SlideShare a Scribd company logo
แผนภูมิครอบครัว (The Family Genogram)
นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ
หนวยเวชศาสตรครอบครัวและชุมชน
ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร
แผนภูมิครอบครัวคืออะไร
แผนภูมิครอบครัวเปนเครื่องมือที่แพทยและบุคลากรการแพทยใชเพื่อสรุปขอมูลครอบครัว
ของผูปวยใหเหลือเพียงหนึ่งหนากระดาษ โดยแผนภูมิครอบครัวมีขอมูลดานพันธุกรรมและขอมูล
ความเสี่ยงตอการเจ็บปวยทั้งดานรางกาย จิตใจ สังคม และความสัมพันธระหวางสมาชิกใน
ครอบครัว ในภาษาในภาษาไทย มีคําเรียกแผนภูมิครอบครัวหลายคําไดแก ผังครอบครัว ผังเครือ
ญาติ สําหรับภาษาอังกฤษ ไดแก family tree, family pedigree และ genealogic chart
แผนภูมิครอบครัวจะตองสามารถบอกความเสี่ยงทางพันธุกรรมไดชัดเจน และสามารถ
บอกแนวโนมการเจ็บปวยอื่นซึ่งพบไดบอยในสมาชิกของครอบครัว นอกจากปญหาทางดาน
พันธุกรรมแลวผังครอบครัวยังสามารถเชื่อมโยงกับปจจัยทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม ลักษณะ
และพฤติกรรมของครอบครัว ที่จะสามารถทํานายปญหาในอนาคตของครอบครัวได ตัวอยางโรคที่
เห็นแนวโนมความเสี่ยงไดชัดจากการเขียนแผนภูมิครอบครัว ไดแก โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคหอบ
หืด
แผนภูมิครอบครัวประกอบไปดวยปญหาความเจ็บปวยซึ่งมีผลกระทบตอสมาชิกใน
ครอบครัว เพื่อใหภาพดังกลาว จึงควรมีขอมูลตั้งแต 3 ชั่วอายุคนของครอบครัวขึ้นไป โดยอุปสรรค
ในการนําแผนภูมิครอบครัวมาใชในเวชปฏิบัติไดแกตองใชเวลาในการเขียน โดยจากการศึกษา
พบวาในการเขียนแผนภูมิครอบครัวที่สมบูรณใชเวลาตั้งแต 9 ถึง 30 นาที เวลาเฉลี่ยคือ 16 นาที
แตอยางไรก็ตามการเขียนแผนภูมิครอบครัว ไมจําเปนตองเขียนใหเสร็จในครั้งเดียวของการพบ
ผูปวย สามารถเพิ่มเติมขอมูลในแผนภูมิครอบครัวในการพบกับผูปวยในครั้งตอๆไป หากใช
แนวทางนี้แพทยและบุคลากรการแพทยก็จะสามารถใชเวลาสวนหนึ่งในการเขียนผังครอบครัวได
จากประสบการณของแพทยที่ใชผังครอบครัวในเวชปฏิบัติพบวาคุมคากับเวลาที่ใชในการ
เขียน เพราะนอกเหนือจากทําใหทราบขอมูลการเจ็บปวยของผูปวยและสมาชิกในครอบครัวแลว
ยังทําใหรูจักและเปนการสรางความสัมพันธระหวางแพทยและผูปวยดวย
การเขียนแผนภูมิครอบครัว
วัตถุประสงคของการเขียนแผนภูมิครอบครัวก็เพื่อใหเห็นภาพของครอบครัว และแนวโนม
การเกิดโรคหรือความเจ็บปวย เพื่อใหเห็นภาพดังกลาว จึงจําเปนตองมีการใชสัญลักษณตางๆ เพื่อ
สื่อความหมายใหตรงกัน สัญลักษณที่ใชควรเปนสัญลักษณมาตรฐาน และเขาใจไดงาย
เมื่อใดจะเริ่มวาดแผนภูมิครอบครัว
เมื่อเห็นวาการดูแลผูปวยรายนั้นๆมีความจําเปนตองเจาะลึกถึงประวัติสวนตัว ประวัติ
ครอบครัว สภาพแวดลอมรอบตัว เพื่อการดูแลสุขภาพที่ตอเนื่องแบบองครวม ในการซักประวัติ
แบบเดิมก็มีประวัติสวนตัวและครอบครัวอยูแลว เพียงแตเปลี่ยนมาบันทึกเปนรูปภาพแทน
ตัวหนังสือ ดังนั้นแผนภูมิครอบครัวจึงสามารถใชไดตั้งแตผูที่มาขอตรวจสุขภาพประจําป ไปจนถึง
