SlideShare a Scribd company logo
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท)
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มรภ.สวนสุนันทา
พย.บ.(เกียรตินิยม) ม. ราชธานี อุบลราชธานี
ปร.ด.(การบริหารพยาบาล) กำลังศึกษา ม. คริสเตียน ประเทศไทย
พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่) ม. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
นิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต (กำลังศึกษา) ม. ธรรมศาสตร์
การศึกษา
การศึกษาเฉพาะทางการพยาบาล :
2. การพยาบาลผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยไตเทียม
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
1. การพยาบาลห้องสวนหัวใจและการตรวจรักษาพิเศษ
สถาบันโรคทรวงอก กรมการเเพทย์
3. ศาสตร์และศิลป์การสอนพยาบาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. การพยาบาลผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยมหิดล
สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
facebookData link
(ลิขสิทธิ์ภาพถ่ายเพื่อการสอนเท่านั้น)
เผยเเพร่ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑
Line
โดย
ปรับปรุงครั้งที่ -
ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
Adult learning Skills
in the 21st - Century
in Nursing Education
: Generation Z student
6 กุมภาพันธ์ 2561 : 09.00 - 12.00 น.
ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult learning)การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult learning)
บรรยายแก่คณาจารย์และครูพี่เลี้ยง
: การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษา
พยาบาลยุค Generation Z
: การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษา
พยาบาลยุค Generation Z
หัวข้อที่ได้รับมอบหมาย
ที่มา CUT News, 2559 , 27 (4): 5.
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
:
วัตถุประสงค์ : หลังจบการอบรมผู้เข้าอบรมสามารถ .......
1. อธิบายลักษณะของผู้เรียนยุค Generation Z พร้อมบอกวิธีการนำความรู้ไป
ประยุกต์ในการสอนบนคลินิกให้สอดคล้องกับผู้เรียนได้
2. อธิบายการออกแบบผังความคิดในการจัดการเรียนการสอนสู่ผู้เรียนยุค
Generation Z ให้เกิดประสิทธิภาพที่สูงสุดได้
3. บอกวิธีการประเมินผลลัพธ์การสอนบนคลินิกเเละการพัฒนาการสอนบนคลินิกที่
เหมาะสมกับผู้เรียนยุค Generation Z ได้
เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง
ชัชวาล วงค์สารี .(2561).การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้เเละเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุคเจ
เนเรชั่นแซด.สไลด์ประกอบการสอนการบรรยายเเก่คณาจารย์และครูพี่เลี้ยง, วิทยาลัยพยาบาลบรม
ราชชนนี สุราษฏร์ธานี.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://chutchavarn.blogspot.com (6 กุมภาพันธ์
2561)
2
คำสืบค้น
นักศึกษาพยาบาลยุค Generation Z, การสอนบนคลินิก,
การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่, กระบวนการสอนแนวใหม่
Keywords:
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
มิติด้านนักศึกษาพยาบาล
Generation Z
3
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
พยาบาลไทยในอนาคต
นอกจากต้องมีจริยธรรมสูง
ควรมีความเก่งอย่างไร.....?
4
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
คำถามปฐมภูมิกระบวนการเรียนรู้ศตวรรษ 21
ผู้สอน
สอนใคร
ต้องให้รู้อะไร
ต้องให้คิดอะไร
ต้องให้ทำอะไร
(ชัชวาล วงค์สารี, 2559)
5
ผู้เรียน
ใครสอน
ต้องรู้อะไร
ต้องคิดอะไร
ต้องทำอะไร
อุดมคติที่ครูคิดไว้ ความจริงที่ครูคิดไม่ถึง
ผู้เรียน
“ครูเคี้ยวรากไม”
จะออกสอบตรงไหน
“ครูเขาพูดอะไรหนะ”
ส่งงานได้ช้าสุดเมื่อไร
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
คำถามปฐมภูมิกระบวนการเรียนรู้ศตวรรษ 21
ผู้สอน ผู้เรียน
สอนใคร
ต้องให้รู้อะไร
ต้องให้คิดอะไร
ใครสอน
ต้องรู้อะไร
ต้องคิดอะไร
ต้องให้ทำอะไร ต้องทำอะไร
กระบวนการ
ข้อตกลงร่วมคืออะไร
ทำอย่างไรให้รู้
ทำอย่างไรให้คิด
ทำอย่างไรให้ทำได้
ประเมินผล
พฤติกรรม
เเบบทดสอบ
ผังความคิด
รายงาน+ทักษะ
(ชัชวาล วงค์สารี, 2559)
6
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ช่วงอายุกับคุณลักษณะของพฤติกรรมที่เเตกต่าง
ผู้เรียน
1. Builders
GENERATION AGE CHARACTERISTIC
ตั้งเเต่ 73 yr. ขึ้นไป
เกิดก่อน 1945
ขยัน อดทน ครอบครัวเข้มเเข็ง เคร่งขนบประเพณี
ภักดีต่อองค์กร
2. Baby boomers
55 - 72yr.
1946- 1964
สู้งานหนัก มุ่งความสำเร็จ ภักดีต่อองค์กร ต้องการ
ทำงานในองค์ที่มีชื่อเสียง ทุ่มเทเพื่อตำแหน่ง
ต้องการการยกย่องชมเชย ภักดีต่อองค์กร
3. Gen. X
38 - 54 yr.
1964- 1981
กระตือรือล้น ชอบเเข่งขัน ชิงดีชิงเด่น สนใจ
เทคโนโลยี สนใจเรื่องส่วนตนมากกว่าส่วนรวม เป็น
นักบริโภคนิยม เเต่ยังห่วงครอบครัว ภักดีต่อบุคคล
มากกว่าองค์กร
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
7
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ช่วงอายุกับคุณลักษณะของพฤติกรรมที่เเตกต่าง
ผู้เรียน
GENERATION AGE CHARACTERISTIC
4. Gen. Y
ฉลาดในเทคโนโลยี มีความเป็นอิสระเเละโลกส่วนตัวสูง
ชอบคิดนอกกรอบ มีความทะเยอทะยานสูง ชอบงานที่
สนุกท้าทาย มีความอดทนต่ำ พูดจาตรงไปตรงมา
5. Gen. Z
8 - 22 yr.
1996-2010
23 - 37yr.
1981 - 1995
อยากได้ผลลัพธ์ทันที รอคอยไม่ได้ เวลาส่วนใหญ่อยู่
บนโลกอินเตอร์เน็ท ตัดสินใจไปตามกระเเส เรียนเพื่อ
ความสนุกไม่ได้คิดว่าจะเอาไปใช้ประโยชน์ อยากรู้ใน
สิ่งที่ตนตั้งเป้าหมายเท่านั้น ไม่สนใจวัฒนธรรมดั่งเดิม
ติดเพื่อนเเละคิดว่าเพื่อนช่วยได้ทุกเรื่องเมื่อมีปัญหา
เป็นยุคเเห่งการเรียกร้องสิทธิ
6. Gen. Alpha > 2010 ???????
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
8
ความภักดีต่อองค์กรต่ำ
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ลักษณะความคิด VS พฤติกรรมการใช้ชีวิตนักศึกษาผู้เรียน
Gen Z
1) คิดมุมเดียว มุมมองในการใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์แคบ คิดเชื่อมโยงได้
น้อย มีโลกส่วนตัวสูง (วิจารณญาณการคิดมีน้อย)
2) ชอบเรียกร้องสิทธิ ชอบทำตามกติกาที่ตกลงอันเป็นประโยชน์กับตนเอง เเต่จะ
ไม่สนระเบียบที่ไม่ได้บอกกล่าวด้วยวาจา (หาข้ออ้างเลี่ยงรับผิดจากระเบียบ
ได้บ่อย)
3) ใช้จุดอ่อนทางจิตใจของคนยุคก่อนมาเป็นข้อต่อรอง เรียกร้องให้สงสาร ชอบ
วิเคราะห์มาตรฐานที่ได้รับจากครูได้ (มีลูกอ้อนต่างๆนานา/ ฉลาดรู้ทันจิตใจ
อาจารย์)
4) เพื่อนจะสำคัญกว่าพ่อแม่ อาจารย์ไม่ใช่คนมีอิทธิพลกับชีวิต (เมื่อผ่านพ้นการ
ให้คะเเนนไปแล้ว)
5) หากเกิดปัญหาจะมีกระบวนการกลุ่มของเพื่อนช่วยเพื่อนเเละออกแบบการ
แก้ไข โดยใช้ประโยชน์จากคณาจารย์หลายๆคนในเวลาเดียวกัน (พลังกลุ่ม
เงียบเเต่ดัง กล้าทำในสิ่งที่อาจารย์คาดไม่ถึงเสมอ)
6) มีอารมณ์ที่ฝังแน่น มีพลังของความคิดด้านลบที่รุนแรงกว่าด้านบวก
(บทวิเคราะห์ นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z โดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
9
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
7) ระบายความคิด เปิดเผยความรู้สึกของตนในพื้นที่ Social media
อย่างตรงไปตรงมา ขาดการตรองด้วยปัญญา
8) ความสามารถใน Social media สูง (แต่จะเลือกทำเต็มที่สิ่งที่เขา
สนใจเท่านั้น) และสามารถทำหลายๆหน้าที่ได้ในช่วงเวลาเดียวกัน
9) สาขาที่เลือกเรียน จะไม่ใช่สาขาที่เขาอยากจะประกอบอาชีพในอนาคต
10) เลือกที่จะเคารพ ให้เกียรติคนอื่นตามที่ตนพึงพอใจเท่านั้น และต่อให้รู้
ว่าดีก็จะไม่เปิดใจรับสิ่งนั้นจากคนที่ไม่ชอบ
11) เลือกที่จะเอาเกรดตามที่ตนเองอยากจะได้ /สิ่งดีที่สุดไม่ใช่สิ่งที่
นักศึกษายุคนี้แสวงหา นักศึกษายุคนี้จะเลือกทำในสิ่งที่สบายที่สุดเเละเกิด
ปัญหากับตนเองน้อยที่สุด
12) เลือกที่จะทำตามกระเเส เพื่อให้ได้มาซึ่งกระเเสนิยม โดยขาดการ
คิดถึงค่านิยม / “New Normal” เป็นกระบวนการของกลุ่มที่ขยายพื้นที่สู่
สังคม ทั้งรูปแบบภาษาและพฤติกรรมการแสดงออก
ลักษณะความคิด VS พฤติกรรมการใช้ชีวิตนักศึกษา (ต่อ)ผู้เรียน
Gen Z
(บทวิเคราะห์ นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z โดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
10
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สรุปลักษณะเด่นของผู้เรียนยุค Generation Z
ลักษณะ อธิบาย
1.Activist’s
บุคคลที่ชอบแสวงหาประสบการณ์ใหม่ๆให้ตนเอง ชอบใช้การระดมสมอง
เพื่อแก้ไขปัญหา เมื่อสามารถแก้ปัญหาหนึ่งได้ ก็จะหาปัญหาใหม่ที่มีความ
ท้าทายมากยิ่งขึ้นในการแก้ไข สามารถเปิดใจยอมรับแนวคิดใหม่ๆได้ดี
2.Reflectors
บุคคลที่ค่อนข้างคิดมาก ระมัดระวังในทุกการกระทำ คนเหล่านี้มักจะ
คิดถึงความเป็นไปได้ในทุกแง่มุมก่อนที่จะลงมือทำ
3.Theorist’s
บุคคลที่ชอบประยุกต์ใช้ประสบการณ์ของตนเองออกมาเป็นหลักปฏิบัติใหม่ๆ
โดยจะวิเคราะห์หลักการเหล่านั้นอย่างดีและไม่ใช้ความรู้สึกส่วนตัวในการกระทำ
4. บุคคลที่เน้นการปฏิบัติเป็นหลัก ชอบคิดสร้างสรรค์แนวทางปฏิบัติใหม่ๆ
ทันทีทันใดPragmatist’s
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
11
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
มิติด้านผู้สอน และ
กระบวนการสอนแนวใหม่
12
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
: ครูพยาบาลควรสอนอย่างไร...?
ถ้าครูมีความรู้เท่า.....
…….ครูไม่ต้องสอน
“ครู”ควรมีความทักษะในการชี้เเนะ การตัดสินใจ
การเลือกใช้ข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม
21st
13
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Bloom’s taxonomy, 1956
ผู้สอนเเละ
การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน
ช่วงอายุคนที่ใช้โมเดลนี้
คือ ครึ่งหนึ่งของ Gen X
(เกิดก่อน ปี 1975
หรืออายุตั้งเเต่ 45 ปีขึ้นไป)
14
การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน (ต่อ)
ผู้สอนเเละ
Bloom,1956 Bloom,2001
Cognitive Domain
(ด้านการคิด)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com15
การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน (ต่อ)
ผู้สอนเเละ
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Effective Domain
(จิตพิสัย/จริยธรรม)
Bloom,1956
รับรู้
ตอบสนอง
ให้คุณค่า
จัดระบบ
สร้างลักษณะส่วนตน
16
หลักการพัฒนาจริยศาสตร์ที่วิชาชีพมุ่งหวัง อ.นัท
nutt-chut
บันได6ขั้นของการพัฒนาจริยศาสตร์
Lawrence Kohlberg’s stages of moral development
1
2
3
4
5
6
คิดถึงตนเองเป็นหลัก
คิดถึงตนเองเป็นหลัก
ความสัมพันธ์
ความถูกต้อง
ประโยชน์คนหมู่มาก
เป็นสากล
เสพ
สร้าง
ก่อนเกณฑ์
ตามเกณฑ์
เหนือเกณฑ์
<7
7-10
10-16
10-16
> 16
โทษ
เเลกเปลี่ยน ตาต่อตา ตนได้ประโยชน์
ความรัก มิตรภาพ อารมณ์ รู้สึกร่วม
หน้าที่ เคารพอำนาจ ฟังกฎระเบียบ
เเรงจูงใจ ทำตามเกณฑ์เพื่อส่วนรวม
เน้นความยุติธรรม
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com17
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การพัฒนาจริยศาสตร์เเละระดับความคาดหวัง อ.นัท
nutt-chut
(ศิวลี ศิริไล,2553; อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์,2557)
ความเชื่อหลักแนวคิดปัญญานิยม
ประชาชน
นิสิตพยาบาล
พยาบาลวิชาชีพ
อาจารย์พยาบาล
ผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์
1.พื้นฐานการพัฒนามาจากปัญญาและเหตุผลเชิงจริยศาสตร์
ผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน
ระดับความคาดหวังเชิงจริยศาสตร์
2.การจูงใจเบื้องต้น เช่น ยอมรับความสามารถ ความ
ปลอดภัย คลายความวิติกกังวล
วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ
3.การพัฒนาจริยศาสตร์ถือเป็นวัฒนธรรมสากล เพราะไม่มี
บทบาทและลดความขัดเเย้ง
4. ประสบการณ์จากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนอื่นในสังคม
5. คุณภาพและขอบเขตของความรู้และสิ่งเร้าจากสังคมมีผล
ต่อการพัฒนาจริยศาสตร์ตลอดเวลา
18
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน (ต่อ)
ผู้สอนเเละ
Psychomotor Domain
(ทักษะการปฏิบัติ)
เริ่มเลียนเเบบ
เพียรเลียนเเบบ
รับรู้ว่าเหมาะสม
ปฏิบัติเอง
เกิดเป็นทักษะเฉพาะ
Bloom,1956
Gen. Y ที่เกิดก่อน 1975
Gen. Y ที่เกิด 1975 และ Gen. Z
Dave,1975
19
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Myth
ความเชื่อผิดๆ
เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อเจตคติของการพฤติกรรมของนักศึกษาพยาบาล
Generation Z
Stereotype
แง่คิดมุมมอง
จนก่อเกิดภาพ
ในใจ
Prejudice
พื้นฐานกรอบการคิด
(สังคม วัฒนธรรม
กฏหมาย สภาพ
แวดล้อม)
Discrimination
การแบ่งแยก
ซึ่งมักจะเเปลผันตาม
Stereotype
(Hummert, M.L.,2011)
20
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
คุณธรรม
จริยธรรม
บันได 2 ขั้น นำความเจริญสู่ชีวิตในวิชาชีพ
คุณ !! มีคุณธรรมแล้วหรือยัง
ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย
สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ
พฤติกรรมในเงาธรรม
ความจริงที่เป็นความดี ที่เป็นคำสอนให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์
เอกสิทธิ์เเห่งตน การทำประโยชน์
การไม่ทำอันตราย การบอกความจริง
