SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้
กระทงรักษ์น้า
เวลา 2 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชาวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง กระทงรักษ์น้า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 2 ชั่วโมง
1. สาระสาคัญ
น้าเป็นทรัพยากรที่สาคัญที่มีคุณค่าด้านอุปโภค บริโภค แหล่งอาหาร การอุตสาหกรรม
คมนาคม ผลิตกระแสไฟฟ้ า และการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และน้ายังเป็นแหล่งของทรัพยากร
ประมงน้าจืด ประมงน้าเค็ม ป่าชายเลน น้าจึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ดั้งนั้นการ
ใช้น้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด ร่วมกันดูแลอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งน้าจึงเป็นหน้าที่ของเราทุกคน
เพื่อให้มีน้าใช้อย่างพอเพียงตลอดไป
2. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก
ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน
ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหา
ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ
อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์
เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด
1. สารวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้าธรรมชาติ การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน้าใน
ท้องถิ่น
3. สาระการเรียนรู้
ความรู้
การใช้ประโยชน์ของแหล่งน้า ต้องมีการวางแผนการใช้ การอนุรักษ์ การป้ องกัน การแก้ไข
และผลกระทบด้วยวิธีการที่เหมาะสม
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ทักษะ/กระบวนการ
- ทักษะการจาแนกประเภท
- ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล
- ทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูล
ทักษะการคิด
1) ทักษะการสังเกต
2) ทักษะการสารวจค้นหา
3) ทักษะการเปรียบเทียบ
4) ทักษะการเชื่อมโยง
5) ทักษะการแปลความหมาย
6) ทักษะการสรุปความเห็น
7) ทักษะการวิเคราะห์
8) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
1.ความมีวินัย
2.มุ่งมั่นในการทางาน
3. รักความเป็นไทย
4. ใฝ่เรียนรู้
5.การแสดงความคิดเห็น
6.อยู่อย่างพอเพียง
4. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) สารวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้าธรรมชาติ
2) เสนอแนวทางวิธีในการใช้น้าอย่างฉลาดและเหมาะสมแหล่งน้าในท้องถิ่นโดย
ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (กรณีศึกษาเทศกาลลอยกระทง)
3) ระบุผลกระทบจากการใช้ประโยชน์แหล่งน้าในท้องถิ่นได้
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
5. การบูรณาการโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ความพอประมาณ
- นักเรียนรู้จักใช้ทรัพยากรน้าอย่างพอประมาณประหยัดคุ้มค่า
- นักเรียนรู้จักความพอประมาณในการใช้เวลาในการทากิจกรรม
ความมีเหตุผล
- นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรัพยากรน้าต่อการดารงชีวิตใน
ชีวิตประจาวัน
- นักเรียนฉลาดในการเลือกวัสดุในการทากระทงที่ไม่ทาลายแหล่งน้า
- นักเรียนมีวิธีแนวทางที่จะป้ องกันแหล่งน้าไม่ให้ถูกทาลาย
- นักเรียนสามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และในการสืบเสาะหาความรู้ และการ
แก้ปัญหา
การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
- ใช้ทรัพยากรน้าอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง
- แยกแยะถึงผลดีผลเสียจากการใช้วัสดุในการทากระทงที่ทาลายสิ่งแวดล้อมทางน้าใน
เทศกาลลอยกระทง
เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง แหล่งน้า การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่ง
น้าอย่างยั่งยืน
- นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในวัสดุที่นามาทากระทงที่ไม่ทาลายแหล่งน้า
เงื่อนไขคุณธรรม
- ความมีวินัย - รักความเป็นไทย
- มุ่งมั่นในการทางาน - ใฝ่เรียนรู้
- การแสดงความคิดเห็น - อยู่อย่างพอเพียง
มิติด้านสังคม
- นักเรียนมีทักษะการทางานร่วมกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น
มิติด้านวัฒนธรรม
- สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบสานประเพณีลอยกระทง
มิติด้านเศรษฐกิจ
- ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อกระทง ประดิษฐ์กระทงที่ไม่ทาลายทรัพยากรน้า
มิติด้านสิ่งแวดล้อม
- อนุรักษ์ทรัพยากรน้าโดยการกาหนดแนวทางวิธีการปฏิบัติต่อแหล่งน้าที่ถูกต้อง
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
6. องค์ประกอบทักษะชีวิต
องค์ประกอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะ
ในการแสวงหาและใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์กับตนเอง
(รู้จักการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์)
7. กระบวนการจัดการเรียนรู้
การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญพัฒนาทักษะการคิดและทักษะชีวิต
ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนาเสนอ
1. แจ้งสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แนวปฏิบัติในการเรียน เกณฑ์การ
ผ่านและวิธีการซ่อมเสริมเมื่อนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์
2. สนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจาวันของนักเรียนใช้น้าทาอะไรบ้าง
เชื่อมโยงสู่เทศกาลลอยกระทงที่กาลังจะมาถึงมาว่าแหล่งน้าถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ
เทศกาลลอยกระทงและสนทนาซักถามต่อเกี่ยวกับวัสดุที่นักเรียนจะใช้ในการทากระทง
3.นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ เรื่อง แหล่งน้าน่ารู้
ขั้นวางแผน
1.นักเรียนระดมความคิดสนทนาและอภิปรายร่วมกันในหัวข้อที่ศึกษา แหล่งน้าในชุมชนกับ
กระทงรักษ์น้า จากนั้นร่วมกันวางแผนออกแบบการศึกษา
ขั้นปฏิบัติ
1. แต่ละกลุ่มอภิปรายถึงแหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่น
- แหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่นเป็นแหล่งน้าประเภทใด
- แหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่นที่มีอยู่มีสภาพเป็นอย่างไร
- ถ้านักเรียนใช้แหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างไม่ประหยัดและไม่รู้จักพอ ไม่รู้จักคิด
ไม่มีเหตุผล จะเกิดผลอย่างไร
- เมื่อหมู่บ้านของนักเรียนเกิดปัญหาแหล่งน้าเน่าเสียนักเรียนจะแก้ไขปัญหาอย่างไร
2. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการอภิปราย
3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม สารวจ / ศึกษาปัญหาสภาพแหล่งน้าที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน
ในช่วงเทศกาลลอยกระทงแล้วบันทึกผลการสารวจ
4. นักเรียนตัวแทนแต่ละกลุ่มเสนอแนวทางการแก้ปัญหาฉลาดและเหมาะสมตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องดังกล่าวที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชนหน้าชั้นเรียน
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปแนวทางการแก้ปัญหาและนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิตจริง
6. ทาการบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ เชื่อมโยงตามหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไขและเขียนผังความคิดสรุปรายงานผลการศึกษา
7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปว่าการใช้ทรัพยากรน้าอย่างเหมาะสมและพอควรกับความ
จาเป็น มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันจากการใช้วัสดุธรรมชาติทากระทง การใช้ทรัพยากรน้าอย่างประหยัด
และคุ้มค่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีการบารุงดูแลรักษา ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมแหล่งน้า จะทา
ให้มีทรัพยากรใช้ในอนาคตที่ยาวนานและยั่งยืน
ขั้นประเมิน
1. นักเรียนนาเสนอผลงาน
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มและครูประเมิน
การสนทนาด้วยเทคนิคคาถาม R-C-A เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในด้าน
องค์ประกอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะในการ
แสวงหาและใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์กับตนเอง (รู้จักการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์)
คาถามเพื่อสะท้อน R คาถามเพื่อการเชื่อมโยง C คาถามเพื่อการปรับใช้ A
นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรเมื่อมีคนใช้
กระทงที่ทาจากโฟมมาลอยน้า
นักเรียนคิดว่าจะเกิดปัญหาใดบ้างจาก
การใช้กระทงที่ทาจากโฟมลอยน้า
นักเรียนจะแนะนาคนในหมู่บ้าน/ผู้อื่น
อย่างไรในการลอยกระทงแบบ
อนุรักษ์น้า
1. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล
เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านความรู้ (k)
- จากการตรวจชิ้นงาน/โครงงาน
เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านกระบวนการ (p)
- จากการนาเสนอรายงานผล
เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านคุณลักษณะ (A)
สังเกตจากพฤติกรรมต่อไปนี้
- ความมีวินัย - รักความเป็นไทย
- มุ่งมั่นในการทางาน
- ใฝ่เรียนรู้
- การแสดงความคิดเห็น
- อยู่อย่างพอเพียง
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
2. เครื่องมือการวัดผลและประเมินผล
- แบบประเมินโครงงาน
8. แหล่งเรียนรู้
8.1 สื่อ
ใบกิจกรรม
ใบความรู้
หนังเรียนวิทยาศาสตร์ สสวท.
8.2 แหล่งค้นคว้า
ห้องสมุดโรงเรียน
ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์
9. การวัดผลและประเมินผล
ร่องรอยการเรียนรู้
ผลงาน/ชิ้นงาน
1) ผังความคิด สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแหล่งน้า
2) โครงงาน
3)แบบบันทึกการเรียนรู้
กระบวนการ/ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
1)ทาการทดลองได้ถูกต้อง ตามขั้นตอนการทดลอง
2)ทักษะการทางานกลุ่ม
3)นักเรียนมีกระบวนการเรียนรู้ที่ถูกต้อง
4)มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน/ชิ้นงาน
รายการที่ประเมิน
น้าหนักคะแนน (คุณภาพ)
4 3 2 1
1. ผังความคิดสรุป
องค์ความรู้เกี่ยวกับ
แหล่งน้าน่ารู้
1. สรุปความรู้
เกี่ยวกับองค์แหล่ง
น้าน่ารู้ได้ถูกต้อง
ครบทุกรายการ
2. เขียนผังความคิด
- จัดวาง
องค์ประกอบได้
เหมาะสมกับพื้นที่
- สะอาดดี
- สวยงามเป็น
ระเบียบ
1. สรุปความรู้
เกี่ยวกับองค์แหล่ง
น้าน่ารู้ไไม่ครบ 2
รายการ
2. เขียนผังความคิด
- จัดวาง
องค์ประกอบไม่ได้
สัดส่วน 1-2
ตาแหน่ง
- สะอาดหรือ
ความสวยงาม
ค่อนข้างดี
1. สรุปการความรู้
เกี่ยวกับองค์แหล่ง
น้าน่ารู้ไไม่ครบ 3-4
รายการ
2. เขียนผังความคิด
- จัดวาง
องค์ประกอบไม่ได้
สัดส่วน 3-4
ตาแหน่ง
- ไม่ค่อยสะอาด มี
ร่องรอยให้เห็น
สะอาดพอสมควร
1. สรุปความรู้
เกี่ยวกับองค์แหล่ง
น้าน่ารู้ไไม่ครบ
มากกว่า 4 รายการ
2. เขียนผังความคิด
- จัดวาง
องค์ประกอบไม่ได้
สัดส่วนตั้งแต่ 5
ตาแหน่ง
- ไม่สะอาด และ
ไม่เป็นระเบียบ
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
แบบประเมินโครงงาน
ชื่อโครงงาน ........................................................................................................................................
ชื่อผู้จัดทา 1. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ...........
2. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ...........
3. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ...........
4. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ...........
5. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ...........
6. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ...........
ชื่อผู้ประเมิน .......................................................................................................................................
รายการประเมิน
คะแนน
ระดับคุณภาพ
1 2 3 4
1. การกาหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน
2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทาโครงงาน
3. การออกแบบการทดลอง
4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
5. การดาเนินการทดลอง
6. การบันทึกผลข้อมูล
7. การจัดกระทาข้อมูล
8. การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผลข้อมูล
9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
10. การเขียนรายงานและการเสนอผลงาน
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
........
..............
..............
..............
..............
..............
.............
..............
..............
..............
......
รวมคะแนน
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ตารางแสดง เกณฑ์การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์
รายการประเมิน คะแนน
1. การกาหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน
- สมมติฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา
- สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา แต่ไม่แสดงความสัมพันธ์
ระหว่างเหตุและผล
- สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา และแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างเหตุและผลแต่ยังไม่ชัดเจน
- สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา และแสดงความสัมพันธ์
ระหว่างเหตุและผลอย่างชัดเจน
1
2
3
4
2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทาโครงงาน
- มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวข้องกับปัญหา
- มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเพียงบางส่วน
- มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาแต่
ยังไม่ครอบคลุมจากแหล่งเรียนรู้
- มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างชัดเจน
และครอบคลุมจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
1
2
3
4
3. การออกแบบการทดลอง
- สอดคล้องกับสมมติฐาน แต่ไม่มีการควบคุมตัวแปร
- สอดคล้องกับสมมติฐาน และมีการควบคุมตัวแปรบางส่วน
- สอดคล้องกับสมมติฐาน และมีการควบคุมตัวแปรได้ครบสมบูรณ์
- สอดคล้องกับสมมติฐาน และมีการควบคุมตัวแปรถูกต้อง
สมบูรณ์ และมีแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล
1
2
3
4
4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง
- เลือกใช้อุปกรณ์ไม่พอเพียงเหมาะสม
- เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องพอเพียงบางส่วน
- เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องพอเพียงเป็นส่วนใหญ่
- เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องและพอเพียงเหมาะสม
1
2
3
4
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ตารางแสดง เกณฑ์การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
รายการประเมิน คะแนน
5. การดาเนินการทดลอง
- ดาเนินการทดลองไม่เหมาะสม
- ดาเนินการทดลองได้ถูกต้องมีเหตุผลเป็นบางส่วน
- ดาเนินการทดลองได้ถูกต้องมีเหตุผลเป็นส่วนใหญ่
- ดาเนินการทดลองได้ถูกต้องมีเหตุผลครบถ้วนสมบูรณ์
1
2
3
4
6. การบันทึกผลข้อมูล
- บันทึกข้อมูลบางส่วน ไม่ตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา
- บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา
- บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาและถูกต้อง
- บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาถูกต้อง และครบถ้วน
1
2
3
4
7. การจัดกระทาข้อมูล
- มีการจัดกระทาข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเป็นส่วนมาก
- มีการจัดกระทาข้อมูลที่ถูกต้องเป็นส่วนมาก แต่ยังไม่ชัดเจน
- มีการจัดกระทาข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน แต่ยังไม่ครบสมบูรณ์
- มีการจัดกระทาข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน ละเอียด และครบสมบูรณ์
1
2
3
4
8. การแปลความหมายข้อมูล และการสรุปผลของข้อมูล
- แปลความหมายไม่ถูกต้องบางส่วน และไม่สรุปผล
- แปลความหมายไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ แต่สรุปผลไม่สอดคล้องกับข้อมูล
- แปลความหมายไม่ถูกต้อง แต่สรุปผลไม่สอดคล้องกับข้อมูลบางส่วน
- แปลความหมายถูกต้อง และสรุปผลสอดคล้องกับข้อมูล
1
2
3
4
9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- โครงงานคล้ายคลึงกับสิ่งที่เคยทามาแล้ว
- โครงงานบางส่วนมีความแปลกใหม่จากโครงงานที่เคยทามาแล้ว
- โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
- โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถนาไป
ประยุกต์ใช้ได้
1
2
3
4
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ตารางแสดงเกณฑ์ การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ (ต่อ)
รายการประเมิน คะแนน
10. การเขียนรายงานและการเสนอผลงาน
- มีการนาเสนอไม่ชัดเจน ไม่เป็นขั้นตอน
- มีการนาเสนอบางส่วนเป็นขั้นตอน พอเพียงกับเวลา แต่ยังไม่ชัดเจน
- มีการนาเสนอเป็นขั้นตอน พอเพียงกับเวลา แต่ยังไม่ชัดเจน
- มีการนาเสนอเป็นขั้นตอน และชัดเจน พอเพียงกับเวลา
1
2
3
4
เกณฑ์สรุปการประเมินระดับคุณภาพโครงงานวิทยาศาสตร์
คะแนน 0 - 15 16 - 25 26 - 35 36 - 40
ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
คาชี้แจง
ให้ครูผู้สอนประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน โดยพิจารณาจากเกณฑ์
การประเมิน แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับคะแนน
ชื่อกลุ่ม ..........................................
1.………………………………………………….2………………………….………………..
3……..………………………………..................4……………………………………………
5……..………………………………..................6……………………………………………
กลุ่มที่
รายการประเมิน
รวม
ความมีวินัย
รักความเป็นไทย
มุ่งมั่นในการทางาน
ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
การแสดงความคิดเห็น
อยู่อย่างพอเพียง
5 5 5 5 5 5 30
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
ข้อเสนอแนะ
.........................................................................................................……………………...
…………………………………………………………………………………………………..
ลงชื่อ................................................... ผู้ประเมิน
(.....................................................)
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
เกณฑ์การพิจารณาพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
รายการประเมิน
ระดับ
การประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
1. ความมีวินัย 5 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนด้วยความเต็มใจ
และสม่าเสมอ
4 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนด้วยความเต็มใจเป็นบางครั้ง
3 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนโดยมีการควบคุมกากับ
ในบางครั้ง
2 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนโดยต้องมีการควบคุม
กากับอยู่เสมอ
1 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบและต้องมีการควบคุมกากับอยู่
เสมอ
2. รักความเป็นไทย 5 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงทุกชิ้นที่ไม่
ทาลายแหล่งน้า
4 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 1
ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า
3 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 2
ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า
2 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 3
ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า
1 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 4
ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า
3. มุ่งมั่นในการ
ทางาน
5 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ
ด้วยความละเอียดรอบคอบทุกขั้นตอน
4 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ
ด้วยความละเอียดรอบคอบเกือบทุกขั้นตอน
3 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ
โดยต้องมีผู้แนะนาบางครั้ง
2 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ
โดยต้องมีผู้แนะนาทุกครั้ง
1 ไม่มีความมุ่งมั่นในการทางานและต้องมีผู้แนะนาทุกครั้ง
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
เกณฑ์การพิจารณาพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
รายการประเมิน
ระดับ
การประเมิน
เกณฑ์การประเมิน
4. ความใฝ่รู้ใฝ่
เรียน
5 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนด้วยความเต็มใจและสม่าเสมอ
4 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนด้วยความเต็มใจเป็นบางครั้ง
3 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนโดยมีการควบคุมกากับในบางครั้ง
2 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนโดยต้องมีการควบคุมกากับอยู่เสมอ
1 ไม่มีความสนใจเรียนและต้องมีการควบคุมกากับอยู่เสมอ
5. การแสดงความ
คิดเห็น
5 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ทุกครั้ง ยอมรับฟังความ
คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม และยอมรับผลที่เกิดจาก
การทางานของกลุ่ม
4 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลทุกครั้ง ยอมรับฟัง
ความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม และยอมรับผลที่เกิดจาก
การทางานของกลุ่ม
3 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลบ่อยครั้ง ยอมรับฟังความ
คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม
2 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลในบางครั้ง ยอมรับฟังความ
คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม
1 มีการแสดงความคิดเห็นในบางครั้ง ยอมรับฟังความคิดเห็นของ
สมาชิกในกลุ่ม
6. อยู่อย่างพอเพียง 5 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน
คานึงถึงประโยชน์ในการปฏิบัติกิจกรรม บนพื้นฐานของความรู้และ
คุณธรรมอย่างครบถ้วน
4 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน
คานึงถึงประโยชน์ในการปฏิบัติกิจกรรมบนพื้นฐานของความรู้และคุณธรรม
3 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา มีเหตุผล มีในการปฏิบัติ
กิจกรรม บนพื้นฐานของความรู้และคุณธรรม
2 นักเรียนรู้จักความมีเหตุผล ในการปฏิบัติกิจกรรม บนพื้นฐานของคุณธรรม
1 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา ในการปฏิบัติกิจกรรม
บนพื้นฐานคุณธรรม
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
เกณฑ์การให้คะแนนพฤติกรรมการทางานกลุ่ม
ช่วงคะแนน 25 – 30 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 5 ดีมาก
ช่วงคะแนน 19 – 24 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 4 ดี
ช่วงคะแนน 13 – 18 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 3 ปานกลาง
ช่วงคะแนน 7 – 12 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 2 น้อย
ช่วงคะแนน 1 - 6 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 1 ปรับปรุง
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ภาคผนวก
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
บัตรความรู้ เรื่อง แหล่งน้าน่ารู้
แหล่งน้าบนโลก
พื้นผิวโลกประกอบด้วยพื้นน้ามากกว่าพื้นดิน โดยประกอบด้วยพื้นน้าประมาณร้อยละ
71 หรือประมาณ
3 ใน 4 ส่วนของพื้นผิวโลกทั้งหมด และน้าบนโลกจะกระจายตัวอยู่ตามแหล่งต่าง ๆ ดังนี้
น้าทั้งหมดบนโลก
- น้าจืด 3 %
 น้าจืดบนโลก
 น้าแข็ง 76 %
 น้าบาดาลในชั้นตื้น 12 %
 น้าบาดาลในชั้นลึก 11 %
 แม่น้าและทะเลสาบ 0.34 %
 ไอน้า 0.037 %
- น้าเค็มในมหาสมุทร ทะเล และทะเลสาบน้าเค็ม 97 %
น้า 96.5 % เกลือที่ละลายอยู่ 3.5 %
ไอออน
 คลอไรด์ 55 %
 โซเดียม 30.6 %
 ซัลเฟต 7.7 %
 แมกนีเซียม 3.7 %
 โพแทสเซียม 1.1 %
 อื่น ๆ 0.7 %
ข้อสังเกต
น้าบนโลกส่วนใหญ่เป็นน้าเค็ม มีน้าจืดเพียง
ร้อยละ3 เท่านั้น และส่วนที่เป็นน้าจืดส่วนใหญ่เป็น
น้าแข็งอยู่ตามขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้นอกจากนี้
ยังมีน้าจืดอีกส่วนหนึ่งอยู่ในบรรยากาศที่เรียกว่า
ไอน้า ดังนั้นมนุษย์จึงเหลือแหล่งน้าจืดที่นามาใช้
ประโยชน์ได้จริง ๆ ไม่ถึงร้อยละ1 ซึ่งมีเพียงแหล่งน้า
ในแม่น้าทะเลสาบ และน้าบาดาลในชั้นตื้นเท่านั้น
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ประเภทของแหล่งน้าบนโลก
แหล่งน้าบนโลกจัดได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้
1) น้าผิวดิน
2) น้าใต้ดิน
น้าผิวดินอยู่ที่ใดบ้าง และมีลักษณะ อย่างไรศึกษาได้จากผังความคิดต่อไปนี้
เขื่อน
เป็นทานบกั้นขวางลาน้า เพื่อเก็บกักน้าให้สูงขึ้น
กว่าเดิมพอที่จะระบายน้าไปยังที่ต่าง ๆ ได้
แหล่งน้ำที่มนุษย์
สร้างขึ้น
อ่างเก็บน้า
เป็นแอ่งน้าใหญ่ ใช้เก็บกักน้า อยู่
ระหว่างภูเขา
ฝาย
เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาขวางทางน้าเพื่อทดน้าให้มี
ระดับสูง จนสามารถส่งไปตามคลองส่งน้าเข้าสู่
บริเวณที่ทาการเพาะปลูก
น้าผิวดิน
เป็นน้าที่อยู่บนพื้นโลก ซึ่งมีปริมาณมาก
ที่สุด
แหล่งน้าที่เกิด
ตามธรรมชาติมหาสมุทร
ทะเล
แม่น้า
ลาคลอง
หนอง,บึง
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
2) น้าใต้ดิน
น้าใต้ดินเกิดจากน้าฝนและน้าผิวดินไหลซึมลงไปในชั้นดินตามแรงโน้มถ่วงของโลก เกิด
การซึมแพร่ไปตามช่องว่างในดินเรียกชั้นดินที่มีน้าแทรกอยู่ช่องว่างจนเต็มนี้เรียกว่า ชั้นดินอิ่มน้า
และเรียกระดับบนสุดของชั้นดินอิ่มน้าว่า ระดับน้าใต้ดิน
ประเภทของน้าใต้ดิน
น้าใต้ดินจาแนกตามชนิดของวัสดุกักเก็บน้าได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้
1. น้าในดิน เป็นน้าที่ซึมลงใต้ผิวดินและแทรกตัวในชั้นดินที่อิ่มน้าจนถึงชั้นดินและชั้น
หินที่มีเนื้อที่น้าซึมผ่าน ได้ยาก จึงถูกเก็บกักไว้ในชั้นใน
2. น้าบาดาล เมื่อน้าซึมผ่านชั้นดินจนถึงชั้นหินอุ้มน้า และถูกกักไว้ในชั้นหินอุ้มน้า การ
เคลื่อนที่ของ น้าในชั้นหินอุ้มน้านั้นจะเกิดขึ้นได้ดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความชันของชั้นได้ดีหรือไม่