ผูปวยที่มีความซับซอนของโรคและความเจ็บปวย
องคประกอบของแผนภูมิครอบครัว
1. วาดขอมูลครอบครัวอยางนอย 3 ชั่วอายุคน
2. ใสชื่อของสมาชิกทุกคนในครอบครัว
3. ใสอายุ (หรือปเกิด) ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว
4. ใสอายุและสาเหตุการตายของสมาชิกในครอบครัว ถามี
5. ระบุโรคหรือปญหาความเจ็บปวยที่สําคัญของสมาชิกในครอบครัว
6. วาดวงลอมรอบสมาชิกที่อาศัยอยูในบานเดียวกัน พรอมชี้วาผูปวยอยูที่ตําแหนงใดของแผนภูมิ
7. ระบุวันที่ของการแตงงานหรือหยารางของสมาชิกในครอบครัว
8. เรียงสมาชิกที่เกิดตามลําดับกอนหลัง จากซายไปขวา
9. ถาทราบความสัมพันธภายในครอบครัว ใหวาดสัญลักษณแสดงความสัมพันธดวย พรอมทั้งมี
คําอธิบายสัญลักษณที่ซับซอน
10. วันเดือนป ที่เขียนหรือปรับปรุงแผนภูมิครอบครัว
สัญลักษณมาตรฐานในการเขียนแผนภูมิครอบครัว
ชาย แตงงานและปที่แตง
หญิง หยาและปที่หยา
หรือ
ตาย แยกกันอยูและป
หรือ
ผูปวย อยูดวยกันและป
ชาย 2 คน
หญิง 3 คน
วงลอมรอบสมาชิก
ที่อยูบานเดียวกัน
4 คน ไมทราบเพศ ทะเลาะหรือขัดแยง
แทงเอง หางเหินกัน
ทําแทง สนิทกัน
กําลังตั้งครรภ
หรือ ทารกใน
ครรภ
สนิทกันมาก พิเศษ
แฝดตาง ควบคุม เหนือกวา
แฝดเหมือน ใชความรุนแรง
บุตรบุญธรรม สมรสไมลงรอยกัน
ปที่เกิด
ชื่อ
สมรสไมลงรอยและ
มีคนอื่น
อายุ (หรือป) ที่
ตาย
หยาราง และมารดา
เลี้ยงดูบุตร
ปที่เกิด และ ตาย
สาเหตุการตาย
สมรสและเคยแตงงาน
การอานแผนภูมิครอบครัว
แพทยเวชศาสตรครอบครัวและนักครอบครัวบําบัดจะสามารถอานและแปลผลแผนภูมิ
ครอบครัวไดโดยใชเวลาไมนาน สําหรับบุคลากรทางการแพทยอื่น แพทยประจําบาน และนักเรียน
แพทยแลว การเรียนรู ฝกอานอยางเปนระบบ จะทําใหอานไดดีขึ้นและสามารถนําไปใชในเวช
ปฏิบัติได
การอานแผนภูมิครอบครัว
ตองอานใหครบทั้ง 4 องคประกอบ ไดแก
1. โครงสราง (Structure)
หมายถึงองคประกอบของครอบครัวของผูปวยหลักที่เราสนใจ สถานภาพสมรส (โสด
แตงงาน แยกกันอยู หยาราง และหมาย) และบทบาทการเปนพอแม (ไมมีบุตร หรือ มีบุตรของ
ตนเอง บุตรบุญธรรม บุตรของสามีหรือภรรยา) โดยในการอานตองบอกโครงสรางชนิดตางๆของ
ครอบครัวได ซึ่งไดแก คนโสด (single adult) บิดาหรือมารดาเลี้ยงดูบุตรโดยลําพัง (single
parent) คูสมรสที่ไมมีบุตร (childless couple) ครอบครัวเดี่ยว (nuclear family) ครอบครัวขยาย
(extended family) ทั้งหมดที่กลาวมา เปนโครงสรางของครอบครัวที่พบไดในแผนภูมิครอบครัว
ทั่วไป แตอาจมีลักษณะครอบครัวบางแบบที่ตางออกไป เชนบุคคลอยูดวยกันโดยไมไดสมรส หรือ
ไมไดมีความผูกพันเปนครอบครัว
2. ขอมูลทั่วไปของครอบครัว (Family Demographic Information)
ประกอบไปดวยเชื้อชาติ การศึกษา และอาชีพ โดยผูอานควรมีการเปรียบเทียบขอมูลทั้ง 3
ปจจัยนี้ระหวางผูปวยหลักที่เราสนใจกับสมาชิกคนอื่นๆในครอบครัว
3. เหตุการณของครอบครัว (Family Life Event)
ตัวอยางของเหตุการณหลักของครอบครัวที่ควรบันทึก ไดแก การแตงงาน การแยกกันอยู
การหยาราง การเกิด การตาย ปญหาดานสังคมและสุขภาพ นอกจากนี้ยังควรบันทึกเหตุการณอื่น