การรักษาความลับ ความเสมอภาคและยุติธรรม
ค่านิยมตามหลักธรรม
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี)
สิ่งที่ครูต้องสร้างให้นักศึกษาพยาบาล
Gen. Z ได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติทางคลีนิก
21
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สำหรับการนิเทศงานนักศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z
ความท้าทายของครูคลินิก
1) การปลูกฝังคุณธรรม และจริยธรรม ให้เข้มเเข็ง (แบบขั้นบันได)
2) การสร้างความรู้ (ต้องรู้ ควรจะรู้ และน่าจะรู้)
3) การก่อเกิดปัญญา (การคิดวิจารณญาณ คิดต่อยอด/ การเลือกใช้ข้อมูลที่น่าเชื่อ
ถือ การพัฒนากระบวนการตัดสินใจ / การคิด การออกเเบบการเอาตัวรอดจากภัย
ทางสังคม/ การเเสดงออกที่บ่งบอกว่ามีปัญญา)
4) สัมพันธภาพในหน้าที่ โดยบ่งชี้ความเป็นเจ้าของ
5) การวิเคราะห์ตัวเลข การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์
6) ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี (บนเเนวคิดโลกสีเทา)
7) สร้างความได้เปรียบทางผลลัพธ์การพยาบาลด้วย “Blue Ocean Stractegy”
8) รู้ทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและระบบสาธารณสุข
ปัจจัยชวนคิดในการสร้างพยาบาลยุคใหม่
(บทวิเคราะห์ นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z โดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
22
“หว่านเมล็ดพันธุ์เป็นเช่นไร
มักได้ผลมักเป็นเช่นนั้น”
คุณเชื่อเช่นนั้นหรือไม่ ??Socialisation คือ
สิ่งหล่อหลอมบุคคล
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี
ความท้าทายของครูคลินิก
ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Mean SD แปลผล
ด้านการคิดแบบมีวิจารณญาณและการเเก้ปัญหา 3.83 0.45 สูง
ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3.82 0.48 สูง
ด้านการเข้าใจความต่างของวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ 4.14 0.48 สูง
ด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ 3.99 0.45 สูง
ด้านการสื่อสาร สารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ 4.07 0.56 สูง
ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.00 0.50 สูง
ด้านอาชีพเเละทักษะการเรียนรู้ 4.12 0.47 สูง
คะเเนนเฉลี่ยโดยรวม 3.99 0.39 สูง
รายงานวิจัย “ทักษะการเรียนรู้ศวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาล
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์ธานี “
(รุ่งนภา จันทรา และ อติกาญณ์ ศรเกษตริน, 2560)
1.00 - 2.33 = ระดับต่ำ
2.34 - 3.66 = ระดับปานกลาง
3.67 - 5.00 = ระดับสูง
23
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สุขภาพดี/ส่งเสริมสุขภาพ
เข้าสู่การรักษาแบบเฉียบพลัน/
เรื้อรัง/รุนเเรงและซับซ้อน
ดูแลแบบประคับประคอง/
ตายอย่างสมศักดิ์ศรี
ประเมินสภาพ: ซักประวัติ
ตรวจร่างกาย ตรวจรักษาพิเศษ
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วิเคราะห์ข้อมูลอัตนัย
- ผลจากซักประวัติ
วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปรนัย
- ผลการตรวจร่างกาย
- ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
- ผลการตรวจทางรังสีและอื่นๆ
วินิจฉัยการพยาบาลจากปัญหาสุขภาพ
- จัดกลุ่มและลำดับข้อมูลเชิงประจักษ์
(ข้อมูล : ปรนัย & อัตนัย)
- เชื่อมโยงพยาธิสภาพ/เกณฑ์ปกติ
ความรู้ ประสบการณ์
ทักษะ ความชำนาญ
ของครูพยาบาล/พยาบาล
วิชาชีพและการเป็นเเบบอย่าง
มีผลต่อ Learning Outcome
การร่วมดูแลรักษา/จัดการปัญหาสุขภาพ
ที่เป็นปัจจุบันและอนาคต : เน้น บุคคล
ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม
ดีขึ้น
คงเดิม
เลวลง
มีโรคประจำตัว/ความพิการ
มาตรา12
พินัยกรรมชีวิต
กฎหมายและจริยศาสตร์
สิทธิพยาบาล&เอกสิทธิวิชาชีพ
วงจรสุขภาพกับการออกแบบกิจกรรมการสอนนักศึกษาพยาบาล Generation Z
(ดัดแปลงจาก ชัชวาล วงค์สารี,2559a)
IT & Innovation
Clinical teaching
เกิดปัญหาสุขภาพ/อุบัติเหตุ
24
แนวคิดการออกแบบการสอนวิชาการปฏิบัติการพยาบาล
สำหรับนักศึกษาพยาบาล Generation Z
Learner of Attitude,
Experience and Skill
Expectation
and
Goals
Communications Clearly
Aim objective for Practice
Generation Z
: Nursing Student
Evaluation on situation
Comparing standard
Group
teaching
&
Individualcoaching
Reflecting Knowledge ,
skill , Ethical & Regal
(Open Mind)
(Open Heart)
(Open Will)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
25
O2O1
1.1
1.2
2.1
2.2
E1 E 2L2L1
1 กิจกรรมต้องให้มีมุมมอง
ของการเรียนรู้ มากกว่า
1 ประสบการณ์เสมอ
จึงต้องกำหนด
วัตถุประสงค์หลัก
วัตถุประสงค์รอง
Development Individual Experience Good Experience
Ox
Diversity Experience
Plan
Do
Studies
Do
Studies
PlanAdjudgements Adjudge
มุ่งอธิบายสมรรถนะรายวิชา/ สมรรถนะชั้นปี
x.x
x.x
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
แนวคิดการออกแบบกิจกรรมเพื่อการสอนวิชาการปฏิบัติการพยาบาล
สำหรับนักศึกษาพยาบาล Generation Z
26
วัตถุประสงค์วัดพฤติกรรม กับ บทบาท 4 มิติของพยาบาล
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com27
สั้น
ชัดเจน
เฉพาะเจาะจง
บ่งชี้ว่าผู้เรียนต้องทำอะไรได้
บอกวิธีการวัด/เกณฑ์/เวลาที่วัด
ป้องกันสุขภาพ
ส่งเสริม
ช่วยแพทย์รักษา
ฟื้นฟู
พยาบาล
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
การเขียนวัตถุประสงเพื่อวัดพฤติกรรม
ด้วยวิธี A B C D(Heinich et al., 1996)
A B C D
Audience Behaviour Condition Degree
ผู้เรียน
พฤติกรรม
ที่วัดได้
เงื่อนไข/
สถานการณ์
ระดับเกณฑ์
ที่ยอมรับได้
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com28
เพื่อประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ : เฉียบพลัน
/ ฉุกเฉิน / วิกฤต / เรื้อรัง / ส่งเสริมสุขภาพ (กลุ่มโรค) บุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาย
ใต้การวิเคราะห์ปัจเจกบุคคล จิตใจ สังคม-วัฒนธรรม เศรฐกิจ และจิตวิญญาณ
ทบทวนกระบวนการพยาบาลและการนำไปใช้
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com29
Nursing
Assessment
Nursing
Diagnosis
Nursing
Planing
Implementation
of Nursing
care plan
Evaluation
1. เก็บข้อมูล : SD,
O D ค ร อ บ ค ลุ ม
ร่างกาย จิตใจ
สังคม วัฒนธรรม
และจิตวิญญาณ
2. รวบรวมข้อมูล :
G o r d o n ’ s ,
Maslow’s, Roy’s.
Orem’s………
3. ตรวจสอบความ
สมบูรณ์ของข้อมูล
4. วิเคราะห์ข้อมูล
หาปัญหาสุขภาพ
5. บันทึกข้อมูล:
SD “……..”
OD ……..
NANDA => PES
แบ่งออกเป็น 5 ประเภท
1. Actually
2. Risk
3. Possible
4. Wellness :
4.1 แสดงความต้อง
การให้สุขภาพดีขึ้น
“รับประทานยาได้ถูก
ต้องจาก....”
4.2 แสดงถึงการทำ
หน้าที่ได้อย่างมีประ
สิทธิภาพ
“มีความพร้อม........”
5. Syndrome : เขียน
ร่วมกับ Actually และ
Risk ..PES จะรวมปัจ
จัยและพยาธิสภาพด้วย
Ex. “อาการปวดเจ็บจากสูญเสียขา”
แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน
1.จัดลำดับความสำคัญ
เร่งด่วน
2.กำหนดผลลัพธ์ที่คาด
หวัง/ เกณฑ์การประเมิน
3 . เ ลื อ ก กิ จ ก ร ร ม ก า ร
พยาบาลที่สอดคล้อง
4.เขียนแผนการพยาบาล
แบบองค์รวม
**พร้อมอธิบายเหตุผล
Intervention Rational
1) …………. ………….
2) …………. ………….
3) …………. ………….
…………. ………….
…………. ………….
N) …………. ………….
Expectation 1
ให้การพยาบาล
ตามข้อที่ 1) 2) 5)
7) 11)
Expectation 2
ให้การพยาบาล
ตามข้อที่ 1) 4) 5)
9) 10) 11)
Expectation 3
ให้การพยาบาล
ตามข้อที่ 1) 2) 3)
4) 5) 11)
…………………..
Expectation N
ให้การพยาบาล
ตามข้อที่ ..............
คงอยู่
เลื่อนไหล
หมดไป
(เลวลง/ดีขึ้น)
- พิจารณาการ
ดำเนินของโรค/
แผนการรักษา
ซึ่งต้องใช้เวลา
นาน: ปรับกิจ
กรรมการพยา
บาลบางส่วน
- พิจารณาการ
ดำเนินของโรค/
แผนการรักษา
ปรับเพิ่มกิจ
กรรมการพยา
บาลให้สอด
คล้องกับ แผน
การรักษา
(กลั่นกรองสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี/ ประยุกต์จาก NANDA, 2014)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
กระบวนการพยาบาลที่ต้องออกแบบให้นักศึกษาพยาบาล Gen Z ได้ศึกษา
The best of Nursing Diagnosis
(ดัดแปลงจาก ชัชวาล วงค์สารี และ อรนันท์ หาญยุทธ, 2557 )
30
ปัญหาสุขภาพ/
การเจ็บป่วย :บุคคล
ครอบครัว ชุมชน
ปัญหาเเละข้อมูลนั้นต้อง
ตรวจสอบได้ภายใต้การบันทึกเเละการ
อ้างอิงตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่
ครอบคลุมในสถานการณ์จริง
ปฏิบัติและ
ประเมินผลได้ภายใต้
ขอบเขตหน้าที่ตามกฏ
หมายกำหนด
ผลลัพธ์
ที่เกิดขึ้นบ่งชี้ถึง
“พยาบาล”
เกิดจาก
การตัดสินใจของ
“พยาบาล”
สนับสนุนด้วย
ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน/ปัญหา
ที่เสี่ยงในอนาคต
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น คือ
ผู้สอนคิดมาก (เตรียมการสอนเยอะ)
ผู้เรียน.... (เดินขึ้นตึก ลงตึกตามเวลา)
กระแสคำพูดจากครูพยาบาล : เด็กรุ่นใหม่คิดไม่เป็น
กระบวนการคิดไม่มี
คิดเชื่อมโยงได้น้อยมาก
ปัญหาจากการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติสำหรับ
นักศึกษาพยาบาล Gen. Z
???
“วิธีเรียนรู้และวิธีสร้างความรู้ : เป็นกระบวนทัศน์
ทางสติ อันจะก่อเกิดปัญญาของมนุษย์”
31
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ครูต้องคิดให้มากคือสิ่งที่ถูกต้องเเล้ว
32
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
วิธีการสอน ข้อดี หลักการ วิธีการ
1. การให้
ผลสะท้อนกลับ
ผู้เรียนทราบว่า
สิ่งใดเป็นจุดอ่อน จุด
แข็งในการปฏิบัติ
ของตน
เน้นการอภิปรายการ
กระทำ ไม่ตำหนิ
กระชับในเนื้อหาที่สะท้อ
นเเละต้องเป็นเวลาที่
เหมาะสม
1. ให้ผู้เรียนได้พูดและรับฟังอย่างตั้งใจให้ผู้
เรียนได้สะท้อนพฤติกรรมของเขามากที่สุด
2. อยู่บนพื้นฐานของความซื่อตรงและ
ห่วงใย ควรเป็นสิ่งที่ผู้สะท้อนกลับได้ประสบ
พบเห็นจากผู้เรียนจริง
3. หยุดการสะท้อนและเปิดใจกว้างรับฟัง
เหตุผลพร้อมความรู้สึก เมื่อผู้รับข้อสะท้อนไม่
ยอมรับหรือยกเลิกการให้ข้อสะท้อนกลับเมื่อผูู้รับ
การสะท้อนกลับไม่พร้อมรับฟัง
2.การเรียน
รู้ร่วมระหว่างผู้
ส อ น เ เ ล ะ ผู้
เรียน
1.ช่วยให้ผู้เรียนลด
ความประหม่า
2. กระตุ้นให้เกิด
ทัศนคติที่ดีจากตัวเเบบ
ในการเรียนรู้
1.ใช้สิ่งที่อำนวยความ
สะดวกเท่าที่จะทำได้ใน
สภาพที่เป็นจริง
2. ผู้สอนควรเตรียมผู้
ป่วยก่อน เเละลงมือ
ศึกษาผู้ป่วยร่วมกับผู้
เรียน
1. เตรียมผู้ป่วย / คัดสรรนักศึกษาเป็นราย
บุคคล
2. ครูเเละนักศึกษาไปเตรียมอุปกรณ์พร้อมกัน
โดยให้นักศึกษาพูดลำดับการเตรียมก่อน
3. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการปฏิบัติให้ฟัง
ก่อน
4. ครูเเละนักศึกษาเข้าให้การพยาบาลพร้อม
กันเเละให้คำเเนะนำต่อผู้ป่วยเเบบส่งเสริม
เชื่อมโยงกัน
วิธีการสอนบนคลินิกที่เหมาะสมกับนักศึกษาพยาบาล
Generation Z
33
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
วิธีการสอน ข้อดี หลักการ วิธีการ
3.การจัด
การเรียนการ
ส อ น แ บ บ
กลุ่มย่อยใน
คลินิก
ผู้เรียนทราบว่าสิ่งใดเป็น
จุดอ่อน จุดแข็งในการปฏิบัติ
ของตน
1 . ผู้ เ รี ย น ไ ด้
ประสบการณ์ที่หลากหลาย
เเละทั่วถึง ในเวลาอันสั้น
2. มีการสรุปความคิด
รวบยอดสู่/ ผลงาน/ ผล
การปฏิบัติสู่กลุ่มอื่น
1. ต้องกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้และ
หน้าที่ที่ต้องกระทำเป็นรายบุคคลอย่างชัดเจน
2. ต้องทำให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นที่จะ
เรียน ให้ความร่วมมือกันในกลุ่ม และสร้างผังความ
คิดจากการเรียน
3. ต้องมีการสะท้อนกลับผลการเรียนรู้ก่อนลง
เวร เป็นกลุ่มเพื่อกระจายสู่บุคคลอื่น
4 . ก า ร
ส อ น ข้ า ง
เ ตี ย ง ใ น
คลินิก
ผู้สอนสามารถใช้การสอนนี้
เพื่อสอนผู้เรียนได้พัฒนาตนใน
ทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านทักษะทาง
คลินิก ทักษะการสื่อสาร การ
วิเคราะห์ปัญหาทางคลินิก
หัตถการทางคลินิก การแปลผล
การตรวจ ทัศนคติ จริยธรรม
1.ใช้สิ่งที่อำนวยความ
สะดวกเท่าที่จะทำได้ใน
สภาพที่เป็นจริง
2. ผู้สอนควรเตรียมผู้ป่วย
ก่อน
3.ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติโดย
การใช้ความรู้เเละทักษะที่มี
4. ครูสังเกตและช่วยทันที
ที่นักศึกษาสะดุด
1. การสอนโดยการแสดง
2. การสอนโดยชี้แนะ
3. การสอนโดยการสังเกต
4. สอนจากการศึกษาเเฟ้มประวัติ
วิธีการสอนบนคลินิกที่เหมาะสมกับนักศึกษาพยาบาล
Generation Z
34
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การสร้างรูปแบบการสอนสะท้อนคิดบนคลินิก
สำหรับนักศึกษาพยาบาล Generation Z
สอนตรง
บทเรียนแนะนำ
ผสมผสาน
มโนทัศน์ / วัตถุประสงค์ของรายวิชา.....
แนะนำ
สะท้อนคิด
อธิบาย & สาธิต &
ปฏิบัติทักษะการพยาบาล
สะท้อนคิด
สังเกตอย่างเป็นขั้นตอน
ทบทวน + สะท้อนคิด
ประเมินผล
อธิบาย & สาธิต
ทบทวน
ปฏิบัติทักษะการพยาบาล
นิรนัยอุปนัย
อธิบาย & สาธิต &
ปฏิบัติทักษะการพยาบาล
นำไปใช้
กระบวนการคิด, ทักษะการปฏิบัติการพยาบาล,
ทักษะทางปัญญา, ผลลัพธ์การประปฏิบัติ
ทักษะการคิด กระบวนการคิดลักษณะการคิด
35
(ทำไปพร้อมกัน)
(ประยุกต์จาก ชนาธิป พรกุล,2557)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ตัวอย่างโมเดลการสอนบนคลินิกสำหรับนักศึกษาพยาบาล Gen Z
Openmind
Openwill
Open
heart
Clinical competency/
Communication clear
