาและสรางตนแบบของเครื่องออกกําลังกายผลิตกระแสไฟฟาJacket for energy
         2.เพื่ อสํ า รวจความพึ ง พอใจของผูใ ช ที่มีตอ เครื่อ งออกกําลัง กายผลิต พลั ง งานกระแสไฟฟ า
Jacket for energy
2


3.สมมุติฐานในการศึกษาคนควา
        สมมุติฐานที่ 1 ถาออกกําลังกายดวยเครื่องออกกําลังกายผลิตกระแสไฟฟา Jacket for energy
แลวการปลอยแก็สเรือนกระจกเนื่องจากการใชพลังงานไฟฟาลดลง
        สมมุติฐานที่ 2 ถาเครื่องออกกังกายผลิตกระแสไฟฟาจาก Jacket for energy ทําใหกลุม
ตัวอยางที่ทดลองใชแลวมีความพึงพอใจแลว ประชากรจะสนใจการออกกําลังกายมากขึ้น

4.ขอบเขตการศึกษาหาความรู
        การทําโครงงานวิทยาศาสตรเรื่องและเทคโนโลยีเรื่อง Jacket for energy ครั้งนี้ไดทดลองกับ
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 6 โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ ครูและผูปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุราช
ประสิทธิ์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนนทบุรี เขต 1 จังหวัดนนทบุรี
จํานวน 40 คน

5. การกําหนดตัวแปรที่ศึกษาจากการทดลอง
         5.1 ตัวแปรตน
           ตัวแปรของสมติฐานที่ 1 การออกกําลังกายดวยเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
           ตัวแปรของสมติฐานที่ 2 เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
         5.2 ตัวแปรตาม
           ตัวแปรขอมสมติฐานที่ 1 การปลอยแกสเรือนกระจกเนื่องจากการใชพลังงานไฟฟาลดลง
           ตัวแปรของสมติฐานที่ 2 เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy ชวยลดภาวะโลกรอน
         5.3 ตัวแปรควบคุม
                 1. เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
                 2. ระยะเวลาในการใช
                 3. นักเรียน ครูและผูปกครอง
3


6. นิยามเชิงปฏิบัติ
            6.1 เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy คือ เครื่องออกกําลังกายที่สามารถผลิตพลังงาน
ไฟฟา โดยใชพลังงานจลจากการออกแรงดึงเครื่องออกกําลังกาย
            6.2 พลังงานสะอาด (green energy) คือ คําที่ใชอธิบายความคิดที่เกี่ยวกับแหลงพลังงานที่เปน
มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม โดยทั่ ว ไปจะหมายถึ ง พลั ง งานที่ ไ ม มี วั น หมดและเป น พลั ง งานที่ ไ ม มี ม ลพิ ษ
พลังงานสะอาดประกอบดวยกระบวนการที่ใชพลังงานจากธรรมชาติและเปนกระบวนการที่สามารถ
ควบคุม ให มีม ลพิษ เพี ย งเล็ ก น อย ได แ ก พลั ง งานชี ว มวล พลัง งานความรอ นใตพิ ภ พ พลัง งานลม
พลังงานน้ํา พลังงานแสงอาทิตย พลังงานจากปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง พลังงานคลื่น พลังงานจากพืช
และสัตว ซึ่งพลังงานเหลานี้จัดอยูในหมวดหมูเดียวกัน
           6.3 ความพึงพอใจ คือ ความพึงพอใจของผูใชทมีตอ Jacket for energy
                                                               ่ี
          6.4 ความตระหนัก คือ การที่บุคคลแสดงวา มีความสํานึกและยอมรับถึงภาวการณ เหตุการณใด
เหตุการณหนึ่ง ซึ่งสภาพแวดลอมในสังคมเปนชวยในการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมนั้น
          6.5 แกสเรือนกระจก คือ แกสที่มีอยูในบรรยากาศที่ทําใหสูญเสียความรอนสูหวงอวกาศลดลงจึง
มีผลตออุณหภูมิในบรรยากาศผานปรากฏการณเรือนกระจก ไดแก ไอน้ํา มีเทนคารบอนไดออกไซด ไน
ตรัสออกไซด โอโซน และคลอโรฟลูโอโรคารบอน (Chlorofluorocarbon)
4


                                           บทที่ 2
                                      เอกสารที่เกี่ยวของ

          สิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตร Jacket for energy ของนักเรียนโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 จังหวัดนนทบุรี คณะผูจัดทําไดศึกษาเอกสาร
เกี่ยวของ ตามหัวขอตอไปนี้
      1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
   2. การเกิดภาวะเรือนกระจก
   3. พลังงานกล
   4. ไดนาโม
   5. แรงเสียดทาน
   6. หลอดไดโอดแปรงแสง

1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ
          การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ คือ การออกกําลังเพื่อเพิ่ม หรือคงไวซึ่งความทนทานของระบบ
ไหลเวียนโลหิตและปอด โดยมีขบวนการใชออกซิเจน ในขบวนการเผาผลาญ เพื่อใหเกิดพลังงาน
สําหรับการออกกําลังอยางตอเนื่อง จึงมีชื่อเรียกการออกกําลังกายชนิดนี้วา AEROBIC EXERCISE
ประโยชนตอสุขภาพ
  1. ระบบไหลเวียนโลหิต
    1.1 ทําใหกลามเนื้อหัวใจแข็งแรงมากขึ้น สามารถสูบฉีดโลหิตไดปริมาณมากขึ้น
    1.2 เพิ่มหลอดโลหิตฝอยมาเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจมากขึ้น
    1.3 ลดอัตราการเตนของหัวใจ ทั้งในขณะพัก และออกกําลังกาย ทําใหไมเหนื่อยงาย
    1.4 ลดแรงตานทานสวนปลายของหลอกโลหิตฝอยทําใหความดันโลหิตลดลงขณะพัก และออก
กําลังกายลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง
 2. ระบบหายใจ
    2.1 ความจุปอดเพิ่มขึ้น ทําใหการแลกเปลี่ยนออกซิเจนมากขึ้น
    2.2 เพิ่มปริมาณโลหิตไปสูปอด ทําใหการไหลเวียนของปอดดีขึ้น
    2.3 เพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนแกสที่ปอด ทําใหประสิทธิภาพการหายใจดีขึ้น
3. ระบบชีวเคมีในเลือด
   3.1 ลดปริมาณคอแลสเตอรอล (Cholesterol) และไตรกีเซอไรด (Triglyceride) จึงลดอัตราเสี่ยงตอโรค
หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และหลอดเลือดสมองอุดตัน
   3.2 เพิ่ม HDL Cholesterol ซึ่งชวยลดการเปนโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
5


    3.3 ลดน้ําตาลสวนเกินในเลือด เปนการชวยปองกันโรคเบาหวาน
4. ระบบประสาทและจิตใจ
    4.1 ลดความวิตกกังวลและคลายเครียด
    4.2 มีความสุขและรูสึกสบายใจจากสารแอนดอรฟน Endorphin ที่หลั่งออกมาจากสมองขณะออก
กําลังกาย
ขั้นตอนและหลักการในการปฎิบติ     ั
          ถามีอายุมากกวา 35 ป ควรตรวจสุขภาพ วามีโรคหัวใจหรือไมกอนการออกกําลังกายชนิดนี้
ควรรูวิธีเหยียดและยืดกลามเนื้อ รวมทั้งอุนเครื่อง (Warm up) และเบาเครื่อง (Cool down) หลักในการ
ปฎิบัติเปนการใชกลามเนื้อมัดใหญอยางนอย 1ใน 6สวนของรางกาย ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ
รูปแบบการออกกําลังกาย
          มีหลากหลายชนิด เชน วิ่งเหยาะ, เดินเร็ว, ขี่จักรยาน, วายน้ํา, เตนแอโรบิค, ฟุตบอล, บาสเก็ต
แทนนิส, แบตมินตัน, ขามตาขาย, วอลเลยบอล เปนตน
ขอควรระวัง
          ควรงดออกกําลังกาย ในขณะเจ็บปวย มีไข พักผอนไมพอควรออกกําลังกายกอนอาหารหรือ
หลังอาหารหนักผานไป3-4ชั่วโมง และดื่มน้ําอยางเพียงพอ ควรหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่รอนจัด หนาว
จัด ฝนฟาคะนอง มลภาวะมากสวมเสื้อผาที่เหมาะสมควรพักหากมีอาการแนนหนาอก คลื่นไส อาเจียน
และไปพบแพทย
อุปสรรคที่ทําใหคุณไมออกกําลังกาย
          คนสวนใหญทราบดีวาการออกกําลังกายเปนสิ่งที่ดี และออกกําลังกาย แตมักจะมีอุปสรรคนาๆ
นับประการที่มีขัดขวาง คุณเคยพบอุปสรรคเหลานี้กับตัวคุณเองหรือไม “ฉันมีธุระมาก ไมมีเวลา” ใน
สังคมที่รีบเรงในปจจุบัน ทุกคนมีภาระสวนตัวที่จะทํากันทั้งนั้น ยิ่งคุณธุระมาก คุณยิ่งตองออกกําลังกาย
เพื่อเตรียมรางกายใหพรอมที่จะเผชิญกับปญหาตางๆ “ ฉันไมชอบออกกําลังกาย” อยาทําอะไรฝนใจ
ตัวเอง ถาคุณไมชอบออกกําลังกาย ลองสํารวจตัวเองวาชอบทําอะไรที่ใชพลังงานบาง แลวลองทําสิ่งนั้น
ใหบอยขึ้นคุณไมจําเปนตองออกไปวิ่งเพื่อลดน้ําหนักถาคุณไมชอบกิจกรรมอื่นๆ ที่ใชพลังงานเชน ขี่
จักรยาน ทําสวน เตนรํา เลนโบริ่ง เลนสเก็ต หรือตีปงปอง ถาตอนนี้คุณไมไดทํากิจกรรมเหลานี้เลย ลอง
นึกถึงอดีตและหาสิ่งที่คุณเคยทําและสนุกกับมัน ลองกลับมาทําสิ่งนั้นใหม “ ฉันแกเกินไปแลว” ไมมี
เวลาแกเกินไปสําหรับการออกกําลัง เพียงแตเลือกวิธีการออกกําลังกายที่เหมาะสมกับวัยของคุณเทานั้น
จากการวิจัยพบวา ไมวาจะอยูในกลุมอายุใด จะไดประโยชนจากการออกกําลังเหมือนกัน “ฉันไมมีเวลา
มากพอสําหรับการออกกําลัง” คุณไมจําเปนตองใชเวลามากขนาดนั้น เพียงคุณใชเวลาวาง เล็กๆนอย ที่มี
อยูออกกําลัง เชนคุณอาจใชเวลาเลนกับสัตวเลี้ยงของคุณใหมากขึ้นหนอยหรือเดินมากขึ้นอีกหนอย
ขณะที่คุณกําลังทํางาน “ฉันดูเหมือนตัวตลกที่ฉันพยามออกกําลังกาย” คุณไมไดดูเหมือนตัวตลก แตคุณ
ดูเหมือนคนที่กําลังเดินไปถูกทาง และกําลังจะมีชีวิตที่ดีขึ้นในไมชา “ดูเหมือนรางกายของฉันไมดีขึ้น
6


เลย” อันที่จริงถาคุณลองบันทึกขอมูลตางๆ คุณกําลังจะพบวารางกายของคุณกําลังจะดีข้ึนเรื่อยๆ เชน
ลองบันทึกจํานวนชั้นที่คุณสามารถเดินขึ้นลงในแตละวัน หรือเวลาที่คุณใชในการเดินในแตละวัน คุณ
จะพบวาคุณกําลังพัฒนาไปเรื่อย “ในยุคเศรษฐกิจฝดเคืองแบบนี้ ฉันไมมีเงินที่จะไปออกกําลังกายตาม
สถานบริหารรางกาย หรือไมมีเงินซื้อเครื่องมือที่ใชในการออกกําลังกายหรอก” คุณไมจําเปนที่ตองใช
เงิน การทํางานบาน เปนการออกกําลังกายที่ดีเชนเดียวกัน การเดินเปนการออกกําลังกายที่ดี คุณอาจไป
เดินตามสวนสาธารณะ หรือไปเดินเลนตามศูนยการคา “ฉันมักจะออกกําลังไดพักหนึ่งก็เลิก” ไมใชเพียง
ตึคุณที่เปนอยางนี้ พบวาครึ่งหนึ่งของผูที่ออกกําลังกายหยุดออกกําลังกายใน 6 เดือน วิธีที่จะชวยไดคือ
ลองคิดถึงการออกกําลังที่สม่ําเสมอจะทําใหน้ําหนักคุณลดไดตอเนื่อง แตถาคุณหยุด
ออกกําลังกายน้ําหนักคุณจะเพิ่มกลับมาใหม คุณตองเริ่มใหมตั้งแตตนอีก
  - ออกกําลังกายเพิ่มขึ้นทีละนอย ใหรางกายของคุณคอยๆปรับตัว คุณอาจเพิ่มเวลาออกกําลังมากขึ้น
                                           
      เพียง 5 นาทีในแตละเดือน
 -    ทําสิ่งที่ทําแลวรูสึกสนุกและไดออกกําลังกายดวย ลองหาเพื่อนมาออกกําลังกายดวยกัน
 -    เปลี่ยนแปลงกิจวัตรของคุณบาง อยางทําอะไรซ้ําซากที่อาจทําใหคุณเบื่อ “ฉันมีโรคประจําตัวจะ
      ออกกําลังกายอยางไร” ถาคุณอวนมาก ตั้งครรภสูบบุหรี่จัด เปนโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง
      เบาหวาน หอบหืด หรือโรคเรื้อรังอื่นๆ คุณอาจจะตองปรึกษาแพทยกอนเลือกวิธีการออกกําลังที่
      เหมาะกับคุณ