ที่นาสนใจเชน การออกจากโรงเรียน การเปลี่ยนงาน การหนีออกจากบาน โดยควรระบุเวลา เพื่อให
เห็นลําดับขั้นของเหตุการณ และสามารถเห็นผลที่ตามมาของเหตุการณได
4. ปญหาทางสังคมและสุขภาพ (Social and Health Problems)
ผูอานแผนภูมิครอบครัวควรระบุทั้งชนิด และจํานวนของปญหาที่พบ และพิจารณาวามี
การเกิดซ้ําๆ ในสมาชิกของครอบครัวหรือไม
การแปลผลแผนภูมิครอบครัว
การอาน 4 องคประกอบของแผนภูมิครอบครัวขางตน ทําใหทราบขอมูลเบื้องตนของ
ครอบครัว แตไมไดมีการวิเคราะหในเชิงลึก โดยการแปลผลแผนภูมิครอบครัวนี้จะขึ้นกับการ
นําไปใชทางคลินิก ซึ่งมี 3 รูปแบบคือ
1. การประเมิน somatic complaint ของผูปวย ดวยการใช biopsychosocial hypotheses เพื่อจะ
ประเมินวาอะไรเปนเหตุ อะไรเปนผล
2. การประเมินความเสี่ยงของผูปวย ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ เพื่อที่จะวางแผนในการสรางเสริม
สุขภาพทั้งในระดับ primary prevention และ secondary prevention
3. การวางแผนการรักษาผูปวย โดยดูวาปจจัยทางครอบครัวจะมีสวนเกี่ยวของในการดูแลรักษา
มากนอยเพียงใด
ตัวอยางการนําแผนภูมิครอบครัวไปใช
กรณีตัวอยาง
เด็ก 2 คนมาพบแพทยที่คลินิกเด็กดีเพื่อตรวจสุขภาพและรับวัคซีน โดยทั้งสองคนเปนบุตร
บุญธรรม ไมไดเปนบุตรที่แทจริง ถึงอยางไรก็ตาม แพทยไดใหความสนใจกับสุขภาพและการ
เจ็บปวยเรื้อรังของมารดาของเด็กทั้งสอง
โดยแพทยเขียนแผนภูมิครอบครัวได ดังนี้
การอานแผนภูมิครอบครัว
1. โครงสราง: ครอบครัวเดี่ยว มีบุตรบุญธรรม 2 คน
2. ขอมูลทั่วไปของครอบครัว: บิดามารดาจบการศึกษาระดับมัธยมปลาย มารดาเปนบุคลากรทาง
การแพทย แตปจจุบันมีปญหาเรื่องงาน
3. เหตุการณของครอบครัว: ไมมีเหตุการณที่สําคัญในครอบครัว เวนแตปญหาดานสุขภาพของ
Robert คือพัฒนาการณที่ชากวาปกติ และปญหาเรื่องการเจ็บปวยและเรื่องงานของมารดา
4. ปญหาทางสังคมและสุขภาพ: มีประวัติความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคมะเร็งในครอบครัว
การแปลผลแผนภูมิครอบครัว
จากความรูดานระบาดวิทยาและพันธุศาสตร มารดาของเด็กทั้งสองมีความเสี่ยงในการ
เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยเฉพาะในปจจุบัน เธอมีโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะ
อวน นอกจากนี้แลวเธอยังมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคมะเร็ง ดังนั้นการปองกันและการตรวจคัด
กรองมะเร็งจึงมีความจําเปนเปนอยางยิ่ง
จากมุมมองของ stress social พบวามารดารายนี้รับบุตรบุญธรรมที่ยังเล็กมาเลี้ยง
ในขณะที่ตนเองมีปญหาดานสุขภาพ โดยอาจไมไดรับการชวยเหลืออยางเต็มที่จากสามี เนื่องจาก
สามีมีอาชีพขับรถบรรทุกซึ่งอาจเดินทางไปตางจังหวัด หากบุตรทั้งสองมีความตองการในการดูแล
มากขึ้น เชนไมสบาย แลวมารดาไมไดรับการสนับสนุนชวยเหลือจากใครเลย อาจทํามารดาไม
สามารถดูแลสุขภาพของตนเองไดเต็มที่
เอกสารอางอิง
1. Robert E. Rakel, Textbook of Family Practice (6th
edition), Philadelphia: W.B.
