SlideShare a Scribd company logo
1 of 86
Download to read offline
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท)
วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มรภ.สวนสุนันทา
พย.บ.(เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยราชธานี อุบลฯ
ปร.ด.(การบริหารพยาบาล) กำลังศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน
พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่) ม. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
นิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต (กำลังศึกษา) ม. ธรรมศาสตร์
การศึกษา
การศึกษาเฉพาะทางการพยาบาล :
2. การพยาบาลผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยไตเทียม
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
1. การพยาบาลห้องสวนหัวใจและการตรวจรักษาพิเศษ
สถาบันโรคทรวงอก กรมการเเพทย์
3. ศาสตร์และศิลป์การสอนพยาบาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
4. การพยาบาลผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยมหิดล
สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ
facebookData link
มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
และหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ
(ลิขสิทธิ์ภาพถ่ายเพื่อการสอนเท่านั้น)
เผยเเพร่ มกราคม ๒๕๖๑
Line
โดย
บรรยายเเก่
นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต
ชั้นปีที่ ๒ รุ่นที่ ๑๐
ณ CHN, SSRU
๙ มกราคม ๒๕๖๑
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
1.1 แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ
- ความหมาย/ประเภท....ตามองค์การอนามัยโลก
- โครงสร้างประชากร/สถานการณ์....ของโลก/ไทย
- แนวโน้มด้านปัจจัย/สาเหตุผลกระทบ....เกี่ยวกับ
การเปลี่ยนเเปลงโครงสร้างประชากร
1ชั่วโมง/4ข้อ
อภิปราย+บรรยาย
บอก/ อธิบายความ / เเยก
แยะประเภท/ เเนะนำ / จัด
ประเภท/ วิเคราะห์อธิบาย
รูปภาพ….ตามเอกสาร
ประกอบหัวข้อ 1.1 ได้
Scope Topic Objective
1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ
- แนวคิด/ การพยาบาลผู้สูงอายุ/ นวัตกรรม
- ระบบการดูเเล/ระบบสนับสนุนทางสังคม
- เจตคติ/จริยธรรม
- การดูเเลผู้ดูเเล / ครอบครัว/ สังคม
1ชั่วโมง/4ข้อ
อภิปรายกลุ่ม/นำเสนอ
บอก/ อธิบายความ /
เเยกแยะประเภท/ เเนะนำ
/ จัดประเภท/ วิเคราะห์
อธิบายรูปแบบการดูแล
ได้
- นโยบายรัฐบาล / กระทรวงสาธารณสุข
- พร.บ. ผู้สูงอายุ ฉบับที่ 2 / กฏหมายที่เกี่ยวข้อง
- แผนพัฒนาผู้สูงอายุไทย
อภิปราย
1ชั่วโมง/4ข้อ
บอก/ อธิบายความ / เเนะ
นำการประยุกต์ใช้ให้สอ
ค ล้ อ ง กั บ ส ถ า น ก า ร์ ที่
กำหนดให้ได้
2
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com3
เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง
ชัชวาล วงค์สารี.(2561). มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุและหลักการ
พยาบาลผู้สูงอายุ.สไลด์ประกอบการสอน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก ;http://
www.teacher.ssru.ac.th/chutchavarn_wo/ (9 มกราคม 2561)
แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุKeywords: แผนพัฒนาผู้สูงอายุไทย
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ เจตคติแลจริยศาสตร์ต่อผู้สูงอายุ
“……………” หาเป็น pdf รูปแบบตีพิมพ์ในวารสารสืบค้นเพิ่ม:
ที่มา : http://www.teacher.ssru.ac.th/chutchavarn_wo/
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
คำนิยาม สถานการณ์ ผลกระทบ
กับโครงสร้างประชากรสูงอายุ
4
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินกว่าหกสิบปี
บริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย
(พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546)
ผู้สูงอายุ คือ ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิง
ซึ่งมีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป
(องค์การสหประชาชาติ)
ยุโรป& อเมริกา คือ ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิง
ซึ่งมีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป
(WHO,2017)
ความหมาย
5
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระดับความสูงอายุ
** ผู้สูงอายุวัยตอนกลางและผู้สูงอายุมากมีเพิ่มขึ้นและเป็นหญิงมากกว่าชาย
วัยต้น 60-69 ปี 60-75 ปี
วัยกลาง 70-79 ปี 75-85 ปี
วัยปลาย >80 ปี > 85
(พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546)
ชาย หญิง
6
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระดับสังคมสูงอายุ
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ (UN,2017 )ดังนี้
การมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 10%
ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุ
ตั้งแต่ 65 ปี เกิน 7% ของประชากรทั้งประเทศ
Ageing Society
/Aging Society
เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นเป็น 20%
หรือประชากรอายุ 65 ปี ขึ้นไป เพิ่มเป็น 14%
ของประชากรทั้งประเทศ
Aged Society
สังคมที่มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่า
20% ของประชากรทั้งประเทศ
Super-Aged
Society
7
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
8
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
9
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
10
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
11
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
12
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
(ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๕)
ประชากรรวม 64.6 ล้านคน
< 15 ปี = 18.8 %
15-64 ปี = 66.5 %
> 60 ปี = 14.7 %
ปี 2556
13
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
14
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สถานการณ์ประชากรไทย
14
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
(ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๕)
ประชากรรวม 66.3 ล้านคน
< 15 ปี = 16.2 %
15-64 ปี = 62.5 %
> 60 ปี = 21.3 %
ปี 2566
15
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก
ประชากรรวม 65.7 ล้านคน
< 15 ปี = 14.2 %
15-64 ปี = 57.3 %
> 60 ปี = 28.5 %
ปี 2576
(ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๕)
17
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุไทย
จำนวน (ล้านคน) %ประชากรผู้สูงอายุ
ที่มา : มิเตอร์ประเทศไทย * ข้อมูล 22 ตุลาคม 2558
2554 2555 2556 2557 2558
7.4