 2.การเกิดภาวะเรือนกระจก
        ภาวะเรือนกระจกคือ ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทบตัวเสมือนกระจกที่ยอมใหรังสีคลื่น
 สั้นผานลงมายังผิวโลกได แตจะดูดกลืนรังสีคลื่น ยาวชวงอินฟราเรดที่ผานออกจากพื้นผิวโลกเอาไว
 จากนั้นก็คายพลังงานความรอนใหกระจายอยูภายในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลกจึงเปรียบเสมือน
 กระจกปกคุมผิวโลกใหมีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมตอสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก แตในปจจุบัน
 มีแกสบางชนิดสะสมอยูในชั้นบรรยากาศมากเกินสมดุล ซึ่งแกสเหลานี้สามารถดูกลืนรังสีคลื่นยาว
 ชวงอินฟราเรด และคายพลังความรอนไดดี พื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นสงผล
 กระทบตอสภาพภูมิอากาศของโลก และสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอยางมากมาย ในภาวะปกติชั้นบรรยากาศ
 ของโลกจะประกอบดวย โอโซน ไอน้ํา และแกสชนิดตางๆ ซึ่งทําหนาที่กรองรังสีคลื่นสั้นบางชนิดให
 ผา นมาตกกระทบพื้ น ผิ ว โลก รั งสี คลื่ น สั้น ที่ต กกระทบพื้ น ผิ ว โลกนี้จ ะสะท อ นกลับ ออกนอกชั้ น
 บรรยากาศไปสวนหนึ่ง ที่เหลือพื้นผิวโลกที่ประกอบดวยพื้นน้ํา พื้นดินและ สิ่งมีชีวิตจะดูดกลืนไว
 หลั ง จากนั้ น ก็ จ ะคายพลั ง งานออกมาในรู ป แบบรั ง สี ค ลื่ น ยาวช ว งอิ น ฟราเรดแผ ก ระจายขึ้ น สู ชั้ น
 บรรยากาศและแผกระจายออกนอกชั้นบรรยากาศไปบางสวน อีกสวนหนึ่งนั้นชั้นบรรยากาศจะดูกลืน
 ไวและคายพลังงานความรอนออกมา ผลที่เกิดขึ้นคือทําใหโลกสามารถรักษาสภาพสมดุลทางอุณหภูมิ
7


ไวไดจึงมีวฏจักรน้ํา อากาศ และฤดูตางๆ ดําเนินไปอยางสมดุลเอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตพืชและสัตว
            ั
โลกจึงเปรียบเสมือนเรือนปลูกพืชขนาดใหญที่มีไอน้ําและแกสตางๆ ชั้นบรรยากาศเปนเสมือนกรอบ
กระจกที่คอยควบคุมอุณหภูมิ และวัฏจักรตางๆใหเปนไปอยางสมดุลแตในปจจุบันชั้นบรรยากาศของ
โลกมี ปริ ม าณแกส บางชนิ ด มากเกิน สมดุล ของธรรมชาติอั น เป น ผลมาจากฝ มือ มนุษ ย เช น แก ส
คารบอนไดออกไซด (CO2) แกสมีเทน (CH4) แกสคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFC8) และแกสไนตรัส
ออกไซด (N2O) เปนตน แกสเหลานี้มีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคลื่นยาวชวง
อินฟราเรดไดดีมาก ดังนั้นเมื่อพื้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ้นสูชั้นบรรยากาศ แกสเหลานี้จะดูดกลืน
รังสีอินฟราเรดเอาไว ตอจากนั้นมันก็จะคายความรอนสะสมอยูบริเวณพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศ
เพิ่มมากขึ้นพื้นผิวโลกจึงมีอุณหภูมิเราเรียกแกสที่ทําใหเกิดภาวะนี้วา “แกสเรือนกระจก (greenhouse
gases)” แกสเรือนกระจกนอกจากจะสงผลตอการเพิ่มอุณหภูมิของพื้นผิวโลกโดยตรงแลว มันยังสงผล
กระทบโดยทางออมดวยกลาวคือมันจะไปทําปฏิกิริยาเคมีกับแกสอื่นๆ และเกิดเปนแกสเรือนกระจก
ชนิดใหมขึ้นมา หรือแกสเรือนกระจกบางชนิดอาจรวมตัวกับโอโซนทําใหโอโซนในชั้นบรรยากาศลด
นอยลง สงผลใหรังสีคลื่นสั้นที่สองผานชั้นโอโซนลงมายังพื้นผิวโลกไดมากขึ้นรวมทั้งปลอยใหรังสีที่
ทําอันตรายตอมนุษยและสิ่งมีชีวิต สองผานลงมาทําอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกไดดวยแกสเรือน
กระจก ในชั้นบรรยากาศของโลกประกอบดวนแกสตางๆหลายชนิดแตละชนิดมีการเปลี่ยนแปลง
เพิ่มขึ้น และลดลงตามคุณสมบัติตามเคมีของแกสแตละชนิด ดังนั้นแกสที่มีมากเกินสมดุลของชั้น
บรรยากาศจะสะสมอยูในชั้นบรรยากาศ แกสบางชนิดสามารถสะสมอยูในชั้นบรรยากาศไดนานหลาย
รอ ยป บางชนิ ด สะสมอยู ไ ด ใ นเวลาเพี ย งไม กี่ ปก็ ส ลายไป แกส เรือ นกระจกที่ ก ล า วถึ ง นี้ก็ เ ชน กั น
เนื่องจากมันมีปริมาณที่มากเกินสมดุลในชั้นบรรยากาศ มันจึงสะสมอยูในชั้นบรรยากาศและสะสมอยู
ไดเปนเวลานานหลายป เราอาจแบงแกสเรือนกระจกไดเปนสองพวกตามอายุ การสะสมอยูในชั้น
บรรยากาศ คือ พวกที่มีอายุการสะสมอยูในชั้นบรรยากาศไมนาน เนื่องจากแก็สเหลานี้สามารถทํา
ปฏิกิริยาไดดีกับไอน้ํา หรือแก็สอื่นๆจึงทําใหมันมีอายุสะสมเฉลี่ยสั้น สวนอีกพวกหนึ่งเปนแกสเรือน
กระจกซึ่งมีอายุสะสมเฉลี่ยนานหลายป เชน แกสเรือนกระจก แกสมีเทน แกสไนตรัสออกไซด และ
แกสคลอโรฟลูออโรคารบอน เปนตน แกสเหลานี้นับเปนแกสที่เปนตัวการหลักของการเกิดภาวะเรือน
กระจก เนื่องจากการมีอายุสะสมเฉลี่ยยาวนานและสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรด ไดดีกวาแกสเรือน
กระจกอื่นๆ ทั้งยังสงผลกระทบใหผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยทางออมไดดวย แมวาจะมีการรณรงค
เพื่อลดการปลดปลอยแกสเรือนกระจกกันอยางกวางขวาง แตอันตราการเพิ่มปริมาณแกสเรือนกระจก
ก็ยังมีมากขึ้นซึ่งการเพิ่มขึ้นนี้เปนผลมาจากฝมือมนุษยทั้งนั้น
8


3.พลังงานกล
       เครื่องกล หมายถึง อุปกรณที่ชวยผอนแรงหรืออํานวยความสะดวก หรือทั้งชวยผอนแรงอํานวย
ความสะดวก
       พลังงานกล เปนพลังงานที่อยูในรูปที่มีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวไปมา โดยอยูในรูปของ
พลังงานจลน นอกจากนี้พลังงานนี่สะสมอยูในตัววัตถุเอง ที่พรอมจะเคลื่อนที่ก็เปนพลังงานกลใน
รูปแบบของพลังงานศักย ดังนั้นพลังงานกลจึงสามารถอยูทั้งรูปแบบพลังงานจลนและพลังงานศักย
พลังกลจึงเปนผลรวมของพลังงานทั้งสองเขาดวยกัน เชน น้ําที่อยูเหนือเขื่อนมีพลังงานกลอยูในรูป
พลังงานศักย เมื่อเปดประตูนํ้าใหนํ้าไหลลงมาทายเขื่อน น้ําที่ไหลจะอยูในรูปพลังงานจลน คือการ
เคลื่อนที่ลงอยางรวดเร็ว ขณะที่น้ําไหลมาใกลพื้นที่ทายเขื่อน พลังงานศักยที่มีอยูเดิมจะลดลงแต
พลังงานจลนจะเพิ่มขึ้น

4.ไดนาโม
        เปนอุปกรณที่ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานกลใหเปนพลังงานไฟฟา มีสวนประกอบสําคัญ ไดแก
ขดลวดที่พันอยูรอบแกนเรียกวา อาเมเจอร (Armature) แมเหล็กสองแทง หันขั้วตางกันเขาหากัน
เพื่อใหเกิดสนามแมเหล็กโดยจะมีแรงแมเหล็กพุงจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต และบริเวณขั้วจะมีความ
เขมขนของสนามแมเหล็กมากกวาบริเวณอื่นๆ
    หลักการเหนี่ยวนําใหเกิดกระแสไฟฟา
        หลักการเหนี่ยวนําใหเกิดกระแสไฟฟาไดนาโม อาจทําไดดังนี้
        การหมุนขดลวดตัวสนามแมเหล็ก จะทําใหสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลง จึงเกิดกระแสไฟฟา ไม
เคิล ฟาราเดย (Michael Faraday) นักวิทยาศาสตรอังกฤษ (พ.ศ.2334-2410)เปนผูคนพบหลักการที่วา
“กระแสไฟฟาเหนี่ยวนําเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กที่ผานขดลวด”
        ถาตองการสรางไดนาโมใหสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดมากขึ้นสามารถทําไดโดย เพิ่มจํานวน
ของรอบขดลวดหมุนขดลวดใหเร็วขึ้นเพิ่มแรงขั้วแมเหล็ก
ไดนาโมแบงออกเปน 2 ชนิด
     1. ไดนาโมไฟฟากระแสสลับ AC Dynamo
        ประกอบดวยแทงแมเหล็ก 2 แทง ขดลวด และแหวนลื่นโดยแหวนลื่น 2 วง สัมผัสกับแปรง
ตัวนําไฟฟาซึ่งจะรับกระแสไฟฟาจากขดลวดออกสูวงจรภายนอก
     2. ไดนาโมไฟฟากระแสตรง DC Dynamo
        ประกอบดวยแทงแมเหล็ก 2 แทง ขดลวด และแหวนแยกแตละอันสัมผัสกับแปรงตัวนําไฟฟา
ซึ่งรับกระแสไฟฟาจากขดลวดออกลงสูวงจรภายนอก
        ไดนาโมกระแสตรง (Direct current dynamo) หมายถึง ไดนาโมที่ผลิตไฟกระแสตรง (D.C.)
สวนประกอบเหมือนกับไดนาโมกระแสสลับทุกอยางตางกันแตวงแหวนเทานั้น
9


         ไดนาโมกระแสตรงใชวงแหวนผาซีก (Split ring) ซึ่งเรียกวา คอมมิวเตเตอร (Commutate) แต
 ละซีกมีลักญณะเปนครึ่งวงกลมติดตอกันอยูกับปลายของขดลวดปลายละซีก ครึ่งวงกลมแตละซีกอยู
 กับแปรง แปรงละซีก แปรงทั้งสองติดตอกับวงจรภายนอกเพื่อนํากระไฟฟาไปใชประโยชน จากการ
 ดัดแปลงแหวนใหเปนคอมมิวเตเตอร เมื่อใชพลังงานกลมาหมุนขดลวดใหตัดเสนแรงแมเหล็กจะได
 กระแสไฟฟ า เหนี่ ย วนํ า เข า สู ว งจรภายนอก โดยมี ทิ ศ ทางการไหลเพี ย งทิ ศ ทางเดี ย วตลอดเวลา
 กระแสไฟฟาที่ไดจึงเปนไฟฟากระแสตรง (D.C.)
         ไดนาโมที่ผลิตกระแสไฟฟาสลับ (A.C.) ออกมาใชงาน กระแสสลับ คือ กระแสไฟฟาที่มีทิศ
 ทางการไหลสลับไปกลับมาอยางรวดเร็วมากอยูตลอดเวลา ในไดนานโมที่ใชงานจริงๆ ใชขดลวด
 ตัวนําหลายขดใหเคลื่อนที่ตัดเสนแรงแมเหล็กเราเรียกขดลวดตัวนําที่เคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กนี้วา”
 อาร เ มเจอร ” (Armture) สํ า หรั บ การศึ ก ษาเบื้ อ งต น จะพิ จ ารณาขดลวดเพี ย งขดเดี ย ว ไดนาโม
 กระแสสลับประกอบดวย แทงเหล็ก 2 แทง วางขั้วตางกันเขาหากัน และมีขวดลวดตัวนําอยูตรงกลาง
 ปลายดสนหนึ่งของขดลวดติดกับวงแหวนลื่น (Slip ring) (R) อีกปลายหนึ่งของขดลวดติดอยูกับวง
 แหวนลื่น R’ วงแหวน Rเตะอยูกับแปรง B สวนวงแหวน R’ เตะอยูกับแปรง B’ เมื่อขดลวดหมุนวง
 แหวนทั้งสองจะหมุนตามไปดวยโดยเตะกับแปรงอยูตลอดเวลา แปรงทั้งสองติดอยูกับวงจรภายนอก
 เพื่อนํากระแสไฟฟาออกไปใชประโยชน เมื่อใชพลังงานกลมาหมุนขดลวด ขดลวดเคลื่อนที่ตัดเสน
 แรงแมเหล็ก กอใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นในขดลวด เมื่อขดลวดนี้ตอครบวงจรกับความ
 ตานทานภายนอกแลว ยอมไดกระแสไฟฟาเหนี่ยวนําไหลในวงจรเหนี่ยวนํา

