SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 59
                                                        วัฒน์ สีลาด


รายวิช า ฟิส ิก ส์                       แผนจัด การเรีย นรู้ท ี่
                               ใบความ 1
รหัส วิช า ว 41101               รู้ 1   ใช้ป ระกอบแผน
ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4                จัด การเรีย นรู้ท ี่ 1
     หัว ข้อ เรื่อ ง วิชาฟิสิกส์ ปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์

1. ความหมายของวิท ยาศาสตร์
        วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถึง การศึกษาหาความ
จริงเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติรอบๆตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและ
ไม่มีชีวิต อย่างมีขั้นตอนและระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตร์แบ่ง
ออกได้ดังนี้                         วิทยาศาสตร์ชีว       พฤกษศา
                                          ภาพ               สตร์
                                                            สัตว
                                                           ศาสตร์
                                                            อื่น ๆ
                      วิทยาศาสตร์
                         บริสุทธิ์
                                       วิทยาศาสตร์กา          ฟิสิกส์
  วิทยาศาส                                 ยภาพ
                                                              เคมี
     ตร์
                                                             อุตุนิยมวิ
                                                                ทยา
                     วิทยาศาสตร์ปร       วิศวกรรมศา         ธรณีวิทย
                                                              อืน ๆ
                                                                ่
                         ะยุกต์          สตร์
                                         แพทยศา             า
                                         สตร์ ๆ ยกรรมศ
                                         สถาปัต
                                           อืน
                                             ่
       1. วิท ยาศาสตร์บ ริส ุท ธิ์ ( pure science ) หรือ
                                         าสตร์
วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ( natural science ) เป็นการศึกษา
หาความจริงใหม่ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เพื่อนำาไปสู่กฎ
เกณฑ์และทฤษฎีต่างๆทางวิทยาศาสตร์ เช่น กฎการเคลื่อนที่ของ
นิวตัน กฎของโอห์ม ทฤษฎีสัมพัทธภาพของของไอน์สไตน์
ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ เป็นต้น วิทยาศาสตร์
บริสุทธิ์แบ่งออกเป็น 2 สาขาคือ
       ก. วิทยาศาสตร์กายภาพ ( physical science ) ศึกษา
ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ฟิสิกส์ เคมี ดาราศาสตร์
ธรณีวิทยา เป็นต้น
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 60
                                                        วัฒน์ สีลาด


       ข. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ( biological science ) ศึกษา
ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ เป็นต้น
       2. วิท ยาศาสตร์ป ระยุก ต์ ( applied science )
เป็นการนำาความรู้จากกฎเกณฑ์หรือทฤษฎีของวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์
มาประยุกต์เป็นหลักการทางเทคโนโลยี เพื่อนำาไปใช้ให้เกิด
ประโยชน์แก่สังคม เช่น วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์
สถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นต้น

2. การค้น คว้า หาความรู้ท างวิท ยาศาสตร์
      การค้น คว้า หาความรู้ท างวิท ยาศาสตร์ ความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์เป็นการค้นคว้าหาความจริงจากปรากฎการณ์
ธรรมชาติ ซึ่งสามารถทำาได้ 3 แนวทางคือ
      1. จากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ
      2. จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ
      3. จากการสร้างแบบจำาลอง ( model ) ทางความคิด

3. ฟิส ิก ส์
          เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต
ซึ่งได้แก่ การเปลี่ย นแปลงทางกายภาพและปรากฏการณ์ ต่างๆ ที่
เกิ ด ขึ้นรอบตัวเรา การค้ นคว้ าหาความรู้ ท างฟิ สิ ก ส์ ทำา ได้ โดยการ
สังเกต การทดลอง และการเก็ บข้อ มูล มาวิเคราะห์เพื่อ สรุ ปผลเป็ น
ทฤษฎี หลักหรือกฎ ความรู้เหล่านี้ สามารถนำาไปใช้อธิบายปรากฎ
การณ์ธรรมชาติ หรือทำานายสิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและความรู้นี้
สามารถนำา ไปใช้ เ ป็ น พื้ น ฐานในการแสวงหาความรู้ ใ หม่ เ พิ่ ม เติ ม
แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย์
          ความสำาคัญของการศึกษาทางด้านฟิสิกส์ คือข้อมูลที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงกฎและทฤษฎีที่มีอยู่เดิม ข้อมูลที่ได้นี้แบ่งออกเป็น
2           ป         ร       ะ   เ    ภ     ท                 คื     อ
          ข้อ มูล เชิง คุณ ภาพ ( qualitative data ) เป็นข้อมูลที่
ไม่เป็นตัวเลข ได้จากการสังเกตตามขอบเขตของการรับรู้ เช่น รูป
ร่าง ลักษณะ กลิ่น สี รส เป็นต้น
          ข้อ มูล เชิง ปริม าณ ( quantitative data ) เป็นข้อมูลที่
เป็นตัวเลข ได้จากการวัดปริมาณต่างๆโดยใช้เครื่องมือวัดและวิธี
การวั ด ที่ ถู ก ต้ อ ง เช่ น มวล ความยาว เวลา อุ ณ หภู มิ เป็ น ต้ น
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 61
                                                           วัฒน์ สีลาด