11.50%
8.2

12.74%
9.4

14.57%
10.0

15.44% 10.5

16.09%*
18
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุไทย
4.03

7.2%
4.82

8.1%
5.73

9.2%
6.62

10.2%
7.64

11.5%
9.10

13.2%
10.78
15.3%
14.45

20.0%
2533 2538 2543 2548 2553 2558 2563 2568
19
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Silver Population
20
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
2015 2050 2010 Under 15 60 +
World 7 349 472 9 725 148 11 213 317 26 12
Southeast Asia 633 490 792 139 769 404 27 9
Brunei Darussalam 423 546 489 23 8
Cambodia 15 578 22 545 23 928 32 7
Indonesia 257 564 322 237 313 648 28 8
Lao PDR 6 802 10 172 10 411 35 6
Malaysia 30 331 40 725 40 778 25 9
Myanmar 53 897 63 575 56 026 28 9
Philippines 100 699 148 260 168 618 32 7
Singapore 5 604 6 681 5 593 16 18
Thailand 67 959 62 452 41 604 18 16
Timor-Leste 1 185 2 162 3 234 42 7
Viet Nam 93 448 112 783 105 076 23 10
Country/Area
Mid Year population
(thousands)
Percentage of population
(Mid 2015)
21
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
วิเคราะห์สถานการณ์ประเทศไทย
คำถามวิเคราะห์ปัจจัยและผลกระทบจากปิรมิดประชาการ
1.ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุระดับไหน เมื่อไร
2. ปิรมิดประชากรในปี 2563/2576 จะต่างจาก
ปิรมิดก่อนหน้านี้อย่างไร
3. ปิรมิดประชากรบอกอะไรท่านบ้าง/ อย่างไร
22
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
วิเคราะห์ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของวัยสูงอายุ
ครอบครัว
สังคม
ชุมชน
บุคคล
ประเทศ
โลก
ออกเเบบการดูแลให้เกิด
Active Ageing
นานที่สุด
Functional
Stabilisations
- นโยบายสาธารณสุข
- นโยบายสาธารณะ
หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ
ภาวะพึ่งพิง
23
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
หน่วยงานที่ร่วมดูเเลผู้สูงอายุในประเทศไทย
หน่วยงานที่ดำเนินงาน
o กระทรวงสาธารณสุข
o กระทรวงพัฒนาสังคม
และความมั่นคงของ
มนุษย์
o กระทรวงมหาดไทย
o กระทรวงแรงงาน หน่วยงานวางแผนผู้สูงอายุ
o สำนักงานสถิติเเห่งชาติ
o สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมเเห่งชาติ
o สภาผู้สูงอายุ
หน่วยเกี่ยวกับข้อมูลและวิจัยผู้สูงอายุ
o สภาวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย
o สภาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุไทย
o สถาบันวิจัยประชากรเเละสังคม มหิดล
o วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬา
o สถาบันการศึกษาต่างๆ
24
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
วิเคราะห์จุดเเข็ง/จุดอ่อนในการดูแลผูสูงอายุไทย
จุดแข็ง จุดอ่อน
- ผู้ สู ง อ า ยุ มี ก า ร
ศึกษา สติปัญญา
และทักษะที่นำมา
แ ล ก เ ป ลี่ ย น / ต่ อ
ยอดสู่การพัฒนาที่
รวดเร็ว
- เป็นเมืองพุทธ ที่มีความ
กตัญญูเป็นที่ตั้ง
- อัตราการเพิ่มของประชากรน้อย
ลง/วัยเเรงงานต้องแบกรับภาระ
ทางเศรษกิจและสังคมมากขึ้น
- ต้องอาศัยเเรงงานข้ามชาติ
มาดูแลก่อให้เกิด“ทารุณ
ฆาต”จากความต่างทาง
วัฒนธรรมมากขึ้น
- ขาดการวางแผน
ด้านงบประมาณใน
การดูแลผู้สูงอายุ
25
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ปรากฏการณ์ใหม่จากการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุไทย
Ageing Society / Aged / Super Aged
New Pressure
New Needs
New Culture
26
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
กฎหมาย นโยบาย และมาตรการ
ที่สนับสนุนต่อผู้สูงอายุ
27
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สร้างจิตสำนึกให้คน
สังคมตระหนักถึงผู้
สูงอายุในฐานะ
บุ ค ค ล ที่ มี
ประโยชน์ต่อสังคม
ใ ห้ ป ร ะ ช า ก ร ทุ ก ค น
ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม
สำคัญของการเตรียม
การและมีการเตรียม
การเข้าสู่การเป็นผู้สูง
อายุที่มีคุณภาพ
ให้ผู้สูงอายุดำรง
ชี วิ ต อ ย่ า ง มี
ศักดิ์ศรี พึ่งตนเอง
ได้มีคุณภาพชีวิต
และมีหลักประกัน
ให้ประชาชน
ครอบครัว ชุมชน
องค์กรภาครัฐและ
เอกชนมีส่วนร่วมใน
ภารกิจด้านผู้สูงอายุ
ให้มีกรอบและแนวทาง
ปฏิบัติสำหรับส่วนต่างๆ
ในสังคมทั้งภาคประชาชน
ชุมชน องค์กรภาครัฐและ
เอกชนที่ปฏิบัติงานเกี่ยว
กับผู้สูงอายุได้ปฏิบัติงาน
อย่างประสานและ
สอดคล้องกัน
1. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564)
มีวัตถุประสงค์ ดังนี้
28
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
1. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564)
มี 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้
ด้านการเตรียม
ค ว า ม พ ร้ อ ม
ของประชากร
เพื่อวัยสูงอายุ
ที่มีคุณภาพ
ด้านการ
ส่งเสริม
ผู้สูงอายุ
ด้านระบบ
คุ้มครองทาง
สังคมสำหรับผู้
สูงอายุ
ด้านการบริหาร
จัดการเพื่อการ
พัฒนางานด้านผู้สูง
อายุระดับชาติ และ
พัฒนาบุคลากร
ด้านผู้สูงอายุ
ด้านการประมวลและ
พัฒนาองค์ความรู้
ด้านผู้สูงอายุ และการ
ติดตามประเมินผล
การดำเนินการตาม
แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ
29
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
2. พรบ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546
❑National plan for older persons: *Revision of Second National Plan
for Older Person 2009
30
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
2. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546
ได้บัญญัติให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนตามกฎหมาย
ตามมาตรา 11
1. ได้รับบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่
จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุ
เป็นกรณีพิเศษ
2. ได้รับการศึกษา การศาสนาและข้อมูลข่าวสารที่
เป็นประโยชนต่อการดำเนินชีวิต
3.ได้รับการส่งเสริมการประกอบอาชีพหรือฝึก
อาชีพที่เหมาะสม
4. ได้รับการพัฒนาตนเอง และการมีส่วนร่วมใน
กิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือ
ข่ายหรือชุมชน
5. ได้รับการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ
ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือการบริการสาธารณะอื่น
31
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
2. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 (ต่อ)
6.ได้รับการช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความ
เหมาะสม
7. ได้รับการยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ
8. ได้รับการช่วยเหลือในกรณีที่ได้รับอันตรายจากการถูกทารุณ
กรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือ
ถูกทอดทิ้ง
9. ได้รับการให้คำแนะนำ ปรึกษา หรือดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง
ในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว
10. ได้รับการจัดหาที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มให้ตาม
ความจำเป็นอย่างทั่วถึง
32
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
2. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 (ต่อ)
11. ได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจำเป็นอย่างทั่วถึงและเป็น
ธรรม
12. ได้รับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี
13. ได้รับบริการอื่นๆ ตามที่กรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติประกาศกำหนด
นอกจากนี้ยังได้บัญญัติให้ผู้เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ได้รับสิทธิทางภาษี
ตามมาตรา 16 และ 17 ดังนี้
16. ผู้ที่บริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่กองทุนผู้สูงอายุแห่งชาติ มีสิทธิ
นำไปลดหย่อนในการคำนวณภาษีเงินได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษี
สำหรับทรัพย์สินที่บริจาคแล้วแต่กรณี
17. ผู้ที่อุปการะเลี้ยงดูบุพการีซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้เพียงพอแก่
การยังชีพ มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษีตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่
กำหนดในประมวลรัษฎากร
33
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
มาตรา 30 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้
รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและ
หญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็น
ธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่าง ในเรื่อง

ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ
สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ
ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การ
ศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัด
ต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิได้
34
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ)
หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย
มาตรา 40 เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรือผู้
พิการ หรือทุพพลภาพ ย่อมมีสิทธิได้รับความ
คุ้มครองในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่าง
เหมาะสม และย่อมมีสิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะ
สมในคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ
35
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริ
บูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มี
สิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอัน
เป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรีและความช่วย
เหลือที่เหมาะสมจากรัฐ
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ)
36
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้าน
สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดัง
ต่อไปนี้
(1) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุน
การอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริม
ความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนา
ความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวม
ทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้
ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยาก
ลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ)
37
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ)
หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
มาตรา 84 รัฐต้องดำเนินการตามแนว
นโยบายด้านเศรษฐกิจ ดังต่อไปนี้
(4) จัดให้มีการออมเพื่อการดำรงชีพในยาม
ชราแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างทั่ว
ถึง
38
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
4. นโยบายด้านสาธารณสุข
1. พัฒนางานสาธารณสุข ตามแนวพระราชดำริ และโครงการ
เฉลิมพระเกียรติเพื่อเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศ์
2. เพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มี
คุณภาพ มาตรฐาน ทั่วถึง เป็นธรรม สร้างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ
3. เร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมาย เพื่อลดอัตราป่วย ตาย
และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ
หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง
4. เร่งรัดดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ตลอดจนอาหาร
ปลอดภัย
5. เตรียมความพร้อม พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย การจัดการที่มี
ประสิทธิภาพ ทันการณ์ เมื่อเกิดภัยพิบัติโรคระบาด และภัยธรรมชาติ       
6. จัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มสตรี กลุ่ม
ผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะอื่น เช่น แรงงานข้ามชาติ
7. สร้างแรงจูงใจและพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุข
ทุกคนโดยสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติภารกิจฯ
39
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
4. นโยบายด้านสาธารณสุข (ต่อ)
8. สร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับฯ และความก้าวหน้าในวิชาชีพที่เป็น
ธรรม สร้างกลไกพัฒนาสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับฯ
9. เพิ่มการลงทุนในระบบบริการทุกระดับ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน และอุปกรณ์การแพทย์
ที่จำเป็น มุ่งเน้นการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท
10. ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก ในระบบบริการ
สาธารณสุขทุกระดับ   
11. ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ และระบบโลจิสติกส์ โดยไม่ก่อให้เกิดผลก
ระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย
12. สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการจัดบริการสุขภาพ
13. พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพ และบริการข้อมูลสุขภาพสำหรับประชาชนฯ
14. พัฒนา ผลักดันและการบังคับใช้กฎหมายให้เอื้อประโยชน์ต่อการสนับสนุนการดำ
เนินงานฯ
15. จัดตั้งศูนย์บำบัด ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ควบคุม ป้องกันการใช้สารตั้งต้นใน
การผลิตยาเสพติดและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของสารเสพติดชนิดใหม่
16. จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพเพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ประชาชนอย่างทั่ว
ถึง
40
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Principle for Older person
Nursing Care
41
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
“….that branch of Special Nursing concerned
with the
☯ clinical (physical & mental)
☯ rehabilitative
☯ social
☯ preventive
aspects of illness and health in the Ageing”
How /Who is “Geronto” Nursing ??
42
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
R-A-M-P-S
▪ Reduced body reserve พลังสำรองร่างกายลดลง
▪ Atypical presentation อาการแสดงที่ไม่แน่นอน
▪ Multiple pathology มีหลายโรคในเวลาเดียวกัน
▪ Polypharmacy ได้รับยาหลายชนิด
▪ Social adversity ปัญหาด้านสังคม
ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุที่แตกต่างจากผู้ป่วยทั่วไป
43
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
➢ ภาวะหกล้ม Instability (Fall)
➢ การสูญเสียความสามารถในการเดิน Immobility
➢ สติปัญญาเสื่อมถอย Intellectual impairment
➢ ปัสสาวะอุจจาระราด Incontinence
➢ เบื่ออาหาร Inanition
➢ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย Iatrogenesis
Geriatric Syndrome
“Big I’s”
44
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
1.Decline in physiologic
function & reserve
2.Disease
Symptoms
- weakness
- fatigue
- anorexia
- undernutrition
- weight loss
Signs
- physiologic
changes
- balance & gait
- deconditioning
- falls,
- immobility
- delirium
- injury
- acute illness
- hospitalization
- disability
- dependency
- death
> >
Pathophysiology of geriatric syndrome
45
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
• Stroke