นั้นขึ้นอยู่กับความชันของ ชั้นหินอุ้มน้าและความสามารถยอมให้น้าซึมผ่านได้น้าบาดาลอาจ
ไหลออกมาได้เองจากผิวดินหรือการขุดบ่อบาดาลนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้บนผิวดินของมนุษย์
บ่อน้าบาดาล
การนาน้าบาดาลขึ้นมาบนผิวดินเพื่อการอุปโภคบริโภคทาได้โดยการขุดบ่อลงไปจนถึงชั้น
หินอุ้มน้า แต่การสูบน้าบาดาลขึ้นมาใช้มาก ๆ จะทาให้ระดับน้าบาดาลลดลงเรื่อย ๆ เป็นผลให้
แผ่นดินทรุดตัวได้
สมบัติของน้า น้ามีสมบัติดังนี้
1. เป็นของเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส
2. มีจุดหลอมเหลว 0 0
C และมีจุดเดือด 100 0
C
3. น้ามีความหนาแน่นมากที่สุดที่ 4 0
C ถ้าอุณหภูมิสูงหรือต่ากว่านี้ ความหนาแน่นของน้าจะ
น้อยลงดังนั้นน้าแข็ง จึงลอยในน้าได้
4. น้าบริสุทธิ์จะมีสมบัติเป็นกลาง และนาไฟฟ้าได้น้อยมากจนถือว่าไม่นาไฟฟ้า
5. น้าเป็นตัวทาลายที่ดี จึงทาให้แหล่งน้าต่างๆมีเกลือแร่ละลายอยู่หลายชนิด
6. น้ามีแรงดัน
7. มีการรักษาระดับ
8. มีรูปเหมือนภาชนะที่บรรจุ
9. ไหลจากที่สูงสู่ที่ต่าเสมอ
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
รักษ์น้า
ชื่อ………………………………สกุล………………………..เลขที่………………….
คาชี้แจง จากภาพที่กาหนดให้ นักเรียนจงวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการ
แก้ไขปัญหา
1.สภาพปัญหา
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
2.สาเหตุของปัญหา
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………..…
3.แนวทางการแก้ปัญหา
……………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………...
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ชื่อ………………………………สกุล………………………..เลขที่………………….
คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมตามใบงาน ( 10 คะแนน )
1. สารวจและสืบค้นการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้าในข้างโรงเรียน ตลอดจนผลกระทบที่เกิดจากการ
ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า ( วิทยาศาสตร์ + สังคมศึกษา + การงาน +สุขศึกษา ) 3 คะแนน
การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า ผลกระทบที่เกิดกับน้า แนวทางในการอนุรักษ์น้า
2. แผนภูมิรูปวงกลมเปรียบเทียบอัตราส่วนของน้าที่มีอยู่ในโลก พร้อม
ระบายสี( คณิตศาสตร์ ) 1 คะแนน
แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์
เรื่อง ทรัพยากรน้า
รายวิชาวิทยาศาสตร์
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
3. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงปริมาณการใช้น้าในชุมชนพร้อมระบายสี
( คณิตศาสตร์ ) 1 คะแนน
4. ปัญหาจากน้าเสียส่งผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียนและชุมชุนอย่างไรบ้าง
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
5. ให้นักเรียนวาดภาพวัฎจักรของน้า แล้วระบายสีด้วยสี พร้อมอธิบาย ( ศิลปะ + วิทยาศาสตร์ ) 2
คะแนน
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
เรียนรู้เพิ่มเติมกับกิจกรรมโครงงาน
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง เครื่องมือในการสอนที่มีคุณค่ายิ่ง เป็นการสอนที่เน้นการ
สอนรายบุคคล นักเรียนแบ่งเวลาส่วนหนึ่งในเวลาเรียนไปทาโครงงานโดยครูเป็นผู้วางแผน
ช่วยเหลือ แนะนา ปรึกษาโครงงานให้แก่นักเรียน (ภพ เลาหไพบูลย์ 2542 : 309)
โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นงานวิจัยชิ้นเล็ก ๆ ของนักเรียนที่ศึกษา ทดลองเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง อาจจัดในเวลาเรียนหรือนอก
เวลาเรียนก็ได้(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี 2542 : 41)
โครงงานวิทยาศาสตร์ คือ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ที่มีการศึกษาค้นคว้า ทดลอง ตรวจสอบ
สมมติฐานอย่างมีหลักเกณฑ์ โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ ผู้ศึกษาอาจต้องวางแผนออกแบบทดลอง หรือประดิษฐ์คิดค้นอย่างมีลาดับขั้นตอน มี
การเก็บรวบรวมข้อมูล แปลผล หรือวิเคราะห์ข้อมูลได้จาก การทดลอง การสรุปผล แล้วนามาเขียน
เป็นรายงาน การทดลองให้สมบูรณ์ และสามารถนาเสนอผลงานที่จัดทาขึ้นได้ด้วยตนเอง (ประดิษฐ์
เหล่าเนตร์ 2542 : 18)
ความหมาย
ของโครงงานวิทยาศาสตร์
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ที่นักเรียนเป็นผู้เลือกเรื่องที่
จะศึกษาด้วยตนเองโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปช่วยในการศึกษาค้นคว้า เพื่อตอบปัญหาหรือข้อ
สงสัย นักเรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการปฏิบัติ การทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล
แปลผล สรุปผลและเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา
(แววยูง สุขสถิตย์2543 : 16)
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่นักเรียนใจเพื่อตอบปัญหาที่
นักเรียนสงสัย โดยนักเรียนศึกษาด้วยตนเองเป็นกลุ่ม และเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนทาง
วิทยาศาสตร์ที่อาจจัดในเวลาเรียน หรือนอกเวลาเรียนก็ได้ ซึ่งผู้เรียนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในการแสวงหาความรู้ และเสนอผลงาน โดยมีครูหรือผู้เชี่ยวชาญ ในเรื่องนั้นเป็นผู้ให้คาแนะนา
ปรึกษา (มาลี แจ่มจารัส 2546 : 36)
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี อาจจัดเป็นกิจกรรม ในเวลาเรียนหรือนอกเวลาเรียน จะทางานเป็นกลุ่มหรือ
รายบุคคล ซึ่งนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยอาศัยวิธีการทาง
วิทยาศาสตร์ภายใต้การแนะนาปรึกษาและการดูแลช่วยเหลือจากอาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญ และอาจใช้
เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การศึกษาค้นคว้านั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ (เสาวลักษณ์
ประทุมศิริ 2546 : 22)
โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การเรียนโดยผ่านกิจกรรมที่เกิดจากความสนใจการศึกษา
ค้นคว้าและปฏิบัติจริงของผู้เรียนที่มีการจัดระบบ และกระบวนการในการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ของ
ผู้เรียนเพื่อให้ได้คาตอบที่ตนเองต้องการเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งทุกขั้นตอนจากประสบการณ์จริงด้วย
ตนเองหรือกลุ่มความสนใจของผู้เรียน (ถวัลย์ มาศจรัส 2549 : 16)
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
1. โครงงานประเภทการสารวจ
2. โครงงานประเภทการทดลอง
3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือสิ่งประดิษฐ์
4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย
โครงงานประเภทการสารวจ
(Survey Research Project)
โครงงานประเภทการสารวจเป็นการศึกษารวบรวมปัญหาจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
เพื่อศึกษาหาความรู้ที่มีอยู่ในธรรมชาติโดยใช้วิธีการสารวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนาข้อมูลมา
จัดกระทาให้เป็นระบบระเบียบ และสื่อความหมาย แล้วนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง กราฟ
แผนภูมิ และคาอธิบายประกอบ ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ไม่มีการจัดหรือกาหนด
ตัวแปรหรือควบคุมตัวแปรใด ๆ อาจจะกระทาในลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคสนามหรือ
ในธรรมชาติ การเก็บรวบรวมวัสดุตัวอย่างมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งการจาลอง
ธรรมชาติขึ้นในห้องปฏิบัติการแล้วสังเกต และศึกษารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ตัวอย่างโครงงาน
วิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่
1. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษามลพิษของสิ่งแวดล้อม
2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนของผึ้ง
3. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการสารวจหมู่โลหิตของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3
4. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาพฤติกรรมของจิ้งจก
5. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาปริมาณสารอัลฟลาทอกซินในถั่วลิสงป่น
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
โครงงานประเภทการทดลอง
(Experimental Research Project)
โครงงานประเภทการทดลองนี้มีขั้นตอนเหมือนการเรียนการสอนที่มีการทดลองโดยทั่วไป
คือมีการกาหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การดาเนินการทดลอง
การรวบรวมข้อมูล การแปลผล การสรุปผล แต่มีข้อแตกต่างกันคือ ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
นั้นนักเรี ยนผู้จัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะเป็ นผู้คิดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษาทดลอง
ออกแบบการทดลอง และดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยได้รับคาแนะนา
จากอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องมีการกาหนดตัวแปร ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร
อิสระหรือตัวแปรต้น และตัวแปรตาม ดังนั้นผู้ทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะต้องศึกษาข้อมูลต่าง ๆ จาก
เอกสาร ตาราอ้างอิงต่าง ๆ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่
1. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการเจริญเติบโตของพืชในสนามแม่เหล็ก
2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องอิทธิพลของแสงสีต่าง ๆ ที่มีการเจริญเติบโตของพืชบางชนิด
3. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการทดลองใช้ผักตบชวาในการกาจัดน้าเสีย
4. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาอิทธิพลของฮอร์โมนเพศชายในสัตว์เพศเมีย
5. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบพลังงานความร้อนน้ามันพืชต่างชนิด
โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์
(Developmental Research Project)
โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์เป็นการพัฒนา หรือการประดิษฐ์ หรือการ
สร้างอุปกรณ์หรือเครื่องมือเครื่องใช้เพื่อประโยชน์ใช้สอย โดยการประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการทาง
วิทยาศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาหรือประดิษฐ์สิ่งดังกล่าว อาจเป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่ หรือการ
ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หรืออาจเป็นการเสนอแบบจาลอง
ทางความคิดเพื่อแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งก็ได้ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่ 1.
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องเครื่องเตือนอัคคีภัยระบบความดัน
2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องกลจักรพลังงานแสง
รช 7
แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย
(Theoretical Research Project)
โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบายเป็นโครงงานที่เสนอทฤษฎีหรือคาอธิบาย
สิ่งต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นแนวคิดใหม่ ๆ โดยมีหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือทฤษฎี
อื่นเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ อาจจะยังไม่มีใครเคยคิดมาก่อน อาจจะขัดแย้งกับทฤษฎีเดิม หรือ
อาจจะเป็นการขยายทฤษฎีเดิมก็ได้ การทาโครงงานแบบนี้ผู้ทาจะต้องมีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์
เป็นอย่างดี และต้องศึกษาค้นคว้า เรื่องราวที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมากจึงจะสามารถสร้างทฤษฎีได้
ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องกาเนิดของทวีป
และมหาสมุทร ซึ่งเป็นการสร้างแบบจาลองอธิบายการเกิดของทวีปและมหาสมุทรโดยอาศัยหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอ้างอิง ได้ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้
ได้แก่
1. โครงงานการเกษตรทฤษฎีใหม่
2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์
3. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการผลิตแท่งเชื้อเพลิงสีเขียว
ที่มา : ประดิษฐ์ เหล่าเนตร์. เทคนิคการสอนและการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา
และ มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทเซ็นเตอร์ ดีสคัฟเวอรี จากัด, 2542 หน้า 18-33.
ถวัลย์มาศจรัส และมณี เรืองขา. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Project)
เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ผู้เรียน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ธารอักษร จากัด, 2549. หน้า 22 - 24.
อาภรณ์ ใจเที่ยง. หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์
, 2550. หน้า 130.
สุวิทย์มูลคา และอรทัย มูลคา. 20 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม
การเรียนรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์
,2550 . หน้า 85-86