Saunders, 2002.
2. สายพิณ หัตถีรัตน, คูมือหมอครอบครัว, กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาน, 2545.

More Related Content

What's hot

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
praphan khunti
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
CAPD AngThong
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Utai Sukviwatsirikul
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็กRofus Yakoh
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
Aiman Sadeeyamu
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
pueniiz
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
Aphisit Aunbusdumberdor
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
Prachaya Sriswang
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
freelance
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
Dr.Suradet Chawadet
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)Weerawan Ueng-aram
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
Chutchavarn Wongsaree
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
Dr.Suradet Chawadet
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
ธัญญชล พงษ์อิ่ม
 

What's hot (20)

การเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdfการเขียนใบสั่งยา65.pdf
การเขียนใบสั่งยา65.pdf
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
22
2222
22
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ติวเด็ก
 ติวเด็ก ติวเด็ก
ติวเด็ก
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
วิชาการพยาบาลผู้สูงอายุ
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับกระดูก (Orthopedics nursing problem)
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
Ch 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triageCh 8 basic emergency medical service and triage
Ch 8 basic emergency medical service and triage
 
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sssบันทึกการเยี่ยมบ้าน  ตามแนวทาง  In  home  sss
บันทึกการเยี่ยมบ้าน ตามแนวทาง In home sss
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)คู่มือ ICD (Chest drain)
คู่มือ ICD (Chest drain)
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

Genogram