Holistic care team
Unity in diversity culture
Technology skill
Chart mind mapping
Humanized design
Accountability/
Attitude/
Altruistic
Value Appreciation
Apply knowledge
to improvement skill
Resilient/ Reflecting
of content, feeling,
ethical and regal to
practicum skill
Nobleness professional
กรอบเเนวคิดการวิจัย "การพัฒนาทักษะการพยาบาลผู้ใหญ่เเละผู้สูงอายุตามมุมมองของนักศึกษา
พยาบาล Generation Z โดยใช้ชัชวาลโมเดล” (ชัชวาล วงค์สารี ,2560)
รูป … “CHUTCHAVARN” model หรือ Model รูปตัว “N”
37
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ข้อค้นพบ
ทางบวก
สามัคคีในวัฒนธรรมที่
หลากหลาย/ปรับตัวได้
ความรักในทีม/
รักษาความลับของทีม
ฝึกทักษะทางกาพยาบาล/
การสื่อสารที่ครบถ้วน
ชัดเจน/ กติกาข้อตกลง
เปิดจิตที่จะยอมรับ เปิดใจที่จะเรียนรู้
การสืบค้น/การวิเคราะห์
ข้อมูลเชิงประจักษ์/ การออกแบบ
ผังความคิด/การคิดวิจารณญาณ
การพยาบาลด้วยหัวใจ
ความเป็นมนุษย์ทั้ง 4 มิติ
มีความรับผิดชอบในการกระทำ/
เห็นเเก่ผู้อื่นก่อนตน/ ทัศนคติดี
ต่อวิชาชีพ
ประยุกต์ความรู้/ ค้นหา
ความรู้เพื่อการปฏิบัติ/
สร้างนวัตกรรม
มีความยืดหยุ่น/ คิดเชื่อ
โยงเเบบมีวิจารณญาณ/
เข้าใจในบทบาท /
ขอบเขตของวิชาชีพ
เห็นคุณค่าของตนเอง/
เห็นคุณค่าของคนอื่น/
เห็นคุณค่าของวิชาชีพ
เปิดเจตจำนงฝึกทักษะ
ส่วนใหญ่มีความสุขกับการฝึกปฏิบัติ นศ. ต่างเชื่อว่าตนเองจะเป็น
พยาบาลวิชาชีพที่มีคุณธรรม จริยธรรม ภายใต้ทักษะการเรียนรู้ชัชวาลโมเดล
จากการใช้ “CHUTCHAVARN” model หรือ Model รูปตัว “N”
ในการสอนบนคลินิก : นักศึกษาพยาบาล Generation Z
38
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ข้อค้นพบ
ทางลบต่อ
ใจครู
จากการใช้ “CHUTCHAVARN” model หรือ Model รูปตัว “N”
ในการสอนบนคลินิก : นักศึกษาพยาบาล Generation Z
ความคิดวิจารณญาณ ?
การเขียน
เชิงวิชาการ
พูดอธิบาย
เชิงวิชาการ
ทักษะ
การปฏิบัติ
ทักษะ
การสืบค้น
คุณธรรม
จริยธรรม
ครั้งที่
1
2
3
4
.
.
.
n
ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด
ถูกและผิด ถูก ถูก ถูก ถูก
ถูกและผิดถูก ถูก ถูก ถูก
ผิดถูก ถูก ถูก ถูก
ถูก ถูก ถูก ถูก ถูก
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
39
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
รูปแบบผังความคิด (Chart mind mapping) ที่เหมาะสม
กับการเรียนรู้เเบบผู้ใหญ่ : ส่งเสริมการคิดเเบบมีวิจารณญาณ
1. Data collection and problem Identification :
1.1) General appearance ……………………………………V/S , BMI
1.2) Patient data report : CC, PI, Hx
2. Nursing Assessment : Mental + Physical Examination [ OD, SD]
3. Chart data recording
Doctor order
One Day Continuous
Laboratory record Radiation &
EKG record
4. Nursing Identification and Application data
Medical diagnosis Nursing diagnosis Problem collaborative
Dx.1
Dx.2
Dx.3
Nx.1……….NX.n
Nx.2……….NX.n
Nx.3……….NX.n
Ex.
- Anxiety
-Ineffective role’s
performance
40
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
รูปแบบผังความคิด (Chart mind mapping) ที่เหมาะสม
กับการเรียนรู้เเบบผู้ใหญ่ : ส่งเสริมการคิดเเบบมีวิจารณญาณ (ต่อ)
4. Comparing case Studies with Evident based
1)
2)
3)
.
.
เป็นไปตาม
ข้อที่ .........
- อุบัติการณ์ เเละผลกระทบ: ............................................
สาเหตุ ปัจจัยส่งเสริม อาการ การวินิจฉัย วิธีการรักษา
1)
2)
3)
.
.
1)
2)
3)
.
.
1)
2)
3)
.
.
1)
2)
3)
.
.
เป็นไปตาม
ข้อที่ .........
เป็นไปตาม
ข้อที่ .........
เป็นไปตาม
ข้อที่ .........
เป็นไปตาม
ข้อที่ .........
- อื่นๆที่มีปัญหา/ข้อสงสัย.................................................................
(เอกสารอ้างอิง, APA)
41
ทฤษฏีผู้ป่วย
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
รูปแบบผังความคิด (Chart mind mapping) ที่เหมาะสม
กับการเรียนรู้เเบบผู้ใหญ่ : ส่งเสริมการคิดเเบบมีวิจารณญาณ (ต่อ)
6. Nursing process :
Nx, Goal, Expectation , Intervention, Evaluation
5. Drawing Nursing Concept Mapping
@ ให้นักศึกษาบอกวิธีการสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์
ความน่าเชื่อถือเเละการนำมาประยุกต์ใช้ในการดูเเล case
@ ให้นักศึกษาวิเคราะห์การออกแบบการสร้างนวัตกรรมเพื่อใช้ใน
การดูแล case
7. Reference
ให้นักศึกษาได้พูดถึงความรู้สึก ทัศนคติ ความรู้ที่ได้ ความพึงพอใจ
ของฝีมือการดูแลเเละสิ่งอยากจะทำให้ดีกว่านี้
42
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ความสามารถแห่งตนกับนักศึกษาพยาบาล Gen Z
นักศึกษาพยาบาล Gen Z พฤติกรรม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
เปรียบเทียบความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
การรับรู้ความสามารถแห่งตน
ความคาดหวังในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
สูง
สูง
ต่ำ
ต่ำ
มีความพึงพอใจ มีเเรงจูงใจใน
การกระทำ มีความมั่นใจ
มีเเนวโน้มจะเกิดทักษะ/พฤติกรรม
เกิดความท้อแท้ รู้สึกว่าตนเอง
ไม่มีคุณค่า ไม่แสดงพฤติกรรม
ผล : ไม่เกิดทักษะตามรายวิชา
ไม่ยอมรับ ไม่พอใจ ไม่เกิดแรงจูงใจ
ไม่มีเเนวโน้มแสดงพฤติกรรม
ผล : ทักษะก่อเกิดจากการทำซ้ำๆ
ไม่สนใจ หลีกเลี่ยงการฝึกปทักษะ
ไม่มีเเนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรม
อย่างเเน่นอน
คือ
(ประยุกต์จาก :Bandura,1997)
43
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล Gen Z
1) พฤติกรรมการเลือก คือ การตัดสินใจ เลือกแสดงออกของพฤติกรรมใดๆ เป็นระยะเวลา
เท่าใด จะอยู่บนขอบเขตการประเมินตนเองของนักศึกษาคนนั้นๆ
2) เกิดความมุ่งมั่นใจการทำงาน การที่นักศึกษารับรู้ความสามารถแห่งตนเเละไดรับการเสริม
เเรงทางบวก นักศึกษาจะเสนอตัวเข้าช่วยงานเเละจะพยายามปฏิบัติทักษะอื่นเพื่อพิสูจน์
ความสามรถของตนเเม้จะใช้เวลาที่ยาวนานเเต่ก็จะกระทำด้วยความเต็มใจ
3) รูปแบบการคิดและการตอบสนองทางอารมณ์ นักศึกษาที่มีระดับการรับรู้ความสามารถแห่ง
ตนสูง จะเพิ่มความพยายามและใส่ใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลมากขึ้น แม้จะต้อง
เผชิญกับอุปสรรคต่างๆ ซึ่งตรงข้ามกับนักศึกษาที่รับรู้ความสามารถเเห่งตนต่ำ เมื่อต้องเผชิญ
กับอุปสรรคเพียงเล็กน้อย จะมีความเครียดสูง ไม่มีความสุขกับการฝึกทักษะ และจะหลีกเลี่ยง
การปฏิบัติทักษะ ทำให้เกิดความล้มเหลวในการฝึกปฏิบัติตามมาได้
4) การกำหนดพฤติกรรมของนักศึกษาเอง นักศึกษาที่มีระดับการรับรู้ความสามารถแห่งตนสูง
จะมีความพยายามและยอมรับผลที่เกิดจากการเเสดงพฤติกรรมต่างๆของตนเอง เลือกที่จะกระทำ
ในทักษะที่ยากขึ้น ซึ่งตรงข้ามกับนักศึกษาที่รับรู้ความสามารถเเห่งตนต่ำ จะหลีกเลี่ยงการฝึกทักษะ
ที่ยาก ซับซ้อน ขาดความมั่นใจ จะเครียดระดับสูงเมื่อต้องกระทำงานที่ยาก นักศึกษากลุ่มนี้มักเชื่อ
ว่าโชคชะตามีผลต่อความสำเร็จของงาน (ประยุกต์จาก :Bandura,1986)
44
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
1) ประสบการณ์ความสำเร็จในอดีต
2) การรับรู้ประสบการณ์ของผู้อื่น
3) การจูงใจด้วยคำพูด
4) สภาวะทางกายเเละอารมณ์
ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงความสามารถ
ของนักศึกษาพยาบาล Gen. Z
อิทธิพลของการรับรู้ความสามารถเเห่งตน
ต่อการแสดงพฤติกรรม
1) กระบวนการคิด
2) กระบวนการจูงใจ
3) กระบวนการด้านอารมณ์
(ประยุกต์จาก :Bandura,1986)
การประเมินก่อนให้นักศึกษาปฏิบัติ
1) ระดับความยากและความซับซ้อนที่จะ
ให้นักศึกษาฝึกทักษะ
2) ระดับความมั่นใจของนักศึกษา
3) การประเมินสรุปโดยนัย เชื่อมโยงสู่
การฝึกทักษะอื่นที่คล้ายๆกัน
ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล Gen Z
45
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
มิติด้านการประเมินผลลัพธ์
เเละการพัฒนาต่อเนื่อง
46
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เครื่องมือในการประเมินผลลัพธ์
1. แบบประเมินตามที่ตกลงใน มคอ. 4 ผลของการจัดการเรียนรู้
ตาม มคอ. 6
2. ร่องรอยจากการสอน/ ชิ้นงาน- คุณภาพงานของนักศึกษา
3. แบบบันทึกข้อตกลงของอาจารย์และนักศึกษารายบุคคลขณะ
ขึ้นฝึกปฏิบัติ
4. ผลการประเมินจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง/ ความผิดพลาดจากความ
เสี่ยงทางทักษะ
5. คะแนนสอบยืนยันความรู้เเละทักษะหลังจบการฝึกปฏิบัติ
47
O2O1
1.1
1.2
2.1
2.2
E1 E 2L2L1
1 กิจกรรมต้องให้มีมุมมอง
ของการเรียนรู้ มากกว่า
1 ประสบการณ์เสมอ
จึงต้องกำหนด
วัตถุประสงค์หลัก
วัตถุประสงค์รอง
Development Individual Experience Good Experience
Ox
Diversity Experience
Plan
Do
Studies
Do
Studies
PlanAdjudgements Adjudge
Pre-test
Post-test
โค้งพัฒนาการ
มุ่งอธิบายสมรรถนะรายวิชา/ สมรรถนะชั้นปี
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
x.x
x.x
48
Learner of Attitude,
Experience and Skill
Expectation
and
Goals
Communications Clearly
Aim objective for Practice
Generation Z
Nursing Student
Evaluation on situation
Comparing standard
Group
teaching
&
Individualcoaching
Reflecting Knowledge ,
skill , Ethical & Regal
(Open Mind)
(Open Heart)
(Open Will)
- ทบทวนทฤษฎี
- ฝึกทักษะการคิด
- Oral test
- ฝึกให้สังเกตเเบบเป็นระบบ
- Mapping เชื่อมโยง
- สืบค้นข้อมูลเชิงประจักษ์
- บอกเกณฑ์คะเเนน
- เน้นกระบวนการกลุ่ม
- ฝึกทักษะการสื่อสาร
- ฝึกวิเคราะห์ผลการตรวจ
ร่างกาย
- ฝึกทักษะการปฏิบัติการ
พยาบาล : individual
- ฝึ ก ก า ร เ เ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
เฉพาะหน้า
- Mapping Case Study
- Oral test
- ประเมินผลระหว่างทาง
- นศ. ประเมินครู/
ตนเอง/เพื่อน
- ครูบอกระดับคะแนน
ที่ นศ. ได้
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
- ชี้เเนะเเบบติเพื่อก่อ
ให้ตรงประเด็น49
- ครู/นศ . บอกวิธีการพัฒนา
ตนเอง เเละทัศคติใหม่ของตน
- Monitoring New Behaviour
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Comprehensive Oral test : บ่งบอกถึงการ
คิดแบบวิจารณญาณบนพื้นฐานการพยาบาล
องค์ประกอบ กระบวนการ มาตรฐาน
จุดหมาย ระบุ ชัดเจน
ปัญหา วิเคราะห์ ถูกต้อง ครอบลุม
การตีความ ประเมิน แม่น ตรงประเด็น
ความคิด
รวบยอด
วิเคราะห์ ลึกซึ้ง ถูกต้อง
สมมติฐาน ประเมิน ถูกต้อง ชัดเจน
ความคิดเห็น วิเคราะห์ เเม่นตรง มีเหตุผล
สิ่งที่เกี่ยวข้อง
/ผลกระทบ
ประเมิน กว้าง ลึก มีเหตุผล
(ประยุกต์จาก ชนาธิป พรกุล,2557)
50
ไม้บรรทัด
อยู่ในตัวท่าน
Nursing Process
Creative
Thinking
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
คุณเห็นมองเห็นเป็นภาพอะไร
51
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
………….สิ่งที่เป็นจริงสิ่งที่คุณเห็น......???
52
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เห็นอะไรที่เหมือนกัน....อะไรที่เเตกต่างกัน
53
“หนึ่งคนที่เราดูแล...มีอีกหลายดวงใจที่คอยความหวัง
ให้เขาไปดูเเล”
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com54
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เห็นอะไรที่เหมือนกัน....อะไรที่เเตกต่างกัน
55
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
“ความรับผิดชอบบนพื้นฐานการเกื้อกูล คือสิ่งที่เราต้องมีร่วมกัน”
56
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ข้อเสนอเเนะ 10 ประการในการจัดการศึกษาบนคลินิก
ให้ประสบผลสำเร็จในผู้เรียนยุค Generation Z
1. เปลี่ยนรูปแบบการสอน ไม่ให้นักศึกษาใช้สมองไปกับการ
ท่องจำ
2. สั่งงานให้สร้างสรรค์ โดยให้ออกแบบเเนวคิด วิธีเเก้ปัญหา
ใหม่ๆ
3. ไม่ตั้งคำถามมากเกินไป โดยเฉพาะคำถามที่มีคำตอบตายตัว
4. กระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบด้วยตนเองใน
สถานการณ์ที่กำลังศึกษา
5. ให้เทคนิคการสืบค้น ชี้เเนะเเหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่าง
ต่อเนื่อง
57
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ข้อเสนอเเนะ 10 ประการในการจัดการศึกษาบนคลินิก
ให้ประสบผลสำเร็จในผู้เรียนยุค Generation Z (ต่อ)
6. ค้นหาจุดอ่อน จุดแข็งผู้เรียน ใช้กระบวนการกลุ่มเเบบเพื่อนช่วย
เพื่อนให้มากขึ้น / งานที่มอบหมายต้องก่อเกิดการคิดวิเคราะห์เชิงสร้าง
สรร กำหนดเวลาแบบยืดหยุ่น ครูให้ปรึกษา ร่วมเเก้ไขงานจนกว่าจะ
สมบูรณ์
7. กำหนดให้มีการทบทวนความรู้จากการปฏิบัติ ทดสอบ Oral Test
พร้อมชี้แนะให้ตรงประเด็น อย่างต่อเนื่อง
8. หากมอบหมายงานกลุ่มต้องให้กลุ่มเป็นผู้ร่วมประเมินรายบุคคลซึ่ง
เป็นสมาชิกของกลุ่มด้วย
9. ใช้ IT มาออกเเบบการศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุดทุกรูปแบบ
10. ให้สรุปสาระสำคัญหลัก พร้อมย้ำการนำไปประยุกต์ใช้ ก่อนสิ้นสุด
การฝึกปฏิบัติทุกครั้ง
(ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
58
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เอกสารอ้างอิง
1. ชัชวาล วงค์สารี .(2559). แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาล
ศาสตร์. สไลด์ประกอบการบรรยายแก่ครูพี่เลี้ยงประจำเเหล่งฝึกปฏิบัติ คณะพยาบาล
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://www.teacher.ssru.ac.th/
chutchavarn_wo/ (10 มกราคม 2561)