More Related Content

What's hot

วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารWuttipong Tubkrathok
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9Bios Logos
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5Nontagan Lertkachensri
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันPreeyapat Lengrabam
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5SAM RANGSAM
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคNinnin Ja
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5Ornrutai
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนWijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 

What's hot (20)

วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสารวิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
วิทยาศาสตร์ ม.3 วัฏจักรสาร
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
G biology bio9
G biology bio9G biology bio9
G biology bio9
 
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
2.แบบฝึกหัดการเคลื่อนที่แนวตรง
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
โครงงาน Is-กลุ่มสบู่-1-5
 
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวันเล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
เล่ม 5 ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจำวัน
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5กาพย์ยานี11 ป.5
กาพย์ยานี11 ป.5
 
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรคสมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
สมุดเล่มเล็ก เรื่อง ลดหวานต้านโรค
 
Learning force p5
Learning force p5Learning force p5
Learning force p5
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
โมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชนโมเมนตัมและการชน
โมเมนตัมและการชน
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 

Similar to 2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหาWichai Likitponrak
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561teacherarty
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนAnchalee Tanphet
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วนWareerut Hunter
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56krupornpana55
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานWareerut Hunter
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาparinya poungchan
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานtongkesmanee
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 

Similar to 2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ (20)

รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครองโรงเรียนสุเหร่าเขียว ปี 2561
 
ความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชนความรู้สู่ชุมชน
ความรู้สู่ชุมชน
 
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
4.แผนเรื่องโครงงานทองม้วน
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
หน่วยที่ 5 ร่วมสร้างสรรค์ 12 มี.ค.56
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
5.แผนอากาศเศรษฐกิจพอเพียง
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
6.แผนอาหารเศรษฐกิจพอเพียง
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชาโครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างรายวิชา
 
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
3.แผนไฟฟ้าเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 

More from Wareerut Hunter

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingWareerut Hunter
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556Wareerut Hunter
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2Wareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 Wareerut Hunter
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3Wareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาWareerut Hunter
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยWareerut Hunter
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^Wareerut Hunter
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดWareerut Hunter
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1Wareerut Hunter
 

More from Wareerut Hunter (17)

เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556adingเตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556ading
 
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
เตรียมพร้อมกับการประเมิน ห้องสมุดมีชัวิต กับมาตรฐานห้องสมุดโรงเรียน ปี 2556
 
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
เก็บมาฝากตอนรับเปิดเทอมค่ะ ประกาศ สพฐ. เรื่อง แนวปฏิบัติในการยกระดับคุณภาพนัก...
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 7
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 6
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 5
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 3
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 2
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4 ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
ปกแนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 4
 
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.37.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
7.แผนการสอนแบบบูรณาการโดยใช้กิจกรรรมโครงงานตามหลักของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.3
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาการขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
การขับเคลื่อนการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญา
 
การคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทยการคิด ประถม ภาษาไทย
การคิด ประถม ภาษาไทย
 
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
หนังสือดี ที่คุณครูวิทย์ต้องกด like การสอนคิด ^___^
 
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิดสาระน่ารู้กับการสอนคิด
สาระน่ารู้กับการสอนคิด
 
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
แนวการสอนซ่อมเสริมภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เล่ม 1
 