  • 1. แผนภูมิครอบครัว (The Family Genogram) นพ.กฤษณะ สุวรรณภูมิ หนวยเวชศาสตรครอบครัวและชุมชน ภาควิชาเวชศาสตรชุมชน มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร แผนภูมิครอบครัวคืออะไร แผนภูมิครอบครัวเปนเครื่องมือที่แพทยและบุคลากรการแพทยใชเพื่อสรุปขอมูลครอบครัว ของผูปวยใหเหลือเพียงหนึ่งหนากระดาษ โดยแผนภูมิครอบครัวมีขอมูลดานพันธุกรรมและขอมูล ความเสี่ยงตอการเจ็บปวยทั้งดานรางกาย จิตใจ สังคม และความสัมพันธระหวางสมาชิกใน ครอบครัว ในภาษาในภาษาไทย มีคําเรียกแผนภูมิครอบครัวหลายคําไดแก ผังครอบครัว ผังเครือ ญาติ สําหรับภาษาอังกฤษ ไดแก family tree, family pedigree และ genealogic chart แผนภูมิครอบครัวจะตองสามารถบอกความเสี่ยงทางพันธุกรรมไดชัดเจน และสามารถ บอกแนวโนมการเจ็บปวยอื่นซึ่งพบไดบอยในสมาชิกของครอบครัว นอกจากปญหาทางดาน พันธุกรรมแลวผังครอบครัวยังสามารถเชื่อมโยงกับปจจัยทางดานสังคมและสิ่งแวดลอม ลักษณะ และพฤติกรรมของครอบครัว ที่จะสามารถทํานายปญหาในอนาคตของครอบครัวได ตัวอยางโรคที่ เห็นแนวโนมความเสี่ยงไดชัดจากการเขียนแผนภูมิครอบครัว ไดแก โรคมะเร็ง โรคหัวใจ โรคหอบ หืด แผนภูมิครอบครัวประกอบไปดวยปญหาความเจ็บปวยซึ่งมีผลกระทบตอสมาชิกใน ครอบครัว เพื่อใหภาพดังกลาว จึงควรมีขอมูลตั้งแต 3 ชั่วอายุคนของครอบครัวขึ้นไป โดยอุปสรรค ในการนําแผนภูมิครอบครัวมาใชในเวชปฏิบัติไดแกตองใชเวลาในการเขียน โดยจากการศึกษา พบวาในการเขียนแผนภูมิครอบครัวที่สมบูรณใชเวลาตั้งแต 9 ถึง 30 นาที เวลาเฉลี่ยคือ 16 นาที แตอยางไรก็ตามการเขียนแผนภูมิครอบครัว ไมจําเปนตองเขียนใหเสร็จในครั้งเดียวของการพบ ผูปวย สามารถเพิ่มเติมขอมูลในแผนภูมิครอบครัวในการพบกับผูปวยในครั้งตอๆไป หากใช แนวทางนี้แพทยและบุคลากรการแพทยก็จะสามารถใชเวลาสวนหนึ่งในการเขียนผังครอบครัวได จากประสบการณของแพทยที่ใชผังครอบครัวในเวชปฏิบัติพบวาคุมคากับเวลาที่ใชในการ เขียน เพราะนอกเหนือจากทําใหทราบขอมูลการเจ็บปวยของผูปวยและสมาชิกในครอบครัวแลว ยังทําใหรูจักและเปนการสรางความสัมพันธระหวางแพทยและผูปวยดวย
  • 2. การเขียนแผนภูมิครอบครัว วัตถุประสงคของการเขียนแผนภูมิครอบครัวก็เพื่อใหเห็นภาพของครอบครัว และแนวโนม การเกิดโรคหรือความเจ็บปวย เพื่อใหเห็นภาพดังกลาว จึงจําเปนตองมีการใชสัญลักษณตางๆ เพื่อ สื่อความหมายใหตรงกัน สัญลักษณที่ใชควรเปนสัญลักษณมาตรฐาน และเขาใจไดงาย เมื่อใดจะเริ่มวาดแผนภูมิครอบครัว เมื่อเห็นวาการดูแลผูปวยรายนั้นๆมีความจําเปนตองเจาะลึกถึงประวัติสวนตัว ประวัติ ครอบครัว สภาพแวดลอมรอบตัว เพื่อการดูแลสุขภาพที่ตอเนื่องแบบองครวม ในการซักประวัติ แบบเดิมก็มีประวัติสวนตัวและครอบครัวอยูแลว เพียงแตเปลี่ยนมาบันทึกเปนรูปภาพแทน ตัวหนังสือ ดังนั้นแผนภูมิครอบครัวจึงสามารถใชไดตั้งแตผูที่มาขอตรวจสุขภาพประจําป ไปจนถึง ผูปวยที่มีความซับซอนของโรคและความเจ็บปวย องคประกอบของแผนภูมิครอบครัว 1. วาดขอมูลครอบครัวอยางนอย 3 ชั่วอายุคน 2. ใสชื่อของสมาชิกทุกคนในครอบครัว 3. ใสอายุ (หรือปเกิด) ของสมาชิกทุกคนในครอบครัว 4. ใสอายุและสาเหตุการตายของสมาชิกในครอบครัว ถามี 