• Diabetes

• Depression
• Pneumonia
• Heart failure
Internal Medical Nursing
• Falls
• Dementia
• Malnutrition
• End-of-life care
• Urinary incontinence
Geriatric Nursing Care
(Wenger N et al. Ann Intern Med 2003; 139: 740-47. )
46
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Comprehensive Geriatric Nursing Assessment
in Older person
Medical Cognition Function Commu
nication
action
Social
Presenting
symptom
or illness
- Detials
- Functional
Impact
- Systemic
review
Past
Medical
History
- Risk Factor
- Screening
status
- Health
promotion
activities
Medications
- Indications
- Effect
-Comprehension
- Compliance
- Polypharmacy
- Dementia
- Confusion
- Moods
- Alcohol
-Substance
- Abuse
- ADL
- IADL
- Life style
- Recent
life change
-Rehabilita
tive potential
-Langauge
-Hearing
-Vision
Environment
-Current
Living
-Adaptive
-Accessibility
-Hazards
Socio-Eco.
-Family
-Caregiver
-Finance
-Network
-Social
support
-Service
health
requirement
-Ageing
receive
Usually Assessment
Comprehensive Geriatric Assessment
(Apply from : functional community screening resource primary care doctor, March 2011; WHO,2017)47
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Health care system for
the Older person Care
48
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com49
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
กรอบแนวคิดการจัดบริการ/ระบบการดูแลผู้สูงอายุ
✓Accessibility
✓Continuity of Care
✓Integrated Care
✓Holistic Care
✓Co-ordination of Care
• Home Care
• Institutional Care
• Community Care
• Long-Term Care
ระบบการดูแลผู้สูงอายุ
กรอบแนวคิดการจัดบริการ
50
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แผนแม่บทการพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุขการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ
Healthy
Ageing
Primary Preventions
Treatm
ent
Rehabilitations
Leadership/Governance
Service Delivery/
Diversity IT
WorkforceDrug/ Technology
Finance
“เข้าถึง ทั่วถึง เป็นธรรม
นำสู่สุขภาพดี”
51
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Institutional Care
Source: Apply from Hasekawa, NMS, Japan
Hospital
Rehabilitative
care Facility
Rehabilitative care
Acute care
Nursing care
Facility
Clinic
Death
Multiple diseases
Multiple continuous episodes
Chronic care
Palliative care
Facility
Palliative care
Ageing
Long-term care
Success full Ageing
52
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Community Care
ประสาน Care Manager
สำรวจ Care Manager/พยาบาล/พชส./อสส./ชุมชน
วิเคราะห์ Care Manager
วินิจฉัยสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน
ดี เสี่ยง ป่วย
Conference Case/
Situation Analysis
Health Data Record
Community Folders
ได้รับมาตรฐาน
เข้าถึงครอบคลุม
เเละเป็นธรรม
Ageing
finally
needs
Nursing
Process
Standard
Ageing
Care
Nursing
Outcome
4M
management
ผู้สูงอายุสุขภาพดี
พึ่งตนเองได้นานที่สุด
53
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Community Care
• สร้างความตระหนักให้ประชาชนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ
• สร้างความเข้มแข็งและส่งเสริมศักยภาพของชุมชนโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในงานดูแล
สุขภาพจิตผู้สูงอายุ: เพื่อนช่วยเพื่อน
• พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
ในชุมชน
• ส่งเสริมการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ
• การส่งเสริมการทำงานให้กับผู้สูงอายุ งานที่สร้างรายได้/งานบำเพ็ญประโยชน์
• สร้างนวัตกรรมใหม่ๆในการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ / การทาำงานร่วมกันสร้างภาคีเครือข่าย 

54
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Illness
-Ideas
-Feeling
-Function
-Expectation
Person
-Life cycle
-Family of origin
-History
Diseases
Family
-Family system
-Family life cycle
Context
-Culture
-Work
-School
-Health care
system
การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Home Health Care
55
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Long-Term Care
• เป็นระบบบริการสุขภาพร่วมกับระบบการบริการทางสังคม
Ageing
Frailty
Long Term Care
(Hospital/Community)
Nursing Home
Residential Home
Assisted Living Facility
Assisted Living Facility
Palliative
Palliative
Hospice Death
56
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สรุปเปรียบเทียบความเเตกต่างการดูแลรูปแบบต่างๆ
ประเภท การดูแล ผู้รับบริการ ระดับการดูแล
1. บ้านพักคนชรา
(Residential
Home)
-ช่วยเหลือ ADL
-ดูแลจิตสังคม
-พยาบาลเยี่ยมเมื่อผู้สูงอายุต้องการ
-บริการที่พักและอาหาร
-ผู้สูงอายุดูแลตนเองได้เเต่มีฐานะ
ยากจน
-ขาดคนดูแล
-ไม่สามารถอยู่กับครอบครัวได้
ต่ำ
2. สถานที่ให้การ
ช่วยเหลือเพื่อดำรง
ชีวิต
(Assisted Living )
-ระบบขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน
-นักสังคมสงเคราะห์เยี่ยมเมื่อผู้สูงอายุ
ต้องการ
-บริการที่พักและอาหาร
-ผู้สูงอายุมีข้อจำกัดทางด้าน
ร่างกายเกี่ยวข้องกับความพิการ บางส่วน
3.สถานบริบาล
(Nursing Home)
-บริการทางการพยาบาล 24 ชม.
-ช่วยด้าน ADL + Mobility
-ดูเเลทดแทนเกือบทั้งหมด
-กลุ่มเปราะบาง/ มีโรคเรื้อรัง
-มีภาวะทุพลภาพด้านร่างกาย
- บกพร่องในการรับรู้
สูง
4.ดูแลระยะยาวใน
สถานพยาบาล(LTC)
-ดูเเลแบบใกล้ชิดด้านการเเพทย์
และการพยาบาล
-ผู้สูงอายุหลังภาวะวิกฤต/ระยะพัก
ฟื้นยังต้องพึ่งพิง สูงสุด
5.สถานดูแลระยะ
สุดท้าย
(Hospice)
- Palliative Nursing Care
-ผู้สูงอายุโรคมะเร็งระยะสุดท้าย
- สมองเสื่อมระยะสุดท้าย
สูงสุด
57
(Apply from: Standard & Poors,2010)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
โครงการพัฒนาระบบ
ดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล Long Term Care (การบริหารจัดการงบ 600 ล้านบาท)
ประเด็นยุทธศาสตร์/ภารกิจหลักพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย (กิจกรรมเน้นหนักกระทรวง)
เป้าหมาย: ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน 100,000 ราย ทุกจังหวัด ทุกอำเภอ 1,000 พื้นที่
การจัดสรรเงิน:600 ล้านบาท 500 ล้านบาท สำหรับกองทุนสุขภาพท้องถิ่น
100 ล้านบาท สำหรับหน่วยปฐมภูมิ
กลไกการดำเนินงาน
ส่วนกลาง
โครงสร้างการบริหารจัดการ บทบาท Core Function ติดตามผลลัพธ์
มีคณะกรรมการร่วม
สธ.แลสปสช.“คณะ
กรรมการนโยบาย
-ออกกฎระเบียบ /จัดทำคู่มือ
แนวทาง/มาตรฐานการดำเนินงาน/
พัฒนาบุคลากร / อบรม Care
เขตบริการสุขภาพ/สสจ./
รพศ./รพท.
มีคณะกรรมการ
สนับสนุนระดับ
จังหวัดที่ชัดเจน
-ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน
-คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย
-สนับสนุนการดำเนินงาน/
องค์ความรู้/อบรม Care giver/ M&E
- ตามกลไก 5 x 5
-6 เดือน CG 5,000คน / ดูแล OP 30%
-9 เดือน CG 6,000คน / ดูแล OP 60%
-12เดือน CG 10,000คน / OP 100%
-รายงานตามระบบรายงาน
ระดับอำเภอ/พื้นที่
มีคณะกรรมการ/ นายอำเภอ
เป็นประธาน /CM เป็นเลขาฯ
ประเมินคัดกรอง /จัดทำCare plan / ปฏิบัติ
งานตามแผนการดูแล / รายงาน
ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์
ร้อยละ 40 (KPI)
- ตามกลไก 5 x 7
- การตรวจราชการ
ปกติและจากหน่วยงานภายนอก
การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Long-Term Care
58
Group 1:
Can take care
them selves
Group 2:
Restrict on Activity
of Daily Living
DeathGroup3:
Dependent
Intensive Long
term Care
Ageing
Health
Service
Outcome
Goal
Indicator
Goal
Active and
Healthy Aging
Status:
-Dependency Ratio (ADL)
-Disease Statistic
Process
Indicators
Service:
-Access
-Efficiency
• The screening / assessment, care planning to find health issues.
• Get a promotion, disease prevention, health care and rehabilitation
to be effective.
• Strengthening family and community involvement in local long-term
care.
• Dependency ratio decreased and good health behaviors
(10 years indicator period)
• Incidence of disease burden and significantly reduced
(5 year indicator period)
1. Health
2. Social & Environment
3. Other Factors : Education, etc.
Conceptual
Framework of 