2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ

  • 2. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง กระทงรักษ์น้า กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 เวลา 2 ชั่วโมง 1. สาระสาคัญ น้าเป็นทรัพยากรที่สาคัญที่มีคุณค่าด้านอุปโภค บริโภค แหล่งอาหาร การอุตสาหกรรม คมนาคม ผลิตกระแสไฟฟ้ า และการท่องเที่ยวพักผ่อนหย่อนใจ และน้ายังเป็นแหล่งของทรัพยากร ประมงน้าจืด ประมงน้าเค็ม ป่าชายเลน น้าจึงมีความสาคัญต่อการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ดั้งนั้นการ ใช้น้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด ร่วมกันดูแลอนุรักษ์และพัฒนาแหล่งน้าจึงเป็นหน้าที่ของเราทุกคน เพื่อให้มีน้าใช้อย่างพอเพียงตลอดไป 2. สาระ/มาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 6 กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก มาตรฐาน ว 6.1 เข้าใจกระบวนการต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธ์ของกระบวนการต่าง ๆ ที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐาน ของโลก มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ สาระที่ 8 : ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มาตรฐาน ว 8.1 : ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ ในการสืบเสาะหา ความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถ อธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด 1. สารวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้าธรรมชาติ การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่งน้าใน ท้องถิ่น 3. สาระการเรียนรู้ ความรู้ การใช้ประโยชน์ของแหล่งน้า ต้องมีการวางแผนการใช้ การอนุรักษ์ การป้ องกัน การแก้ไข และผลกระทบด้วยวิธีการที่เหมาะสม
  • 3. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ทักษะ/กระบวนการ - ทักษะการจาแนกประเภท - ทักษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล - ทักษะการเก็บรวบรวมข้อมูล ทักษะการคิด 1) ทักษะการสังเกต 2) ทักษะการสารวจค้นหา 3) ทักษะการเปรียบเทียบ 4) ทักษะการเชื่อมโยง 5) ทักษะการแปลความหมาย 6) ทักษะการสรุปความเห็น 7) ทักษะการวิเคราะห์ 8) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 1.ความมีวินัย 2.มุ่งมั่นในการทางาน 3. รักความเป็นไทย 4. ใฝ่เรียนรู้ 5.การแสดงความคิดเห็น 6.อยู่อย่างพอเพียง 4. จุดประสงค์การเรียนรู้ 1) สารวจและอธิบายลักษณะแหล่งน้าธรรมชาติ 2) เสนอแนวทางวิธีในการใช้น้าอย่างฉลาดและเหมาะสมแหล่งน้าในท้องถิ่นโดย ยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (กรณีศึกษาเทศกาลลอยกระทง) 3) ระบุผลกระทบจากการใช้ประโยชน์แหล่งน้าในท้องถิ่นได้
  • 4. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 5. การบูรณาการโดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอประมาณ - นักเรียนรู้จักใช้ทรัพยากรน้าอย่างพอประมาณประหยัดคุ้มค่า - นักเรียนรู้จักความพอประมาณในการใช้เวลาในการทากิจกรรม ความมีเหตุผล - นักเรียนตระหนักถึงความสาคัญและประโยชน์ของทรัพยากรน้าต่อการดารงชีวิตใน ชีวิตประจาวัน - นักเรียนฉลาดในการเลือกวัสดุในการทากระทงที่ไม่ทาลายแหล่งน้า - นักเรียนมีวิธีแนวทางที่จะป้ องกันแหล่งน้าไม่ให้ถูกทาลาย - นักเรียนสามารถใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และในการสืบเสาะหาความรู้ และการ แก้ปัญหา การมีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี - ใช้ทรัพยากรน้าอย่างรอบคอบ ระมัดระวัง - แยกแยะถึงผลดีผลเสียจากการใช้วัสดุในการทากระทงที่ทาลายสิ่งแวดล้อมทางน้าใน เทศกาลลอยกระทง เงื่อนไขความรู้ - นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจในเรื่อง แหล่งน้า การใช้ประโยชน์และการอนุรักษ์แหล่ง น้าอย่างยั่งยืน - นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในวัสดุที่นามาทากระทงที่ไม่ทาลายแหล่งน้า เงื่อนไขคุณธรรม - ความมีวินัย - รักความเป็นไทย - มุ่งมั่นในการทางาน - ใฝ่เรียนรู้ - การแสดงความคิดเห็น - อยู่อย่างพอเพียง มิติด้านสังคม - นักเรียนมีทักษะการทางานร่วมกัน ยอมรับฟังความคิดเห็นผู้อื่น มิติด้านวัฒนธรรม - สืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบสานประเพณีลอยกระทง มิติด้านเศรษฐกิจ - ประหยัดค่าใช้จ่ายในการซื้อกระทง ประดิษฐ์กระทงที่ไม่ทาลายทรัพยากรน้า มิติด้านสิ่งแวดล้อม - อนุรักษ์ทรัพยากรน้าโดยการกาหนดแนวทางวิธีการปฏิบัติต่อแหล่งน้าที่ถูกต้อง
  • 5. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 6. องค์ประกอบทักษะชีวิต องค์ประกอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะ ในการแสวงหาและใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์กับตนเอง (รู้จักการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์) 7. กระบวนการจัดการเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้แบบโครงงานโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญพัฒนาทักษะการคิดและทักษะชีวิต ขั้นตอนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนาเสนอ 1. แจ้งสาระการเรียนรู้ ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ แนวปฏิบัติในการเรียน เกณฑ์การ ผ่านและวิธีการซ่อมเสริมเมื่อนักเรียนไม่ผ่านเกณฑ์ 2. สนทนาซักถามนักเรียนเกี่ยวกับกิจกรรมในชีวิตประจาวันของนักเรียนใช้น้าทาอะไรบ้าง เชื่อมโยงสู่เทศกาลลอยกระทงที่กาลังจะมาถึงมาว่าแหล่งน้าถือเป็นองค์ประกอบหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับ เทศกาลลอยกระทงและสนทนาซักถามต่อเกี่ยวกับวัสดุที่นักเรียนจะใช้ในการทากระทง 3.นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ เรื่อง แหล่งน้าน่ารู้ ขั้นวางแผน 1.นักเรียนระดมความคิดสนทนาและอภิปรายร่วมกันในหัวข้อที่ศึกษา แหล่งน้าในชุมชนกับ กระทงรักษ์น้า จากนั้นร่วมกันวางแผนออกแบบการศึกษา ขั้นปฏิบัติ 1. แต่ละกลุ่มอภิปรายถึงแหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่น - แหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่นเป็นแหล่งน้าประเภทใด - แหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่นที่มีอยู่มีสภาพเป็นอย่างไร - ถ้านักเรียนใช้แหล่งน้าธรรมชาติในท้องถิ่นอย่างไม่ประหยัดและไม่รู้จักพอ ไม่รู้จักคิด ไม่มีเหตุผล จะเกิดผลอย่างไร - เมื่อหมู่บ้านของนักเรียนเกิดปัญหาแหล่งน้าเน่าเสียนักเรียนจะแก้ไขปัญหาอย่างไร 2. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปผลการอภิปราย 3. นักเรียนแต่ละกลุ่ม สารวจ / ศึกษาปัญหาสภาพแหล่งน้าที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชน ในช่วงเทศกาลลอยกระทงแล้วบันทึกผลการสารวจ 4. นักเรียนตัวแทนแต่ละกลุ่มเสนอแนวทางการแก้ปัญหาฉลาดและเหมาะสมตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในเรื่องดังกล่าวที่เกิดขึ้นในโรงเรียนและชุมชนหน้าชั้นเรียน
  • 6. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 5. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปแนวทางการแก้ปัญหาและนาไปปฏิบัติในการดาเนินชีวิตจริง 6. ทาการบันทึกข้อมูลลงในแบบบันทึกการเรียนรู้ เชื่อมโยงตามหลัก ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 3 ห่วง 2 เงื่อนไขและเขียนผังความคิดสรุปรายงานผลการศึกษา 7. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปว่าการใช้ทรัพยากรน้าอย่างเหมาะสมและพอควรกับความ จาเป็น มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันจากการใช้วัสดุธรรมชาติทากระทง การใช้ทรัพยากรน้าอย่างประหยัด และคุ้มค่าก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด มีการบารุงดูแลรักษา ไม่ทาลายทรัพยากรธรรมแหล่งน้า จะทา ให้มีทรัพยากรใช้ในอนาคตที่ยาวนานและยั่งยืน ขั้นประเมิน 1. นักเรียนนาเสนอผลงาน 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มและครูประเมิน การสนทนาด้วยเทคนิคคาถาม R-C-A เพื่อพัฒนาทักษะชีวิตในด้าน องค์ประกอบที่ 2 การคิดวิเคราะห์ตัดสินใจและแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ มีทักษะในการ แสวงหาและใช้ข้อมูลให้เป็นประโยชน์กับตนเอง (รู้จักการแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์) คาถามเพื่อสะท้อน R คาถามเพื่อการเชื่อมโยง C คาถามเพื่อการปรับใช้ A นักเรียนมีความรู้สึกอย่างไรเมื่อมีคนใช้ กระทงที่ทาจากโฟมมาลอยน้า นักเรียนคิดว่าจะเกิดปัญหาใดบ้างจาก การใช้กระทงที่ทาจากโฟมลอยน้า นักเรียนจะแนะนาคนในหมู่บ้าน/ผู้อื่น อย่างไรในการลอยกระทงแบบ อนุรักษ์น้า 1. เกณฑ์การวัดผลประเมินผล เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านความรู้ (k) - จากการตรวจชิ้นงาน/โครงงาน เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านกระบวนการ (p) - จากการนาเสนอรายงานผล เกณฑ์การประเมินคุณภาพด้านคุณลักษณะ (A) สังเกตจากพฤติกรรมต่อไปนี้ - ความมีวินัย - รักความเป็นไทย - มุ่งมั่นในการทางาน - ใฝ่เรียนรู้ - การแสดงความคิดเห็น - อยู่อย่างพอเพียง
  • 7. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 2. เครื่องมือการวัดผลและประเมินผล - แบบประเมินโครงงาน 8. แหล่งเรียนรู้ 8.1 สื่อ ใบกิจกรรม ใบความรู้ หนังเรียนวิทยาศาสตร์ สสวท. 8.2 แหล่งค้นคว้า ห้องสมุดโรงเรียน ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ 9. การวัดผลและประเมินผล ร่องรอยการเรียนรู้ ผลงาน/ชิ้นงาน 1) ผังความคิด สรุปองค์ความรู้เกี่ยวกับแหล่งน้า 2) โครงงาน 3)แบบบันทึกการเรียนรู้ กระบวนการ/ขั้นตอนการปฏิบัติงาน 1)ทาการทดลองได้ถูกต้อง ตามขั้นตอนการทดลอง 2)ทักษะการทางานกลุ่ม 3)นักเรียนมีกระบวนการเรียนรู้ที่ถูกต้อง 4)มีทักษะกระบวนการวิทยาศาสตร์