5. ระบุโรคหรือปญหาความเจ็บปวยที่สําคัญของสมาชิกในครอบครัว 6. วาดวงลอมรอบสมาชิกที่อาศัยอยูในบานเดียวกัน พรอมชี้วาผูปวยอยูที่ตําแหนงใดของแผนภูมิ 7. ระบุวันที่ของการแตงงานหรือหยารางของสมาชิกในครอบครัว 8. เรียงสมาชิกที่เกิดตามลําดับกอนหลัง จากซายไปขวา 9. ถาทราบความสัมพันธภายในครอบครัว ใหวาดสัญลักษณแสดงความสัมพันธดวย พรอมทั้งมี คําอธิบายสัญลักษณที่ซับซอน 10. วันเดือนป ที่เขียนหรือปรับปรุงแผนภูมิครอบครัว สัญลักษณมาตรฐานในการเขียนแผนภูมิครอบครัว ชาย แตงงานและปที่แตง หญิง หยาและปที่หยา หรือ ตาย แยกกันอยูและป หรือ ผูปวย อยูดวยกันและป
  • 3. ชาย 2 คน หญิง 3 คน วงลอมรอบสมาชิก ที่อยูบานเดียวกัน 4 คน ไมทราบเพศ ทะเลาะหรือขัดแยง แทงเอง หางเหินกัน ทําแทง สนิทกัน กําลังตั้งครรภ หรือ ทารกใน ครรภ สนิทกันมาก พิเศษ แฝดตาง ควบคุม เหนือกวา แฝดเหมือน ใชความรุนแรง บุตรบุญธรรม สมรสไมลงรอยกัน ปที่เกิด ชื่อ สมรสไมลงรอยและ มีคนอื่น อายุ (หรือป) ที่ ตาย หยาราง และมารดา เลี้ยงดูบุตร ปที่เกิด และ ตาย สาเหตุการตาย สมรสและเคยแตงงาน
  • 4. การอานแผนภูมิครอบครัว แพทยเวชศาสตรครอบครัวและนักครอบครัวบําบัดจะสามารถอานและแปลผลแผนภูมิ ครอบครัวไดโดยใชเวลาไมนาน สําหรับบุคลากรทางการแพทยอื่น แพทยประจําบาน และนักเรียน แพทยแลว การเรียนรู ฝกอานอยางเปนระบบ จะทําใหอานไดดีขึ้นและสามารถนําไปใชในเวช ปฏิบัติได การอานแผนภูมิครอบครัว ตองอานใหครบทั้ง 4 องคประกอบ ไดแก 1. โครงสราง (Structure) หมายถึงองคประกอบของครอบครัวของผูปวยหลักที่เราสนใจ สถานภาพสมรส (โสด แตงงาน แยกกันอยู หยาราง และหมาย) และบทบาทการเปนพอแม (ไมมีบุตร หรือ มีบุตรของ ตนเอง บุตรบุญธรรม บุตรของสามีหรือภรรยา) โดยในการอานตองบอกโครงสรางชนิดตางๆของ ครอบครัวได ซึ่งไดแก คนโสด (single adult) บิดาหรือมารดาเลี้ยงดูบุตรโดยลําพัง (single parent) คูสมรสที่ไมมีบุตร (childless couple) ครอบครัวเดี่ยว (nuclear family) ครอบครัวขยาย (extended family) ทั้งหมดที่กลาวมา เปนโครงสรางของครอบครัวที่พบไดในแผนภูมิครอบครัว ทั่วไป แตอาจมีลักษณะครอบครัวบางแบบที่ตางออกไป เชนบุคคลอยูดวยกันโดยไมไดสมรส หรือ ไมไดมีความผูกพันเปนครอบครัว 2. ขอมูลทั่วไปของครอบครัว (Family Demographic Information) ประกอบไปดวยเชื้อชาติ การศึกษา และอาชีพ โดยผูอานควรมีการเปรียบเทียบขอมูลทั้ง 3 ปจจัยนี้ระหวางผูปวยหลักที่เราสนใจกับสมาชิกคนอื่นๆในครอบครัว 3. เหตุการณของครอบครัว (Family Life Event) ตัวอยางของเหตุการณหลักของครอบครัวที่ควรบันทึก ไดแก การแตงงาน การแยกกันอยู การหยาราง การเกิด การตาย ปญหาดานสังคมและสุขภาพ นอกจากนี้ยังควรบันทึกเหตุการณอื่น ที่นาสนใจเชน การออกจากโรงเรียน การเปลี่ยนงาน การหนีออกจากบาน โดยควรระบุเวลา เพื่อให เห็นลําดับขั้นของเหตุการณ และสามารถเห็นผลที่ตามมาของเหตุการณได 4. ปญหาทางสังคมและสุขภาพ (Social and Health Problems) ผูอานแผนภูมิครอบครัวควรระบุทั้งชนิด และจํานวนของปญหาที่พบ และพิจารณาวามี การเกิดซ้ําๆ ในสมาชิกของครอบครัวหรือไม การแปลผลแผนภูมิครอบครัว การอาน 4 องคประกอบของแผนภูมิครอบครัวขางตน ทําใหทราบขอมูลเบื้องตนของ ครอบครัว แตไมไดมีการวิเคราะหในเชิงลึก โดยการแปลผลแผนภูมิครอบครัวนี้จะขึ้นกับการ นําไปใชทางคลินิก ซึ่งมี 3 รูปแบบคือ
  • 5. 1. การประเมิน somatic complaint ของผูปวย ดวยการใช biopsychosocial hypotheses เพื่อจะ ประเมินวาอะไรเปนเหตุ อะไรเปนผล 2. การประเมินความเสี่ยงของผูปวย ทั้งทางดานรางกาย จิตใจ เพื่อที่จะวางแผนในการสรางเสริม สุขภาพทั้งในระดับ primary prevention และ secondary prevention 3. การวางแผนการรักษาผูปวย โดยดูวาปจจัยทางครอบครัวจะมีสวนเกี่ยวของในการดูแลรักษา มากนอยเพียงใด ตัวอยางการนําแผนภูมิครอบครัวไปใช กรณีตัวอยาง เด็ก 2 คนมาพบแพทยที่คลินิกเด็กดีเพื่อตรวจสุขภาพและรับวัคซีน โดยทั้งสองคนเปนบุตร บุญธรรม ไมไดเปนบุตรที่แทจริง ถึงอยางไรก็ตาม แพทยไดใหความสนใจกับสุขภาพและการ เจ็บปวยเรื้อรังของมารดาของเด็กทั้งสอง โดยแพทยเขียนแผนภูมิครอบครัวได ดังนี้ การอานแผนภูมิครอบครัว 1. โครงสราง: ครอบครัวเดี่ยว มีบุตรบุญธรรม 2 คน 2. ขอมูลทั่วไปของครอบครัว: บิดามารดาจบการศึกษาระดับมัธยมปลาย มารดาเปนบุคลากรทาง การแพทย แตปจจุบันมีปญหาเรื่องงาน 3. เหตุการณของครอบครัว: ไมมีเหตุการณที่สําคัญในครอบครัว เวนแตปญหาดานสุขภาพของ Robert คือพัฒนาการณที่ชากวาปกติ และปญหาเรื่องการเจ็บปวยและเรื่องงานของมารดา 4. ปญหาทางสังคมและสุขภาพ: มีประวัติความดันโลหิตสูง โรคหัวใจ และโรคมะเร็งในครอบครัว
  • 6. การแปลผลแผนภูมิครอบครัว จากความรูดานระบาดวิทยาและพันธุศาสตร มารดาของเด็กทั้งสองมีความเสี่ยงในการ เกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ โดยเฉพาะในปจจุบัน เธอมีโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และภาวะ อวน นอกจากนี้แลวเธอยังมีความเสี่ยงสูงในการเกิดโรคมะเร็ง ดังนั้นการปองกันและการตรวจคัด กรองมะเร็งจึงมีความจําเปนเปนอยางยิ่ง จากมุมมองของ stress social พบวามารดารายนี้รับบุตรบุญธรรมที่ยังเล็กมาเลี้ยง ในขณะที่ตนเองมีปญหาดานสุขภาพ โดยอาจไมไดรับการชวยเหลืออยางเต็มที่จากสามี เนื่องจาก สามีมีอาชีพขับรถบรรทุกซึ่งอาจเดินทางไปตางจังหวัด หากบุตรทั้งสองมีความตองการในการดูแล มากขึ้น เชนไมสบาย แลวมารดาไมไดรับการสนับสนุนชวยเหลือจากใครเลย อาจทํามารดาไม สามารถดูแลสุขภาพของตนเองไดเต็มที่ เอกสารอางอิง 1. Robert E. Rakel, Textbook of Family Practice (6th edition), Philadelphia: W.B. Saunders, 2002. 2. สายพิณ หัตถีรัตน, คูมือหมอครอบครัว, กรุงเทพมหานคร: หมอชาวบาน, 2545.