5. แรงเสียดทาน
             แรงเสียดทาน (friction) เปนแรงที่เกิดขึ้นมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกําลังเคลื่อนที่ไป
บนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากผิวสัมผัสกระทํา มีลักษณะที่สําคัญ ดังนี้
1.เกิดขึ้นระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ
2.มีทิศทางตรงกันขามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงกันขามทิศทางของแรงที่พยายามกระทําใหวตถุ        ั
เคลื่อนที่
          ประเภทของแรงเสียดทาน
                    แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ
          1.แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึนระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ ใน
                                                                          ้
สภาวะทีวัตถุไดรับแรงกระทําแลวหยุดนิง
           ่                             ่
          2.แรงเสียดทานจลน (kinetic friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึนระหวางผิวสัมผัสของวัตถุใน
                                                                            ้
สภาวะทีวตถุไดรับแรงกระทําที่เกิดจากการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่
           ่ั
          ปจจัยที่มีผลตอแรงเสียดทาน
          แรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสจะมีคามากหรือนอยขึ้นยูกับ    
10


         1.แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถาแรงกดตังฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถาแรง
กดตั้งฉากกับผิวสัมผัสนอยจะเกิดแรงเสียดทานนอย
         2.ลักษณะของผิวสัมผัส ถาผิวสัมผัสหยาบ ขรุขระจะเกิดแรงเสียดทานมาก ดังรูป ก สวน
ผิวสัมผัสเรียบลื่นจะเกิดแรงเสียดทานนอย
         3.ชนิดของผิวสัมผัส เชน คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม จะเห็นวาผิวสัมผัสแตละคู มีความ
หยาบ ขรุขระ หรือ เรียบลื่น เปนมันแตกตางกัน ทําใหเกิดแรงเสียดทานไมเทากัน
การลดแรงเสียดทาน
         การลดแรงเสียดทานสามารถทําไดหลายวิธดังนี้   ี
         1.การใชนํามันหลอลื่นหรือจาระบี
                    ้
         2.การใชระบบลูกปน
         3.การใชอุปกรณตาง ๆ เชน ตลับลูกปน
         4.การออกแบบรูปรางของยานพาหนะใหเพรียวลมทําใหลดแรงเสียดทาน
การเพิ่มแรงเสียดทาน
         การเพิ่มแรงเสียดทานในดานความปลอดภัยของมนุษย เชน
         1.ยางรถยนตมีดอกยางเปนลวดลาย มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหวางลอกับถนน
         2.การหยุดรถตองเพิ่มแรงเสียดทานที่เบรก เพื่อหยุดหรือทําใหลดแลนชาลง
         3.รองเทาบริเวณพื้นที่ตองมีลวดลาย เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานทําใหเวลาเดินไมลื่นหกลมไดงาย
         4.การปูพ้นหองน้ําใชกระเบื้องที่มีผิวขรุขระ เพื่อชวยเพิ่มแรงเสียดทาน เวลาเปยกน้ําจะไดไมลื่น
                  ื

สมบัตของแรงเสียดทาน
      ิ
         1.แรงเสียดทานมีคาเปนศูนย เมื่อไมมีแรงภายนอกมากรํา
         2.ขณะที่มแรงภายนอกมาระทําตอวัตถุ และวัตถุยังไมเคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่มีขนมีขนาดตาง
                    ี                                                                ึ้
ๆ กัน ตามมาขนาดของแรงที่มากระทํา และแรงเสียดทานที่มีคามากที่สุดคือ แรงเสียดทานสถิต เปนแรง
เสียดทานทีวัตถุเริ่มเคลื่อนที่
            ่
         3.แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ
         4.แรงเสียดทานสถิดมีคาสูงกวาแรงเสียดทานจลนเล็กนอย
         5.แรงเสียดทานจะมีคามากหรือนอยขึ้นอยูกบลักษณะของผิวสัมผัส ผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระ
                                                    ั
จะมีแรงเสียดทานมากกวาผิวเรียบและลื่น
        6.แรงเสียดทานขึ้นอยูกับน้ําหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดของลงบนพื้น ถาน้ําหนักหรือแรงกด
มากแรงเสียดทานก็จะมากขึนดวย้
         7.แรงเสียดทานไมขึ้นอยูกับขนาดหรือพื้นที่ของผิวสัมผัส
11


6.หลอดไดโอดเปลงแสง
        ไดโอดเปลงแสง ( Light-emitting diode) หรือที่เรามักจะเรียกวา ไดโอดเปลงแสง การที่เราจะ
สามารถมองเห็นแสงของ ไดโอดเปลงแสง นั้นเปนเพราะภายในตัว ไอโอดเปลงแสง เมิ่อไดรับความตาง
ศักยไฟฟาจะปลอยคลื่นแสงออกม โดยความถี่ของคลื่นแสงที่ความถี่ตางๆกัน จะทําใหเรามองเห็นสี
ตางๆกันไปดวย หลอดไดโอดเปลงแสงที่เราเห็นมีขายกันตามรานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสนั้นมีหลาย
แบบ แตละแบบนั้นจะมีหลักการทํางานเหมือนกัน
           ไดโอดเปลงแสงแบบหลอดกลมสีแบบตางๆ จะมีสีเคลือบมองเห็นไดชัดเจน สีที่นิยมใชคือ สี
แดง สีเขียว สีเหลือง สีสม เปนตนโดยขนาดของไดโอดเปลงแสง จะมีขนาดตั้งแต 3 มิลลิเมตร, 5
มิลลิเมตร, 8 มิลลิเมตร, 10 มิลลิเมตร เปนตน
             ไดโอดเปลงแสงแบบหลอดกลมแบบหลอดใส หรือที่เรามักจะเรียกวา ไดโอดเปลงแสงแบบ
ซุปเปอรไบท โดยที่ตัวหลอดเองจะเปนแบบใสเราจะไมมีทางรูเลยวา จะเปนสีอะไรจนกวาจะลองปอน
ไฟเขาไป ขนาดของไดโอดเปลงแสงแบบนี้จะมีเหมือนกับ หลอดสีตางๆและมีสีใหเลือก เชน สีแดง สี
เขียว สีนํ้าเงิน สีเหลือง สีสม สีขาว เปนตน นอกจากนี้ยังไดโอดเปลงแสงแบบตัวถังเปนรูปสี่เหลี่ยม จะ
มี 4 ขา และมีสใหเลือกใชมากมาย เชน สีแดง สีน้ําเงิน สีเขียว สีสม สีขาว เปนตน
                 ี
12


                                            บทที่ 3
                                    วัสดุอุปกรณและวิธีการ

 วัสดุอุปกรณ
   1. ไมอัด ขนาด 10 x 20 Cm
   2. ไดนาโม ขนาด 3 โวลต จํานวน 3 ตัว
   3. เชือก
   4. รางเชือก
   5. ตะปู 1 นิ้ว
   6. เลื่อย
   7. คอน
   8. สายไฟ
  9. ปนยิงกาว
  10. เชือกกระโดดพรอมดามจับ
  11. ดิจิตอลมัลติมิเตอร

วิธีการประดิษฐเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
  1. ประชุม วางแผนการดําเนินงาน และแบงหนาที่การทํางาน
  2. ออกแบบเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
  3. จัดหาวัสดุอุปกรณ
 4. ประกอบเครื่องตนแบบเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
        4.1 นําไมอัดมาเจาะรูใหมขนาดพอใสไดนาโนได แลวขันนอตเพื่อยืดไดนาโม
                                   ี
        4.2นํารางเชือกมาใสตรงกลางเฟองของไดนาโมใชปนกาวบุตรงกลางรางเชือกใหเต็มเพื่อใหราง
เชือกไมหลุดออกจากไดนาโมขณะใชเครื่อง
        4.3 นําฟวเจอรบอรดมาประกอบเปดเครื่องปองกันไดนาโม
        4.4 นําทอสายยางมารอยเชือก เพื่อลดการเสียดสีระหวางเชือกกับตัวเครื่อง
        4.5 นําเชือกทีรอยออกมาแลวไปรอยเขากับดามจับของเชือกกระโดดทั้งสองดาน
                          ่
        4.6 นําเชือกกระโดมารอยเปนสะพานคลองหลัง
        4.7 นํากระเปาผามาเย็บติดกับสายรัดหนาอก และตีนตุกแก
        4.8 นําตัวเครืองที่ประกอบเสร็จแลวใสลงในกระเปาผา
                        ่
        4.9 เย็บตีนตุกแกอีกดานที่ดานในของเสื้อ
                                      
        4.10 เจาะรูเสื้อแจคเก็ต เพื่อรอยสายไฟขาออกจากไดนาโม
13


       4.11 ติดกระเปาผากับดานในของเสื้อ รอยสายไฟขาไปในตัวเสื้อ
       4.12 ตอสายไฟเขากับเครื่องวัดความตางศักยเพื่อแสดงผล
5. ทดสอบเครื่องตนแบบเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
6. จัดทําแบบทดสอบถามความพึงพอใจของผูใชที่มตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
                                                   ี
7. ทดลองเครื่องตนแบบกับกลุมตัวอยาง
8. กลุมตัวอยางทําแบบถามความพึงพอใจของผูใชที่มตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
                                                      ี
9. วิเคราะหผลความพึงพอใจของผูใชทมตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
                                       ี่ ี
10. สรุปการประดิษฐเครืองออกกําลังกาย Jacket for energy
                         ่
14


                                         บทที่ 4
                                       ผลการทดลอง

เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy
         จากการทดลองประดิษฐเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy พบวาเมื่อออกแรงดึงเชือก
ไปมาอานคาความตางศักยไดสูงสุด 25 โวลต (ความตางศักยกระแสสลับ)
15


                                           บทที่ 5
                                     อภิปรายและสรุปผล

อภิปรายผลการศึกษา
5.1ความพึงพอใจของผูใชทมีตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket For Energy
                         ี่
        ในการสํารวจความพึงพอใจของผูใชที่มีตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket For Energyใชการสุม
ตัวอยางจากนักเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 23 คน ครูโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 11 คน และ
ผูปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 6 คน และการแปลผลแบบสํารวจในครั้ งนี้ไ ด
พิจารณาระดับความพึงพอใจใน 5 ระดับ ตามมาตรวัดลิเคิรท (Likert’s Scale) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

รายละเอียด                              จํานวน                        เปอรเซ็นต
ประชากร                                 40                            100
นักเรียน                                23                            57.50
ผูปกครอง                               6                             15.00
ครู                                     11                            27.50
ตารางที่ 1สถิตวิเคราะหเกี่ยวกับผูทําแบบสอบถามแยกประเภทตามสถานะทางสังคม ไดแก นักเรียน ครู
              ิ
                                            และผูปกครอง

จากตางรางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวยนักเรียนจํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 57.50
ผูปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 15.00 และครูโรงเรียนอนุราช
ประสิทธิ์ จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 27.50
16


รายละเอียด                                       จํานวน           เปอรเซ็นต
กิจกรรมที่ปฏิบัตหากไมไดออกกําลังกาย 100
                  ิ                                               100
ดูภาพยนตรหรือโทรทัศน                           12               30.00
นักเรียน                                         7                17.50
ครู                                              2                5.00
ผูปกครอง                                        3                7.50
อานหนังสือ                                      10               25.00
นักเรียน                                         6                15.00
ครู                                              3                7.50
ผูปกครอง                                        2                2.50
นอน                                              6                15.00
นักเรียน                                         4                10.00
ครู                                              2                5.00
ผูปกครอง                                        0                0.00
งานอดิเรกอื่นๆ                                   12               30.00
นักเรียน                                         6                15.00
ครู                                              4                10.00
ผูปกครอง                                        2                5.00
ตารางที่ 2 สถิติวิเคราะหเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผูทําแบบสอบถามจัดทําเมื่อไมไดออกกําลังกาย
17


        จากขอมูลขางตนพบวากิจกรรมที่ผูทดลองใชเครื่องออกกําลังกาย Jacket For Energy ทําเมื่อ
ไมไดออกกําลังกายจะเกี่ยวของกับการใชพลังงานไฟฟาเสมอ ดังนั้นเมื่อคํานวณการลดปริมาณการ
ปลอยกาซเรือนกระจกเมื่อใช Jacket For Energyในการออกกําลังกาย 1 ชั่วโมง/วัน โดยใชผลการ
คํานวณจากเว็บไซต http://thaicfcalculator.tgo.or.th ภายใตเงื่อนไขผูอยูอาศัยเพียง 1 คน ในเวลา 1 ป
ไดผลดังนี้

เครื่องใชไฟฟาที่เราไมตองเปดเมื่อใช Jacket For Energy    ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป
หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 25 วัตต จํานวน 1 ดวง                               0.01
หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 40 วัตต จํานวน 1 ดวง                               0.01
หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 60 วัตต จํานวน 1 ดวง                               0.01
หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 100 วัตต จํานวน 1 ดวง                              0.02
หลอดไฟฟาแบบหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 18 วัตต                                 0.01
จํานวน 1 ดวง
หลอดไฟฟาแบบหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 36 วัตต                                    0.02
จํานวน 1 ดวง
หลอดไฟฟาแบบหลอดตะเกียบ ขนาด 20 วัตต จํานวน 1 ดวง                             0.01
หลอดไฟฟาแบบหลอดคอมแพ็คฟลูออเรสเซนต                                           0.01
ขนาด 25 วัตต จํานวน 1 ดวง
พัดลมตั้งพื้นขนาด 16 นิ้ว จํานวน 1 ตัว                                         0.01
โทรทัศนสีจอ CRT ขนาด 14 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง                                 0.01
โทรทัศนสีจอ CRT ขนาด 20 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง                                 0.02
โทรทัศนสีจอ CRT ขนาด 21 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง                                 0.02
คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ขนาดจอ 14 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง                         0.01
คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ขนาดจอ 15 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง                         0.01
คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ขนาดจอ 17 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง                         0.02
เครื่องปรับอากาศ ขนาด 9,000 btu จํานวน 1 เครื่อง                               0.11
เครื่องปรับอากาศ ขนาด 12,000 btu จํานวน 1 เครื่อง                              0.13
เครื่องปรับอากาศ ขนาด 12,500 btu จํานวน 1 เครื่อง                              0.16
18