  • 8. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ เกณฑ์การให้คะแนนผลงาน/ชิ้นงาน รายการที่ประเมิน น้าหนักคะแนน (คุณภาพ) 4 3 2 1 1. ผังความคิดสรุป องค์ความรู้เกี่ยวกับ แหล่งน้าน่ารู้ 1. สรุปความรู้ เกี่ยวกับองค์แหล่ง น้าน่ารู้ได้ถูกต้อง ครบทุกรายการ 2. เขียนผังความคิด - จัดวาง องค์ประกอบได้ เหมาะสมกับพื้นที่ - สะอาดดี - สวยงามเป็น ระเบียบ 1. สรุปความรู้ เกี่ยวกับองค์แหล่ง น้าน่ารู้ไไม่ครบ 2 รายการ 2. เขียนผังความคิด - จัดวาง องค์ประกอบไม่ได้ สัดส่วน 1-2 ตาแหน่ง - สะอาดหรือ ความสวยงาม ค่อนข้างดี 1. สรุปการความรู้ เกี่ยวกับองค์แหล่ง น้าน่ารู้ไไม่ครบ 3-4 รายการ 2. เขียนผังความคิด - จัดวาง องค์ประกอบไม่ได้ สัดส่วน 3-4 ตาแหน่ง - ไม่ค่อยสะอาด มี ร่องรอยให้เห็น สะอาดพอสมควร 1. สรุปความรู้ เกี่ยวกับองค์แหล่ง น้าน่ารู้ไไม่ครบ มากกว่า 4 รายการ 2. เขียนผังความคิด - จัดวาง องค์ประกอบไม่ได้ สัดส่วนตั้งแต่ 5 ตาแหน่ง - ไม่สะอาด และ ไม่เป็นระเบียบ
  • 9. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ แบบประเมินโครงงาน ชื่อโครงงาน ........................................................................................................................................ ชื่อผู้จัดทา 1. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ........... 2. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ........... 3. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ........... 4. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ........... 5. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ........... 6. ..................................................................... ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ........... เลขที่ ........... ชื่อผู้ประเมิน ....................................................................................................................................... รายการประเมิน คะแนน ระดับคุณภาพ 1 2 3 4 1. การกาหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน 2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทาโครงงาน 3. การออกแบบการทดลอง 4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง 5. การดาเนินการทดลอง 6. การบันทึกผลข้อมูล 7. การจัดกระทาข้อมูล 8. การแปลความหมายข้อมูลและการสรุปผลข้อมูล 9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ 10. การเขียนรายงานและการเสนอผลงาน ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ ........ .............. .............. .............. .............. .............. ............. .............. .............. .............. ...... รวมคะแนน
  • 10. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ตารางแสดง เกณฑ์การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ รายการประเมิน คะแนน 1. การกาหนดปัญหาและการตั้งสมมติฐาน - สมมติฐานไม่สอดคล้องกับปัญหา - สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา แต่ไม่แสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเหตุและผล - สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา และแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเหตุและผลแต่ยังไม่ชัดเจน - สมมติฐานสอดคล้องกับปัญหา และแสดงความสัมพันธ์ ระหว่างเหตุและผลอย่างชัดเจน 1 2 3 4 2. ข้อมูลหรือข้อเท็จจริงประกอบการทาโครงงาน - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่ไม่เกี่ยวข้องกับปัญหา - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาเพียงบางส่วน - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาแต่ ยังไม่ครอบคลุมจากแหล่งเรียนรู้ - มีการศึกษาหาข้อมูลหรือข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับปัญหาอย่างชัดเจน และครอบคลุมจากแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย 1 2 3 4 3. การออกแบบการทดลอง - สอดคล้องกับสมมติฐาน แต่ไม่มีการควบคุมตัวแปร - สอดคล้องกับสมมติฐาน และมีการควบคุมตัวแปรบางส่วน - สอดคล้องกับสมมติฐาน และมีการควบคุมตัวแปรได้ครบสมบูรณ์ - สอดคล้องกับสมมติฐาน และมีการควบคุมตัวแปรถูกต้อง สมบูรณ์ และมีแนวทางการเก็บรวบรวมข้อมูล 1 2 3 4 4. อุปกรณ์และเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง - เลือกใช้อุปกรณ์ไม่พอเพียงเหมาะสม - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องพอเพียงบางส่วน - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องพอเพียงเป็นส่วนใหญ่ - เลือกใช้อุปกรณ์ได้ถูกต้องและพอเพียงเหมาะสม 1 2 3 4
  • 11. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ตารางแสดง เกณฑ์การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ (ต่อ) รายการประเมิน คะแนน 5. การดาเนินการทดลอง - ดาเนินการทดลองไม่เหมาะสม - ดาเนินการทดลองได้ถูกต้องมีเหตุผลเป็นบางส่วน - ดาเนินการทดลองได้ถูกต้องมีเหตุผลเป็นส่วนใหญ่ - ดาเนินการทดลองได้ถูกต้องมีเหตุผลครบถ้วนสมบูรณ์ 1 2 3 4 6. การบันทึกผลข้อมูล - บันทึกข้อมูลบางส่วน ไม่ตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษา - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาและถูกต้อง - บันทึกข้อมูลตรงจุดประสงค์ที่ต้องการศึกษาถูกต้อง และครบถ้วน 1 2 3 4 7. การจัดกระทาข้อมูล - มีการจัดกระทาข้อมูลที่ไม่ถูกต้องเป็นส่วนมาก - มีการจัดกระทาข้อมูลที่ถูกต้องเป็นส่วนมาก แต่ยังไม่ชัดเจน - มีการจัดกระทาข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน แต่ยังไม่ครบสมบูรณ์ - มีการจัดกระทาข้อมูลที่ถูกต้องชัดเจน ละเอียด และครบสมบูรณ์ 1 2 3 4 8. การแปลความหมายข้อมูล และการสรุปผลของข้อมูล - แปลความหมายไม่ถูกต้องบางส่วน และไม่สรุปผล - แปลความหมายไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ แต่สรุปผลไม่สอดคล้องกับข้อมูล - แปลความหมายไม่ถูกต้อง แต่สรุปผลไม่สอดคล้องกับข้อมูลบางส่วน - แปลความหมายถูกต้อง และสรุปผลสอดคล้องกับข้อมูล 1 2 3 4 9. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - โครงงานคล้ายคลึงกับสิ่งที่เคยทามาแล้ว - โครงงานบางส่วนมีความแปลกใหม่จากโครงงานที่เคยทามาแล้ว - โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ - โครงงานแสดงให้เห็นถึงความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ และสามารถนาไป ประยุกต์ใช้ได้ 1 2 3 4
  • 12. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ตารางแสดงเกณฑ์ การประเมินโครงงานวิทยาศาสตร์ (ต่อ) รายการประเมิน คะแนน 10. การเขียนรายงานและการเสนอผลงาน - มีการนาเสนอไม่ชัดเจน ไม่เป็นขั้นตอน - มีการนาเสนอบางส่วนเป็นขั้นตอน พอเพียงกับเวลา แต่ยังไม่ชัดเจน - มีการนาเสนอเป็นขั้นตอน พอเพียงกับเวลา แต่ยังไม่ชัดเจน - มีการนาเสนอเป็นขั้นตอน และชัดเจน พอเพียงกับเวลา 1 2 3 4 เกณฑ์สรุปการประเมินระดับคุณภาพโครงงานวิทยาศาสตร์ คะแนน 0 - 15 16 - 25 26 - 35 36 - 40 ระดับคุณภาพ ปรับปรุง พอใช้ ดี ดีมาก
  • 13. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกลุ่ม คาชี้แจง ให้ครูผู้สอนประเมินพฤติกรรมการทางานกลุ่มของนักเรียน โดยพิจารณาจากเกณฑ์ การประเมิน แล้วทาเครื่องหมาย  ลงในช่องระดับคะแนน ชื่อกลุ่ม .......................................... 1.………………………………………………….2………………………….……………….. 3……..………………………………..................4…………………………………………… 5……..………………………………..................6…………………………………………… กลุ่มที่ รายการประเมิน รวม ความมีวินัย รักความเป็นไทย มุ่งมั่นในการทางาน ความใฝ่รู้ใฝ่เรียน การแสดงความคิดเห็น อยู่อย่างพอเพียง 5 5 5 5 5 5 30 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. ข้อเสนอแนะ .........................................................................................................……………………... ………………………………………………………………………………………………….. ลงชื่อ................................................... ผู้ประเมิน (.....................................................)
  • 14. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ เกณฑ์การพิจารณาพฤติกรรมการทางานกลุ่ม รายการประเมิน ระดับ การประเมิน เกณฑ์การประเมิน 1. ความมีวินัย 5 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนด้วยความเต็มใจ และสม่าเสมอ 4 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนด้วยความเต็มใจเป็นบางครั้ง 3 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนโดยมีการควบคุมกากับ ในบางครั้ง 2 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมครบทุกคนโดยต้องมีการควบคุม กากับอยู่เสมอ 1 สมาชิกมีวินัยเข้าร่วมกิจกรรมไม่ครบและต้องมีการควบคุมกากับอยู่ เสมอ 2. รักความเป็นไทย 5 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงทุกชิ้นที่ไม่ ทาลายแหล่งน้า 4 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 1 ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า 3 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 2 ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า 2 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 3 ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า 1 มีความรักความเป็นไทยใช้วัสดุในการประดิษฐ์กระทงมีอย่างน้อย 4 ชิ้นที่ทาลายแหล่งน้า 3. มุ่งมั่นในการ ทางาน 5 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความละเอียดรอบคอบทุกขั้นตอน 4 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ ด้วยความละเอียดรอบคอบเกือบทุกขั้นตอน 3 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ โดยต้องมีผู้แนะนาบางครั้ง 2 มีความมุ่งมั่นในการทางานอย่างเต็มความสามารถ โดยต้องมีผู้แนะนาทุกครั้ง 1 ไม่มีความมุ่งมั่นในการทางานและต้องมีผู้แนะนาทุกครั้ง