Older person care
Decreased of Dependent ratio
of the older person
- Health prevention
- Health education /
skills development
body and mind.
- Promoting Social
Participation
Early Detection
-Screening
-Assessment
Healthy
Caring,
treatment, refer,
rehabilitation
Increased of Independent ratio
of the older person
(สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข )
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com59
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สธ.
พม.
มหาดไทย
สสส.
สช.
สวรส.
เอกชน
ศูนย์พัฒนา
คุณภาพชีวิต
ผส.
Care manager
Care givers
ผู้สูงอายุทีAมีภาวะพึAงพิง
๕๐๐ ลบ.ซืJอบริการ
๑๐๐ ลบ.(on top) บริการ LTC ในหน่วยบริการ
หมายเหตุ ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC ด ้านสาธารณสุขตามที8คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ
การดูแลระยะยาวสําหรับผู้สูงอายุที8มีภาวะพึ8งพิงฯ หรือ สปสช.กําหนด
เครือข่าย
รพ.และ
รพ.สต.
สนับสนุน
บริการ LTC ใน
พืJนทีAบริการเชิงรุกทีA
ศูนย์ฯ
บริการเชิงรุกทีA
บ้าน
บริการเชิง
รุกทีAบ้าน
กองทุนหลัก
ประกันสุขภาพ
อปท.
สปสช.
ระบบบริการสุขภาพระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ
ที่มีภาวะพึงพิงในประเทศไทย พ.ศ. 2559 (600 ล้านบาท)
60
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Frailty
Index
Functional
Ability
ADL
Service
Nurse’s
Activity
การดูแลผู้สูงอายุตามความเสื่อม : บทบาทพยาบาล
GAP of
Nursing
Care
Healthy
กลุ่ม 1
ยังเเข็งแรง
กลุ่ม 2
มีโรคประจำตัว
ตาย
- Health prevention
- Health education / skills development
body and mind.
- Promoting Social Participation
Early Detection
-Screening
-Comprehensive geriatric
Assessment
Harmony
Not frailty
Early
frailty Frailty
Long
Term
Care
Geriatric
syndrome
ชัดเจนขึ้น
Specialised
long term care
(Dementia/
Palliative)
กลุ่ม 3
ติดเตียง
พิการ
Dependent
หน่วยบริการสุขภาพ
ผู้สูงอายุ
คลินิกดูแลรักษาโรคสูงอายุ
(Geriatric Clinic)
LTC Clinic / Special LTC Unit/
Palliative Care Unit
ดูแล รักษา ส่งต่อ ฟื้นฟูสภาพ {Institution/Community (PCU, Family Care Team, Ageing Manager, LTC)}
ป้องกัน&ส่งเสริมทั่วไป
จัดตั้งชมรมดูแลเฉพาะ
คัดกรอง GS
- ป้องกันเเละส่งเสริมสุขภาพรายบุคคล
- คัดกรองกลุ่มอาการผิดปกติ
- ดูแลร่วมรักษา GS และโรคประจำตัว
- สุขศึกษา / พัฒนากายใจเฉพาะราย
- step up / step down care
ดูเเลร่วมฟื้นฟูสภาพ
Acute / Palliative care
3rd Preventions slower
degenerative diseases
Intensive
Prevention
& Promotion
- PP ชะลอการพึ่งพิง
- พัฒนามาตรฐานการพยาบาลเพื่อดูแล
Geriatrice Syndrome ให้ได้ครบทุกด้าน
- ให้การดูแล GS ด้วยนวัตกรรม
เผยเเพร่ความรู้
GS ไปทุกแผนก
61
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
Frailty
(Rockwood and Colleagues,2005)
หมายถึง ภาวะเปราะบาง ที่เกิดจากการลดลงด้านพลังงาน ความ
สามารถทางกายภาพ การรับรู้และสุขภาพที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง อัน
เป็นผลจากการทำหน้าที่ของร่างกายที่เสื่อมลง การเปลี่ยนเเปลงทาง
อารมณ์และสังคม เทียบกับช่วงชีวิตที่ผ่านมา
ผู้สูงอายุที่มีภาวะเปราะบางต้องมีอาการ > 3 ข้อใน 5 ข้อ ดังนี้
1. น้ำหนักลด 3 กิโลกรัมหรือมากกว่า 5% ของน้ำหนักตัวในรอบ 1 ปีที่ผ่าน
มา โดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทราบสาเหตุ
2. มีความรู้สึกเหนื่อย หมดแรงง่ายกว่าปกติ
3. มีภาวะกล้ามเนื้ออ่อนเเรง
4. เดินช้าลง
5. การออกแรงในชีวิตประจำวันลดลง
(Fried et al,2001)
62
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
1. การบริการทางสาธารณสุข
- บริการการตรวจคัดกรอง ประเมินความต้องการดูแล
- บริการดูแลทีAบ้าน บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค,
- บริการกายภาพบําบัด, บริการกิจกรรมบําบัด และอุปกรณ์เครืAองช่วยทางการแพทย์
บทบาทพยาบาลกับการทำงานเชิงรุกในการดูแลแบบ LTC
2. บริการด้านสังคม เช่น
ประสานงานกับทีมสหสาขาเพื8อบริการช่วยเหลืองานบ ้าน การปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน , บริการ
อุปกรณ์ช่วยเหลือทางสังคม ,กิจกรรมนอกบ ้าน และอื8นๆ
3. สร้างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ
- จัดทําข ้อมูลและแผนดูแลกลุ่มเป้าหมายเป็นรายคน
- ฝึกอบรม (In service training) และบริหาร Care giver ให ้บริการเชิงรุก
- ให ้บริการ Day care (ฟืSนฟูและกิจกรรมบําบัด)
63
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระบบการดูแลผู้สูงอายุในอนาคต
• Intermediate Care or Transitional Care
• Respite Care
• Program of Nursing Specialty in Long Term Care Nurse
Manager
ระบบการดูแลในสถานการณ์ภัยพิบัติ (disaster) ภัยธรรมชาติ
• ระบบการดูแลในสถานการณ์ผันผวนทางการเมือง ความรุนแรง เหตุ
ก่อการร้าย ภาวะสงคราม
• ระบบการดูแลในประชาคมอาเซียน
64
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ 2558-67 (10 ป
เป้าประสงค์กระทรวงสาธารณสุข
อายุคาดเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า ๘๐ ปี
และมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า ๗๒ ปี
ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง สามารถ
ดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม
และมีพฤติกรรมสขุภาพที่พึงประสงค์
เป้าหมาย
1 . ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วย
เหลือ ในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน

2.ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง
ประสงค์
เกณฑ์วัด
Activity of Daily Living : ADL
เครื่องมือวัด
ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3
ส นั บ ส นุ น / ส่ ง
เสริมสุขภาพ /
ป้ อ ง กั น ปั ญ ห า
สุขภาพที่พบบ่อย/
คัดกรอง GS
พัฒนาเชื่อมโยง
ร ะ บ บ บ ริ ก า ร
สุ ข ภ า พ จ า ก
สถานบริการสู่
ชุมชน
พัฒนาการมีส่วน
ร่ ว ม ข อ ง ส ถ า น
พยาบาล ชุมชน
ท้องถิ่น ในการดูแล
สุขภาพผู้สูงอายุ
กลยุทธ์หลักในการออกแบบการปฏิบัติการพยาบาล
1 . คั ด ก ร อ ง ปั ญ ห า
สุขภาพผู้สูงอายุแบบ
องค์รวม
2. วิเคราะห์จำแนกกลุ่ม
ผู้สูงอายุเพื่อการดูแลที่
เหมาะสมตามสภาพ
ปัญหา
3.พัฒนามาตรฐานการ
ดพยาบาล GS
4 . เ ป ลี่ ย น เ เ ป ล ง
พฤติกรรมเสี่ยงทาง
สุขภาพ
1 . เ ริ่ ม จ า ก คั ด ก ร อ ง
ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ
ที่พบบ่อย + GS
2. ติดต่อประสานงาน
ส่งต่อเพื่อการรักษาที่
เหมาะสม กับสถาน
พยาบาล ชุมชน ท้อง
ถิ่น
1.ส่งเสริมชุมชนท้องถิ่น
ครอบครัวในการดูแลผู้
สูงอายุแบบองค์รวม
2.ดูแลสุขภาพผู้ดูแลผู้
ป่วที่มีภาวะพึ่งพิง
3.ดูแลสิ่งเเวดล้อมให้
เหมาะสม
65
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สวัสดิการเเละการสนับสนุนทางสังคม
เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ
66
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สวัสดิการสังคม (Social Welfare) The Nation Association
Social Workers (NASW) ให้ความหมายว่า เป็นระบบของ
ประเทศเกี่ยวกับโครงการ ผลประโยชน์และบริการที่ช่วย
ให้ประชาชนได้พบกับความต้องการด้านสังคม เศรษฐกิจ
การศึกษา สุขภาพอนามัย เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตและคงอยู่
ในสังคมได้อย่างปกติสุข
(Charles Zastron, 1996, p. 6 อ้างถึงใน ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, 2549, หน้า 26)
สวัสดิการสังคม
67
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สวัสดิการสังคม คือ ระบบการจัดบริการสังคม เพื่อแก้ไขปัญหาสังคมอัน
เนื่องมาจาก
▪การที่ประชาชนไม่สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้
▪ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับระบบของสังคม และ
▪ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ทางสังคมของตนเองได้
▪บริการดังกล่าวต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานของประชาชน
และความมั่นคงทางสังคมในระดับมาตรฐาน
▪เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
(ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, 2549)
สวัสดิการสังคม
68
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
1. การประกันสังคม (Social Insurance)
2. การช่วยเหลือสาธารณะ (Public Assistance)
3. บริการสังคม (Social Services)
3.1 สุขภาพอนามัย
3.2 การศึกษา
3.3 ที่อยู่อาศัย
3.4 การมีงานทำและมีรายได้
3.5 บริการสังคม
3.6 นันทนาการ
ลักษณะสวัสดิการสังคม
69
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
แนวคิดในการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ
• Residual Model (บรรเทาปัญหา) คือ การให้ ความช่ วยเหลือจาก
ภาครัฐ เมื่อบุคคลและครอบครัว ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้แล้ว เช่น
ไทย
• Institutional Model คือ การจัดบริการช่วยเหลือโดยคำนึงถึงสิทธิ
ทางสังคมและความรับผิดชอบทางสังคม เช่น สวีเดน
• การบรรเทา/ แก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า – กรมประชาสงเคราะห์ ต่อมา
เน้นการพึ่งพาตนเองก่อน (Deinstitutionalization)
สวัสดิการในสังคมไทย
70
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย
แบบมีกฏหมายรองรับ
•ระบบบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
•กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ
•กองทุนประกันสังคม
•กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ
•กองทุนผู้สูงอายุ
แบบไม่เป็นทางการ
•ระบบสวัสดิการชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะวันละบาท
• กองทุนฌาปนกิจ
ระบบที่กำลังพัฒนา
• ระบบบำนาญแห่งชาติ โดยกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช) ซึ่งเป็นนิติบุคคล
–ระดับขั้นและจำนวนเงินที่สมทบในแต่ละวัย
»อายุ 20-30 ปี ออม 100 บาท ได้รับสมทบจากรัฐบาล 50 บาท
»กล่าวคือ ออม 100 บาท ในวันที่อายุครบ 20 ปี จะกลายเป็น 200,000 บาท ในวันอายุครบ 60 ปี
»อายุ 30 ปี 1 เดือน – 50 ปี ออม 100 บาท ได้รับสมทบจากรัฐบาล 80 บาท
»อายุ 50 ปี 1 เดือน – 60 ปี ออม 100 บาท ได้รับสมทบจากรัฐบาล 100 บาท
•การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแบบขั้นบันได
(รับกับการปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่เกี่ยวกับรายได้
กรณีย้ายที่อยู่ให้ไปลงทะเบียนให้ไปจะเเจ้งไม่
เกินพฤศจิกายน *** จะได้รับในปีงบฯ ถัดไป)
71
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ)
แบบมีกฏหมายกำหนดเป็นนโยบายสาธารณะ
ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ
การแพทย์และสาธารณสุข 70 ปี ไม่ต้องรอคิว
รถไฟแห่งประเทศไทย
รถไฟแห่งประเทศไทย ลดค่าโดยสารทุกชั้นตลอดทาง ทุกสาย (ไม่รวมค่าธรรมเนียม)
เฉพาะเดือนมิถุนายน-กันยายน โดยผู้สูงอายุไม่ต้องเข้าแถวรอซื้อตั๋ว มีที่นั่งรอรับตั๋ว
พนักงานช่วยยกสัมภาระและปฐมพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย
การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง
ประเทศไทย (mrt)
ลดค่าโดยสารครึ่งราคา
บริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ
จำกัด (มหาชน) (รถไฟฟ้า BTS) จัดลิฟต์บริการที่สถานีหมอชิต สยาม อโศก อ่อนนุช และ ช่องนนทรี
72
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ
องค์การขนส่งมวลชน
กรุงเทพ (ขสมก.)
ลดค่าโดยสารครึ่งราคา (ไม่รวมค่าธรรมเนียม) ตลอดวัน และมีที่
นั่งสำรองเฉพาะ
บริษัทขนส่งจำกัด (บขส.)
ลดค่าโดยสารครึ่งราคา (ไม่รวมค่าธรรมเนียม) จัดที่นั่งพักผ่อนและ
ห้องสุขา
การบินไทย
ลดค่าโดยสาร 15% เฉพาะชั้นประหยัด และเที่ยวบินภายในประเทศ
อำนวยความสะดวกขึ้นเครื่องเป็นลำดับแรก
การบินกรุงเทพ (บางกอก
แอร์เวย์)
ลดค่าโดยสาร 5% ชั้นประหยัด เฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศ
อำนวยความสะดวกขึ้นเครื่องเป็นลำดับแรก
ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ)
73
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ)
ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ
สายการบินนกแอร์ /
แอร์เอเชีย
อำนวยความสะดวกขึ้นเครื่องเป็นลำดับแรก
หน่วยงานที่รับผิดชอบ
ท่าอากาศยานทุกแห่ง
จัดบริการสิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ลิฟต์ โทรศัพท์ ทางลาด
ห้องสุขา มุมพักผ่อน
การทางพิเศษแห่ง
ประเทศไทย
จัดบริการห้องน้ำเฉพาะที่ด่านดินแดง ด่านสุขุมวิท 62 และด่านบางนา
ผู้สูงอายุต้องแจ้งและแสดงบัตรประจำตัวประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ก่อน
ซื้อตั๋วโดยสารบริการขนส่งสาธารณะ
การทางพิเศษแห่ง
ประเทศไทย
จัดบริการห้องน้ำเฉพาะที่ด่านดินแดง ด่านสุขุมวิท 62 และด่านบางนา
ผู้สูงอายุต้องแจ้งและแสดงบัตรประจำตัวประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ก่อน
ซื้อตั๋วโดยสารบริการขนส่งสาธารณะ
74
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ)
ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ
การช่วยเหลือในทาง
คดี
ให้คำแนะนำ ปรึกษา ความรู้ทางกฎหมาย จัดหาทนายความ
ช่วยเหลือ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการให้ความช่วยเหลือ ว่า
ความ แก้ต่างคดี และได้รับการดูแลจากอาสาสมัครคุ้มครอง
สิทธิและเสรีภาพในพื้นที่
ด้านการช่วยเหลือผู้
สูงอายุที่ถูกทารุณ
กรรม
ช่วยเหลือผู้สูงอายุจากการถูกทารุณกรรม ถูกทอดทิ้ง เป็นเงิน
ไม่เกิน 500 บาท
ผู้เลี้ยงดูบิดา มารดา
ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้ จำนวน 30,000 บาท ต่อผู้สูง
อายุ 1 คน
75
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เจตคติ เเละ จริยธรรม
ในการดูเเลผู้สูงอายุสมัยใหม่
76
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com77
เจตคติกับการดูแลผู้สูงอายุ
หมายถึง จิตวิญญาณของพยาบาลที่มีต่อผู้สูงอายุ อันเป็นเเรงขับที่
เเท้จริงที่เก็บ ซ่อนไว้ภายใน (ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ การ
วางแผน) ซึ่งมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งยังไม่ปรากฏออกมาให้เห็น
เป็นพฤติกรรม (จริยศาสตร์)
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี)
Myth
ความเชื่อผิดๆ
เกี่ยวกับผู้สูงอายุ
ปัจจัยที่มีผลต่อเจตคติ
Stereotype
แง่คิดมุมมอง
จนก่อเกิดภาพ
ในใจ
Prejudice
พื้นฐานกรอบการคิด
(สังคม วัฒนธรรม
กฏหมาย สภาพ
แวดล้อม)
Discrimination
การแบ่งแยก
ซึ่งจะเเปลผันตาม
Stereotype
(Hummert, M.L.,2011)
มโนจริยศาสตร์กับการสร้างสรรค์
คุณธรรม
จริยธรรม
บันได 2 ขั้นนำความเจริญสู่ชีวิต
คุณ !! มีคุณธรรมแล้วหรือยัง
ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย
สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ
พฤติกรรมในเงาธรรม
ความจริงที่เป็นความดี ที่เป็นคำสอนให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์
เอกสิทธิ์เเห่งตน การทำประโยชน์
การไม่ทำอันตราย การบอกความจริง
การรักษาความลับ ความเสมอภาคและยุติธรรม
ค่านิยมตามหลักธรรม
การพยาบาลผู้สูงอายุ
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
(ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี)
78
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com79
“วยาคติ”กับการดูแลผู้สูงอายุ
วยาคติ = Ageism : อคติต่อความสูงอายุ
แก่ ชราภาพ หัวดื้อ น่าเบื่อ ไม่อดทน
ขี้หงุดหงิด คิดช้า เข้าใจยาก
ตามโลกไม่ทัน
มีอคติต่อผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุคิดลบตาม เกิดภาพในใจ
ก่อเกิดอคติต่อตนเอง
คุณค่าตนเองลดลง
แยกตัว
Cognitive
degernative
Frailty
(ประยุกต์จาก : กมลชนก ขำสุวรรณ, 2555)
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ท่านจะประยุกต์ใช้หลักจริยศาสตร์
ในการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างไร
หลักการจริยศาสตร์ 6 ประการ
1. การทำประโยชน์
2. การไม่ทำอันตราย
3. ความเสมอภาค
4. การบอกความจริง
5. การเคารพเอกสิทธิ
6. การรักษาความลับ
แนวคิดทางจริยศาสตร์
1. เอื้ออาทร
2. ความร่วมมือ
3. ความรับผิดชอบ
4. การทำหน้าที่เเทน
(Fry & Johnstone, 2002)
80
หลักจรรยาบรรณวิชาชีพ ICN
1. มีความรับผิดชอบ
2. ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนให้เซ็นยินยอม
3. รักษาความลับ
4. ใช้วิจารณญาณแลกเปลี่ยนข้อมูล
(ชัชวาล วงค์สารี และคณะ , 2557 )
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
การดูเเลผู้ดูแลผู้สูงอายุสมัยใหม่
81
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
สมรรถนะจำเป็นต่อการดูแลผู้สูงอายุของพยาบาลวิชาชีพ
มี 6 ด้าน (กิตติพร เนาว์สุวรรณ และคณะ, 2560) ดังนี้
1. จริยธรรม
2. การพยาบาลแบบองค์รวม
3. ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
4. การจัดการดูแลเฉพาะราย
5. การเสริมสร้างพลังอำนาจ
6. การประยุกต์ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์
ขอตัวเเทนนักศึกษา 2 คน อธิบายการนำสมรรถนะข้างต้นไปใช้ดูแลผู้สูงอายุ
พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
82
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
- การพยาบาลด้วยนวัตกรรม
- การพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย
- การจัดการข้อมูลที่บ่งชี้เนื้องานทางการพยาบาล
- การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลเฉพาะ
ความท้าทายสำคัญของการพยาบาลผู้สูงอายุยุคใหม่
คือ อะไร ?
เพิ่ม
83
ควร
39 ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
ด้านสุขภาพ
ด้าน
ที่อยู่อาศัย
ด้านรายได้
มีสุขภาพดี
อยู่ในสถานที่
ร่วมกันต่างวัย
มีระบบดูแล
เพียงพอต่อ
การยังชีพ
มั่นคง 3 ด้าน
“ประเทศไทยต้องมุ่งสู่สังคมสูงอายุที่มีพลัง”
สรุป
84
1.กมลชนก ขำสุวรรณ. (2555). ผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสังคมภิวัฒน์ คณะ
สังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการทางสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, (3)3; -
2. ชัชวาล วงค์สารี,อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. (2557) .กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและกฎหมายอื่นที่
เกี่ยวข้อง. กาญจนบุรี : เอ็น พี เพรส .
3. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2549). สวัสดิการผู้สูงอายุ: แนวคิดและวิธีการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์
ก๊อปปี้.
4. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2560. [ออนไลน์] เข้าถึงจาก :http://www.ratchakitcha.soc.go.th/
DATA/PDF/2560/A/131/36.PDF
5. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย
พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓. กรุงเทพ ; โรงพิมพ์เดือนตุลา
6. Anbacken, E. & Kinoshita, Y. (eds.)(2008). Older people in an international local context: The case of Japan
and Sweden. Stockholm: Vardalstiftelsen.
7. Fried L, P, et al. (2001)Frailty in older adults: evidence for a phenotype:J Gerontol A Biol Sci Med Sci. 2001
Mar;56(3):M146-56.
8. Hummert M, L. (2011). Age Stereotypes and Aging. in Handbook of the psychology of Ageing (seven
edition): A volume in Handbooks of Aging Pages 249–262.
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เอกสารอ้างอิง
85
8. Jitramontree N, Thayansin T. (2013). Social Welfare for Older Persons in Thailand: Policy and
Recommendation. J Pub. Health Dev, 11(3): 39-47.
9. Rockwood and Colleagues. (2005).A global clinical measure of fitness and frailty in elderly
people.CMAJ. 2005 Aug 30; 173(5): 489–495. doi:  10.1503/cmaj.050051
10. Standard & Poors. (2010). Global Ageing 2010: An Irreversible Truth. United Nations General
Assembly Resolution 46/91.
11. United State . (2017). Ageing. [Online] Available: thttps://esa.un.org/unpd/wpp/Publications/Files/
WPP2017_KeyFindings.pdf
ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com
เอกสารอ้างอิง (ต่อ)
เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง
ชัชวาล วงค์สารี.(2561). มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุและหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ.สไลด์
ประกอบการสอน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
[ออนไลน์] เข้าถึงจาก ;http://www.teacher.ssru.ac.th/chutchavarn_wo/ (9 มกราคม
2561)
86