                                                                                ระดับความพึงพอใจ




                                                                                                                   ไมเห็นดวยอยางยิง
                        รายการ




                                                                                                                                     ่
                                                           เห็นดวยอยางยิ่ง




                                                                                                     ไมเห็นดวย



                                                                                                                                          รวม (%)
                                                                               เห็นดวย

                                                                                          ไมแนใจ
รูปลักษณของ Jacket For Energy
1.ความสวยงาม                                                7.50 70.00 20.00 2.50                                  0.00                   100
2.ความแข็งแรง                                               12.50 55.00 30.00 2.50                                 0.00                   100
3.ความสะดวกในการใช                                         32.50 52.50 15.00 0.00                                 0.00                   100
4.ความคิดสรางสรรค                                         55.00 45.00 0.00 0.00                                  0.00                   100
5.น้ําหนักตัวเครื่อง                                        17.50 57.50 25.00 0.00                                 0.00                   100
การใชงาน Jacket For Energy
1. Jacket for energy มีประสิทธิภาพเทียบเคียงเครื่องออก 15.00 30.00 55.00 0.00                                       0.00 100
กําลังกายในฟตเนส
2. Jacket for energy ทําใหเราสามารถใชเวลาวางใหเกิด 42.50 50.00 7.50 0.00                                        0.00 100
ประโยชนได
3. Jacket for energy ชวยชวยลดภาวะโลกรอนได               50.00 32.50 17.50 0.00                                  0.00 100
4. หลังจากทดลองใช Jacket for energy แลวทานรูสึก 17.50 50.00 25.00 7.50                                          0.00 100
อยากออกกําลังกาย
5. Jacket for energy ตองมีการพัฒนาตอ                      72.50 22.50 5.00 0.00                                   0.00 100
6. หากมีการพัฒนา Jacket for energy ในรุนสมบูรณทาน 37.50 50.00 12.50 0.00                                         0.00 100
จะเลือกใช Jacket for energy เปนสวนหนึ่งในการออก
กําลังกาย
7. Jacket for energy จะชวยใหทานลดการใชพลังงาน เชน 45.00 55.00 0.00 0.00                                        0.00 100
การใชเครื่องใชไฟฟา การใชน้ํามัน และตระหนักถึง
คุณคาของการออกกําลังกาย
                  ตารางที่ 3 สถิติวิเคราะหความพึงพอใจของผูใชท่มีตอเครื่องออกกําลังกาย
                                                                 ี
                                   Jacket For Energy ในรูปรอยละ
19


สรุปผลการศึกษา
          จากการทดลอง เครื่องออกกําลังกายผลิตพลังงานไฟฟาจาก Jacket For Energy ดวยการออก
กําลังกายไมวาจะเปนการเตนแอโรบิกหรือการวิ่ง สามารถนําพลังงานที่ไดจากการออกกําลังกายมาผลิต
เปนพลังงานไฟฟา สามารถชวยประหยัดพลังงาน และทําใหมีสุขภาพที่แข็งแรง
ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ
          1. ไดตนแบบเครื่องออกกําลังกายผลิตพลังงานไฟฟา Jacket For Energy
          2. ชวยประหยัดพลังงาน
          3. ทําใหผูใชมสุขภาพแข็งแรง
                          ี
ขอเสนอแนะ
          1. ควรทําฝากลองแบบเปด-ปดได เพื่องายตอการซอมแซม
          2. ควรออกแบบใหมีรูปแบบใหเหมาะสมตอการใชงานมากขึ้น
          3. ควรนําไปพัฒนาตอโดยการใชอุปกรณ ทีมีคุณภาพ หางายและเหมาะสม
                                                    ่
          4. ควรนําไปตอกับเครื่องใชไฟฟาที่รองรับความตางศักยสูงๆ แตกินกระแสไฟนอย
          5. ควรพัฒนาตอเพื่อเพิ่มปริมาณกระแสไฟฟา
          6. ควรพัฒนาใหเหมาะสมกับการออกกําลังกายประเภทอื่นใหผลิตไฟฟาไดอีก
20


                                         บรรณานุกรม

[1] ทวีศักดิ์ ภูชัย และคณะ . ไฟฟาเพื่อชีวิต.
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/11/Electrity-web/index.html. 26
       ตุลาคม 2554
[2] ประดับ นาคแกว. หนังสือเรียนวิทยาสาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. กรุงเทพฯ:แม็ค, 2553.
[3] สุนทร โคตรบรรเทา. สารานุกรมวิทยาศาสตร. ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ:เดอะ มาสเตอร
       กรุป. 2549.

More Related Content

What's hot

กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1tassanee chaicharoen
 
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
Kasem Boonlaor
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2tassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55krupornpana55
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงdp130233
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
UNDP
 
Omkoi project3
Omkoi project3Omkoi project3
Omkoi project3tanyalakt
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนWasan Yodsanit
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน krupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
Kobwit Piriyawat
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
Weerachat Martluplao
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.krupornpana55
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
riyanma
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
jirupi
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 

What's hot (20)

กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1กำหนดการสอนพุทธ1
กำหนดการสอนพุทธ1
 
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
การใช้พลังงานไฟฟ้าในชีวิตประจำวัน 1 พว12010
 
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
ส่วนเนื้อหาชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์
 
กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2กำหนดการสอนพุทธม.2
กำหนดการสอนพุทธม.2
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
คำสั่งบทักษะชีวิต 18 ก.ค.55
 
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงหน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
หน่วยการเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
Omkoi project3
Omkoi project3Omkoi project3
Omkoi project3
 
6.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 46.ตอนที่ 4
6.ตอนที่ 4
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
แผนการจัดการเรียนรู้ ที่ได้แรงบันดาลใจโทรทัศน์ครู ตอนพ่อมดกอบวิทย์
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
การผลิตและใช้สื่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ นายกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 

Viewers also liked

Close the project
Close the projectClose the project
Close the projectPeou Saren
 
Lai siltas rokas un silta sirds!
Lai siltas rokas un silta sirds!Lai siltas rokas un silta sirds!
Lai siltas rokas un silta sirds!
Inspired Communications
 
Roitt chapter 12_adversarial strategies during infection
Roitt chapter 12_adversarial strategies during infectionRoitt chapter 12_adversarial strategies during infection
Roitt chapter 12_adversarial strategies during infection
Elsa von Licy
 
Law & practice on EDVs in the Netherlands
Law & practice on EDVs in the NetherlandsLaw & practice on EDVs in the Netherlands
Law & practice on EDVs in the Netherlands
Tjeerd Overdijk
 
Ii. materials and systems for prestressing
Ii. materials and systems for prestressingIi. materials and systems for prestressing
Ii. materials and systems for prestressingChhay Teng
 
Sadhana diwali 2013
Sadhana diwali 2013Sadhana diwali 2013
Sadhana diwali 2013samyaksanvad
 

Viewers also liked (7)

Close the project
Close the projectClose the project
Close the project
 
Lai siltas rokas un silta sirds!
Lai siltas rokas un silta sirds!Lai siltas rokas un silta sirds!
Lai siltas rokas un silta sirds!
 
A Q I S Certs
A Q I S  CertsA Q I S  Certs
A Q I S Certs
 
Roitt chapter 12_adversarial strategies during infection
Roitt chapter 12_adversarial strategies during infectionRoitt chapter 12_adversarial strategies during infection
Roitt chapter 12_adversarial strategies during infection
 
Law & practice on EDVs in the Netherlands
Law & practice on EDVs in the NetherlandsLaw & practice on EDVs in the Netherlands
Law & practice on EDVs in the Netherlands
 
Ii. materials and systems for prestressing
Ii. materials and systems for prestressingIi. materials and systems for prestressing
Ii. materials and systems for prestressing
 
Sadhana diwali 2013
Sadhana diwali 2013Sadhana diwali 2013
Sadhana diwali 2013
 

Similar to JFEs

สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปกkrupornpana55
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องkrupornpana55
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
suranon Chaimuangchuan
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
Taweesak Poochai
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึมkrookay2012
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
Niwat Yod
 
โครงงาน คอม เชต
โครงงาน   คอม    เชตโครงงาน   คอม    เชต
โครงงาน คอม เชตThanasak Inchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556Weerachat Martluplao
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1nakaenoi
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
freelance
 

Similar to JFEs (20)

Energy box
Energy boxEnergy box
Energy box
 
สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
Thailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_tsThailand gogreen cavaw_ts
Thailand gogreen cavaw_ts
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้องปกโครงงานกล้อง
ปกโครงงานกล้อง
 
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคมโครงการ   โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
โครงการ โครงงานสำรวจและปฏิบัติการ การประหยัดพลังงาน โรงเรียนซับบอนวิทยาคม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
Hydroelectric power
Hydroelectric powerHydroelectric power
Hydroelectric power
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
2554 รายงานผลค่ายสืบศิลป์ถิ่นบ้านเกิด ม.เทคโนโลยีมหานคร
 
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง รายวิชาฟิสิกส์ 2
 
โครงงาน คอม เชต
โครงงาน   คอม    เชตโครงงาน   คอม    เชต
โครงงาน คอม เชต
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556โครงการครูพลังงาน 2556
โครงการครูพลังงาน 2556
 
วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1วิจัย 29 ม.ค 1
วิจัย 29 ม.ค 1
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือกลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
กลุ่มควายโบ้ --พลังงานหมุนเวียนกับเศรษฐกิจพอเพียง สรุปหนังสือ
 

More from Taweesak Poochai

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
Taweesak Poochai
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
Taweesak Poochai
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
Taweesak Poochai
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
Taweesak Poochai
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
Taweesak Poochai
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
Taweesak Poochai
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
Taweesak Poochai
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
Taweesak Poochai
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
Taweesak Poochai
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
Taweesak Poochai
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
Taweesak Poochai
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
Taweesak Poochai
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
Taweesak Poochai
 

More from Taweesak Poochai (20)

ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
ความพร้อมการเรียนทางไกล 1/63
 
โครงสร้างโลก
โครงสร้างโลกโครงสร้างโลก
โครงสร้างโลก
 
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิดการทดลองภูเขาไฟระเบิด
การทดลองภูเขาไฟระเบิด
 
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
เอกสารการสัมมนาวิชาการฯ ทิศทางการผลิตครูวิทยาศาสตร์
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๒
 
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
สารานุกรมลูกเสือเล่ม ๑
 
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
ถามตอบเชื้อเพลิงชีวภาพ
 
เอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยายเอกสารประกอบการบรรยาย
เอกสารประกอบการบรรยาย
 
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยีสหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
สหวิทยาการของนาโนเทคโนโลยี
 
nano safety short
nano safety shortnano safety short
nano safety short
 
Nano safety-e-book
Nano safety-e-bookNano safety-e-book
Nano safety-e-book
 
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
คู่มือ การสำรวจความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ป่าอนุรักษ์
 
Sound
SoundSound
Sound
 
Em wave
Em waveEm wave
Em wave
 
Nuclear
NuclearNuclear
Nuclear
 
Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012Ictoutdoor2012
Ictoutdoor2012
 
JfePresent
JfePresentJfePresent
JfePresent
 
GYI3rpt1
GYI3rpt1GYI3rpt1
GYI3rpt1
 
Sunny ars report
Sunny ars reportSunny ars report
Sunny ars report
 
Sci30203-Pressure
Sci30203-PressureSci30203-Pressure
Sci30203-Pressure
 

JFEs

  • 1. โครงงานสิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตร แจคเก็ตเพื่อพลังงาน Jacket for Energy ระดับชันมัธยมศึกษาตอนตน ้ นายศรัณญ สุนทรศารทูล นายกฤตณัฐ คุมรักษา เด็กชายพงศกร บัวผึ่ง ครูผฝกสอน ู นางสาวิตรี สิทธิชัยกานต นายทวีศักดิ์ ภูชัย โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ อาเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ํ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 ํ
  • 2. กิตติกรรมประกาศ ในการทําสิ่งประดิษฐ Jacket For Energy ครั้งนี้จะไมสามารถสําเร็จไดหากไมไดรับความ อนุเคราะหจากคุณครูนิชาวี เชิดชิด คุณครูแววยูง สุขสถิตย คุณครูศิริวุฒิ บัวสมาน คุณครูนิตยา พูลจันทร คุณครูเฉลิมชัย โสทามวง พี่ๆนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6/1 เด็กชายพงศกร บัวผึ่ง นายกานต บูลยประมุข คุ ณ แม ส มฤดี ภู ชั ย คุ ณ พ อ พ.ต.อ.สมบู ร ณ คะเลรั ม ย และคุ ณ แม ด ร.สุ ญ าดา สุ น ทรศารทู ล ผู ต อบ แบบสอบถามทุกทานรวมถึงทานผูอํานวยการสมหมาย มัณยานนท ที่ไดใหโอกาสและกําลังใจในการ สรางสรรคสิ่งประดิษฐในครั้งนี้ กระผมนายศรั ณ ญ สุ น ทรศารทู ล เด็ ก ชายพงศกร บั ว ผึ่ ง และนายกฤตณั ฐ คุ ม รั ก ษา ขอขอบพระคุณทุกๆทานที่ชวยเหลือจนพวกกระผมมีวันนี้ได นายศรัณญ สุนทรศารทูล นายกฤตณัฐ คุมรักษา และเด็กชายพงศกรบัวผึ่ง
  • 3. ชื่อสิ่งประดิษฐ ภาษาไทย : แจ็กเก็ตเพื่อพลังงาน ภาษาอังกฤษ : Jacket fo Energy ผูจัดทํา นายศรัณญ สุนทรศารทูล และ นายกฤตณัฐ คุมรักษา เด็กชายพงศกร บัวผึ่ง ระดับชั้น มัธยมศึกษาตอนตน โรงเรียน อนุราชประสิทธิ์ ครูที่ปรึกษา นางสาวิตรี สิทธิชัยกานต นายทวีศักดิ์ ภูชัย บทคัดยอ แจคเก็ตเพื่อพลังงาน (Jacket for Energy: JFE) ที่กลุมของพวกเราพัฒนาตอเนื่องมาจากสิ่งประดิษฐ ที่มีชื่อวา Energy Box โดยเริ่มมาจากแนวคิดที่ตองการสรางเครื่องออกกําลังกายที่สามารถสรางพลังงาน ไฟฟา จากพลังงานกล โดยอาศัยไดนาโมขนาด 3 โวลต จํานวน 3 เครื่อง เปนอุปกรณเปลี่ยนพลังงานกลจาก การชกลมของ ผู อ อกกํ า ลั ง กายเป น พลั ง งานไฟฟ า ซึ่ ง ค า ความต า งศั ก ย ที่ ไ ด สู ง สุ ด อยู ที่ 25 โวลต (กระแสสลับ) โดยเราสามารถนําพลังงานที่ไดไปตอเขากับ อุปกรณตางๆ เชน เครื่องวัดไฟฟาเพื่อแสดงผล และสามารถนํ า ไปต อ กั บ อุ ป กรณ อื่ น ๆ ที่ ส ามารถกั ก เก็ บ หรื อ เปลี่ ย นรู ป พลั ง งานไฟฟ า เพื่ อ นํ า ไปใช ประโยชนตอไปได
  • 4. คํานํา สิ่งประดิษฐแจ็กเก็ตเพื่อพลังงานเปนสิ่งประดิษฐที่สรางขึ้น จากแนวคิดที่ตองการสรางเครื่องออก กําลังกายที่สามารถสรางพลังงานไฟฟา จากพลังงานกลที่เกิดจากการขยับแขน โดยใชกระบวนการคิด แกปญหา การรวบรวมขอมูล และการพัฒนาสิ่งประดิษฐดวยกระบวนการทางวิทยาศาสตร ทั้งนี้เพื่อมุงหวัง ใหเกิดสุขอนามัยที่ดีตอประชาชนทุกเพศทุกวัย สิ่งประดิษฐนี้ยังไมถือวาเปน จุด สิ้น สุดของเครื่องออกกําลังกาย พวกเราหวังเปนอยางยิ่งวาจะ สามารถพัฒนาสิ่งประดิษ ฐนี้ใ หดี และเหมาะสมกับการออกกําลังกายให สมบูรณ มากยิ่งขึ้นไปอีก หาก ผูสนใจมีขอเสนอแนะแกพวกเรา พวกเรายินดีเปนอยางยิ่งที่จะไดรับคําแนะนําจากพวกทานไปปรับปรุง ผลงานของพวกเรา นายศรัณญ สุนทรศารทูล นายกฤตณัฐ คุมรักษา และเด็กชายพงศกรบัวผึ่ง
  • 5. สารบัญ หนา บทที่ 1 บทนํา 1 1. ที่มาและความสําคัญของโครงงาน 1 2. จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา 1 3. สมมติฐานในการศึกษาคนควา 2 4. ขอบเขตการศึกษาคนควาหาความรู 2 5. การกําหนดตัวแปรที่ศึกษาจากการทดลอง 2 6. นิยามเชิงปฏิบติการ ั 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ 4 1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 4 2. การเกิดภาวะเรือนกระจก 6 3. พลังงานกล 8 4. ไดนาโม 8 5. แรงเสียดทาน 9 6. หลอดไดโอดเปลงแสง 11 บทที่ 3 วัสดุอปกรณและวิธการ ุ ี 12 บทที่ 4 ผลการทดลอง 14 บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผล 15 1. ความพึงพอใจของผูใชที่มตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for Energy ี 15 2. สรุปผลการศึกษา 19 3. ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 19 4. ขอเสนอแนะ 19 บรรณานุกรม 20 ภาคผนวก
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนํา 1.ที่มาและและความสําคัญของโครงงาน คนชุมชนเมืองในปจจุบันตองทํางานแขงกับเวลา ตื่นเชากลับดึก จึงไมมีเวลาไดออกกําลังกาย จากผลการสํารวจพฤติกรรมการออกกําลังกายของคนไทยในป 2550 โดยสํานักงานสถิติแหงชาติ พบบวารอยละ 30 ของประชากรทั้งประเทศที่ออกกําลังกาย โดยใชบริการสวนสาธารณะหรือฟตเนส (Fitness) (หนังสือพิมพขาวสด : 11 มกราคม 2553) ซึ่งตองเสียคาใชจายคอนขางสูงเพราะเครื่องออกกํา ลงกายราคาแพงเนื่องจากตองใชพลังงานไฟฟาเปนจํานวนมาก คนในชุมชนเมืองหันมาใสใจสุขภาพกัน มากขึ้นโดยเฉพาะการรับประทานอาหารกันสวนใหญ เปนอาหารฟาสฟูด (fast food) เปนหลัก ทําให คนจํานวนไมนอยนําเงินหลายพันบาทมาใชบริการกับศูนยออกกําลังกาย (ฟสเนส) เพื่อใหสุขภาพที่ แข็งแรง ไมวาจะเปนคนหนุมสาว คนวัยกลางคนแมกระทั้งผูสูงอายุ ดั้งนั้นจึงมีการคิดสิ่งประดิษฐ เครื่องออกกําลังกาย ที่ชวยใหคนในสังคม หันมาออกกําลังกาย และยั ง ได รั บ ประโยชน จ ากการออกกํ า ลั ง กายด ว ย โดยมี สุ ข ภาพร า งกายที่ แ ข็ ง แรงแล ว ยั ง ได รั บ ประโยชนจากการ ออกกําลังกายควบคูกันไป แตเครื่องออกกําลังกายสวนใหญ ตองใชกระแสไฟฟา ทํา ใหสิ้นเปลืองพลังงานไปเพื่อแลกประโยชนจากการออกกําลังกาย พลังงานเปนของมีคา ที่ใชแลวหมด สิ้นไป แตมีพลังงานที่เกิดขึ้นขณะออกกําลังกายที่ทุกคนมองขามกันไป ไมสามารถนําพลังงานสวนนั้น มาใชประโยชนไดอยางคุมคา พลังงานที่ไดจากการออกกําลังสามารถนํามาผลิตเปนพลังงานไฟฟาได สิ่งประดิษฐดังกลาวคือ Energy box จากการใช Energy box ยังมีปญหาเกี่ยวกับลักษณะของ สิ่งประดิษฐที่ไมเหมาะสมกับสรีระของผูใช คณะผูจัดทําจึงคิดพัฒนารูปแบบใหมีความเหมาะสมกับการใชงานมากขึ้น โดยใชชื่อวา Jacket for energy ซึ่งเปนเครื่องออกกําลังกายที่สามารถผลิตพลังงานไฟฟาโดยใชพลังงานกลจาก การออกแรง ดึงเครื่องออกกําลังกาย 2.จุดมุงหมายของการศึกษาคนควา 1.เพื่อพัฒนาและสรางตนแบบของเครื่องออกกําลังกายผลิตกระแสไฟฟาJacket for energy 2.เพื่ อสํ า รวจความพึ ง พอใจของผูใ ช ที่มีตอ เครื่อ งออกกําลัง กายผลิต พลั ง งานกระแสไฟฟ า Jacket for energy
  • 7. 2 3.สมมุติฐานในการศึกษาคนควา สมมุติฐานที่ 1 ถาออกกําลังกายดวยเครื่องออกกําลังกายผลิตกระแสไฟฟา Jacket for energy แลวการปลอยแก็สเรือนกระจกเนื่องจากการใชพลังงานไฟฟาลดลง สมมุติฐานที่ 2 ถาเครื่องออกกังกายผลิตกระแสไฟฟาจาก Jacket for energy ทําใหกลุม ตัวอยางที่ทดลองใชแลวมีความพึงพอใจแลว ประชากรจะสนใจการออกกําลังกายมากขึ้น 4.ขอบเขตการศึกษาหาความรู การทําโครงงานวิทยาศาสตรเรื่องและเทคโนโลยีเรื่อง Jacket for energy ครั้งนี้ไดทดลองกับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 – 6 โรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ ครูและผูปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุราช ประสิทธิ์ สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจังหวัดนนทบุรี เขต 1 จังหวัดนนทบุรี จํานวน 40 คน 5. การกําหนดตัวแปรที่ศึกษาจากการทดลอง 5.1 ตัวแปรตน ตัวแปรของสมติฐานที่ 1 การออกกําลังกายดวยเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy ตัวแปรของสมติฐานที่ 2 เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy 5.2 ตัวแปรตาม ตัวแปรขอมสมติฐานที่ 1 การปลอยแกสเรือนกระจกเนื่องจากการใชพลังงานไฟฟาลดลง ตัวแปรของสมติฐานที่ 2 เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy ชวยลดภาวะโลกรอน 5.3 ตัวแปรควบคุม 1. เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy 2. ระยะเวลาในการใช 3. นักเรียน ครูและผูปกครอง
  • 8. 3 6. นิยามเชิงปฏิบัติ 6.1 เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy คือ เครื่องออกกําลังกายที่สามารถผลิตพลังงาน ไฟฟา โดยใชพลังงานจลจากการออกแรงดึงเครื่องออกกําลังกาย 6.2 พลังงานสะอาด (green energy) คือ คําที่ใชอธิบายความคิดที่เกี่ยวกับแหลงพลังงานที่เปน มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล อ ม โดยทั่ ว ไปจะหมายถึ ง พลั ง งานที่ ไ ม มี วั น หมดและเป น พลั ง งานที่ ไ ม มี ม ลพิ ษ พลังงานสะอาดประกอบดวยกระบวนการที่ใชพลังงานจากธรรมชาติและเปนกระบวนการที่สามารถ ควบคุม ให มีม ลพิษ เพี ย งเล็ ก น อย ได แ ก พลั ง งานชี ว มวล พลัง งานความรอ นใตพิ ภ พ พลัง งานลม พลังงานน้ํา พลังงานแสงอาทิตย พลังงานจากปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง พลังงานคลื่น พลังงานจากพืช และสัตว ซึ่งพลังงานเหลานี้จัดอยูในหมวดหมูเดียวกัน 6.3 ความพึงพอใจ คือ ความพึงพอใจของผูใชทมีตอ Jacket for energy ่ี 6.4 ความตระหนัก คือ การที่บุคคลแสดงวา มีความสํานึกและยอมรับถึงภาวการณ เหตุการณใด เหตุการณหนึ่ง ซึ่งสภาพแวดลอมในสังคมเปนชวยในการแสดงออกซึ่งพฤติกรรมนั้น 6.5 แกสเรือนกระจก คือ แกสที่มีอยูในบรรยากาศที่ทําใหสูญเสียความรอนสูหวงอวกาศลดลงจึง มีผลตออุณหภูมิในบรรยากาศผานปรากฏการณเรือนกระจก ไดแก ไอน้ํา มีเทนคารบอนไดออกไซด ไน ตรัสออกไซด โอโซน และคลอโรฟลูโอโรคารบอน (Chlorofluorocarbon)