2. ชัชวาล วงค์สารี .(2558). การสอนบนคลินิกในรายวิชาการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่
และผู้สูงอายุสำหรับนิสิต Generation Z . วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ ,
31( 2): 130 - 140.

3. ชัชวาล วงค์สารี .(2561). นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z.
[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://chutchavarn.blogspot.com (15 มกราคม 2561)

4. Bloom, B., Englehart, M. Furst, E., Hill, W., & Krathwohl, D. (1956). Taxonomy
of educational objectives: The classification of educational goals. Handbook I:
Cognitive domain. New York, Toronto: Longmans, Green.
5. Dave, R. H. (1975).  Developing and Writing Behavioural Objectives.  (R J
Armstrong, ed.) Educational Innovators Press. 

6. Hummert M, L. (2011). Age Stereotypes and Aging. in Handbook of the
psychology of Ageing (seven edition): A volume in Handbooks of Aging Pages
249–262.

7. ชัชวาล วงค์สารี. (2559a). การพยาบาลอายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์โรคไตและระบบทาง
เดินปัสสาวะ.กรุงเทพ : เอ็น พี เพรส จำกัด.
59
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เอกสารอ้างอิง
8. Heinich, R. et al. (1996). Instructional Media and Technologies for Learning. New Jersey:
Prentice Hall, inc.

9. ชัชวาล วงค์สารี และ อรนันท์ หาญยุทธ .(2557). การใช้กระบวนการพยาบาลในการ
ดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ,6
(2): 220 - 233.

10. ชัชวาล วงค์สารี. (2560).การพัฒนาทักษะการพยาบาลผู้ใหญ่เเละผู้สูงอายุตามมุม
มองของนักศึกษาพยาบาล Generation Z โดยใช้ชัชวาลโมเดล. รายงานการวิจัย. (อัด
สำเนา)

11. Bandura, A. (1977). Social learning theory. New Jersey: Prentice Hall.

12. Bandura, (1986). The self-system in reciprocal determinism. American
Psychologist, 33(4), 344-358.
13. ชนาธิป พรกุล. (2557). การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎีและการนำไปใช้. พิมพ์ครั้งที่ 3 .
กรุงเทพ : สำนักพิมพ์เเห่งจุฬาลงกรณ์.
14. รุ่งนภา จันทรา และ อติกาญณ์ ศรเกษตริน. (2560). ทักษะการเรียนรู้ศวรรษที่ 21 ของ
นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์ธานี. วารสารเครือข่ายวิทยาลัย
พยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4 (1) : 180 - 190.
15. Herdman, T.H. & Kamitsuru, S. (Eds.). (2014). NANDA International Nursing
Diagnoses: Definitions & Classification, 2015–2017. Oxford: Wiley Blackwell.
60
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง
ชัชวาล วงค์สารี .(2561).การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้เเละเข้าใจ
นักศึกษาพยาบาลยุคเจเนเรชั่นแซด.สไลด์ประกอบการสอนการบรรยาย
เเก่คณาจารย์และครูพี่เลี้ยง, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์
ธานี.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://chutchavarn.blogspot.com
(6 กุมภาพันธ์ 2561)
61

More Related Content

What's hot

Process management
Process managementProcess management
Process management
Teetut Tresirichod
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
Utai Sukviwatsirikul
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills
Basic communication skillsBasic communication skills
Basic communication skills
Utai Sukviwatsirikul
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)sirinyabh
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
Utai Sukviwatsirikul
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Aphisit Aunbusdumberdor
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copyWatcharin Chongkonsatit
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Aphisit Aunbusdumberdor
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
Wichai Likitponrak
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
แอ้ม แอ้ม
 
Se Ed Book Slide
Se Ed Book SlideSe Ed Book Slide
Se Ed Book Slide
DrDanai Thienphut
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
Ornkapat Bualom
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
George Sonthi
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
Wichai Likitponrak
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Process management
Process managementProcess management
Process management
 
ไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืมไม่ล้มไม่ลืม
ไม่ล้มไม่ลืม
 
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complicationsPharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
Pharmacotherapy in patients with cirrhosis and complications
 
Basic communication skills
Basic communication skillsBasic communication skills
Basic communication skills
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)Unit5.ppt (read only)
Unit5.ppt (read only)
 
Pharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy strokePharmacotherapy stroke
Pharmacotherapy stroke
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
คู่มือการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
 
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
4 แนวคิดและกลยุทธ์การจัดการสาธารณสุขในชุมขน copy
 
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
Inflammatory & Infection orthopaedics disease for nursing students 2017
 
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้บูรณาการทักษะชีวิต
 
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้Power  point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
Power point โมเดลและทฤษฏีที่สำคัญเกี่ยวกับการจัดการความรู้
 
Se Ed Book Slide
Se Ed Book SlideSe Ed Book Slide
Se Ed Book Slide
 
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาลบทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
บทที่ 10 การเงินการธนาคาร การคลังรัฐบาล
 
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
10 r กับการให้ยาอย่างปลอดภัย
 
Genogram
GenogramGenogram
Genogram
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic strokeClinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
Clinical practice guidelines for hemorrhagic stroke
 

Similar to การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z

การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
Presentation
Presentation Presentation
Presentation pat09313
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
Chutchavarn Wongsaree
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
โรงพยาบาลสารภี
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
Chutchavarn Wongsaree
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
Vorawut Wongumpornpinit
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
สุรพล ศรีบุญทรง
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
Chutchavarn Wongsaree
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
Utai Sukviwatsirikul
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
DMS Library
 