More Related Content

What's hot

การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...Chutchavarn Wongsaree
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตUtai Sukviwatsirikul
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับtechno UCH
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยSutthiluck Kaewboonrurn
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 Yanee Tongmanee
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตUtai Sukviwatsirikul
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพUtai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนAphisit Aunbusdumberdor
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...Klangpanya
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Aphisit Aunbusdumberdor
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเ...
 
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
Clinical Nursing Practice Guideline for Stroke 2012
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แผลกดทับ
แผลกดทับแผลกดทับ
แผลกดทับ
 
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วยสิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
สิทธิและหน้าทีของผู้ป่วย
 
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57 งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
งานสอนปฐมพยาบาล อฉช 57
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแลคู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
คู่มือความรู้และการดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมสำหรับญาติและผู้ดูแล
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอนLesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
Lesson plan และแนวทางแนวการเขียนแผนการสอน
 
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต  (G...
ppt รายงานความก้าวหน้า เรื่อง แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลกในอนาคต (G...
 
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
Nursing Care for Coronary Artery disease edition 111058
 
อาหาร Dm
อาหาร Dmอาหาร Dm
อาหาร Dm
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก  คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คู่มือการดูแลสุขภาพด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
 

Similar to มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ

พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองChutchavarn Wongsaree
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุVorawut Wongumpornpinit
 
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zการศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zChutchavarn Wongsaree
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังChutchavarn Wongsaree
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCChuchai Sornchumni
 
ตำบลบ้านใหม่
ตำบลบ้านใหม่ตำบลบ้านใหม่
ตำบลบ้านใหม่ayutthayahc
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...Be SK
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Chutchavarn Wongsaree
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆBe SK
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranongNithimar Or
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารThira Woratanarat
 
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาสTeeranan
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouthguest78694ed
 
Bangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCareBangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCarePattie Pattie
 

Similar to มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ (20)

พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพองการพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
การพยาบาลผู้ป่วยหลอดเลือดเอ-ออร์ตาในช่องท้องโป่งพอง
 
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุอยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
อยากสุขภาพดีต้องมี 3อ. สำหรับวัยสูงอายุ
 
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zการศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHCนโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
นโยบายโรคเรื้อรังกับ UHC
 
ตำบลบ้านใหม่
ตำบลบ้านใหม่ตำบลบ้านใหม่
ตำบลบ้านใหม่
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
พจนานุกรมข้อมูล - การป้องกันการตายของมารดา ทารกแรกเกิดและเด็ก และการให้ความช่...
 
samutprakan
samutprakansamutprakan
samutprakan
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
 
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆพจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
พจนานุกรมข้อมูล - ประเด็นอื่นๆ
 
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
Medhub 3 4 52  anchana na ranongMedhub 3 4 52  anchana na ranong
Medhub 3 4 52 anchana na ranong
 
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหารเศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
เศรษฐศาสตร์พฤติกรรมกับการบริโภคอาหาร
 