  • 9. 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวของ สิ่งประดิษฐทางวิทยาศาสตร Jacket for energy ของนักเรียนโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1 จังหวัดนนทบุรี คณะผูจัดทําไดศึกษาเอกสาร เกี่ยวของ ตามหัวขอตอไปนี้ 1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ 2. การเกิดภาวะเรือนกระจก 3. พลังงานกล 4. ไดนาโม 5. แรงเสียดทาน 6. หลอดไดโอดแปรงแสง 1. การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ การออกกําลังกายเพื่อสุขภาพ คือ การออกกําลังเพื่อเพิ่ม หรือคงไวซึ่งความทนทานของระบบ ไหลเวียนโลหิตและปอด โดยมีขบวนการใชออกซิเจน ในขบวนการเผาผลาญ เพื่อใหเกิดพลังงาน สําหรับการออกกําลังอยางตอเนื่อง จึงมีชื่อเรียกการออกกําลังกายชนิดนี้วา AEROBIC EXERCISE ประโยชนตอสุขภาพ 1. ระบบไหลเวียนโลหิต 1.1 ทําใหกลามเนื้อหัวใจแข็งแรงมากขึ้น สามารถสูบฉีดโลหิตไดปริมาณมากขึ้น 1.2 เพิ่มหลอดโลหิตฝอยมาเลี้ยงกลามเนื้อหัวใจมากขึ้น 1.3 ลดอัตราการเตนของหัวใจ ทั้งในขณะพัก และออกกําลังกาย ทําใหไมเหนื่อยงาย 1.4 ลดแรงตานทานสวนปลายของหลอกโลหิตฝอยทําใหความดันโลหิตลดลงขณะพัก และออก กําลังกายลดความเสี่ยงตอการเกิดโรคความดันโลหิตสูง 2. ระบบหายใจ 2.1 ความจุปอดเพิ่มขึ้น ทําใหการแลกเปลี่ยนออกซิเจนมากขึ้น 2.2 เพิ่มปริมาณโลหิตไปสูปอด ทําใหการไหลเวียนของปอดดีขึ้น 2.3 เพิ่มประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนแกสที่ปอด ทําใหประสิทธิภาพการหายใจดีขึ้น 3. ระบบชีวเคมีในเลือด 3.1 ลดปริมาณคอแลสเตอรอล (Cholesterol) และไตรกีเซอไรด (Triglyceride) จึงลดอัตราเสี่ยงตอโรค หลอดเลือดหัวใจอุดตัน และหลอดเลือดสมองอุดตัน 3.2 เพิ่ม HDL Cholesterol ซึ่งชวยลดการเปนโรคหลอดเลือดหัวใจอุดตัน
  • 10. 5 3.3 ลดน้ําตาลสวนเกินในเลือด เปนการชวยปองกันโรคเบาหวาน 4. ระบบประสาทและจิตใจ 4.1 ลดความวิตกกังวลและคลายเครียด 4.2 มีความสุขและรูสึกสบายใจจากสารแอนดอรฟน Endorphin ที่หลั่งออกมาจากสมองขณะออก กําลังกาย ขั้นตอนและหลักการในการปฎิบติ ั ถามีอายุมากกวา 35 ป ควรตรวจสุขภาพ วามีโรคหัวใจหรือไมกอนการออกกําลังกายชนิดนี้ ควรรูวิธีเหยียดและยืดกลามเนื้อ รวมทั้งอุนเครื่อง (Warm up) และเบาเครื่อง (Cool down) หลักในการ ปฎิบัติเปนการใชกลามเนื้อมัดใหญอยางนอย 1ใน 6สวนของรางกาย ออกกําลังกายอยางสม่ําเสมอ รูปแบบการออกกําลังกาย มีหลากหลายชนิด เชน วิ่งเหยาะ, เดินเร็ว, ขี่จักรยาน, วายน้ํา, เตนแอโรบิค, ฟุตบอล, บาสเก็ต แทนนิส, แบตมินตัน, ขามตาขาย, วอลเลยบอล เปนตน ขอควรระวัง ควรงดออกกําลังกาย ในขณะเจ็บปวย มีไข พักผอนไมพอควรออกกําลังกายกอนอาหารหรือ หลังอาหารหนักผานไป3-4ชั่วโมง และดื่มน้ําอยางเพียงพอ ควรหลีกเลี่ยงสภาพอากาศที่รอนจัด หนาว จัด ฝนฟาคะนอง มลภาวะมากสวมเสื้อผาที่เหมาะสมควรพักหากมีอาการแนนหนาอก คลื่นไส อาเจียน และไปพบแพทย อุปสรรคที่ทําใหคุณไมออกกําลังกาย คนสวนใหญทราบดีวาการออกกําลังกายเปนสิ่งที่ดี และออกกําลังกาย แตมักจะมีอุปสรรคนาๆ นับประการที่มีขัดขวาง คุณเคยพบอุปสรรคเหลานี้กับตัวคุณเองหรือไม “ฉันมีธุระมาก ไมมีเวลา” ใน สังคมที่รีบเรงในปจจุบัน ทุกคนมีภาระสวนตัวที่จะทํากันทั้งนั้น ยิ่งคุณธุระมาก คุณยิ่งตองออกกําลังกาย เพื่อเตรียมรางกายใหพรอมที่จะเผชิญกับปญหาตางๆ “ ฉันไมชอบออกกําลังกาย” อยาทําอะไรฝนใจ ตัวเอง ถาคุณไมชอบออกกําลังกาย ลองสํารวจตัวเองวาชอบทําอะไรที่ใชพลังงานบาง แลวลองทําสิ่งนั้น ใหบอยขึ้นคุณไมจําเปนตองออกไปวิ่งเพื่อลดน้ําหนักถาคุณไมชอบกิจกรรมอื่นๆ ที่ใชพลังงานเชน ขี่ จักรยาน ทําสวน เตนรํา เลนโบริ่ง เลนสเก็ต หรือตีปงปอง ถาตอนนี้คุณไมไดทํากิจกรรมเหลานี้เลย ลอง นึกถึงอดีตและหาสิ่งที่คุณเคยทําและสนุกกับมัน ลองกลับมาทําสิ่งนั้นใหม “ ฉันแกเกินไปแลว” ไมมี เวลาแกเกินไปสําหรับการออกกําลัง เพียงแตเลือกวิธีการออกกําลังกายที่เหมาะสมกับวัยของคุณเทานั้น จากการวิจัยพบวา ไมวาจะอยูในกลุมอายุใด จะไดประโยชนจากการออกกําลังเหมือนกัน “ฉันไมมีเวลา มากพอสําหรับการออกกําลัง” คุณไมจําเปนตองใชเวลามากขนาดนั้น เพียงคุณใชเวลาวาง เล็กๆนอย ที่มี อยูออกกําลัง เชนคุณอาจใชเวลาเลนกับสัตวเลี้ยงของคุณใหมากขึ้นหนอยหรือเดินมากขึ้นอีกหนอย ขณะที่คุณกําลังทํางาน “ฉันดูเหมือนตัวตลกที่ฉันพยามออกกําลังกาย” คุณไมไดดูเหมือนตัวตลก แตคุณ ดูเหมือนคนที่กําลังเดินไปถูกทาง และกําลังจะมีชีวิตที่ดีขึ้นในไมชา “ดูเหมือนรางกายของฉันไมดีขึ้น
  • 11. 6 เลย” อันที่จริงถาคุณลองบันทึกขอมูลตางๆ คุณกําลังจะพบวารางกายของคุณกําลังจะดีข้ึนเรื่อยๆ เชน ลองบันทึกจํานวนชั้นที่คุณสามารถเดินขึ้นลงในแตละวัน หรือเวลาที่คุณใชในการเดินในแตละวัน คุณ จะพบวาคุณกําลังพัฒนาไปเรื่อย “ในยุคเศรษฐกิจฝดเคืองแบบนี้ ฉันไมมีเงินที่จะไปออกกําลังกายตาม สถานบริหารรางกาย หรือไมมีเงินซื้อเครื่องมือที่ใชในการออกกําลังกายหรอก” คุณไมจําเปนที่ตองใช เงิน การทํางานบาน เปนการออกกําลังกายที่ดีเชนเดียวกัน การเดินเปนการออกกําลังกายที่ดี คุณอาจไป เดินตามสวนสาธารณะ หรือไปเดินเลนตามศูนยการคา “ฉันมักจะออกกําลังไดพักหนึ่งก็เลิก” ไมใชเพียง ตึคุณที่เปนอยางนี้ พบวาครึ่งหนึ่งของผูที่ออกกําลังกายหยุดออกกําลังกายใน 6 เดือน วิธีที่จะชวยไดคือ ลองคิดถึงการออกกําลังที่สม่ําเสมอจะทําใหน้ําหนักคุณลดไดตอเนื่อง แตถาคุณหยุด ออกกําลังกายน้ําหนักคุณจะเพิ่มกลับมาใหม คุณตองเริ่มใหมตั้งแตตนอีก - ออกกําลังกายเพิ่มขึ้นทีละนอย ใหรางกายของคุณคอยๆปรับตัว คุณอาจเพิ่มเวลาออกกําลังมากขึ้น  เพียง 5 นาทีในแตละเดือน - ทําสิ่งที่ทําแลวรูสึกสนุกและไดออกกําลังกายดวย ลองหาเพื่อนมาออกกําลังกายดวยกัน - เปลี่ยนแปลงกิจวัตรของคุณบาง อยางทําอะไรซ้ําซากที่อาจทําใหคุณเบื่อ “ฉันมีโรคประจําตัวจะ ออกกําลังกายอยางไร” ถาคุณอวนมาก ตั้งครรภสูบบุหรี่จัด เปนโรคหัวใจ ความดันโลหิตสูง เบาหวาน หอบหืด หรือโรคเรื้อรังอื่นๆ คุณอาจจะตองปรึกษาแพทยกอนเลือกวิธีการออกกําลังที่ เหมาะกับคุณ 2.การเกิดภาวะเรือนกระจก ภาวะเรือนกระจกคือ ภาวะที่ชั้นบรรยากาศของโลกกระทบตัวเสมือนกระจกที่ยอมใหรังสีคลื่น สั้นผานลงมายังผิวโลกได แตจะดูดกลืนรังสีคลื่น ยาวชวงอินฟราเรดที่ผานออกจากพื้นผิวโลกเอาไว จากนั้นก็คายพลังงานความรอนใหกระจายอยูภายในชั้นบรรยากาศและพื้นผิวโลกจึงเปรียบเสมือน กระจกปกคุมผิวโลกใหมีภาวะสมดุลทางอุณหภูมิ และเหมาะสมตอสิ่งมีชีวิตบนผิวโลก แตในปจจุบัน มีแกสบางชนิดสะสมอยูในชั้นบรรยากาศมากเกินสมดุล ซึ่งแกสเหลานี้สามารถดูกลืนรังสีคลื่นยาว ชวงอินฟราเรด และคายพลังความรอนไดดี พื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศจึงมีอุณหภูมิสูงขึ้นสงผล กระทบตอสภาพภูมิอากาศของโลก และสิ่งมีชีวิตพื้นผิวโลกอยางมากมาย ในภาวะปกติชั้นบรรยากาศ ของโลกจะประกอบดวย โอโซน ไอน้ํา และแกสชนิดตางๆ ซึ่งทําหนาที่กรองรังสีคลื่นสั้นบางชนิดให ผา นมาตกกระทบพื้ น ผิ ว โลก รั งสี คลื่ น สั้น ที่ต กกระทบพื้ น ผิ ว โลกนี้จ ะสะท อ นกลับ ออกนอกชั้ น บรรยากาศไปสวนหนึ่ง ที่เหลือพื้นผิวโลกที่ประกอบดวยพื้นน้ํา พื้นดินและ สิ่งมีชีวิตจะดูดกลืนไว หลั ง จากนั้ น ก็ จ ะคายพลั ง งานออกมาในรู ป แบบรั ง สี ค ลื่ น ยาวช ว งอิ น ฟราเรดแผ ก ระจายขึ้ น สู ชั้ น บรรยากาศและแผกระจายออกนอกชั้นบรรยากาศไปบางสวน อีกสวนหนึ่งนั้นชั้นบรรยากาศจะดูกลืน ไวและคายพลังงานความรอนออกมา ผลที่เกิดขึ้นคือทําใหโลกสามารถรักษาสภาพสมดุลทางอุณหภูมิ
  • 12. 7 ไวไดจึงมีวฏจักรน้ํา อากาศ และฤดูตางๆ ดําเนินไปอยางสมดุลเอื้ออํานวยตอการดํารงชีวิตพืชและสัตว ั โลกจึงเปรียบเสมือนเรือนปลูกพืชขนาดใหญที่มีไอน้ําและแกสตางๆ ชั้นบรรยากาศเปนเสมือนกรอบ กระจกที่คอยควบคุมอุณหภูมิ และวัฏจักรตางๆใหเปนไปอยางสมดุลแตในปจจุบันชั้นบรรยากาศของ โลกมี ปริ ม าณแกส บางชนิ ด มากเกิน สมดุล ของธรรมชาติอั น เป น ผลมาจากฝ มือ มนุษ ย เช น แก ส คารบอนไดออกไซด (CO2) แกสมีเทน (CH4) แกสคลอโรฟลูออโรคารบอน (CFC8) และแกสไนตรัส ออกไซด (N2O) เปนตน แกสเหลานี้มีคุณสมบัติพิเศษคือสามารถดูดกลืนและคายรังสีคลื่นยาวชวง อินฟราเรดไดดีมาก ดังนั้นเมื่อพื้นผิวโลกคายรังสีอินฟราเรดขึ้นสูชั้นบรรยากาศ แกสเหลานี้จะดูดกลืน รังสีอินฟราเรดเอาไว ตอจากนั้นมันก็จะคายความรอนสะสมอยูบริเวณพื้นผิวโลกและชั้นบรรยากาศ เพิ่มมากขึ้นพื้นผิวโลกจึงมีอุณหภูมิเราเรียกแกสที่ทําใหเกิดภาวะนี้วา “แกสเรือนกระจก (greenhouse gases)” แกสเรือนกระจกนอกจากจะสงผลตอการเพิ่มอุณหภูมิของพื้นผิวโลกโดยตรงแลว มันยังสงผล กระทบโดยทางออมดวยกลาวคือมันจะไปทําปฏิกิริยาเคมีกับแกสอื่นๆ และเกิดเปนแกสเรือนกระจก ชนิดใหมขึ้นมา หรือแกสเรือนกระจกบางชนิดอาจรวมตัวกับโอโซนทําใหโอโซนในชั้นบรรยากาศลด นอยลง สงผลใหรังสีคลื่นสั้นที่สองผานชั้นโอโซนลงมายังพื้นผิวโลกไดมากขึ้นรวมทั้งปลอยใหรังสีที่ ทําอันตรายตอมนุษยและสิ่งมีชีวิต สองผานลงมาทําอันตรายกับสิ่งมีชีวิตบนโลกไดดวยแกสเรือน กระจก ในชั้นบรรยากาศของโลกประกอบดวนแกสตางๆหลายชนิดแตละชนิดมีการเปลี่ยนแปลง เพิ่มขึ้น และลดลงตามคุณสมบัติตามเคมีของแกสแตละชนิด ดังนั้นแกสที่มีมากเกินสมดุลของชั้น บรรยากาศจะสะสมอยูในชั้นบรรยากาศ แกสบางชนิดสามารถสะสมอยูในชั้นบรรยากาศไดนานหลาย รอ ยป บางชนิ ด สะสมอยู ไ ด ใ นเวลาเพี ย งไม กี่ ปก็ ส ลายไป แกส เรือ นกระจกที่ ก ล า วถึ ง นี้ก็ เ ชน กั น เนื่องจากมันมีปริมาณที่มากเกินสมดุลในชั้นบรรยากาศ มันจึงสะสมอยูในชั้นบรรยากาศและสะสมอยู ไดเปนเวลานานหลายป เราอาจแบงแกสเรือนกระจกไดเปนสองพวกตามอายุ การสะสมอยูในชั้น บรรยากาศ คือ พวกที่มีอายุการสะสมอยูในชั้นบรรยากาศไมนาน เนื่องจากแก็สเหลานี้สามารถทํา ปฏิกิริยาไดดีกับไอน้ํา หรือแก็สอื่นๆจึงทําใหมันมีอายุสะสมเฉลี่ยสั้น สวนอีกพวกหนึ่งเปนแกสเรือน กระจกซึ่งมีอายุสะสมเฉลี่ยนานหลายป เชน แกสเรือนกระจก แกสมีเทน แกสไนตรัสออกไซด และ แกสคลอโรฟลูออโรคารบอน เปนตน แกสเหลานี้นับเปนแกสที่เปนตัวการหลักของการเกิดภาวะเรือน กระจก เนื่องจากการมีอายุสะสมเฉลี่ยยาวนานและสามารถดูดกลืนรังสีอินฟราเรด ไดดีกวาแกสเรือน กระจกอื่นๆ ทั้งยังสงผลกระทบใหผิวโลกมีอุณหภูมิสูงขึ้น โดยทางออมไดดวย แมวาจะมีการรณรงค เพื่อลดการปลดปลอยแกสเรือนกระจกกันอยางกวางขวาง แตอันตราการเพิ่มปริมาณแกสเรือนกระจก ก็ยังมีมากขึ้นซึ่งการเพิ่มขึ้นนี้เปนผลมาจากฝมือมนุษยทั้งนั้น