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
Chutchavarn Wongsaree
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
Chutchavarn Wongsaree
 
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
Chutchavarn Wongsaree
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
Prachyanun Nilsook
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
DMS Library
 

Similar to การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z (20)

การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
Presentation
Presentation Presentation
Presentation
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐมก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
ก้าวต่อไปกับการพัฒนาระบบบริการปฐม
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
แนวทางการดำเนินงาน คลีนิกหมอครอบครัว
 
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
Journal Of Km Lerdsin Hospittal V 2 n 2 2009
 
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
 
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
การจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์ในศตวรรษ 21
 
Brain
BrainBrain
Brain
 
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
หัวข้อวิจัยทางวิทยาการเรียนรู้
 
การจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยาการจัดการข้อมูลยา
การจัดการข้อมูลยา
 
Week 2 Updated On Nov. 2
Week 2 Updated On Nov. 2Week 2 Updated On Nov. 2
Week 2 Updated On Nov. 2
 

More from Chutchavarn Wongsaree

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailand
Chutchavarn Wongsaree
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Chutchavarn Wongsaree
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
Chutchavarn Wongsaree
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
Chutchavarn Wongsaree
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Chutchavarn Wongsaree
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Chutchavarn Wongsaree
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilator
Chutchavarn Wongsaree
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Chutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
Chutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
Chutchavarn Wongsaree
 

More from Chutchavarn Wongsaree (20)

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailand
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilator
 