  • 15. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ เกณฑ์การพิจารณาพฤติกรรมการทางานกลุ่ม รายการประเมิน ระดับ การประเมิน เกณฑ์การประเมิน 4. ความใฝ่รู้ใฝ่ เรียน 5 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนด้วยความเต็มใจและสม่าเสมอ 4 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนด้วยความเต็มใจเป็นบางครั้ง 3 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนโดยมีการควบคุมกากับในบางครั้ง 2 มีความสนใจใฝ่รู้ใฝ่เรียนโดยต้องมีการควบคุมกากับอยู่เสมอ 1 ไม่มีความสนใจเรียนและต้องมีการควบคุมกากับอยู่เสมอ 5. การแสดงความ คิดเห็น 5 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างสร้างสรรค์ทุกครั้ง ยอมรับฟังความ คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม และยอมรับผลที่เกิดจาก การทางานของกลุ่ม 4 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลทุกครั้ง ยอมรับฟัง ความคิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม และยอมรับผลที่เกิดจาก การทางานของกลุ่ม 3 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลบ่อยครั้ง ยอมรับฟังความ คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม 2 มีการแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลในบางครั้ง ยอมรับฟังความ คิดเห็นของสมาชิกในกลุ่ม 1 มีการแสดงความคิดเห็นในบางครั้ง ยอมรับฟังความคิดเห็นของ สมาชิกในกลุ่ม 6. อยู่อย่างพอเพียง 5 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน คานึงถึงประโยชน์ในการปฏิบัติกิจกรรม บนพื้นฐานของความรู้และ คุณธรรมอย่างครบถ้วน 4 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา มีเหตุผล มีภูมิคุมกัน คานึงถึงประโยชน์ในการปฏิบัติกิจกรรมบนพื้นฐานของความรู้และคุณธรรม 3 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา มีเหตุผล มีในการปฏิบัติ กิจกรรม บนพื้นฐานของความรู้และคุณธรรม 2 นักเรียนรู้จักความมีเหตุผล ในการปฏิบัติกิจกรรม บนพื้นฐานของคุณธรรม 1 นักเรียนรู้จักความพอประมาณในวัสดุอุปกรณ์ เวลา ในการปฏิบัติกิจกรรม บนพื้นฐานคุณธรรม
  • 16. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ เกณฑ์การให้คะแนนพฤติกรรมการทางานกลุ่ม ช่วงคะแนน 25 – 30 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 5 ดีมาก ช่วงคะแนน 19 – 24 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 4 ดี ช่วงคะแนน 13 – 18 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 3 ปานกลาง ช่วงคะแนน 7 – 12 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 2 น้อย ช่วงคะแนน 1 - 6 คะแนน หมายถึง พฤติกรรมกลุ่มอยู่ในระดับ 1 ปรับปรุง
  • 18. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ บัตรความรู้ เรื่อง แหล่งน้าน่ารู้ แหล่งน้าบนโลก พื้นผิวโลกประกอบด้วยพื้นน้ามากกว่าพื้นดิน โดยประกอบด้วยพื้นน้าประมาณร้อยละ 71 หรือประมาณ 3 ใน 4 ส่วนของพื้นผิวโลกทั้งหมด และน้าบนโลกจะกระจายตัวอยู่ตามแหล่งต่าง ๆ ดังนี้ น้าทั้งหมดบนโลก - น้าจืด 3 %  น้าจืดบนโลก  น้าแข็ง 76 %  น้าบาดาลในชั้นตื้น 12 %  น้าบาดาลในชั้นลึก 11 %  แม่น้าและทะเลสาบ 0.34 %  ไอน้า 0.037 % - น้าเค็มในมหาสมุทร ทะเล และทะเลสาบน้าเค็ม 97 % น้า 96.5 % เกลือที่ละลายอยู่ 3.5 % ไอออน  คลอไรด์ 55 %  โซเดียม 30.6 %  ซัลเฟต 7.7 %  แมกนีเซียม 3.7 %  โพแทสเซียม 1.1 %  อื่น ๆ 0.7 % ข้อสังเกต น้าบนโลกส่วนใหญ่เป็นน้าเค็ม มีน้าจืดเพียง ร้อยละ3 เท่านั้น และส่วนที่เป็นน้าจืดส่วนใหญ่เป็น น้าแข็งอยู่ตามขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้นอกจากนี้ ยังมีน้าจืดอีกส่วนหนึ่งอยู่ในบรรยากาศที่เรียกว่า ไอน้า ดังนั้นมนุษย์จึงเหลือแหล่งน้าจืดที่นามาใช้ ประโยชน์ได้จริง ๆ ไม่ถึงร้อยละ1 ซึ่งมีเพียงแหล่งน้า ในแม่น้าทะเลสาบ และน้าบาดาลในชั้นตื้นเท่านั้น
  • 19. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ประเภทของแหล่งน้าบนโลก แหล่งน้าบนโลกจัดได้เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1) น้าผิวดิน 2) น้าใต้ดิน น้าผิวดินอยู่ที่ใดบ้าง และมีลักษณะ อย่างไรศึกษาได้จากผังความคิดต่อไปนี้ เขื่อน เป็นทานบกั้นขวางลาน้า เพื่อเก็บกักน้าให้สูงขึ้น กว่าเดิมพอที่จะระบายน้าไปยังที่ต่าง ๆ ได้ แหล่งน้ำที่มนุษย์ สร้างขึ้น อ่างเก็บน้า เป็นแอ่งน้าใหญ่ ใช้เก็บกักน้า อยู่ ระหว่างภูเขา ฝาย เป็นสิ่งที่สร้างขึ้นมาขวางทางน้าเพื่อทดน้าให้มี ระดับสูง จนสามารถส่งไปตามคลองส่งน้าเข้าสู่ บริเวณที่ทาการเพาะปลูก น้าผิวดิน เป็นน้าที่อยู่บนพื้นโลก ซึ่งมีปริมาณมาก ที่สุด แหล่งน้าที่เกิด ตามธรรมชาติมหาสมุทร ทะเล แม่น้า ลาคลอง หนอง,บึง
  • 20. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 2) น้าใต้ดิน น้าใต้ดินเกิดจากน้าฝนและน้าผิวดินไหลซึมลงไปในชั้นดินตามแรงโน้มถ่วงของโลก เกิด การซึมแพร่ไปตามช่องว่างในดินเรียกชั้นดินที่มีน้าแทรกอยู่ช่องว่างจนเต็มนี้เรียกว่า ชั้นดินอิ่มน้า และเรียกระดับบนสุดของชั้นดินอิ่มน้าว่า ระดับน้าใต้ดิน ประเภทของน้าใต้ดิน น้าใต้ดินจาแนกตามชนิดของวัสดุกักเก็บน้าได้เป็น 2 ชนิด ดังนี้ 1. น้าในดิน เป็นน้าที่ซึมลงใต้ผิวดินและแทรกตัวในชั้นดินที่อิ่มน้าจนถึงชั้นดินและชั้น หินที่มีเนื้อที่น้าซึมผ่าน ได้ยาก จึงถูกเก็บกักไว้ในชั้นใน 2. น้าบาดาล เมื่อน้าซึมผ่านชั้นดินจนถึงชั้นหินอุ้มน้า และถูกกักไว้ในชั้นหินอุ้มน้า การ เคลื่อนที่ของ น้าในชั้นหินอุ้มน้านั้นจะเกิดขึ้นได้ดีหรือไม่นั้นขึ้นอยู่กับความชันของชั้นได้ดีหรือไม่ นั้นขึ้นอยู่กับความชันของ ชั้นหินอุ้มน้าและความสามารถยอมให้น้าซึมผ่านได้น้าบาดาลอาจ ไหลออกมาได้เองจากผิวดินหรือการขุดบ่อบาดาลนาน้าบาดาลขึ้นมาใช้บนผิวดินของมนุษย์ บ่อน้าบาดาล การนาน้าบาดาลขึ้นมาบนผิวดินเพื่อการอุปโภคบริโภคทาได้โดยการขุดบ่อลงไปจนถึงชั้น หินอุ้มน้า แต่การสูบน้าบาดาลขึ้นมาใช้มาก ๆ จะทาให้ระดับน้าบาดาลลดลงเรื่อย ๆ เป็นผลให้ แผ่นดินทรุดตัวได้ สมบัติของน้า น้ามีสมบัติดังนี้ 1. เป็นของเหลวใส ไม่มีสี ไม่มีกลิ่น ไม่มีรส 2. มีจุดหลอมเหลว 0 0 C และมีจุดเดือด 100 0 C 3. น้ามีความหนาแน่นมากที่สุดที่ 4 0 C ถ้าอุณหภูมิสูงหรือต่ากว่านี้ ความหนาแน่นของน้าจะ น้อยลงดังนั้นน้าแข็ง จึงลอยในน้าได้ 4. น้าบริสุทธิ์จะมีสมบัติเป็นกลาง และนาไฟฟ้าได้น้อยมากจนถือว่าไม่นาไฟฟ้า 5. น้าเป็นตัวทาลายที่ดี จึงทาให้แหล่งน้าต่างๆมีเกลือแร่ละลายอยู่หลายชนิด 6. น้ามีแรงดัน 7. มีการรักษาระดับ 8. มีรูปเหมือนภาชนะที่บรรจุ 9. ไหลจากที่สูงสู่ที่ต่าเสมอ
  • 21. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ รักษ์น้า ชื่อ………………………………สกุล………………………..เลขที่…………………. คาชี้แจง จากภาพที่กาหนดให้ นักเรียนจงวิเคราะห์สภาพปัญหา สาเหตุของปัญหาและเสนอแนะแนวทางในการ แก้ไขปัญหา 1.สภาพปัญหา …………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… 2.สาเหตุของปัญหา …………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………..… 3.แนวทางการแก้ปัญหา …………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………...
  • 22. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ชื่อ………………………………สกุล………………………..เลขที่…………………. คาชี้แจง ให้นักเรียนทากิจกรรมตามใบงาน ( 10 คะแนน ) 1. สารวจและสืบค้นการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้าในข้างโรงเรียน ตลอดจนผลกระทบที่เกิดจากการ ใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า ( วิทยาศาสตร์ + สังคมศึกษา + การงาน +สุขศึกษา ) 3 คะแนน การใช้ประโยชน์จากแหล่งน้า ผลกระทบที่เกิดกับน้า แนวทางในการอนุรักษ์น้า 2. แผนภูมิรูปวงกลมเปรียบเทียบอัตราส่วนของน้าที่มีอยู่ในโลก พร้อม ระบายสี( คณิตศาสตร์ ) 1 คะแนน แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์ เรื่อง ทรัพยากรน้า รายวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2
  • 23. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 3. แผนภูมิรูปวงกลมแสดงปริมาณการใช้น้าในชุมชนพร้อมระบายสี ( คณิตศาสตร์ ) 1 คะแนน 4. ปัญหาจากน้าเสียส่งผลเสียต่อสุขภาพของนักเรียนและชุมชุนอย่างไรบ้าง .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................................
  • 24. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ 5. ให้นักเรียนวาดภาพวัฎจักรของน้า แล้วระบายสีด้วยสี พร้อมอธิบาย ( ศิลปะ + วิทยาศาสตร์ ) 2 คะแนน