  • 13. 8 3.พลังงานกล เครื่องกล หมายถึง อุปกรณที่ชวยผอนแรงหรืออํานวยความสะดวก หรือทั้งชวยผอนแรงอํานวย ความสะดวก พลังงานกล เปนพลังงานที่อยูในรูปที่มีการเคลื่อนที่หรือเคลื่อนไหวไปมา โดยอยูในรูปของ พลังงานจลน นอกจากนี้พลังงานนี่สะสมอยูในตัววัตถุเอง ที่พรอมจะเคลื่อนที่ก็เปนพลังงานกลใน รูปแบบของพลังงานศักย ดังนั้นพลังงานกลจึงสามารถอยูทั้งรูปแบบพลังงานจลนและพลังงานศักย พลังกลจึงเปนผลรวมของพลังงานทั้งสองเขาดวยกัน เชน น้ําที่อยูเหนือเขื่อนมีพลังงานกลอยูในรูป พลังงานศักย เมื่อเปดประตูนํ้าใหนํ้าไหลลงมาทายเขื่อน น้ําที่ไหลจะอยูในรูปพลังงานจลน คือการ เคลื่อนที่ลงอยางรวดเร็ว ขณะที่น้ําไหลมาใกลพื้นที่ทายเขื่อน พลังงานศักยที่มีอยูเดิมจะลดลงแต พลังงานจลนจะเพิ่มขึ้น 4.ไดนาโม เปนอุปกรณที่ทําหนาที่เปลี่ยนพลังงานกลใหเปนพลังงานไฟฟา มีสวนประกอบสําคัญ ไดแก ขดลวดที่พันอยูรอบแกนเรียกวา อาเมเจอร (Armature) แมเหล็กสองแทง หันขั้วตางกันเขาหากัน เพื่อใหเกิดสนามแมเหล็กโดยจะมีแรงแมเหล็กพุงจากขั้วเหนือไปยังขั้วใต และบริเวณขั้วจะมีความ เขมขนของสนามแมเหล็กมากกวาบริเวณอื่นๆ หลักการเหนี่ยวนําใหเกิดกระแสไฟฟา หลักการเหนี่ยวนําใหเกิดกระแสไฟฟาไดนาโม อาจทําไดดังนี้ การหมุนขดลวดตัวสนามแมเหล็ก จะทําใหสนามแมเหล็กเปลี่ยนแปลง จึงเกิดกระแสไฟฟา ไม เคิล ฟาราเดย (Michael Faraday) นักวิทยาศาสตรอังกฤษ (พ.ศ.2334-2410)เปนผูคนพบหลักการที่วา “กระแสไฟฟาเหนี่ยวนําเกิดจากการเปลี่ยนแปลงสนามแมเหล็กที่ผานขดลวด” ถาตองการสรางไดนาโมใหสามารถผลิตกระแสไฟฟาไดมากขึ้นสามารถทําไดโดย เพิ่มจํานวน ของรอบขดลวดหมุนขดลวดใหเร็วขึ้นเพิ่มแรงขั้วแมเหล็ก ไดนาโมแบงออกเปน 2 ชนิด 1. ไดนาโมไฟฟากระแสสลับ AC Dynamo ประกอบดวยแทงแมเหล็ก 2 แทง ขดลวด และแหวนลื่นโดยแหวนลื่น 2 วง สัมผัสกับแปรง ตัวนําไฟฟาซึ่งจะรับกระแสไฟฟาจากขดลวดออกสูวงจรภายนอก 2. ไดนาโมไฟฟากระแสตรง DC Dynamo ประกอบดวยแทงแมเหล็ก 2 แทง ขดลวด และแหวนแยกแตละอันสัมผัสกับแปรงตัวนําไฟฟา ซึ่งรับกระแสไฟฟาจากขดลวดออกลงสูวงจรภายนอก ไดนาโมกระแสตรง (Direct current dynamo) หมายถึง ไดนาโมที่ผลิตไฟกระแสตรง (D.C.) สวนประกอบเหมือนกับไดนาโมกระแสสลับทุกอยางตางกันแตวงแหวนเทานั้น
  • 14. 9 ไดนาโมกระแสตรงใชวงแหวนผาซีก (Split ring) ซึ่งเรียกวา คอมมิวเตเตอร (Commutate) แต ละซีกมีลักญณะเปนครึ่งวงกลมติดตอกันอยูกับปลายของขดลวดปลายละซีก ครึ่งวงกลมแตละซีกอยู กับแปรง แปรงละซีก แปรงทั้งสองติดตอกับวงจรภายนอกเพื่อนํากระไฟฟาไปใชประโยชน จากการ ดัดแปลงแหวนใหเปนคอมมิวเตเตอร เมื่อใชพลังงานกลมาหมุนขดลวดใหตัดเสนแรงแมเหล็กจะได กระแสไฟฟ า เหนี่ ย วนํ า เข า สู ว งจรภายนอก โดยมี ทิ ศ ทางการไหลเพี ย งทิ ศ ทางเดี ย วตลอดเวลา กระแสไฟฟาที่ไดจึงเปนไฟฟากระแสตรง (D.C.) ไดนาโมที่ผลิตกระแสไฟฟาสลับ (A.C.) ออกมาใชงาน กระแสสลับ คือ กระแสไฟฟาที่มีทิศ ทางการไหลสลับไปกลับมาอยางรวดเร็วมากอยูตลอดเวลา ในไดนานโมที่ใชงานจริงๆ ใชขดลวด ตัวนําหลายขดใหเคลื่อนที่ตัดเสนแรงแมเหล็กเราเรียกขดลวดตัวนําที่เคลื่อนที่ในสนามแมเหล็กนี้วา” อาร เ มเจอร ” (Armture) สํ า หรั บ การศึ ก ษาเบื้ อ งต น จะพิ จ ารณาขดลวดเพี ย งขดเดี ย ว ไดนาโม กระแสสลับประกอบดวย แทงเหล็ก 2 แทง วางขั้วตางกันเขาหากัน และมีขวดลวดตัวนําอยูตรงกลาง ปลายดสนหนึ่งของขดลวดติดกับวงแหวนลื่น (Slip ring) (R) อีกปลายหนึ่งของขดลวดติดอยูกับวง แหวนลื่น R’ วงแหวน Rเตะอยูกับแปรง B สวนวงแหวน R’ เตะอยูกับแปรง B’ เมื่อขดลวดหมุนวง แหวนทั้งสองจะหมุนตามไปดวยโดยเตะกับแปรงอยูตลอดเวลา แปรงทั้งสองติดอยูกับวงจรภายนอก เพื่อนํากระแสไฟฟาออกไปใชประโยชน เมื่อใชพลังงานกลมาหมุนขดลวด ขดลวดเคลื่อนที่ตัดเสน แรงแมเหล็ก กอใหเกิดแรงเคลื่อนไฟฟาเหนี่ยวนําขึ้นในขดลวด เมื่อขดลวดนี้ตอครบวงจรกับความ ตานทานภายนอกแลว ยอมไดกระแสไฟฟาเหนี่ยวนําไหลในวงจรเหนี่ยวนํา 5. แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน (friction) เปนแรงที่เกิดขึ้นมื่อวัตถุหนึ่งพยายามเคลื่อนที่ หรือกําลังเคลื่อนที่ไป บนผิวของอีกวัตถุ เนื่องจากผิวสัมผัสกระทํา มีลักษณะที่สําคัญ ดังนี้ 1.เกิดขึ้นระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ 2.มีทิศทางตรงกันขามกับทิศทางที่วัตถุเคลื่อนที่หรือตรงกันขามทิศทางของแรงที่พยายามกระทําใหวตถุ ั เคลื่อนที่ ประเภทของแรงเสียดทาน แรงเสียดทานมี 2 ประเภท คือ 1.แรงเสียดทานสถิต (static friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึนระหวางผิวสัมผัสของวัตถุ ใน ้ สภาวะทีวัตถุไดรับแรงกระทําแลวหยุดนิง ่ ่ 2.แรงเสียดทานจลน (kinetic friction) คือ แรงเสียดทานที่เกิดขึนระหวางผิวสัมผัสของวัตถุใน ้ สภาวะทีวตถุไดรับแรงกระทําที่เกิดจากการเคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ ่ั ปจจัยที่มีผลตอแรงเสียดทาน แรงเสียดทานระหวางผิวสัมผัสจะมีคามากหรือนอยขึ้นยูกับ 
  • 15. 10 1.แรงกดตั้งฉากกับผิวสัมผัส ถาแรงกดตังฉากกับผิวสัมผัสมากจะเกิดแรงเสียดทานมาก ถาแรง กดตั้งฉากกับผิวสัมผัสนอยจะเกิดแรงเสียดทานนอย 2.ลักษณะของผิวสัมผัส ถาผิวสัมผัสหยาบ ขรุขระจะเกิดแรงเสียดทานมาก ดังรูป ก สวน ผิวสัมผัสเรียบลื่นจะเกิดแรงเสียดทานนอย 3.ชนิดของผิวสัมผัส เชน คอนกรีตกับเหล็ก เหล็กกับไม จะเห็นวาผิวสัมผัสแตละคู มีความ หยาบ ขรุขระ หรือ เรียบลื่น เปนมันแตกตางกัน ทําใหเกิดแรงเสียดทานไมเทากัน การลดแรงเสียดทาน การลดแรงเสียดทานสามารถทําไดหลายวิธดังนี้ ี 1.การใชนํามันหลอลื่นหรือจาระบี ้ 2.การใชระบบลูกปน 3.การใชอุปกรณตาง ๆ เชน ตลับลูกปน 4.การออกแบบรูปรางของยานพาหนะใหเพรียวลมทําใหลดแรงเสียดทาน การเพิ่มแรงเสียดทาน การเพิ่มแรงเสียดทานในดานความปลอดภัยของมนุษย เชน 1.ยางรถยนตมีดอกยางเปนลวดลาย มีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มแรงเสียดทานระหวางลอกับถนน 2.การหยุดรถตองเพิ่มแรงเสียดทานที่เบรก เพื่อหยุดหรือทําใหลดแลนชาลง 3.รองเทาบริเวณพื้นที่ตองมีลวดลาย เพื่อเพิ่มแรงเสียดทานทําใหเวลาเดินไมลื่นหกลมไดงาย 4.การปูพ้นหองน้ําใชกระเบื้องที่มีผิวขรุขระ เพื่อชวยเพิ่มแรงเสียดทาน เวลาเปยกน้ําจะไดไมลื่น ื สมบัตของแรงเสียดทาน ิ 1.แรงเสียดทานมีคาเปนศูนย เมื่อไมมีแรงภายนอกมากรํา 2.ขณะที่มแรงภายนอกมาระทําตอวัตถุ และวัตถุยังไมเคลื่อนที่ แรงเสียดทานที่มีขนมีขนาดตาง ี ึ้ ๆ กัน ตามมาขนาดของแรงที่มากระทํา และแรงเสียดทานที่มีคามากที่สุดคือ แรงเสียดทานสถิต เปนแรง เสียดทานทีวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ ่ 3.แรงเสียดทานมีทิศทางตรงกันขามกับการเคลื่อนที่ของวัตถุ 4.แรงเสียดทานสถิดมีคาสูงกวาแรงเสียดทานจลนเล็กนอย 5.แรงเสียดทานจะมีคามากหรือนอยขึ้นอยูกบลักษณะของผิวสัมผัส ผิวสัมผัสหยาบหรือขรุขระ ั จะมีแรงเสียดทานมากกวาผิวเรียบและลื่น 6.แรงเสียดทานขึ้นอยูกับน้ําหนักหรือแรงกดของวัตถุที่กดของลงบนพื้น ถาน้ําหนักหรือแรงกด มากแรงเสียดทานก็จะมากขึนดวย้ 7.แรงเสียดทานไมขึ้นอยูกับขนาดหรือพื้นที่ของผิวสัมผัส
  • 16. 11 6.หลอดไดโอดเปลงแสง ไดโอดเปลงแสง ( Light-emitting diode) หรือที่เรามักจะเรียกวา ไดโอดเปลงแสง การที่เราจะ สามารถมองเห็นแสงของ ไดโอดเปลงแสง นั้นเปนเพราะภายในตัว ไอโอดเปลงแสง เมิ่อไดรับความตาง ศักยไฟฟาจะปลอยคลื่นแสงออกม โดยความถี่ของคลื่นแสงที่ความถี่ตางๆกัน จะทําใหเรามองเห็นสี ตางๆกันไปดวย หลอดไดโอดเปลงแสงที่เราเห็นมีขายกันตามรานอุปกรณอิเล็กทรอนิกสนั้นมีหลาย แบบ แตละแบบนั้นจะมีหลักการทํางานเหมือนกัน ไดโอดเปลงแสงแบบหลอดกลมสีแบบตางๆ จะมีสีเคลือบมองเห็นไดชัดเจน สีที่นิยมใชคือ สี แดง สีเขียว สีเหลือง สีสม เปนตนโดยขนาดของไดโอดเปลงแสง จะมีขนาดตั้งแต 3 มิลลิเมตร, 5 มิลลิเมตร, 8 มิลลิเมตร, 10 มิลลิเมตร เปนตน ไดโอดเปลงแสงแบบหลอดกลมแบบหลอดใส หรือที่เรามักจะเรียกวา ไดโอดเปลงแสงแบบ ซุปเปอรไบท โดยที่ตัวหลอดเองจะเปนแบบใสเราจะไมมีทางรูเลยวา จะเปนสีอะไรจนกวาจะลองปอน ไฟเขาไป ขนาดของไดโอดเปลงแสงแบบนี้จะมีเหมือนกับ หลอดสีตางๆและมีสีใหเลือก เชน สีแดง สี เขียว สีนํ้าเงิน สีเหลือง สีสม สีขาว เปนตน นอกจากนี้ยังไดโอดเปลงแสงแบบตัวถังเปนรูปสี่เหลี่ยม จะ มี 4 ขา และมีสใหเลือกใชมากมาย เชน สีแดง สีน้ําเงิน สีเขียว สีสม สีขาว เปนตน ี