4.                    เ       ท          ค         โ    น    โ         ล   ยี
       เป็ น วิ ท ยาการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ศิ ล ปะ ในการสร้ า ง การผลิ ต
หรื อ การใช้ อุ ป กรณ์ เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ กั บ มนุ ษ ย์ โ ดยตรง



5. ปริม าณกายภาพ
        ปริมาณกายภาพ ( physical quantity ) เป็นปริมาณ
ทางฟิสิกส์ที่ได้จากข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น มวล แรง ความยาว
เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น ปริมาณกายภาพแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ
        1. ปริมาณฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของ
ระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้
     ปริมาณฐาน                ชื่อหน่วย          สัญลักษณ์
      ความยาว                    เมตร                m
          มวล                 กิโลกรัม               kg
          เวลา                   วินาที               s
     กระแสไฟฟ้า               แอมแปร์                 A
 อุณหภูมิอุณหพลวัติ            เคลวิน                 K
     ปริมาณสาร                    โมล               mol
  ความเข้มของการ             แคนเดลา                 cd
       ส่องสว่าง
        2. ปริมาณอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้
จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้นไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
                                                เทียบเป็นหน่วย
   ปริมาณอนุ
                     ชื่อหน่วย       สัญลักษณ์       ฐาน
      พัทธ์
                                                และอนุพัทธ์อื่น
    ความเร็ว       เมตรต่อวินาที        m/s    1 m / s = 1s
                                                             1m


    ความเร่ง      เมตรต่อวินาที2        m /s2     1 m / s2 =
                                                                1m
                                                               1s1
                                                                 xs

        แรง              นิวตัน              N         1 N = 1 kg. m
                                                            /s2
งาน พลังงาน                จูล              J           1 J = 1 N.m
   กำาลัง                 วัตต์             W           1 W = 1 J /s
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 62
                                                        วัฒน์ สีลาด


   ความดัน          พาสคาล             Pa        1 Pa = 1 N /
                                                      m2
   ความถี่           เฮิรตซ์           Hz        1 Hz = 1 s – 1




6. ระบบหน่ว ยระหว่า งชาติ
       ในสมัยก่อนหน่วยที่ใช้สำาหรับวัดปริมาณต่างๆ มีหลายระบบ
เช่น ระบบอังกฤษ ระบบเมตริกและระบบของไทย ทำาให้ไม่เป็น
มาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นปัจจุบันหลายๆประเทศ รวมทั้ง
ประเทศไทยด้วยได้ใช้หน่วยสากลที่เรียกว่า ระบบหน่วยระหว่าง
ชาติ ( The Internation System of Unit ) เรียกย่อว่า
ระบบเอสไอ ( SI Units ) ซึ่งประกอบด้วยหน่วยฐาน และหน่วย
อนุพัทธ์ ดังนี้
       1. หน่วยฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของระบบ
หน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้
    ปริมาณฐาน              ชื่อหน่วย            สัญลักษณ์
      ความยาว                 เมตร                 m
         มวล               กิโลกรัม                kg
         เวลา                 วินาที                s
    กระแสไฟฟ้า             แอมแปร์                  A
 อุณหภูมิอุณหพลวัติ          เคลวิน                 K
    ปริมาณสาร                  โมล                 mol
  ความเข้มของการ           แคนเดลา                 cd
      ส่องสว่าง

        2. หน่วยอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้จาก
ปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้นไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างต่อไป
นี้
                                              เทียบเป็นหน่วย
    ปริมาณอนุ
                   ชื่อหน่วย     สัญลักษณ์         ฐาน
       พัทธ์
                                              และอนุพัทธ์อื่น
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 63
                                                        วัฒน์ สีลาด