  • 25. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ เรียนรู้เพิ่มเติมกับกิจกรรมโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง เครื่องมือในการสอนที่มีคุณค่ายิ่ง เป็นการสอนที่เน้นการ สอนรายบุคคล นักเรียนแบ่งเวลาส่วนหนึ่งในเวลาเรียนไปทาโครงงานโดยครูเป็นผู้วางแผน ช่วยเหลือ แนะนา ปรึกษาโครงงานให้แก่นักเรียน (ภพ เลาหไพบูลย์ 2542 : 309) โครงงานวิทยาศาสตร์ เป็นงานวิจัยชิ้นเล็ก ๆ ของนักเรียนที่ศึกษา ทดลองเรื่องใดเรื่องหนึ่ง โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการค้นคว้าหาความรู้ด้วยตนเอง อาจจัดในเวลาเรียนหรือนอก เวลาเรียนก็ได้(สานักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สานักนายกรัฐมนตรี 2542 : 41) โครงงานวิทยาศาสตร์ คือ งานวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ที่มีการศึกษาค้นคว้า ทดลอง ตรวจสอบ สมมติฐานอย่างมีหลักเกณฑ์ โดยอาศัยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ หรือทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ ผู้ศึกษาอาจต้องวางแผนออกแบบทดลอง หรือประดิษฐ์คิดค้นอย่างมีลาดับขั้นตอน มี การเก็บรวบรวมข้อมูล แปลผล หรือวิเคราะห์ข้อมูลได้จาก การทดลอง การสรุปผล แล้วนามาเขียน เป็นรายงาน การทดลองให้สมบูรณ์ และสามารถนาเสนอผลงานที่จัดทาขึ้นได้ด้วยตนเอง (ประดิษฐ์ เหล่าเนตร์ 2542 : 18) ความหมาย ของโครงงานวิทยาศาสตร์
  • 26. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ที่นักเรียนเป็นผู้เลือกเรื่องที่ จะศึกษาด้วยตนเองโดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ไปช่วยในการศึกษาค้นคว้า เพื่อตอบปัญหาหรือข้อ สงสัย นักเรียนเป็นผู้วางแผนในการศึกษาค้นคว้า ดาเนินการปฏิบัติ การทดลอง เก็บรวบรวมข้อมูล แปลผล สรุปผลและเสนอผลการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้ให้คาปรึกษา (แววยูง สุขสถิตย์2543 : 16) โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่นักเรียนใจเพื่อตอบปัญหาที่ นักเรียนสงสัย โดยนักเรียนศึกษาด้วยตนเองเป็นกลุ่ม และเป็นกิจกรรมการเรียนการสอนทาง วิทยาศาสตร์ที่อาจจัดในเวลาเรียน หรือนอกเวลาเรียนก็ได้ ซึ่งผู้เรียนใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในการแสวงหาความรู้ และเสนอผลงาน โดยมีครูหรือผู้เชี่ยวชาญ ในเรื่องนั้นเป็นผู้ให้คาแนะนา ปรึกษา (มาลี แจ่มจารัส 2546 : 36) โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี อาจจัดเป็นกิจกรรม ในเวลาเรียนหรือนอกเวลาเรียน จะทางานเป็นกลุ่มหรือ รายบุคคล ซึ่งนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ และศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองโดยอาศัยวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ภายใต้การแนะนาปรึกษาและการดูแลช่วยเหลือจากอาจารย์หรือผู้เชี่ยวชาญ และอาจใช้ เครื่องมือหรืออุปกรณ์ต่าง ๆ เพื่อช่วยให้การศึกษาค้นคว้านั้นบรรลุตามวัตถุประสงค์ (เสาวลักษณ์ ประทุมศิริ 2546 : 22) โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การเรียนโดยผ่านกิจกรรมที่เกิดจากความสนใจการศึกษา ค้นคว้าและปฏิบัติจริงของผู้เรียนที่มีการจัดระบบ และกระบวนการในการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ของ ผู้เรียนเพื่อให้ได้คาตอบที่ตนเองต้องการเรียนรู้อย่างลึกซึ้ง ซึ่งทุกขั้นตอนจากประสบการณ์จริงด้วย ตนเองหรือกลุ่มความสนใจของผู้เรียน (ถวัลย์ มาศจรัส 2549 : 16)
  • 27. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ 1. โครงงานประเภทการสารวจ 2. โครงงานประเภทการทดลอง 3. โครงงานประเภทการพัฒนาหรือสิ่งประดิษฐ์ 4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย โครงงานประเภทการสารวจ (Survey Research Project) โครงงานประเภทการสารวจเป็นการศึกษารวบรวมปัญหาจากธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เพื่อศึกษาหาความรู้ที่มีอยู่ในธรรมชาติโดยใช้วิธีการสารวจและรวบรวมข้อมูล แล้วนาข้อมูลมา จัดกระทาให้เป็นระบบระเบียบ และสื่อความหมาย แล้วนาเสนอในรูปแบบต่าง ๆ เช่น ตาราง กราฟ แผนภูมิ และคาอธิบายประกอบ ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ไม่มีการจัดหรือกาหนด ตัวแปรหรือควบคุมตัวแปรใด ๆ อาจจะกระทาในลักษณะการเก็บรวบรวมข้อมูลในภาคสนามหรือ ในธรรมชาติ การเก็บรวบรวมวัสดุตัวอย่างมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการ รวมทั้งการจาลอง ธรรมชาติขึ้นในห้องปฏิบัติการแล้วสังเกต และศึกษารวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ตัวอย่างโครงงาน วิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษามลพิษของสิ่งแวดล้อม 2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาการเจริญเติบโตของตัวอ่อนของผึ้ง 3. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการสารวจหมู่โลหิตของนักเรียนช่วงชั้นที่ 3 4. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาพฤติกรรมของจิ้งจก 5. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาปริมาณสารอัลฟลาทอกซินในถั่วลิสงป่น
  • 28. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ โครงงานประเภทการทดลอง (Experimental Research Project) โครงงานประเภทการทดลองนี้มีขั้นตอนเหมือนการเรียนการสอนที่มีการทดลองโดยทั่วไป คือมีการกาหนดปัญหา การตั้งสมมติฐาน การออกแบบการทดลอง การดาเนินการทดลอง การรวบรวมข้อมูล การแปลผล การสรุปผล แต่มีข้อแตกต่างกันคือ ในการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ นั้นนักเรี ยนผู้จัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะเป็ นผู้คิดหัวข้อเรื่องที่จะศึกษาทดลอง ออกแบบการทดลอง และดาเนินการทดลองตามขั้นตอนต่าง ๆ ด้วยตนเอง โดยได้รับคาแนะนา จากอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานวิทยาศาสตร์ ซึ่งจะต้องมีการกาหนดตัวแปร ซึ่งประกอบด้วยตัวแปร อิสระหรือตัวแปรต้น และตัวแปรตาม ดังนั้นผู้ทาโครงงานวิทยาศาสตร์จะต้องศึกษาข้อมูลต่าง ๆ จาก เอกสาร ตาราอ้างอิงต่าง ๆ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการเจริญเติบโตของพืชในสนามแม่เหล็ก 2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องอิทธิพลของแสงสีต่าง ๆ ที่มีการเจริญเติบโตของพืชบางชนิด 3. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการทดลองใช้ผักตบชวาในการกาจัดน้าเสีย 4. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาอิทธิพลของฮอร์โมนเพศชายในสัตว์เพศเมีย 5. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการศึกษาเปรียบเทียบพลังงานความร้อนน้ามันพืชต่างชนิด โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์ (Developmental Research Project) โครงงานประเภทการพัฒนาหรือการประดิษฐ์เป็นการพัฒนา หรือการประดิษฐ์ หรือการ สร้างอุปกรณ์หรือเครื่องมือเครื่องใช้เพื่อประโยชน์ใช้สอย โดยการประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการทาง วิทยาศาสตร์มาใช้ในการพัฒนาหรือประดิษฐ์สิ่งดังกล่าว อาจเป็นการประดิษฐ์สิ่งใหม่ หรือการ ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น หรืออาจเป็นการเสนอแบบจาลอง ทางความคิดเพื่อแก้ปัญหาใดปัญหาหนึ่งก็ได้ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องเครื่องเตือนอัคคีภัยระบบความดัน 2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องกลจักรพลังงานแสง
  • 29. รช 7 แผนการจัดการเรียนรู้โดยใช้กิจกรรมโครงงานบูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดย นางสาววารีรัตน์ สติราษฎร์ โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบาย (Theoretical Research Project) โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎีหรือการอธิบายเป็นโครงงานที่เสนอทฤษฎีหรือคาอธิบาย สิ่งต่าง ๆ หรือปรากฏการณ์ต่าง ๆ ซึ่งเป็นแนวคิดใหม่ ๆ โดยมีหลักการทางวิทยาศาสตร์หรือทฤษฎี อื่นเพื่ออธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ อาจจะยังไม่มีใครเคยคิดมาก่อน อาจจะขัดแย้งกับทฤษฎีเดิม หรือ อาจจะเป็นการขยายทฤษฎีเดิมก็ได้ การทาโครงงานแบบนี้ผู้ทาจะต้องมีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ เป็นอย่างดี และต้องศึกษาค้นคว้า เรื่องราวที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมากจึงจะสามารถสร้างทฤษฎีได้ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ได้แก่ โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องกาเนิดของทวีป และมหาสมุทร ซึ่งเป็นการสร้างแบบจาลองอธิบายการเกิดของทวีปและมหาสมุทรโดยอาศัยหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มาอ้างอิง ได้ ตัวอย่างโครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทนี้ ได้แก่ 1. โครงงานการเกษตรทฤษฎีใหม่ 2. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการผลิตก๊าซชีวภาพจากมูลสัตว์ 3. โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่องการผลิตแท่งเชื้อเพลิงสีเขียว ที่มา : ประดิษฐ์ เหล่าเนตร์. เทคนิคการสอนและการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ระดับประถมศึกษา และ มัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ : บริษัทเซ็นเตอร์ ดีสคัฟเวอรี จากัด, 2542 หน้า 18-33. ถวัลย์มาศจรัส และมณี เรืองขา. แนวการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน (Project) เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ผู้เรียน. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ธารอักษร จากัด, 2549. หน้า 22 - 24. อาภรณ์ ใจเที่ยง. หลักการสอน (ฉบับปรับปรุง). พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์ , 2550. หน้า 130. สุวิทย์มูลคา และอรทัย มูลคา. 20 วิธีจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม การเรียนรู้โดยการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์ ,2550 . หน้า 85-86