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาสงานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015  ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
งานเสวนา บนย่างก้าวสู่ประชาคมอาเซียน 2015 ปัญหา อุปสรรคและโอกาส
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Presentation Consumersouth
Presentation ConsumersouthPresentation Consumersouth
Presentation Consumersouth
 
Bangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCareBangkok_LongTermCare
Bangkok_LongTermCare
 

More from Chutchavarn Wongsaree

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailandChutchavarn Wongsaree
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...Chutchavarn Wongsaree
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...Chutchavarn Wongsaree
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังChutchavarn Wongsaree
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจChutchavarn Wongsaree
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilatorChutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนChutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลันChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์Chutchavarn Wongsaree
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์Chutchavarn Wongsaree
 

More from Chutchavarn Wongsaree (20)

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailand
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
 
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาลการอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
การอ่านเเละเเปลผลคลื่นไฟฟ้าหัวใจที่เต้นผิดจังหวะสำหรับพยาบาล
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilator
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
 

มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ

  • 1. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มรภ.สวนสุนันทา พย.บ.(เกียรตินิยม) มหาวิทยาลัยราชธานี อุบลฯ ปร.ด.(การบริหารพยาบาล) กำลังศึกษา มหาวิทยาลัยคริสเตียน พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่) ม. หัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ นิติศาสตร์ ภาคบัณฑิต (กำลังศึกษา) ม. ธรรมศาสตร์ การศึกษา การศึกษาเฉพาะทางการพยาบาล : 2. การพยาบาลผู้ป่วยฟอกเลือดด้วยไตเทียม มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 1. การพยาบาลห้องสวนหัวใจและการตรวจรักษาพิเศษ สถาบันโรคทรวงอก กรมการเเพทย์ 3. ศาสตร์และศิลป์การสอนพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 4. การพยาบาลผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยมหิดล สาขาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ facebookData link มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุ และหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ (ลิขสิทธิ์ภาพถ่ายเพื่อการสอนเท่านั้น) เผยเเพร่ มกราคม ๒๕๖๑ Line โดย บรรยายเเก่ นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ ๒ รุ่นที่ ๑๐ ณ CHN, SSRU ๙ มกราคม ๒๕๖๑ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๖.๐๐ น.
  • 2. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 1.1 แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุ - ความหมาย/ประเภท....ตามองค์การอนามัยโลก - โครงสร้างประชากร/สถานการณ์....ของโลก/ไทย - แนวโน้มด้านปัจจัย/สาเหตุผลกระทบ....เกี่ยวกับ การเปลี่ยนเเปลงโครงสร้างประชากร 1ชั่วโมง/4ข้อ อภิปราย+บรรยาย บอก/ อธิบายความ / เเยก แยะประเภท/ เเนะนำ / จัด ประเภท/ วิเคราะห์อธิบาย รูปภาพ….ตามเอกสาร ประกอบหัวข้อ 1.1 ได้ Scope Topic Objective 1.2 แนวคิดเกี่ยวกับการพยาบาลผู้สูงอายุ - แนวคิด/ การพยาบาลผู้สูงอายุ/ นวัตกรรม - ระบบการดูเเล/ระบบสนับสนุนทางสังคม - เจตคติ/จริยธรรม - การดูเเลผู้ดูเเล / ครอบครัว/ สังคม 1ชั่วโมง/4ข้อ อภิปรายกลุ่ม/นำเสนอ บอก/ อธิบายความ / เเยกแยะประเภท/ เเนะนำ / จัดประเภท/ วิเคราะห์ อธิบายรูปแบบการดูแล ได้ - นโยบายรัฐบาล / กระทรวงสาธารณสุข - พร.บ. ผู้สูงอายุ ฉบับที่ 2 / กฏหมายที่เกี่ยวข้อง - แผนพัฒนาผู้สูงอายุไทย อภิปราย 1ชั่วโมง/4ข้อ บอก/ อธิบายความ / เเนะ นำการประยุกต์ใช้ให้สอ ค ล้ อ ง กั บ ส ถ า น ก า ร์ ที่ กำหนดให้ได้ 2
  • 3. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com3 เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง ชัชวาล วงค์สารี.(2561). มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุและหลักการ พยาบาลผู้สูงอายุ.สไลด์ประกอบการสอน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.[ออนไลน์] เข้าถึงจาก ;http:// www.teacher.ssru.ac.th/chutchavarn_wo/ (9 มกราคม 2561) แนวคิดเกี่ยวกับผู้สูงอายุKeywords: แผนพัฒนาผู้สูงอายุไทย มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ เจตคติแลจริยศาสตร์ต่อผู้สูงอายุ “……………” หาเป็น pdf รูปแบบตีพิมพ์ในวารสารสืบค้นเพิ่ม: ที่มา : http://www.teacher.ssru.ac.th/chutchavarn_wo/
  • 4. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com คำนิยาม สถานการณ์ ผลกระทบ กับโครงสร้างประชากรสูงอายุ 4
  • 5. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกินกว่าหกสิบปี บริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย (พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546) ผู้สูงอายุ คือ ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งมีอายุมากกว่า 60 ปีขึ้นไป (องค์การสหประชาชาติ) ยุโรป& อเมริกา คือ ประชากรทั้งเพศชายและเพศหญิง ซึ่งมีอายุมากกว่า 65 ปีขึ้นไป (WHO,2017) ความหมาย 5
  • 6. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระดับความสูงอายุ ** ผู้สูงอายุวัยตอนกลางและผู้สูงอายุมากมีเพิ่มขึ้นและเป็นหญิงมากกว่าชาย วัยต้น 60-69 ปี 60-75 ปี วัยกลาง 70-79 ปี 75-85 ปี วัยปลาย >80 ปี > 85 (พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546) ชาย หญิง 6
  • 7. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระดับสังคมสูงอายุ แบ่งออกเป็น 3 ระดับ (UN,2017 )ดังนี้ การมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่า 10% ของประชากรทั้งประเทศ หรือมีประชากรอายุ ตั้งแต่ 65 ปี เกิน 7% ของประชากรทั้งประเทศ Ageing Society /Aging Society เมื่อมีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไป เพิ่มขึ้นเป็น 20% หรือประชากรอายุ 65 ปี ขึ้นไป เพิ่มเป็น 14% ของประชากรทั้งประเทศ Aged Society สังคมที่มีประชากรอายุ 65 ปีขึ้นไป มากกว่า 20% ของประชากรทั้งประเทศ Super-Aged Society 7
  • 8. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก 8
  • 9. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก 9
  • 10. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก 10
  • 11. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก 11
  • 12. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก 12
  • 13. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก (ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๕) ประชากรรวม 64.6 ล้านคน < 15 ปี = 18.8 % 15-64 ปี = 66.5 % > 60 ปี = 14.7 % ปี 2556 13
  • 14. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก 14
  • 15. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สถานการณ์ประชากรไทย 14
  • 16. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก (ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๕) ประชากรรวม 66.3 ล้านคน < 15 ปี = 16.2 % 15-64 ปี = 62.5 % > 60 ปี = 21.3 % ปี 2566 15
  • 17. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุโลก ประชากรรวม 65.7 ล้านคน < 15 ปี = 14.2 % 15-64 ปี = 57.3 % > 60 ปี = 28.5 % ปี 2576 (ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓ สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, ๒๕๕๕) 17
  • 18. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุไทย จำนวน (ล้านคน) %ประชากรผู้สูงอายุ ที่มา : มิเตอร์ประเทศไทย * ข้อมูล 22 ตุลาคม 2558 2554 2555 2556 2557 2558 7.4