   ความเร็ว       เมตรต่อวินาที       m/s        1 m / s = 1s
                                                                 1m


   ความเร่ง      เมตรต่อวินาที2      m /s2         1 m / s2 =
                                                         1m
                                                        1s1
                                                          xs

     แรง              นิวตัน            N        1 N = 1 kg. m
                                                      /s2
งาน พลังงาน           จูล               J         1 J = 1 N.m
   กำาลัง            วัตต์             W          1 W = 1 J /s
  ความดัน           พาสคาล             Pa        1 Pa = 1 N /
                                                      m2
    ความถี่          เฮิรตซ์           Hz        1 Hz = 1 s – 1



7. การบัน ทึก ปริม าณที่ม ีค ่า มากหรือ น้อ ย
          ผลที่ได้จากการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งมีค่า
มากกว่าหรือน้อยกว่า 1 มากๆทำาให้เกิดความยุ่งยากในการนำาไป
ใช้งาน ดังนั้น การบันทึกปริมาณดังกล่าว เพื่อให้เกิดความสะดวก
ในการนำาไปใช้สามารถทำาได้ 2 วิธี คือ
          7.1 เขีย นให้อ ยู่ใ นรูป ของจำา นวนเต็ม หนึ่ง ตำา แหน่ง
ตามด้ว ยเลขทศนิย ม จำแล้ว คูณม ว ยเลขสิบ ยกกำา ลัง บวกหรือ
                           านวนเต็ ด้1
ลบ ดังนี้                                         เท่ากับจำานวน
                             ตำาแหน่ง             ตัวเลขหลังจุดหรือ
                              0.000 x10 ตัวเลขระหว่างจุด
                                    ±n
ตัว อย่า ง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำาลัง
          ก. 360,000,000 เมตร                 ข. 6,539,000
กิโลเมตร
     ค. 0.00048 กิโลกรัม                      ง. 0.00127
     วินาที
วิธ ีท ำา ก. 360,000,000 เมตร             =   360,000,000
                                =   3.6x10 เมตร
                                            8

          ข. 6,539,000 กิโลเมตร =             7,539,000
                                =   6.5x10  6
                                               กิโลเมตร
          ค. 0.00038 กิโลกรัม             =   0.00038
แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 64
                                                        วัฒน์ สีลาด


                               =      3.8x10 – 4 กิโลกรัม
          ง. 0.00117 วินาที                  =     0.00117
                               =      1.17x10     -5
                                                       วินาที
             7.2 เขีย นโดยใช้ค ำา “อุป สรรค ( prefix)”
             คำาอุปสรรค คือ คำาที่ใช้เติมหน้าหน่วย SI เพื่อทำาให้
หน่วย SI ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง ดังแสดงในตาราง
     คำา        สัญลักษ      ตัว           คำา       สัญลักษ     ตัว
          อุป      ณ์      พหุคูณ             อุป       ณ์     พหุคูณ
         สรร                                  สรร
          ค                                    ค
  เทอรา             T      10   12
                                          พิโค           P     10 -12
    จิกะ           G        10 9         นาโน            n      10 - 9
   เมกะ            M        10 6        ไมโคร            µ      10 – 6
    กิโล            k       10 3          มิลลิ         m       10 – 3
  เฮกโต             h       10 2         เซนติ           c      10 – 2
   เดคา            da        10           เดซิ          d       10 - 1
ตัว อย่า ง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ โดยใช้คำาอุปสรรค
          ก. ความยาว 12 กิโลเมตร ให้มหน่วยเป็น เมตร
                                                ี
          ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ให้มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม
วิธ ีท ำา
                ก. เปลี่ยน กิโล       ข. เปลี่ยน เมกะ  กิโล 
         เมตร                        กรัม  มิลลิ
                            3
                = 12 x 10                      = 0.00035 x 10 3 x
                                      10 3 x 10 3
                = 1.2 x 10 4                   = 0.00035 x 10 9
        เมตร
                                               = ( 3.5 x 10 – 4 ) x
                                      10 9
                                               = 3.5 x 10 5
                                      มิลลิกรัม