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z

  • 1. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มรภ.สวนสุนันทา พย.บ.(เกียรตินิยม) ม. ราชธานี อุบลราชธานี ปร.ด.(การบริหารพยาบาล) กำลังศึกษา ม. คริสเตียน ประเทศไทย พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่) ม. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ นิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต (กำลังศึกษา) ม. ธรรมศาสตร์ การศึกษา การศึกษาเฉพาะทางการพยาบาล : 2. การพยาบาลผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยไตเทียม มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 1. การพยาบาลห้องสวนหัวใจและการตรวจรักษาพิเศษ สถาบันโรคทรวงอก กรมการเเพทย์ 3. ศาสตร์และศิลป์การสอนพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. การพยาบาลผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ facebookData link (ลิขสิทธิ์ภาพถ่ายเพื่อการสอนเท่านั้น) เผยเเพร่ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๑ Line โดย ปรับปรุงครั้งที่ - ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี Adult learning Skills in the 21st - Century in Nursing Education : Generation Z student 6 กุมภาพันธ์ 2561 : 09.00 - 12.00 น. ณ วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult learning)การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ (Adult learning) บรรยายแก่คณาจารย์และครูพี่เลี้ยง : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษา พยาบาลยุค Generation Z : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษา พยาบาลยุค Generation Z
  • 2.
  • 4. ที่มา CUT News, 2559 , 27 (4): 5.
  • 5. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com : วัตถุประสงค์ : หลังจบการอบรมผู้เข้าอบรมสามารถ ....... 1. อธิบายลักษณะของผู้เรียนยุค Generation Z พร้อมบอกวิธีการนำความรู้ไป ประยุกต์ในการสอนบนคลินิกให้สอดคล้องกับผู้เรียนได้ 2. อธิบายการออกแบบผังความคิดในการจัดการเรียนการสอนสู่ผู้เรียนยุค Generation Z ให้เกิดประสิทธิภาพที่สูงสุดได้ 3. บอกวิธีการประเมินผลลัพธ์การสอนบนคลินิกเเละการพัฒนาการสอนบนคลินิกที่ เหมาะสมกับผู้เรียนยุค Generation Z ได้ เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง ชัชวาล วงค์สารี .(2561).การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้เเละเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุคเจ เนเรชั่นแซด.สไลด์ประกอบการสอนการบรรยายเเก่คณาจารย์และครูพี่เลี้ยง, วิทยาลัยพยาบาลบรม ราชชนนี สุราษฏร์ธานี.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://chutchavarn.blogspot.com (6 กุมภาพันธ์ 2561) 2 คำสืบค้น นักศึกษาพยาบาลยุค Generation Z, การสอนบนคลินิก, การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่, กระบวนการสอนแนวใหม่ Keywords:
  • 6. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com มิติด้านนักศึกษาพยาบาล Generation Z 3
  • 7. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com พยาบาลไทยในอนาคต นอกจากต้องมีจริยธรรมสูง ควรมีความเก่งอย่างไร.....? 4
  • 8. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com คำถามปฐมภูมิกระบวนการเรียนรู้ศตวรรษ 21 ผู้สอน สอนใคร ต้องให้รู้อะไร ต้องให้คิดอะไร ต้องให้ทำอะไร (ชัชวาล วงค์สารี, 2559) 5 ผู้เรียน ใครสอน ต้องรู้อะไร ต้องคิดอะไร ต้องทำอะไร อุดมคติที่ครูคิดไว้ ความจริงที่ครูคิดไม่ถึง ผู้เรียน “ครูเคี้ยวรากไม” จะออกสอบตรงไหน “ครูเขาพูดอะไรหนะ” ส่งงานได้ช้าสุดเมื่อไร
  • 9. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com คำถามปฐมภูมิกระบวนการเรียนรู้ศตวรรษ 21 ผู้สอน ผู้เรียน สอนใคร ต้องให้รู้อะไร ต้องให้คิดอะไร ใครสอน ต้องรู้อะไร ต้องคิดอะไร ต้องให้ทำอะไร ต้องทำอะไร กระบวนการ ข้อตกลงร่วมคืออะไร ทำอย่างไรให้รู้ ทำอย่างไรให้คิด ทำอย่างไรให้ทำได้ ประเมินผล พฤติกรรม เเบบทดสอบ ผังความคิด รายงาน+ทักษะ (ชัชวาล วงค์สารี, 2559) 6
  • 10. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ช่วงอายุกับคุณลักษณะของพฤติกรรมที่เเตกต่าง ผู้เรียน 1. Builders GENERATION AGE CHARACTERISTIC ตั้งเเต่ 73 yr. ขึ้นไป เกิดก่อน 1945 ขยัน อดทน ครอบครัวเข้มเเข็ง เคร่งขนบประเพณี ภักดีต่อองค์กร 2. Baby boomers 55 - 72yr. 1946- 1964 สู้งานหนัก มุ่งความสำเร็จ ภักดีต่อองค์กร ต้องการ ทำงานในองค์ที่มีชื่อเสียง ทุ่มเทเพื่อตำแหน่ง ต้องการการยกย่องชมเชย ภักดีต่อองค์กร 3. Gen. X 38 - 54 yr. 1964- 1981 กระตือรือล้น ชอบเเข่งขัน ชิงดีชิงเด่น สนใจ เทคโนโลยี สนใจเรื่องส่วนตนมากกว่าส่วนรวม เป็น นักบริโภคนิยม เเต่ยังห่วงครอบครัว ภักดีต่อบุคคล มากกว่าองค์กร (ชัชวาล วงค์สารี, 2558) 7
  • 11. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ช่วงอายุกับคุณลักษณะของพฤติกรรมที่เเตกต่าง ผู้เรียน GENERATION AGE CHARACTERISTIC 4. Gen. Y ฉลาดในเทคโนโลยี มีความเป็นอิสระเเละโลกส่วนตัวสูง ชอบคิดนอกกรอบ มีความทะเยอทะยานสูง ชอบงานที่ สนุกท้าทาย มีความอดทนต่ำ พูดจาตรงไปตรงมา 5. Gen. Z 8 - 22 yr. 1996-2010 23 - 37yr. 1981 - 1995 อยากได้ผลลัพธ์ทันที รอคอยไม่ได้ เวลาส่วนใหญ่อยู่ บนโลกอินเตอร์เน็ท ตัดสินใจไปตามกระเเส เรียนเพื่อ ความสนุกไม่ได้คิดว่าจะเอาไปใช้ประโยชน์ อยากรู้ใน สิ่งที่ตนตั้งเป้าหมายเท่านั้น ไม่สนใจวัฒนธรรมดั่งเดิม ติดเพื่อนเเละคิดว่าเพื่อนช่วยได้ทุกเรื่องเมื่อมีปัญหา เป็นยุคเเห่งการเรียกร้องสิทธิ 6. Gen. Alpha > 2010 ??????? (ชัชวาล วงค์สารี, 2558) 8 ความภักดีต่อองค์กรต่ำ
  • 12. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ลักษณะความคิด VS พฤติกรรมการใช้ชีวิตนักศึกษาผู้เรียน Gen Z 1) คิดมุมเดียว มุมมองในการใช้ข้อมูลให้เกิดประโยชน์แคบ คิดเชื่อมโยงได้ น้อย มีโลกส่วนตัวสูง (วิจารณญาณการคิดมีน้อย) 2) ชอบเรียกร้องสิทธิ ชอบทำตามกติกาที่ตกลงอันเป็นประโยชน์กับตนเอง เเต่จะ ไม่สนระเบียบที่ไม่ได้บอกกล่าวด้วยวาจา (หาข้ออ้างเลี่ยงรับผิดจากระเบียบ ได้บ่อย) 3) ใช้จุดอ่อนทางจิตใจของคนยุคก่อนมาเป็นข้อต่อรอง เรียกร้องให้สงสาร ชอบ วิเคราะห์มาตรฐานที่ได้รับจากครูได้ (มีลูกอ้อนต่างๆนานา/ ฉลาดรู้ทันจิตใจ อาจารย์) 4) เพื่อนจะสำคัญกว่าพ่อแม่ อาจารย์ไม่ใช่คนมีอิทธิพลกับชีวิต (เมื่อผ่านพ้นการ ให้คะเเนนไปแล้ว) 5) หากเกิดปัญหาจะมีกระบวนการกลุ่มของเพื่อนช่วยเพื่อนเเละออกแบบการ แก้ไข โดยใช้ประโยชน์จากคณาจารย์หลายๆคนในเวลาเดียวกัน (พลังกลุ่ม เงียบเเต่ดัง กล้าทำในสิ่งที่อาจารย์คาดไม่ถึงเสมอ) 6) มีอารมณ์ที่ฝังแน่น มีพลังของความคิดด้านลบที่รุนแรงกว่าด้านบวก (บทวิเคราะห์ นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z โดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561) 9
  • 13. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 7) ระบายความคิด เปิดเผยความรู้สึกของตนในพื้นที่ Social media อย่างตรงไปตรงมา ขาดการตรองด้วยปัญญา 8) ความสามารถใน Social media สูง (แต่จะเลือกทำเต็มที่สิ่งที่เขา สนใจเท่านั้น) และสามารถทำหลายๆหน้าที่ได้ในช่วงเวลาเดียวกัน 9) สาขาที่เลือกเรียน จะไม่ใช่สาขาที่เขาอยากจะประกอบอาชีพในอนาคต 10) เลือกที่จะเคารพ ให้เกียรติคนอื่นตามที่ตนพึงพอใจเท่านั้น และต่อให้รู้ ว่าดีก็จะไม่เปิดใจรับสิ่งนั้นจากคนที่ไม่ชอบ 11) เลือกที่จะเอาเกรดตามที่ตนเองอยากจะได้ /สิ่งดีที่สุดไม่ใช่สิ่งที่ นักศึกษายุคนี้แสวงหา นักศึกษายุคนี้จะเลือกทำในสิ่งที่สบายที่สุดเเละเกิด ปัญหากับตนเองน้อยที่สุด 12) เลือกที่จะทำตามกระเเส เพื่อให้ได้มาซึ่งกระเเสนิยม โดยขาดการ คิดถึงค่านิยม / “New Normal” เป็นกระบวนการของกลุ่มที่ขยายพื้นที่สู่ สังคม ทั้งรูปแบบภาษาและพฤติกรรมการแสดงออก ลักษณะความคิด VS พฤติกรรมการใช้ชีวิตนักศึกษา (ต่อ)ผู้เรียน Gen Z (บทวิเคราะห์ นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z โดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561) 10
  • 14. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สรุปลักษณะเด่นของผู้เรียนยุค Generation Z ลักษณะ อธิบาย 1.Activist’s บุคคลที่ชอบแสวงหาประสบการณ์ใหม่ๆให้ตนเอง ชอบใช้การระดมสมอง เพื่อแก้ไขปัญหา เมื่อสามารถแก้ปัญหาหนึ่งได้ ก็จะหาปัญหาใหม่ที่มีความ ท้าทายมากยิ่งขึ้นในการแก้ไข สามารถเปิดใจยอมรับแนวคิดใหม่ๆได้ดี 2.Reflectors บุคคลที่ค่อนข้างคิดมาก ระมัดระวังในทุกการกระทำ คนเหล่านี้มักจะ คิดถึงความเป็นไปได้ในทุกแง่มุมก่อนที่จะลงมือทำ 3.Theorist’s บุคคลที่ชอบประยุกต์ใช้ประสบการณ์ของตนเองออกมาเป็นหลักปฏิบัติใหม่ๆ โดยจะวิเคราะห์หลักการเหล่านั้นอย่างดีและไม่ใช้ความรู้สึกส่วนตัวในการกระทำ 4. บุคคลที่เน้นการปฏิบัติเป็นหลัก ชอบคิดสร้างสรรค์แนวทางปฏิบัติใหม่ๆ ทันทีทันใดPragmatist’s (ชัชวาล วงค์สารี, 2558) 11
  • 15. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com มิติด้านผู้สอน และ กระบวนการสอนแนวใหม่ 12
  • 16. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com : ครูพยาบาลควรสอนอย่างไร...? ถ้าครูมีความรู้เท่า..... …….ครูไม่ต้องสอน “ครู”ควรมีความทักษะในการชี้เเนะ การตัดสินใจ การเลือกใช้ข้อมูลที่ถูกต้องเหมาะสม 21st 13
  • 17. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Bloom’s taxonomy, 1956 ผู้สอนเเละ การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน ช่วงอายุคนที่ใช้โมเดลนี้ คือ ครึ่งหนึ่งของ Gen X (เกิดก่อน ปี 1975 หรืออายุตั้งเเต่ 45 ปีขึ้นไป) 14
  • 18. การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน (ต่อ) ผู้สอนเเละ Bloom,1956 Bloom,2001 Cognitive Domain (ด้านการคิด) ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com15
  • 19. การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน (ต่อ) ผู้สอนเเละ ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Effective Domain (จิตพิสัย/จริยธรรม) Bloom,1956 รับรู้ ตอบสนอง ให้คุณค่า จัดระบบ สร้างลักษณะส่วนตน 16
  • 20. หลักการพัฒนาจริยศาสตร์ที่วิชาชีพมุ่งหวัง อ.นัท nutt-chut บันได6ขั้นของการพัฒนาจริยศาสตร์ Lawrence Kohlberg’s stages of moral development 1 2 3 4 5 6 คิดถึงตนเองเป็นหลัก คิดถึงตนเองเป็นหลัก ความสัมพันธ์ ความถูกต้อง ประโยชน์คนหมู่มาก เป็นสากล เสพ สร้าง ก่อนเกณฑ์ ตามเกณฑ์ เหนือเกณฑ์ <7 7-10 10-16 10-16 > 16 โทษ เเลกเปลี่ยน ตาต่อตา ตนได้ประโยชน์ ความรัก มิตรภาพ อารมณ์ รู้สึกร่วม หน้าที่ เคารพอำนาจ ฟังกฎระเบียบ เเรงจูงใจ ทำตามเกณฑ์เพื่อส่วนรวม เน้นความยุติธรรม ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com17
  • 21. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การพัฒนาจริยศาสตร์เเละระดับความคาดหวัง อ.นัท nutt-chut (ศิวลี ศิริไล,2553; อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์,2557) ความเชื่อหลักแนวคิดปัญญานิยม ประชาชน นิสิตพยาบาล พยาบาลวิชาชีพ อาจารย์พยาบาล ผู้บริหารคณะพยาบาลศาสตร์ 1.พื้นฐานการพัฒนามาจากปัญญาและเหตุผลเชิงจริยศาสตร์ ผู้บริหารสูงสุดของสถาบัน ระดับความคาดหวังเชิงจริยศาสตร์ 2.การจูงใจเบื้องต้น เช่น ยอมรับความสามารถ ความ ปลอดภัย คลายความวิติกกังวล วิทยากร/ผู้ทรงคุณวุฒิ 3.การพัฒนาจริยศาสตร์ถือเป็นวัฒนธรรมสากล เพราะไม่มี บทบาทและลดความขัดเเย้ง 4. ประสบการณ์จากการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนอื่นในสังคม 5. คุณภาพและขอบเขตของความรู้และสิ่งเร้าจากสังคมมีผล ต่อการพัฒนาจริยศาสตร์ตลอดเวลา 18
  • 22. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การตระหนักรู้มโนทัศน์การเรียนรู้ยุคเปลี่ยนผ่าน (ต่อ) ผู้สอนเเละ Psychomotor Domain (ทักษะการปฏิบัติ) เริ่มเลียนเเบบ เพียรเลียนเเบบ รับรู้ว่าเหมาะสม ปฏิบัติเอง เกิดเป็นทักษะเฉพาะ Bloom,1956 Gen. Y ที่เกิดก่อน 1975 Gen. Y ที่เกิด 1975 และ Gen. Z Dave,1975 19
  • 23. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Myth ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ปัจจัยที่มีผลต่อเจตคติของการพฤติกรรมของนักศึกษาพยาบาล Generation Z Stereotype แง่คิดมุมมอง จนก่อเกิดภาพ ในใจ Prejudice พื้นฐานกรอบการคิด (สังคม วัฒนธรรม กฏหมาย สภาพ แวดล้อม) Discrimination การแบ่งแยก ซึ่งมักจะเเปลผันตาม Stereotype (Hummert, M.L.,2011) 20
  • 24. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com คุณธรรม จริยธรรม บันได 2 ขั้น นำความเจริญสู่ชีวิตในวิชาชีพ คุณ !! มีคุณธรรมแล้วหรือยัง ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ พฤติกรรมในเงาธรรม ความจริงที่เป็นความดี ที่เป็นคำสอนให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ เอกสิทธิ์เเห่งตน การทำประโยชน์ การไม่ทำอันตราย การบอกความจริง การรักษาความลับ ความเสมอภาคและยุติธรรม ค่านิยมตามหลักธรรม (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี) สิ่งที่ครูต้องสร้างให้นักศึกษาพยาบาล Gen. Z ได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติทางคลีนิก 21
  • 25. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สำหรับการนิเทศงานนักศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z ความท้าทายของครูคลินิก 1) การปลูกฝังคุณธรรม และจริยธรรม ให้เข้มเเข็ง (แบบขั้นบันได) 2) การสร้างความรู้ (ต้องรู้ ควรจะรู้ และน่าจะรู้) 3) การก่อเกิดปัญญา (การคิดวิจารณญาณ คิดต่อยอด/ การเลือกใช้ข้อมูลที่น่าเชื่อ ถือ การพัฒนากระบวนการตัดสินใจ / การคิด การออกเเบบการเอาตัวรอดจากภัย ทางสังคม/ การเเสดงออกที่บ่งบอกว่ามีปัญญา) 4) สัมพันธภาพในหน้าที่ โดยบ่งชี้ความเป็นเจ้าของ 5) การวิเคราะห์ตัวเลข การสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ 6) ความเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี (บนเเนวคิดโลกสีเทา) 7) สร้างความได้เปรียบทางผลลัพธ์การพยาบาลด้วย “Blue Ocean Stractegy” 8) รู้ทันการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองและระบบสาธารณสุข ปัจจัยชวนคิดในการสร้างพยาบาลยุคใหม่ (บทวิเคราะห์ นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z โดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561) 22 “หว่านเมล็ดพันธุ์เป็นเช่นไร มักได้ผลมักเป็นเช่นนั้น” คุณเชื่อเช่นนั้นหรือไม่ ??Socialisation คือ สิ่งหล่อหลอมบุคคล