  • 17. 12 บทที่ 3 วัสดุอุปกรณและวิธีการ วัสดุอุปกรณ 1. ไมอัด ขนาด 10 x 20 Cm 2. ไดนาโม ขนาด 3 โวลต จํานวน 3 ตัว 3. เชือก 4. รางเชือก 5. ตะปู 1 นิ้ว 6. เลื่อย 7. คอน 8. สายไฟ 9. ปนยิงกาว 10. เชือกกระโดดพรอมดามจับ 11. ดิจิตอลมัลติมิเตอร วิธีการประดิษฐเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy 1. ประชุม วางแผนการดําเนินงาน และแบงหนาที่การทํางาน 2. ออกแบบเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy 3. จัดหาวัสดุอุปกรณ 4. ประกอบเครื่องตนแบบเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy 4.1 นําไมอัดมาเจาะรูใหมขนาดพอใสไดนาโนได แลวขันนอตเพื่อยืดไดนาโม ี 4.2นํารางเชือกมาใสตรงกลางเฟองของไดนาโมใชปนกาวบุตรงกลางรางเชือกใหเต็มเพื่อใหราง เชือกไมหลุดออกจากไดนาโมขณะใชเครื่อง 4.3 นําฟวเจอรบอรดมาประกอบเปดเครื่องปองกันไดนาโม 4.4 นําทอสายยางมารอยเชือก เพื่อลดการเสียดสีระหวางเชือกกับตัวเครื่อง 4.5 นําเชือกทีรอยออกมาแลวไปรอยเขากับดามจับของเชือกกระโดดทั้งสองดาน ่ 4.6 นําเชือกกระโดมารอยเปนสะพานคลองหลัง 4.7 นํากระเปาผามาเย็บติดกับสายรัดหนาอก และตีนตุกแก 4.8 นําตัวเครืองที่ประกอบเสร็จแลวใสลงในกระเปาผา ่ 4.9 เย็บตีนตุกแกอีกดานที่ดานในของเสื้อ   4.10 เจาะรูเสื้อแจคเก็ต เพื่อรอยสายไฟขาออกจากไดนาโม
  • 18. 13 4.11 ติดกระเปาผากับดานในของเสื้อ รอยสายไฟขาไปในตัวเสื้อ 4.12 ตอสายไฟเขากับเครื่องวัดความตางศักยเพื่อแสดงผล 5. ทดสอบเครื่องตนแบบเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy 6. จัดทําแบบทดสอบถามความพึงพอใจของผูใชที่มตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy ี 7. ทดลองเครื่องตนแบบกับกลุมตัวอยาง 8. กลุมตัวอยางทําแบบถามความพึงพอใจของผูใชที่มตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy ี 9. วิเคราะหผลความพึงพอใจของผูใชทมตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy ี่ ี 10. สรุปการประดิษฐเครืองออกกําลังกาย Jacket for energy ่
  • 19. 14 บทที่ 4 ผลการทดลอง เครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy จากการทดลองประดิษฐเครื่องออกกําลังกาย Jacket for energy พบวาเมื่อออกแรงดึงเชือก ไปมาอานคาความตางศักยไดสูงสุด 25 โวลต (ความตางศักยกระแสสลับ)
  • 20. 15 บทที่ 5 อภิปรายและสรุปผล อภิปรายผลการศึกษา 5.1ความพึงพอใจของผูใชทมีตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket For Energy ี่ ในการสํารวจความพึงพอใจของผูใชที่มีตอเครื่องออกกําลังกาย Jacket For Energyใชการสุม ตัวอยางจากนักเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 23 คน ครูโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 11 คน และ ผูปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 6 คน และการแปลผลแบบสํารวจในครั้ งนี้ไ ด พิจารณาระดับความพึงพอใจใน 5 ระดับ ตามมาตรวัดลิเคิรท (Likert’s Scale) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ รายละเอียด จํานวน เปอรเซ็นต ประชากร 40 100 นักเรียน 23 57.50 ผูปกครอง 6 15.00 ครู 11 27.50 ตารางที่ 1สถิตวิเคราะหเกี่ยวกับผูทําแบบสอบถามแยกประเภทตามสถานะทางสังคม ไดแก นักเรียน ครู ิ และผูปกครอง จากตางรางที่ 1 พบวา ผูตอบแบบสอบถาม ประกอบดวยนักเรียนจํานวน 23 คน คิดเปนรอยละ 57.50 ผูปกครองนักเรียนโรงเรียนอนุราชประสิทธิ์จํานวน 6 คน คิดเปนรอยละ 15.00 และครูโรงเรียนอนุราช ประสิทธิ์ จํานวน 11 คน คิดเปนรอยละ 27.50
  • 21. 16 รายละเอียด จํานวน เปอรเซ็นต กิจกรรมที่ปฏิบัตหากไมไดออกกําลังกาย 100 ิ 100 ดูภาพยนตรหรือโทรทัศน 12 30.00 นักเรียน 7 17.50 ครู 2 5.00 ผูปกครอง 3 7.50 อานหนังสือ 10 25.00 นักเรียน 6 15.00 ครู 3 7.50 ผูปกครอง 2 2.50 นอน 6 15.00 นักเรียน 4 10.00 ครู 2 5.00 ผูปกครอง 0 0.00 งานอดิเรกอื่นๆ 12 30.00 นักเรียน 6 15.00 ครู 4 10.00 ผูปกครอง 2 5.00 ตารางที่ 2 สถิติวิเคราะหเกี่ยวกับกิจกรรมที่ผูทําแบบสอบถามจัดทําเมื่อไมไดออกกําลังกาย
  • 22. 17 จากขอมูลขางตนพบวากิจกรรมที่ผูทดลองใชเครื่องออกกําลังกาย Jacket For Energy ทําเมื่อ ไมไดออกกําลังกายจะเกี่ยวของกับการใชพลังงานไฟฟาเสมอ ดังนั้นเมื่อคํานวณการลดปริมาณการ ปลอยกาซเรือนกระจกเมื่อใช Jacket For Energyในการออกกําลังกาย 1 ชั่วโมง/วัน โดยใชผลการ คํานวณจากเว็บไซต http://thaicfcalculator.tgo.or.th ภายใตเงื่อนไขผูอยูอาศัยเพียง 1 คน ในเวลา 1 ป ไดผลดังนี้ เครื่องใชไฟฟาที่เราไมตองเปดเมื่อใช Jacket For Energy ตันคารบอนไดออกไซดเทียบเทาตอป หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 25 วัตต จํานวน 1 ดวง 0.01 หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 40 วัตต จํานวน 1 ดวง 0.01 หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 60 วัตต จํานวน 1 ดวง 0.01 หลอดไฟฟาแบบหลอดไสขนาด 100 วัตต จํานวน 1 ดวง 0.02 หลอดไฟฟาแบบหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 18 วัตต 0.01 จํานวน 1 ดวง หลอดไฟฟาแบบหลอดฟลูออเรสเซนต ขนาด 36 วัตต 0.02 จํานวน 1 ดวง หลอดไฟฟาแบบหลอดตะเกียบ ขนาด 20 วัตต จํานวน 1 ดวง 0.01 หลอดไฟฟาแบบหลอดคอมแพ็คฟลูออเรสเซนต 0.01 ขนาด 25 วัตต จํานวน 1 ดวง พัดลมตั้งพื้นขนาด 16 นิ้ว จํานวน 1 ตัว 0.01 โทรทัศนสีจอ CRT ขนาด 14 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง 0.01 โทรทัศนสีจอ CRT ขนาด 20 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง 0.02 โทรทัศนสีจอ CRT ขนาด 21 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง 0.02 คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ขนาดจอ 14 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง 0.01 คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ขนาดจอ 15 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง 0.01 คอมพิวเตอรแบบตั้งโตะ ขนาดจอ 17 นิ้ว จํานวน 1 เครื่อง 0.02 เครื่องปรับอากาศ ขนาด 9,000 btu จํานวน 1 เครื่อง 0.11 เครื่องปรับอากาศ ขนาด 12,000 btu จํานวน 1 เครื่อง 0.13 เครื่องปรับอากาศ ขนาด 12,500 btu จํานวน 1 เครื่อง 0.16
  • 23. 18 ระดับความพึงพอใจ ไมเห็นดวยอยางยิง รายการ ่ เห็นดวยอยางยิ่ง ไมเห็นดวย รวม (%) เห็นดวย ไมแนใจ รูปลักษณของ Jacket For Energy 1.ความสวยงาม 7.50 70.00 20.00 2.50 0.00 100 2.ความแข็งแรง 12.50 55.00 30.00 2.50 0.00 100 3.ความสะดวกในการใช 32.50 52.50 15.00 0.00 0.00 100 4.ความคิดสรางสรรค 55.00 45.00 0.00 0.00 0.00 100 5.น้ําหนักตัวเครื่อง 17.50 57.50 25.00 0.00 0.00 100 การใชงาน Jacket For Energy 1. Jacket for energy มีประสิทธิภาพเทียบเคียงเครื่องออก 15.00 30.00 55.00 0.00 0.00 100 กําลังกายในฟตเนส 2. Jacket for energy ทําใหเราสามารถใชเวลาวางใหเกิด 42.50 50.00 7.50 0.00 0.00 100 ประโยชนได 3. Jacket for energy ชวยชวยลดภาวะโลกรอนได 50.00 32.50 17.50 0.00 0.00 100 4. หลังจากทดลองใช Jacket for energy แลวทานรูสึก 17.50 50.00 25.00 7.50 0.00 100 อยากออกกําลังกาย 5. Jacket for energy ตองมีการพัฒนาตอ 72.50 22.50 5.00 0.00 0.00 100 6. หากมีการพัฒนา Jacket for energy ในรุนสมบูรณทาน 37.50 50.00 12.50 0.00 0.00 100 จะเลือกใช Jacket for energy เปนสวนหนึ่งในการออก กําลังกาย 7. Jacket for energy จะชวยใหทานลดการใชพลังงาน เชน 45.00 55.00 0.00 0.00 0.00 100 การใชเครื่องใชไฟฟา การใชน้ํามัน และตระหนักถึง คุณคาของการออกกําลังกาย ตารางที่ 3 สถิติวิเคราะหความพึงพอใจของผูใชท่มีตอเครื่องออกกําลังกาย ี Jacket For Energy ในรูปรอยละ
  • 24. 19 สรุปผลการศึกษา จากการทดลอง เครื่องออกกําลังกายผลิตพลังงานไฟฟาจาก Jacket For Energy ดวยการออก กําลังกายไมวาจะเปนการเตนแอโรบิกหรือการวิ่ง สามารถนําพลังงานที่ไดจากการออกกําลังกายมาผลิต เปนพลังงานไฟฟา สามารถชวยประหยัดพลังงาน และทําใหมีสุขภาพที่แข็งแรง ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดตนแบบเครื่องออกกําลังกายผลิตพลังงานไฟฟา Jacket For Energy 2. ชวยประหยัดพลังงาน 3. ทําใหผูใชมสุขภาพแข็งแรง ี ขอเสนอแนะ 1. ควรทําฝากลองแบบเปด-ปดได เพื่องายตอการซอมแซม 2. ควรออกแบบใหมีรูปแบบใหเหมาะสมตอการใชงานมากขึ้น 3. ควรนําไปพัฒนาตอโดยการใชอุปกรณ ทีมีคุณภาพ หางายและเหมาะสม ่ 4. ควรนําไปตอกับเครื่องใชไฟฟาที่รองรับความตางศักยสูงๆ แตกินกระแสไฟนอย 5. ควรพัฒนาตอเพื่อเพิ่มปริมาณกระแสไฟฟา 6. ควรพัฒนาใหเหมาะสมกับการออกกําลังกายประเภทอื่นใหผลิตไฟฟาไดอีก
  • 25. 20 บรรณานุกรม [1] ทวีศักดิ์ ภูชัย และคณะ . ไฟฟาเพื่อชีวิต. http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/science03/11/Electrity-web/index.html. 26 ตุลาคม 2554 [2] ประดับ นาคแกว. หนังสือเรียนวิทยาสาสตร ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3. กรุงเทพฯ:แม็ค, 2553. [3] สุนทร โคตรบรรเทา. สารานุกรมวิทยาศาสตร. ไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส. กรุงเทพฯ:เดอะ มาสเตอร กรุป. 2549.