                ######################

More Related Content

What's hot

9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการKobwit Piriyawat
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3supphawan
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓Wijitta DevilTeacher
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมkrupayom
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2supphawan
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01jirupi
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนkrupornpana55
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551Weerachat Martluplao
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1suranon Chaimuangchuan
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมkrupornpana55
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์tuiye
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1
นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1
นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1Parichart Prasertsang
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนWasan Yodsanit
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...Kobwit Piriyawat
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55krupornpana55
 

What's hot (20)

9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
9.การจัดการเรียนการสอนหน่วยการเรียนรู้บูรณาการ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
 
Ph3
Ph3Ph3
Ph3
 
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
แผนระยะยาว ฟิสิกส์ ๓
 
แผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัมแผนโมเมนตัม
แผนโมเมนตัม
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
โครงสร้างสาระวิทย์ม.2
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียนSlหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
Slหน่วย 2 งานและพลังงาน ทดสอบก่อนเรียน
 
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
แผนการสอน เรือง การเคลื่อนที่แบบหมุน หลักสูตร 2551
 
Astroplan19
Astroplan19Astroplan19
Astroplan19
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ ฟิสิกส์ 1
 
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรมส่วนหน้าชุดกิจกรรม
ส่วนหน้าชุดกิจกรรม
 
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
1.บทนำ วิชาฟิสิกส์
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1
นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1
นำเสนอวิทยานิพนธ์ 7 april 2013 1
 
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อนงานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
งานวิจัยเพื่อฟื้นฟูระบบนิเวศป่าเขตร้อน
 
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
แผนการจัดการเรียนรุ้คุณธรรมนำความคิดเรื่องสารละลาย โดยใช้รูปแบบ 4 mat นายกอบว...
 
Astroplan16
Astroplan16Astroplan16
Astroplan16
 
Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53Physics Curriculum 53
Physics Curriculum 53
 
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
Slแบบฝึกหัดทบทวนก่อนสอบหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน 15 กย55
 

Similar to ใบความรู้ที่ 01

ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01Apinya Phuadsing
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1Montaya Pratum
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสงwanpa krittiyawan
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันThepsatri Rajabhat University
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์nang_phy29
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.krupornpana55
 

Similar to ใบความรู้ที่ 01 (20)

ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01ใบความรู้ที่ 01
ใบความรู้ที่ 01
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1ฟิสิกส์กลศาสตร์1
ฟิสิกส์กลศาสตร์1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
Phy 1
Phy 1Phy 1
Phy 1
 
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
2. ชุดที่ 1การเคลื่อนที่และอัตราเร็วของแสง
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
วิทยาศาสตร์ ปลาย
วิทยาศาสตร์  ปลายวิทยาศาสตร์  ปลาย
วิทยาศาสตร์ ปลาย
 
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
บทที่ 1 หน่วยวัดและปริมาณทางฟิสิกส์ [2 2560]
 
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวันบทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
บทที่ 1 ฟิสิกส์กับการทำงานของร่างกายและชีวิตประจำวัน
 
S&T Quality Research
S&T Quality ResearchS&T Quality Research
S&T Quality Research
 
S&T Quality Research
S&T Quality ResearchS&T Quality Research
S&T Quality Research
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
Lesson01
Lesson01Lesson01
Lesson01
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
3หลักสูตรวิทยาศาสตร์
 
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
ส่วนเนื้อหาแผนการจัดการเรียนรู้.
 

More from witthawat silad

ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03witthawat silad
 
ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03witthawat silad
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10witthawat silad
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09witthawat silad
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08witthawat silad
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07witthawat silad
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06witthawat silad
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05witthawat silad
 
ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04witthawat silad
 
ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03witthawat silad
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02witthawat silad
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01witthawat silad
 
ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 

More from witthawat silad (17)

ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03
 
ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03ใบความรู้ที่ 03
ใบความรู้ที่ 03
 
ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02ใบความรู้ที่ 02
ใบความรู้ที่ 02
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10ใบงาน แผน 10
ใบงาน แผน 10
 
ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09ใบงาน แผน 09
ใบงาน แผน 09
 
ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08ใบงาน แผน 08
ใบงาน แผน 08
 
ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07ใบงาน แผน 07
ใบงาน แผน 07
 
ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06ใบงาน แผน 06
ใบงาน แผน 06
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05
 
ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04ใบงาน แผน 04
ใบงาน แผน 04
 
ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03ใบงาน แผน 03
ใบงาน แผน 03
 
ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02ใบงาน แผน 02
ใบงาน แผน 02
 
ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01ใบงาน แผน 01
ใบงาน แผน 01
 
ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11ใบงาน แผน 11
ใบงาน แผน 11
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 