  • 26. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฎร์ธานี ความท้าทายของครูคลินิก ทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 Mean SD แปลผล ด้านการคิดแบบมีวิจารณญาณและการเเก้ปัญหา 3.83 0.45 สูง ด้านการสร้างสรรค์และนวัตกรรม 3.82 0.48 สูง ด้านการเข้าใจความต่างของวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์ 4.14 0.48 สูง ด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีมและภาวะผู้นำ 3.99 0.45 สูง ด้านการสื่อสาร สารสนเทศและการรู้เท่าทันสื่อ 4.07 0.56 สูง ด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 4.00 0.50 สูง ด้านอาชีพเเละทักษะการเรียนรู้ 4.12 0.47 สูง คะเเนนเฉลี่ยโดยรวม 3.99 0.39 สูง รายงานวิจัย “ทักษะการเรียนรู้ศวรรษที่ 21 ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์ธานี “ (รุ่งนภา จันทรา และ อติกาญณ์ ศรเกษตริน, 2560) 1.00 - 2.33 = ระดับต่ำ 2.34 - 3.66 = ระดับปานกลาง 3.67 - 5.00 = ระดับสูง 23
  • 27. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สุขภาพดี/ส่งเสริมสุขภาพ เข้าสู่การรักษาแบบเฉียบพลัน/ เรื้อรัง/รุนเเรงและซับซ้อน ดูแลแบบประคับประคอง/ ตายอย่างสมศักดิ์ศรี ประเมินสภาพ: ซักประวัติ ตรวจร่างกาย ตรวจรักษาพิเศษ ตรวจทางห้องปฏิบัติการ วิเคราะห์ข้อมูลอัตนัย - ผลจากซักประวัติ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปรนัย - ผลการตรวจร่างกาย - ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ - ผลการตรวจทางรังสีและอื่นๆ วินิจฉัยการพยาบาลจากปัญหาสุขภาพ - จัดกลุ่มและลำดับข้อมูลเชิงประจักษ์ (ข้อมูล : ปรนัย & อัตนัย) - เชื่อมโยงพยาธิสภาพ/เกณฑ์ปกติ ความรู้ ประสบการณ์ ทักษะ ความชำนาญ ของครูพยาบาล/พยาบาล วิชาชีพและการเป็นเเบบอย่าง มีผลต่อ Learning Outcome การร่วมดูแลรักษา/จัดการปัญหาสุขภาพ ที่เป็นปัจจุบันและอนาคต : เน้น บุคคล ครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ดีขึ้น คงเดิม เลวลง มีโรคประจำตัว/ความพิการ มาตรา12 พินัยกรรมชีวิต กฎหมายและจริยศาสตร์ สิทธิพยาบาล&เอกสิทธิวิชาชีพ วงจรสุขภาพกับการออกแบบกิจกรรมการสอนนักศึกษาพยาบาล Generation Z (ดัดแปลงจาก ชัชวาล วงค์สารี,2559a) IT & Innovation Clinical teaching เกิดปัญหาสุขภาพ/อุบัติเหตุ 24
  • 28. แนวคิดการออกแบบการสอนวิชาการปฏิบัติการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล Generation Z Learner of Attitude, Experience and Skill Expectation and Goals Communications Clearly Aim objective for Practice Generation Z : Nursing Student Evaluation on situation Comparing standard Group teaching & Individualcoaching Reflecting Knowledge , skill , Ethical & Regal (Open Mind) (Open Heart) (Open Will) ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561) 25
  • 29. O2O1 1.1 1.2 2.1 2.2 E1 E 2L2L1 1 กิจกรรมต้องให้มีมุมมอง ของการเรียนรู้ มากกว่า 1 ประสบการณ์เสมอ จึงต้องกำหนด วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์รอง Development Individual Experience Good Experience Ox Diversity Experience Plan Do Studies Do Studies PlanAdjudgements Adjudge มุ่งอธิบายสมรรถนะรายวิชา/ สมรรถนะชั้นปี x.x x.x ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561) แนวคิดการออกแบบกิจกรรมเพื่อการสอนวิชาการปฏิบัติการพยาบาล สำหรับนักศึกษาพยาบาล Generation Z 26
  • 30. วัตถุประสงค์วัดพฤติกรรม กับ บทบาท 4 มิติของพยาบาล ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com27 สั้น ชัดเจน เฉพาะเจาะจง บ่งชี้ว่าผู้เรียนต้องทำอะไรได้ บอกวิธีการวัด/เกณฑ์/เวลาที่วัด ป้องกันสุขภาพ ส่งเสริม ช่วยแพทย์รักษา ฟื้นฟู พยาบาล (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี, 2561)
  • 31. การเขียนวัตถุประสงเพื่อวัดพฤติกรรม ด้วยวิธี A B C D(Heinich et al., 1996) A B C D Audience Behaviour Condition Degree ผู้เรียน พฤติกรรม ที่วัดได้ เงื่อนไข/ สถานการณ์ ระดับเกณฑ์ ที่ยอมรับได้ ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com28 เพื่อประยุกต์ใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลบุคคลที่มีปัญหาสุขภาพ : เฉียบพลัน / ฉุกเฉิน / วิกฤต / เรื้อรัง / ส่งเสริมสุขภาพ (กลุ่มโรค) บุคคล ครอบครัว ชุมชน ภาย ใต้การวิเคราะห์ปัจเจกบุคคล จิตใจ สังคม-วัฒนธรรม เศรฐกิจ และจิตวิญญาณ
  • 32. ทบทวนกระบวนการพยาบาลและการนำไปใช้ ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com29 Nursing Assessment Nursing Diagnosis Nursing Planing Implementation of Nursing care plan Evaluation 1. เก็บข้อมูล : SD, O D ค ร อ บ ค ลุ ม ร่างกาย จิตใจ สังคม วัฒนธรรม และจิตวิญญาณ 2. รวบรวมข้อมูล : G o r d o n ’ s , Maslow’s, Roy’s. Orem’s……… 3. ตรวจสอบความ สมบูรณ์ของข้อมูล 4. วิเคราะห์ข้อมูล หาปัญหาสุขภาพ 5. บันทึกข้อมูล: SD “……..” OD …….. NANDA => PES แบ่งออกเป็น 5 ประเภท 1. Actually 2. Risk 3. Possible 4. Wellness : 4.1 แสดงความต้อง การให้สุขภาพดีขึ้น “รับประทานยาได้ถูก ต้องจาก....” 4.2 แสดงถึงการทำ หน้าที่ได้อย่างมีประ สิทธิภาพ “มีความพร้อม........” 5. Syndrome : เขียน ร่วมกับ Actually และ Risk ..PES จะรวมปัจ จัยและพยาธิสภาพด้วย Ex. “อาการปวดเจ็บจากสูญเสียขา” แบ่งออกเป็น 4 ขั้นตอน 1.จัดลำดับความสำคัญ เร่งด่วน 2.กำหนดผลลัพธ์ที่คาด หวัง/ เกณฑ์การประเมิน 3 . เ ลื อ ก กิ จ ก ร ร ม ก า ร พยาบาลที่สอดคล้อง 4.เขียนแผนการพยาบาล แบบองค์รวม **พร้อมอธิบายเหตุผล Intervention Rational 1) …………. …………. 2) …………. …………. 3) …………. …………. …………. …………. …………. …………. N) …………. …………. Expectation 1 ให้การพยาบาล ตามข้อที่ 1) 2) 5) 7) 11) Expectation 2 ให้การพยาบาล ตามข้อที่ 1) 4) 5) 9) 10) 11) Expectation 3 ให้การพยาบาล ตามข้อที่ 1) 2) 3) 4) 5) 11) ………………….. Expectation N ให้การพยาบาล ตามข้อที่ .............. คงอยู่ เลื่อนไหล หมดไป (เลวลง/ดีขึ้น) - พิจารณาการ ดำเนินของโรค/ แผนการรักษา ซึ่งต้องใช้เวลา นาน: ปรับกิจ กรรมการพยา บาลบางส่วน - พิจารณาการ ดำเนินของโรค/ แผนการรักษา ปรับเพิ่มกิจ กรรมการพยา บาลให้สอด คล้องกับ แผน การรักษา (กลั่นกรองสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี/ ประยุกต์จาก NANDA, 2014)
  • 33. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com กระบวนการพยาบาลที่ต้องออกแบบให้นักศึกษาพยาบาล Gen Z ได้ศึกษา The best of Nursing Diagnosis (ดัดแปลงจาก ชัชวาล วงค์สารี และ อรนันท์ หาญยุทธ, 2557 ) 30 ปัญหาสุขภาพ/ การเจ็บป่วย :บุคคล ครอบครัว ชุมชน ปัญหาเเละข้อมูลนั้นต้อง ตรวจสอบได้ภายใต้การบันทึกเเละการ อ้างอิงตามหลักฐานเชิงประจักษ์ที่ ครอบคลุมในสถานการณ์จริง ปฏิบัติและ ประเมินผลได้ภายใต้ ขอบเขตหน้าที่ตามกฏ หมายกำหนด ผลลัพธ์ ที่เกิดขึ้นบ่งชี้ถึง “พยาบาล” เกิดจาก การตัดสินใจของ “พยาบาล” สนับสนุนด้วย ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน/ปัญหา ที่เสี่ยงในอนาคต
  • 34. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ข้อเท็จจริงที่เกิดขึ้น คือ ผู้สอนคิดมาก (เตรียมการสอนเยอะ) ผู้เรียน.... (เดินขึ้นตึก ลงตึกตามเวลา) กระแสคำพูดจากครูพยาบาล : เด็กรุ่นใหม่คิดไม่เป็น กระบวนการคิดไม่มี คิดเชื่อมโยงได้น้อยมาก ปัญหาจากการจัดการเรียนการสอนภาคปฏิบัติสำหรับ นักศึกษาพยาบาล Gen. Z ??? “วิธีเรียนรู้และวิธีสร้างความรู้ : เป็นกระบวนทัศน์ ทางสติ อันจะก่อเกิดปัญญาของมนุษย์” 31
  • 35. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ครูต้องคิดให้มากคือสิ่งที่ถูกต้องเเล้ว 32
  • 36. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com วิธีการสอน ข้อดี หลักการ วิธีการ 1. การให้ ผลสะท้อนกลับ ผู้เรียนทราบว่า สิ่งใดเป็นจุดอ่อน จุด แข็งในการปฏิบัติ ของตน เน้นการอภิปรายการ กระทำ ไม่ตำหนิ กระชับในเนื้อหาที่สะท้อ นเเละต้องเป็นเวลาที่ เหมาะสม 1. ให้ผู้เรียนได้พูดและรับฟังอย่างตั้งใจให้ผู้ เรียนได้สะท้อนพฤติกรรมของเขามากที่สุด 2. อยู่บนพื้นฐานของความซื่อตรงและ ห่วงใย ควรเป็นสิ่งที่ผู้สะท้อนกลับได้ประสบ พบเห็นจากผู้เรียนจริง 3. หยุดการสะท้อนและเปิดใจกว้างรับฟัง เหตุผลพร้อมความรู้สึก เมื่อผู้รับข้อสะท้อนไม่ ยอมรับหรือยกเลิกการให้ข้อสะท้อนกลับเมื่อผูู้รับ การสะท้อนกลับไม่พร้อมรับฟัง 2.การเรียน รู้ร่วมระหว่างผู้ ส อ น เ เ ล ะ ผู้ เรียน 1.ช่วยให้ผู้เรียนลด ความประหม่า 2. กระตุ้นให้เกิด ทัศนคติที่ดีจากตัวเเบบ ในการเรียนรู้ 1.ใช้สิ่งที่อำนวยความ สะดวกเท่าที่จะทำได้ใน สภาพที่เป็นจริง 2. ผู้สอนควรเตรียมผู้ ป่วยก่อน เเละลงมือ ศึกษาผู้ป่วยร่วมกับผู้ เรียน 1. เตรียมผู้ป่วย / คัดสรรนักศึกษาเป็นราย บุคคล 2. ครูเเละนักศึกษาไปเตรียมอุปกรณ์พร้อมกัน โดยให้นักศึกษาพูดลำดับการเตรียมก่อน 3. ให้นักศึกษาอธิบายวิธีการปฏิบัติให้ฟัง ก่อน 4. ครูเเละนักศึกษาเข้าให้การพยาบาลพร้อม กันเเละให้คำเเนะนำต่อผู้ป่วยเเบบส่งเสริม เชื่อมโยงกัน วิธีการสอนบนคลินิกที่เหมาะสมกับนักศึกษาพยาบาล Generation Z 33 (ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
  • 37. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com วิธีการสอน ข้อดี หลักการ วิธีการ 3.การจัด การเรียนการ ส อ น แ บ บ กลุ่มย่อยใน คลินิก ผู้เรียนทราบว่าสิ่งใดเป็น จุดอ่อน จุดแข็งในการปฏิบัติ ของตน 1 . ผู้ เ รี ย น ไ ด้ ประสบการณ์ที่หลากหลาย เเละทั่วถึง ในเวลาอันสั้น 2. มีการสรุปความคิด รวบยอดสู่/ ผลงาน/ ผล การปฏิบัติสู่กลุ่มอื่น 1. ต้องกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนรู้และ หน้าที่ที่ต้องกระทำเป็นรายบุคคลอย่างชัดเจน 2. ต้องทำให้นักศึกษามีความกระตือรือร้นที่จะ เรียน ให้ความร่วมมือกันในกลุ่ม และสร้างผังความ คิดจากการเรียน 3. ต้องมีการสะท้อนกลับผลการเรียนรู้ก่อนลง เวร เป็นกลุ่มเพื่อกระจายสู่บุคคลอื่น 4 . ก า ร ส อ น ข้ า ง เ ตี ย ง ใ น คลินิก ผู้สอนสามารถใช้การสอนนี้ เพื่อสอนผู้เรียนได้พัฒนาตนใน ทุกๆด้าน ได้แก่ ด้านทักษะทาง คลินิก ทักษะการสื่อสาร การ วิเคราะห์ปัญหาทางคลินิก หัตถการทางคลินิก การแปลผล การตรวจ ทัศนคติ จริยธรรม 1.ใช้สิ่งที่อำนวยความ สะดวกเท่าที่จะทำได้ใน สภาพที่เป็นจริง 2. ผู้สอนควรเตรียมผู้ป่วย ก่อน 3.ให้นักศึกษาได้ปฏิบัติโดย การใช้ความรู้เเละทักษะที่มี 4. ครูสังเกตและช่วยทันที ที่นักศึกษาสะดุด 1. การสอนโดยการแสดง 2. การสอนโดยชี้แนะ 3. การสอนโดยการสังเกต 4. สอนจากการศึกษาเเฟ้มประวัติ วิธีการสอนบนคลินิกที่เหมาะสมกับนักศึกษาพยาบาล Generation Z 34 (ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
  • 38. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การสร้างรูปแบบการสอนสะท้อนคิดบนคลินิก สำหรับนักศึกษาพยาบาล Generation Z สอนตรง บทเรียนแนะนำ ผสมผสาน มโนทัศน์ / วัตถุประสงค์ของรายวิชา..... แนะนำ สะท้อนคิด อธิบาย & สาธิต & ปฏิบัติทักษะการพยาบาล สะท้อนคิด สังเกตอย่างเป็นขั้นตอน ทบทวน + สะท้อนคิด ประเมินผล อธิบาย & สาธิต ทบทวน ปฏิบัติทักษะการพยาบาล นิรนัยอุปนัย อธิบาย & สาธิต & ปฏิบัติทักษะการพยาบาล นำไปใช้ กระบวนการคิด, ทักษะการปฏิบัติการพยาบาล, ทักษะทางปัญญา, ผลลัพธ์การประปฏิบัติ ทักษะการคิด กระบวนการคิดลักษณะการคิด 35 (ทำไปพร้อมกัน) (ประยุกต์จาก ชนาธิป พรกุล,2557)
  • 39. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ตัวอย่างโมเดลการสอนบนคลินิกสำหรับนักศึกษาพยาบาล Gen Z Openmind Openwill Open heart Clinical competency/ Communication clear Holistic care team Unity in diversity culture Technology skill Chart mind mapping Humanized design Accountability/ Attitude/ Altruistic Value Appreciation Apply knowledge to improvement skill Resilient/ Reflecting of content, feeling, ethical and regal to practicum skill Nobleness professional กรอบเเนวคิดการวิจัย "การพัฒนาทักษะการพยาบาลผู้ใหญ่เเละผู้สูงอายุตามมุมมองของนักศึกษา พยาบาล Generation Z โดยใช้ชัชวาลโมเดล” (ชัชวาล วงค์สารี ,2560) รูป … “CHUTCHAVARN” model หรือ Model รูปตัว “N” 37
  • 40. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ข้อค้นพบ ทางบวก สามัคคีในวัฒนธรรมที่ หลากหลาย/ปรับตัวได้ ความรักในทีม/ รักษาความลับของทีม ฝึกทักษะทางกาพยาบาล/ การสื่อสารที่ครบถ้วน ชัดเจน/ กติกาข้อตกลง เปิดจิตที่จะยอมรับ เปิดใจที่จะเรียนรู้ การสืบค้น/การวิเคราะห์ ข้อมูลเชิงประจักษ์/ การออกแบบ ผังความคิด/การคิดวิจารณญาณ การพยาบาลด้วยหัวใจ ความเป็นมนุษย์ทั้ง 4 มิติ มีความรับผิดชอบในการกระทำ/ เห็นเเก่ผู้อื่นก่อนตน/ ทัศนคติดี ต่อวิชาชีพ ประยุกต์ความรู้/ ค้นหา ความรู้เพื่อการปฏิบัติ/ สร้างนวัตกรรม มีความยืดหยุ่น/ คิดเชื่อ โยงเเบบมีวิจารณญาณ/ เข้าใจในบทบาท / ขอบเขตของวิชาชีพ เห็นคุณค่าของตนเอง/ เห็นคุณค่าของคนอื่น/ เห็นคุณค่าของวิชาชีพ เปิดเจตจำนงฝึกทักษะ ส่วนใหญ่มีความสุขกับการฝึกปฏิบัติ นศ. ต่างเชื่อว่าตนเองจะเป็น พยาบาลวิชาชีพที่มีคุณธรรม จริยธรรม ภายใต้ทักษะการเรียนรู้ชัชวาลโมเดล จากการใช้ “CHUTCHAVARN” model หรือ Model รูปตัว “N” ในการสอนบนคลินิก : นักศึกษาพยาบาล Generation Z 38
  • 41. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ข้อค้นพบ ทางลบต่อ ใจครู จากการใช้ “CHUTCHAVARN” model หรือ Model รูปตัว “N” ในการสอนบนคลินิก : นักศึกษาพยาบาล Generation Z ความคิดวิจารณญาณ ? การเขียน เชิงวิชาการ พูดอธิบาย เชิงวิชาการ ทักษะ การปฏิบัติ ทักษะ การสืบค้น คุณธรรม จริยธรรม ครั้งที่ 1 2 3 4 . . . n ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด ถูกและผิด ถูก ถูก ถูก ถูก ถูกและผิดถูก ถูก ถูก ถูก ผิดถูก ถูก ถูก ถูก ถูก ถูก ถูก ถูก ถูก . . . . . . . . . . . . . . . 39