ใบความรู้ที่ 01

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 59 วัฒน์ สีลาด รายวิช า ฟิส ิก ส์ แผนจัด การเรีย นรู้ท ี่ ใบความ 1 รหัส วิช า ว 41101 รู้ 1 ใช้ป ระกอบแผน ชั้น มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4 จัด การเรีย นรู้ท ี่ 1 หัว ข้อ เรื่อ ง วิชาฟิสิกส์ ปริมาณและหน่วยทางฟิสิกส์ 1. ความหมายของวิท ยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ( Science ) หมายถึง การศึกษาหาความ จริงเกี่ยวกับ ปรากฏการณ์ธรรมชาติรอบๆตัวเรา ทั้งที่มีชีวิตและ ไม่มีชีวิต อย่างมีขั้นตอนและระเบียบแบบแผน วิทยาศาสตร์แบ่ง ออกได้ดังนี้ วิทยาศาสตร์ชีว พฤกษศา ภาพ สตร์ สัตว ศาสตร์ อื่น ๆ วิทยาศาสตร์ บริสุทธิ์ วิทยาศาสตร์กา ฟิสิกส์ วิทยาศาส ยภาพ เคมี ตร์ อุตุนิยมวิ ทยา วิทยาศาสตร์ปร วิศวกรรมศา ธรณีวิทย อืน ๆ ่ ะยุกต์ สตร์ แพทยศา า สตร์ ๆ ยกรรมศ สถาปัต อืน ่ 1. วิท ยาศาสตร์บ ริส ุท ธิ์ ( pure science ) หรือ าสตร์ วิทยาศาสตร์ธรรมชาติ ( natural science ) เป็นการศึกษา หาความจริงใหม่ๆ เกี่ยวกับปรากฏการณ์ธรรมชาติ เพื่อนำาไปสู่กฎ เกณฑ์และทฤษฎีต่างๆทางวิทยาศาสตร์ เช่น กฎการเคลื่อนที่ของ นิวตัน กฎของโอห์ม ทฤษฎีสัมพัทธภาพของของไอน์สไตน์ ทฤษฎีคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าของแมกซ์เวลล์ เป็นต้น วิทยาศาสตร์ บริสุทธิ์แบ่งออกเป็น 2 สาขาคือ ก. วิทยาศาสตร์กายภาพ ( physical science ) ศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ฟิสิกส์ เคมี ดาราศาสตร์ ธรณีวิทยา เป็นต้น
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 60 วัฒน์ สีลาด ข. วิทยาศาสตร์ชีวภาพ ( biological science ) ศึกษา ค้นคว้าเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิต เช่น พฤกษศาสตร์ สัตวศาสตร์ เป็นต้น 2. วิท ยาศาสตร์ป ระยุก ต์ ( applied science ) เป็นการนำาความรู้จากกฎเกณฑ์หรือทฤษฎีของวิทยาศาสตร์บริสุทธิ์ มาประยุกต์เป็นหลักการทางเทคโนโลยี เพื่อนำาไปใช้ให้เกิด ประโยชน์แก่สังคม เช่น วิศวกรรมศาสตร์ แพทยศาสตร์ สถาปัตยกรรมศาสตร์ เป็นต้น 2. การค้น คว้า หาความรู้ท างวิท ยาศาสตร์ การค้น คว้า หาความรู้ท างวิท ยาศาสตร์ ความรู้ทาง วิทยาศาสตร์เป็นการค้นคว้าหาความจริงจากปรากฎการณ์ ธรรมชาติ ซึ่งสามารถทำาได้ 3 แนวทางคือ 1. จากการสังเกตปรากฏการณ์ธรรมชาติ 2. จากการทดลองในห้องปฏิบัติการ 3. จากการสร้างแบบจำาลอง ( model ) ทางความคิด 3. ฟิส ิก ส์ เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ศึกษาธรรมชาติของสิ่งไม่มีชีวิต ซึ่งได้แก่ การเปลี่ย นแปลงทางกายภาพและปรากฏการณ์ ต่างๆ ที่ เกิ ด ขึ้นรอบตัวเรา การค้ นคว้ าหาความรู้ ท างฟิ สิ ก ส์ ทำา ได้ โดยการ สังเกต การทดลอง และการเก็ บข้อ มูล มาวิเคราะห์เพื่อ สรุ ปผลเป็ น ทฤษฎี หลักหรือกฎ ความรู้เหล่านี้ สามารถนำาไปใช้อธิบายปรากฎ การณ์ธรรมชาติ หรือทำานายสิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและความรู้นี้ สามารถนำา ไปใช้ เ ป็ น พื้ น ฐานในการแสวงหาความรู้ ใ หม่ เ พิ่ ม เติ ม แ ล ะ พั ฒ น า คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ข อ ง ม นุ ษ ย์ ความสำาคัญของการศึกษาทางด้านฟิสิกส์ คือข้อมูลที่มีผลต่อ การเปลี่ยนแปลงกฎและทฤษฎีที่มีอยู่เดิม ข้อมูลที่ได้นี้แบ่งออกเป็น 2 ป ร ะ เ ภ ท คื อ ข้อ มูล เชิง คุณ ภาพ ( qualitative data ) เป็นข้อมูลที่ ไม่เป็นตัวเลข ได้จากการสังเกตตามขอบเขตของการรับรู้ เช่น รูป ร่าง ลักษณะ กลิ่น สี รส เป็นต้น ข้อ มูล เชิง ปริม าณ ( quantitative data ) เป็นข้อมูลที่ เป็นตัวเลข ได้จากการวัดปริมาณต่างๆโดยใช้เครื่องมือวัดและวิธี การวั ด ที่ ถู ก ต้ อ ง เช่ น มวล ความยาว เวลา อุ ณ หภู มิ เป็ น ต้ น
  • 3. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 61 วัฒน์ สีลาด 4. เ ท ค โ น โ ล ยี เป็ น วิ ท ยาการที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ศิ ล ปะ ในการสร้ า ง การผลิ ต หรื อ การใช้ อุ ป กรณ์ เพื่ อ ก่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ กั บ มนุ ษ ย์ โ ดยตรง 5. ปริม าณกายภาพ ปริมาณกายภาพ ( physical quantity ) เป็นปริมาณ ทางฟิสิกส์ที่ได้จากข้อมูลเชิงปริมาณ เช่น มวล แรง ความยาว เวลา อุณหภูมิ เป็นต้น ปริมาณกายภาพแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ 1. ปริมาณฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของ ระบบหน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้ ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ความยาว เมตร m มวล กิโลกรัม kg เวลา วินาที s กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K ปริมาณสาร โมล mol ความเข้มของการ แคนเดลา cd ส่องสว่าง 2. ปริมาณอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้ จากปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้นไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่าง ต่อไปนี้ เทียบเป็นหน่วย ปริมาณอนุ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ฐาน พัทธ์ และอนุพัทธ์อื่น ความเร็ว เมตรต่อวินาที m/s 1 m / s = 1s 1m ความเร่ง เมตรต่อวินาที2 m /s2 1 m / s2 = 1m 1s1 xs แรง นิวตัน N 1 N = 1 kg. m /s2 งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.m กำาลัง วัตต์ W 1 W = 1 J /s
  • 4. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 62 วัฒน์ สีลาด ความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N / m2 ความถี่ เฮิรตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1 6. ระบบหน่ว ยระหว่า งชาติ ในสมัยก่อนหน่วยที่ใช้สำาหรับวัดปริมาณต่างๆ มีหลายระบบ เช่น ระบบอังกฤษ ระบบเมตริกและระบบของไทย ทำาให้ไม่เป็น มาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นปัจจุบันหลายๆประเทศ รวมทั้ง ประเทศไทยด้วยได้ใช้หน่วยสากลที่เรียกว่า ระบบหน่วยระหว่าง ชาติ ( The Internation System of Unit ) เรียกย่อว่า ระบบเอสไอ ( SI Units ) ซึ่งประกอบด้วยหน่วยฐาน และหน่วย อนุพัทธ์ ดังนี้ 1. หน่วยฐาน ( base unit ) เป็นปริมาณหลักของระบบ หน่วยระหว่างชาติ มี 7 ปริมาณ ดังนี้ ปริมาณฐาน ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ความยาว เมตร m มวล กิโลกรัม kg เวลา วินาที s กระแสไฟฟ้า แอมแปร์ A อุณหภูมิอุณหพลวัติ เคลวิน K ปริมาณสาร โมล mol ความเข้มของการ แคนเดลา cd ส่องสว่าง 2. หน่วยอนุพัทธ์ ( derived unit ) เป็นปริมาณที่ได้จาก ปริมาณฐานตั้งแต่ 2 ปริมาณขึ้นไปมาสัมพันธ์กัน ดังตัวอย่างต่อไป นี้ เทียบเป็นหน่วย ปริมาณอนุ ชื่อหน่วย สัญลักษณ์ ฐาน พัทธ์ และอนุพัทธ์อื่น
  • 5. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 63 วัฒน์ สีลาด ความเร็ว เมตรต่อวินาที m/s 1 m / s = 1s 1m ความเร่ง เมตรต่อวินาที2 m /s2 1 m / s2 = 1m 1s1 xs แรง นิวตัน N 1 N = 1 kg. m /s2 งาน พลังงาน จูล J 1 J = 1 N.m กำาลัง วัตต์ W 1 W = 1 J /s ความดัน พาสคาล Pa 1 Pa = 1 N / m2 ความถี่ เฮิรตซ์ Hz 1 Hz = 1 s – 1 7. การบัน ทึก ปริม าณที่ม ีค ่า มากหรือ น้อ ย ผลที่ได้จากการวัดปริมาณทางวิทยาศาสตร์ บางครั้งมีค่า มากกว่าหรือน้อยกว่า 1 มากๆทำาให้เกิดความยุ่งยากในการนำาไป ใช้งาน ดังนั้น การบันทึกปริมาณดังกล่าว เพื่อให้เกิดความสะดวก ในการนำาไปใช้สามารถทำาได้ 2 วิธี คือ 7.1 เขีย นให้อ ยู่ใ นรูป ของจำา นวนเต็ม หนึ่ง ตำา แหน่ง ตามด้ว ยเลขทศนิย ม จำแล้ว คูณม ว ยเลขสิบ ยกกำา ลัง บวกหรือ านวนเต็ ด้1 ลบ ดังนี้ เท่ากับจำานวน ตำาแหน่ง ตัวเลขหลังจุดหรือ 0.000 x10 ตัวเลขระหว่างจุด ±n ตัว อย่า ง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ในรูปเลขยกกำาลัง ก. 360,000,000 เมตร ข. 6,539,000 กิโลเมตร ค. 0.00048 กิโลกรัม ง. 0.00127 วินาที วิธ ีท ำา ก. 360,000,000 เมตร = 360,000,000 = 3.6x10 เมตร 8 ข. 6,539,000 กิโลเมตร = 7,539,000 = 6.5x10 6 กิโลเมตร ค. 0.00038 กิโลกรัม = 0.00038
  • 6. แผนการจัดการเรียนรู้รายวิชาฟิสิกส์ เพิ่มเติม 1 ว 30201 โดยนายวิท 64 วัฒน์ สีลาด = 3.8x10 – 4 กิโลกรัม ง. 0.00117 วินาที = 0.00117 = 1.17x10 -5 วินาที 7.2 เขีย นโดยใช้ค ำา “อุป สรรค ( prefix)” คำาอุปสรรค คือ คำาที่ใช้เติมหน้าหน่วย SI เพื่อทำาให้ หน่วย SI ใหญ่ขึ้นหรือเล็กลง ดังแสดงในตาราง คำา สัญลักษ ตัว คำา สัญลักษ ตัว อุป ณ์ พหุคูณ อุป ณ์ พหุคูณ สรร สรร ค ค เทอรา T 10 12 พิโค P 10 -12 จิกะ G 10 9 นาโน n 10 - 9 เมกะ M 10 6 ไมโคร µ 10 – 6 กิโล k 10 3 มิลลิ m 10 – 3 เฮกโต h 10 2 เซนติ c 10 – 2 เดคา da 10 เดซิ d 10 - 1 ตัว อย่า ง จงเขียนปริมาณต่อไปนี้ โดยใช้คำาอุปสรรค ก. ความยาว 12 กิโลเมตร ให้มหน่วยเป็น เมตร ี ข. มวล 0.00035 เมกะกรัม ให้มีหน่วยเป็น มิลลิกรัม วิธ ีท ำา ก. เปลี่ยน กิโล ข. เปลี่ยน เมกะ  กิโล   เมตร กรัม  มิลลิ 3 = 12 x 10 = 0.00035 x 10 3 x 10 3 x 10 3 = 1.2 x 10 4 = 0.00035 x 10 9 เมตร = ( 3.5 x 10 – 4 ) x 10 9 = 3.5 x 10 5 มิลลิกรัม ######################