  • 42. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com รูปแบบผังความคิด (Chart mind mapping) ที่เหมาะสม กับการเรียนรู้เเบบผู้ใหญ่ : ส่งเสริมการคิดเเบบมีวิจารณญาณ 1. Data collection and problem Identification : 1.1) General appearance ……………………………………V/S , BMI 1.2) Patient data report : CC, PI, Hx 2. Nursing Assessment : Mental + Physical Examination [ OD, SD] 3. Chart data recording Doctor order One Day Continuous Laboratory record Radiation & EKG record 4. Nursing Identification and Application data Medical diagnosis Nursing diagnosis Problem collaborative Dx.1 Dx.2 Dx.3 Nx.1……….NX.n Nx.2……….NX.n Nx.3……….NX.n Ex. - Anxiety -Ineffective role’s performance 40
  • 43. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com รูปแบบผังความคิด (Chart mind mapping) ที่เหมาะสม กับการเรียนรู้เเบบผู้ใหญ่ : ส่งเสริมการคิดเเบบมีวิจารณญาณ (ต่อ) 4. Comparing case Studies with Evident based 1) 2) 3) . . เป็นไปตาม ข้อที่ ......... - อุบัติการณ์ เเละผลกระทบ: ............................................ สาเหตุ ปัจจัยส่งเสริม อาการ การวินิจฉัย วิธีการรักษา 1) 2) 3) . . 1) 2) 3) . . 1) 2) 3) . . 1) 2) 3) . . เป็นไปตาม ข้อที่ ......... เป็นไปตาม ข้อที่ ......... เป็นไปตาม ข้อที่ ......... เป็นไปตาม ข้อที่ ......... - อื่นๆที่มีปัญหา/ข้อสงสัย................................................................. (เอกสารอ้างอิง, APA) 41 ทฤษฏีผู้ป่วย
  • 44. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com รูปแบบผังความคิด (Chart mind mapping) ที่เหมาะสม กับการเรียนรู้เเบบผู้ใหญ่ : ส่งเสริมการคิดเเบบมีวิจารณญาณ (ต่อ) 6. Nursing process : Nx, Goal, Expectation , Intervention, Evaluation 5. Drawing Nursing Concept Mapping @ ให้นักศึกษาบอกวิธีการสืบค้นหลักฐานเชิงประจักษ์ วิเคราะห์ ความน่าเชื่อถือเเละการนำมาประยุกต์ใช้ในการดูเเล case @ ให้นักศึกษาวิเคราะห์การออกแบบการสร้างนวัตกรรมเพื่อใช้ใน การดูแล case 7. Reference ให้นักศึกษาได้พูดถึงความรู้สึก ทัศนคติ ความรู้ที่ได้ ความพึงพอใจ ของฝีมือการดูแลเเละสิ่งอยากจะทำให้ดีกว่านี้ 42
  • 45. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ความสามารถแห่งตนกับนักศึกษาพยาบาล Gen Z นักศึกษาพยาบาล Gen Z พฤติกรรม ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เปรียบเทียบความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น การรับรู้ความสามารถแห่งตน ความคาดหวังในผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น สูง สูง ต่ำ ต่ำ มีความพึงพอใจ มีเเรงจูงใจใน การกระทำ มีความมั่นใจ มีเเนวโน้มจะเกิดทักษะ/พฤติกรรม เกิดความท้อแท้ รู้สึกว่าตนเอง ไม่มีคุณค่า ไม่แสดงพฤติกรรม ผล : ไม่เกิดทักษะตามรายวิชา ไม่ยอมรับ ไม่พอใจ ไม่เกิดแรงจูงใจ ไม่มีเเนวโน้มแสดงพฤติกรรม ผล : ทักษะก่อเกิดจากการทำซ้ำๆ ไม่สนใจ หลีกเลี่ยงการฝึกปทักษะ ไม่มีเเนวโน้มที่จะแสดงพฤติกรรม อย่างเเน่นอน คือ (ประยุกต์จาก :Bandura,1997) 43
  • 46. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล Gen Z 1) พฤติกรรมการเลือก คือ การตัดสินใจ เลือกแสดงออกของพฤติกรรมใดๆ เป็นระยะเวลา เท่าใด จะอยู่บนขอบเขตการประเมินตนเองของนักศึกษาคนนั้นๆ 2) เกิดความมุ่งมั่นใจการทำงาน การที่นักศึกษารับรู้ความสามารถแห่งตนเเละไดรับการเสริม เเรงทางบวก นักศึกษาจะเสนอตัวเข้าช่วยงานเเละจะพยายามปฏิบัติทักษะอื่นเพื่อพิสูจน์ ความสามรถของตนเเม้จะใช้เวลาที่ยาวนานเเต่ก็จะกระทำด้วยความเต็มใจ 3) รูปแบบการคิดและการตอบสนองทางอารมณ์ นักศึกษาที่มีระดับการรับรู้ความสามารถแห่ง ตนสูง จะเพิ่มความพยายามและใส่ใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลมากขึ้น แม้จะต้อง เผชิญกับอุปสรรคต่างๆ ซึ่งตรงข้ามกับนักศึกษาที่รับรู้ความสามารถเเห่งตนต่ำ เมื่อต้องเผชิญ กับอุปสรรคเพียงเล็กน้อย จะมีความเครียดสูง ไม่มีความสุขกับการฝึกทักษะ และจะหลีกเลี่ยง การปฏิบัติทักษะ ทำให้เกิดความล้มเหลวในการฝึกปฏิบัติตามมาได้ 4) การกำหนดพฤติกรรมของนักศึกษาเอง นักศึกษาที่มีระดับการรับรู้ความสามารถแห่งตนสูง จะมีความพยายามและยอมรับผลที่เกิดจากการเเสดงพฤติกรรมต่างๆของตนเอง เลือกที่จะกระทำ ในทักษะที่ยากขึ้น ซึ่งตรงข้ามกับนักศึกษาที่รับรู้ความสามารถเเห่งตนต่ำ จะหลีกเลี่ยงการฝึกทักษะ ที่ยาก ซับซ้อน ขาดความมั่นใจ จะเครียดระดับสูงเมื่อต้องกระทำงานที่ยาก นักศึกษากลุ่มนี้มักเชื่อ ว่าโชคชะตามีผลต่อความสำเร็จของงาน (ประยุกต์จาก :Bandura,1986) 44
  • 47. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 1) ประสบการณ์ความสำเร็จในอดีต 2) การรับรู้ประสบการณ์ของผู้อื่น 3) การจูงใจด้วยคำพูด 4) สภาวะทางกายเเละอารมณ์ ปัจจัยที่มีผลต่อการแสดงความสามารถ ของนักศึกษาพยาบาล Gen. Z อิทธิพลของการรับรู้ความสามารถเเห่งตน ต่อการแสดงพฤติกรรม 1) กระบวนการคิด 2) กระบวนการจูงใจ 3) กระบวนการด้านอารมณ์ (ประยุกต์จาก :Bandura,1986) การประเมินก่อนให้นักศึกษาปฏิบัติ 1) ระดับความยากและความซับซ้อนที่จะ ให้นักศึกษาฝึกทักษะ 2) ระดับความมั่นใจของนักศึกษา 3) การประเมินสรุปโดยนัย เชื่อมโยงสู่ การฝึกทักษะอื่นที่คล้ายๆกัน ผลของการรับรู้ความสามารถแห่งตนของนักศึกษาพยาบาล Gen Z 45
  • 48. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com มิติด้านการประเมินผลลัพธ์ เเละการพัฒนาต่อเนื่อง 46
  • 49. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เครื่องมือในการประเมินผลลัพธ์ 1. แบบประเมินตามที่ตกลงใน มคอ. 4 ผลของการจัดการเรียนรู้ ตาม มคอ. 6 2. ร่องรอยจากการสอน/ ชิ้นงาน- คุณภาพงานของนักศึกษา 3. แบบบันทึกข้อตกลงของอาจารย์และนักศึกษารายบุคคลขณะ ขึ้นฝึกปฏิบัติ 4. ผลการประเมินจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง/ ความผิดพลาดจากความ เสี่ยงทางทักษะ 5. คะแนนสอบยืนยันความรู้เเละทักษะหลังจบการฝึกปฏิบัติ 47
  • 50. O2O1 1.1 1.2 2.1 2.2 E1 E 2L2L1 1 กิจกรรมต้องให้มีมุมมอง ของการเรียนรู้ มากกว่า 1 ประสบการณ์เสมอ จึงต้องกำหนด วัตถุประสงค์หลัก วัตถุประสงค์รอง Development Individual Experience Good Experience Ox Diversity Experience Plan Do Studies Do Studies PlanAdjudgements Adjudge Pre-test Post-test โค้งพัฒนาการ มุ่งอธิบายสมรรถนะรายวิชา/ สมรรถนะชั้นปี ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com x.x x.x 48
  • 51. Learner of Attitude, Experience and Skill Expectation and Goals Communications Clearly Aim objective for Practice Generation Z Nursing Student Evaluation on situation Comparing standard Group teaching & Individualcoaching Reflecting Knowledge , skill , Ethical & Regal (Open Mind) (Open Heart) (Open Will) - ทบทวนทฤษฎี - ฝึกทักษะการคิด - Oral test - ฝึกให้สังเกตเเบบเป็นระบบ - Mapping เชื่อมโยง - สืบค้นข้อมูลเชิงประจักษ์ - บอกเกณฑ์คะเเนน - เน้นกระบวนการกลุ่ม - ฝึกทักษะการสื่อสาร - ฝึกวิเคราะห์ผลการตรวจ ร่างกาย - ฝึกทักษะการปฏิบัติการ พยาบาล : individual - ฝึ ก ก า ร เ เ ก้ ไ ข ปั ญ ห า เฉพาะหน้า - Mapping Case Study - Oral test - ประเมินผลระหว่างทาง - นศ. ประเมินครู/ ตนเอง/เพื่อน - ครูบอกระดับคะแนน ที่ นศ. ได้ ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com - ชี้เเนะเเบบติเพื่อก่อ ให้ตรงประเด็น49 - ครู/นศ . บอกวิธีการพัฒนา ตนเอง เเละทัศคติใหม่ของตน - Monitoring New Behaviour
  • 52. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Comprehensive Oral test : บ่งบอกถึงการ คิดแบบวิจารณญาณบนพื้นฐานการพยาบาล องค์ประกอบ กระบวนการ มาตรฐาน จุดหมาย ระบุ ชัดเจน ปัญหา วิเคราะห์ ถูกต้อง ครอบลุม การตีความ ประเมิน แม่น ตรงประเด็น ความคิด รวบยอด วิเคราะห์ ลึกซึ้ง ถูกต้อง สมมติฐาน ประเมิน ถูกต้อง ชัดเจน ความคิดเห็น วิเคราะห์ เเม่นตรง มีเหตุผล สิ่งที่เกี่ยวข้อง /ผลกระทบ ประเมิน กว้าง ลึก มีเหตุผล (ประยุกต์จาก ชนาธิป พรกุล,2557) 50 ไม้บรรทัด อยู่ในตัวท่าน Nursing Process Creative Thinking
  • 53. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com คุณเห็นมองเห็นเป็นภาพอะไร 51
  • 54. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ………….สิ่งที่เป็นจริงสิ่งที่คุณเห็น......??? 52
  • 55. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เห็นอะไรที่เหมือนกัน....อะไรที่เเตกต่างกัน 53
  • 57. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เห็นอะไรที่เหมือนกัน....อะไรที่เเตกต่างกัน 55
  • 58. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com “ความรับผิดชอบบนพื้นฐานการเกื้อกูล คือสิ่งที่เราต้องมีร่วมกัน” 56
  • 59. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ข้อเสนอเเนะ 10 ประการในการจัดการศึกษาบนคลินิก ให้ประสบผลสำเร็จในผู้เรียนยุค Generation Z 1. เปลี่ยนรูปแบบการสอน ไม่ให้นักศึกษาใช้สมองไปกับการ ท่องจำ 2. สั่งงานให้สร้างสรรค์ โดยให้ออกแบบเเนวคิด วิธีเเก้ปัญหา ใหม่ๆ 3. ไม่ตั้งคำถามมากเกินไป โดยเฉพาะคำถามที่มีคำตอบตายตัว 4. กระตุ้นให้ผู้เรียนตั้งคำถามเพื่อหาคำตอบด้วยตนเองใน สถานการณ์ที่กำลังศึกษา 5. ให้เทคนิคการสืบค้น ชี้เเนะเเหล่งข้อมูลที่เป็นประโยชน์อย่าง ต่อเนื่อง 57 (ชัชวาล วงค์สารี, 2558)
  • 60. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ข้อเสนอเเนะ 10 ประการในการจัดการศึกษาบนคลินิก ให้ประสบผลสำเร็จในผู้เรียนยุค Generation Z (ต่อ) 6. ค้นหาจุดอ่อน จุดแข็งผู้เรียน ใช้กระบวนการกลุ่มเเบบเพื่อนช่วย เพื่อนให้มากขึ้น / งานที่มอบหมายต้องก่อเกิดการคิดวิเคราะห์เชิงสร้าง สรร กำหนดเวลาแบบยืดหยุ่น ครูให้ปรึกษา ร่วมเเก้ไขงานจนกว่าจะ สมบูรณ์ 7. กำหนดให้มีการทบทวนความรู้จากการปฏิบัติ ทดสอบ Oral Test พร้อมชี้แนะให้ตรงประเด็น อย่างต่อเนื่อง 8. หากมอบหมายงานกลุ่มต้องให้กลุ่มเป็นผู้ร่วมประเมินรายบุคคลซึ่ง เป็นสมาชิกของกลุ่มด้วย 9. ใช้ IT มาออกเเบบการศึกษาให้เกิดประโยชน์สูงสุดทุกรูปแบบ 10. ให้สรุปสาระสำคัญหลัก พร้อมย้ำการนำไปประยุกต์ใช้ ก่อนสิ้นสุด การฝึกปฏิบัติทุกครั้ง (ชัชวาล วงค์สารี, 2558) 58
  • 61. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เอกสารอ้างอิง 1. ชัชวาล วงค์สารี .(2559). แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาล ศาสตร์. สไลด์ประกอบการบรรยายแก่ครูพี่เลี้ยงประจำเเหล่งฝึกปฏิบัติ คณะพยาบาล ศาสตร์ มหาวิทยาลัยคริสเตียน.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://www.teacher.ssru.ac.th/ chutchavarn_wo/ (10 มกราคม 2561) 2. ชัชวาล วงค์สารี .(2558). การสอนบนคลินิกในรายวิชาการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่ และผู้สูงอายุสำหรับนิสิต Generation Z . วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี กรุงเทพ , 31( 2): 130 - 140. 3. ชัชวาล วงค์สารี .(2561). นานาทัศนะการจัดการศึกษาพยาบาลยุคคน Generation Z. [ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://chutchavarn.blogspot.com (15 มกราคม 2561) 4. Bloom, B., Englehart, M. Furst, E., Hill, W., & Krathwohl, D. (1956). Taxonomy of educational objectives: The classification of educational goals. Handbook I: Cognitive domain. New York, Toronto: Longmans, Green. 5. Dave, R. H. (1975).  Developing and Writing Behavioural Objectives.  (R J Armstrong, ed.) Educational Innovators Press. 6. Hummert M, L. (2011). Age Stereotypes and Aging. in Handbook of the psychology of Ageing (seven edition): A volume in Handbooks of Aging Pages 249–262. 7. ชัชวาล วงค์สารี. (2559a). การพยาบาลอายุรศาสตร์-ศัลยศาสตร์โรคไตและระบบทาง เดินปัสสาวะ.กรุงเทพ : เอ็น พี เพรส จำกัด. 59
  • 62. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เอกสารอ้างอิง 8. Heinich, R. et al. (1996). Instructional Media and Technologies for Learning. New Jersey: Prentice Hall, inc. 9. ชัชวาล วงค์สารี และ อรนันท์ หาญยุทธ .(2557). การใช้กระบวนการพยาบาลในการ ดูแลผู้ป่วยไตวายระยะสุดท้ายที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม. วิทยาลัยพยาบาลตำรวจ,6 (2): 220 - 233. 10. ชัชวาล วงค์สารี. (2560).การพัฒนาทักษะการพยาบาลผู้ใหญ่เเละผู้สูงอายุตามมุม มองของนักศึกษาพยาบาล Generation Z โดยใช้ชัชวาลโมเดล. รายงานการวิจัย. (อัด สำเนา) 11. Bandura, A. (1977). Social learning theory. New Jersey: Prentice Hall.
 12. Bandura, (1986). The self-system in reciprocal determinism. American Psychologist, 33(4), 344-358. 13. ชนาธิป พรกุล. (2557). การสอนกระบวนการคิด ทฤษฎีและการนำไปใช้. พิมพ์ครั้งที่ 3 . กรุงเทพ : สำนักพิมพ์เเห่งจุฬาลงกรณ์. 14. รุ่งนภา จันทรา และ อติกาญณ์ ศรเกษตริน. (2560). ทักษะการเรียนรู้ศวรรษที่ 21 ของ นักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์ธานี. วารสารเครือข่ายวิทยาลัย พยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้, 4 (1) : 180 - 190. 15. Herdman, T.H. & Kamitsuru, S. (Eds.). (2014). NANDA International Nursing Diagnoses: Definitions & Classification, 2015–2017. Oxford: Wiley Blackwell. 60
  • 63. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง ชัชวาล วงค์สารี .(2561).การเรียนรู้แบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้เเละเข้าใจ นักศึกษาพยาบาลยุคเจเนเรชั่นแซด.สไลด์ประกอบการสอนการบรรยาย เเก่คณาจารย์และครูพี่เลี้ยง, วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุราษฏร์ ธานี.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก http://chutchavarn.blogspot.com (6 กุมภาพันธ์ 2561) 61