 11.50% 8.2
 12.74% 9.4
 14.57% 10.0
 15.44% 10.5
 16.09%* 18
  • 19. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงประชากร สูงอายุไทย 4.03
 7.2% 4.82
 8.1% 5.73
 9.2% 6.62
 10.2% 7.64
 11.5% 9.10
 13.2% 10.78 15.3% 14.45
 20.0% 2533 2538 2543 2548 2553 2558 2563 2568 19
  • 20. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Silver Population 20
  • 21. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 2015 2050 2010 Under 15 60 + World 7 349 472 9 725 148 11 213 317 26 12 Southeast Asia 633 490 792 139 769 404 27 9 Brunei Darussalam 423 546 489 23 8 Cambodia 15 578 22 545 23 928 32 7 Indonesia 257 564 322 237 313 648 28 8 Lao PDR 6 802 10 172 10 411 35 6 Malaysia 30 331 40 725 40 778 25 9 Myanmar 53 897 63 575 56 026 28 9 Philippines 100 699 148 260 168 618 32 7 Singapore 5 604 6 681 5 593 16 18 Thailand 67 959 62 452 41 604 18 16 Timor-Leste 1 185 2 162 3 234 42 7 Viet Nam 93 448 112 783 105 076 23 10 Country/Area Mid Year population (thousands) Percentage of population (Mid 2015) 21
  • 22. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com วิเคราะห์สถานการณ์ประเทศไทย คำถามวิเคราะห์ปัจจัยและผลกระทบจากปิรมิดประชาการ 1.ประเทศไทยเป็นสังคมผู้สูงอายุระดับไหน เมื่อไร 2. ปิรมิดประชากรในปี 2563/2576 จะต่างจาก ปิรมิดก่อนหน้านี้อย่างไร 3. ปิรมิดประชากรบอกอะไรท่านบ้าง/ อย่างไร 22
  • 23. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com วิเคราะห์ผลกระทบจากการเพิ่มขึ้นของวัยสูงอายุ ครอบครัว สังคม ชุมชน บุคคล ประเทศ โลก ออกเเบบการดูแลให้เกิด Active Ageing นานที่สุด Functional Stabilisations - นโยบายสาธารณสุข - นโยบายสาธารณะ หลีกเลี่ยงไม่ได้ คือ ภาวะพึ่งพิง 23
  • 24. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com หน่วยงานที่ร่วมดูเเลผู้สูงอายุในประเทศไทย หน่วยงานที่ดำเนินงาน o กระทรวงสาธารณสุข o กระทรวงพัฒนาสังคม และความมั่นคงของ มนุษย์ o กระทรวงมหาดไทย o กระทรวงแรงงาน หน่วยงานวางแผนผู้สูงอายุ o สำนักงานสถิติเเห่งชาติ o สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมเเห่งชาติ o สภาผู้สูงอายุ หน่วยเกี่ยวกับข้อมูลและวิจัยผู้สูงอายุ o สภาวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย o สภาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้สูงอายุไทย o สถาบันวิจัยประชากรเเละสังคม มหิดล o วิทยาลัยประชากรศาสตร์ จุฬา o สถาบันการศึกษาต่างๆ 24
  • 25. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com วิเคราะห์จุดเเข็ง/จุดอ่อนในการดูแลผูสูงอายุไทย จุดแข็ง จุดอ่อน - ผู้ สู ง อ า ยุ มี ก า ร ศึกษา สติปัญญา และทักษะที่นำมา แ ล ก เ ป ลี่ ย น / ต่ อ ยอดสู่การพัฒนาที่ รวดเร็ว - เป็นเมืองพุทธ ที่มีความ กตัญญูเป็นที่ตั้ง - อัตราการเพิ่มของประชากรน้อย ลง/วัยเเรงงานต้องแบกรับภาระ ทางเศรษกิจและสังคมมากขึ้น - ต้องอาศัยเเรงงานข้ามชาติ มาดูแลก่อให้เกิด“ทารุณ ฆาต”จากความต่างทาง วัฒนธรรมมากขึ้น - ขาดการวางแผน ด้านงบประมาณใน การดูแลผู้สูงอายุ 25
  • 26. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ปรากฏการณ์ใหม่จากการเพิ่มขึ้นของผู้สูงอายุไทย Ageing Society / Aged / Super Aged New Pressure New Needs New Culture 26
  • 27. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com กฎหมาย นโยบาย และมาตรการ ที่สนับสนุนต่อผู้สูงอายุ 27
  • 28. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สร้างจิตสำนึกให้คน สังคมตระหนักถึงผู้ สูงอายุในฐานะ บุ ค ค ล ที่ มี ประโยชน์ต่อสังคม ใ ห้ ป ร ะ ช า ก ร ทุ ก ค น ต ร ะ ห นั ก ถึ ง ค ว า ม สำคัญของการเตรียม การและมีการเตรียม การเข้าสู่การเป็นผู้สูง อายุที่มีคุณภาพ ให้ผู้สูงอายุดำรง ชี วิ ต อ ย่ า ง มี ศักดิ์ศรี พึ่งตนเอง ได้มีคุณภาพชีวิต และมีหลักประกัน ให้ประชาชน ครอบครัว ชุมชน องค์กรภาครัฐและ เอกชนมีส่วนร่วมใน ภารกิจด้านผู้สูงอายุ ให้มีกรอบและแนวทาง ปฏิบัติสำหรับส่วนต่างๆ ในสังคมทั้งภาคประชาชน ชุมชน องค์กรภาครัฐและ เอกชนที่ปฏิบัติงานเกี่ยว กับผู้สูงอายุได้ปฏิบัติงาน อย่างประสานและ สอดคล้องกัน 1. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 28
  • 29. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 1. แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2545-2564) มี 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้ ด้านการเตรียม ค ว า ม พ ร้ อ ม ของประชากร เพื่อวัยสูงอายุ ที่มีคุณภาพ ด้านการ ส่งเสริม ผู้สูงอายุ ด้านระบบ คุ้มครองทาง สังคมสำหรับผู้ สูงอายุ ด้านการบริหาร จัดการเพื่อการ พัฒนางานด้านผู้สูง อายุระดับชาติ และ พัฒนาบุคลากร ด้านผู้สูงอายุ ด้านการประมวลและ พัฒนาองค์ความรู้ ด้านผู้สูงอายุ และการ ติดตามประเมินผล การดำเนินการตาม แผนผู้สูงอายุแห่งชาติ 29
  • 30. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 2. พรบ. ผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ❑National plan for older persons: *Revision of Second National Plan for Older Person 2009 30
  • 31. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 2. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 ได้บัญญัติให้ผู้สูงอายุมีสิทธิได้รับการคุ้มครอง ส่งเสริมและสนับสนุนตามกฎหมาย ตามมาตรา 11 1. ได้รับบริการทางการแพทย์และการสาธารณสุขที่ จัดไว้โดยให้ความสะดวกและรวดเร็วแก่ผู้สูงอายุ เป็นกรณีพิเศษ 2. ได้รับการศึกษา การศาสนาและข้อมูลข่าวสารที่ เป็นประโยชนต่อการดำเนินชีวิต 3.ได้รับการส่งเสริมการประกอบอาชีพหรือฝึก อาชีพที่เหมาะสม 4. ได้รับการพัฒนาตนเอง และการมีส่วนร่วมใน กิจกรรมทางสังคม การรวมกลุ่มในลักษณะเครือ ข่ายหรือชุมชน 5. ได้รับการอำนวยความสะดวกและความปลอดภัยโดยตรงแก่ผู้สูงอายุ ในอาคาร สถานที่ ยานพาหนะ หรือการบริการสาธารณะอื่น 31
  • 32. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 2. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 (ต่อ) 6.ได้รับการช่วยเหลือด้านค่าโดยสารยานพาหนะตามความ เหมาะสม 7. ได้รับการยกเว้นค่าเข้าชมสถานที่ของรัฐ 8. ได้รับการช่วยเหลือในกรณีที่ได้รับอันตรายจากการถูกทารุณ กรรมหรือถูกแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบด้วยกฎหมายหรือ ถูกทอดทิ้ง 9. ได้รับการให้คำแนะนำ ปรึกษา หรือดำเนินการอื่นที่เกี่ยวข้อง ในทางคดีหรือในทางการแก้ไขปัญหาครอบครัว 10. ได้รับการจัดหาที่พักอาศัย อาหาร และเครื่องนุ่งห่มให้ตาม ความจำเป็นอย่างทั่วถึง 32
  • 33. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 2. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ.2546 (ต่อ) 11. ได้รับการสงเคราะห์เบี้ยยังชีพตามความจำเป็นอย่างทั่วถึงและเป็น ธรรม 12. ได้รับการสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี 13. ได้รับบริการอื่นๆ ตามที่กรรมการผู้สูงอายุแห่งชาติประกาศกำหนด นอกจากนี้ยังได้บัญญัติให้ผู้เกี่ยวข้องกับผู้สูงอายุ ได้รับสิทธิทางภาษี ตามมาตรา 16 และ 17 ดังนี้ 16. ผู้ที่บริจาคเงินหรือทรัพย์สินให้แก่กองทุนผู้สูงอายุแห่งชาติ มีสิทธิ นำไปลดหย่อนในการคำนวณภาษีเงินได้ หรือได้รับการยกเว้นภาษี สำหรับทรัพย์สินที่บริจาคแล้วแต่กรณี 17. ผู้ที่อุปการะเลี้ยงดูบุพการีซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ไม่มีรายได้เพียงพอแก่ การยังชีพ มีสิทธิได้รับการลดหย่อนภาษีตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ กำหนดในประมวลรัษฎากร 33
  • 34. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 30 บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายและได้ รับความคุ้มครองตามกฎหมายเท่าเทียมกัน ชายและ หญิงมีสิทธิเท่าเทียมกัน การเลือกปฏิบัติโดยไม่เป็น ธรรมต่อบุคคลเพราะเหตุแห่งความแตกต่าง ในเรื่อง
 ถิ่นกำเนิด เชื้อชาติ ภาษา เพศ อายุ ความพิการ สภาพทางกายหรือสุขภาพ สถานะของบุคคล ฐานะ ทางเศรษฐกิจหรือสังคม ความเชื่อทางศาสนา การ ศึกษาอบรม หรือความคิดเห็นทางการเมืองอันไม่ขัด ต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ จะกระทำมิได้ 34
  • 35. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ) หมวด 3 สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย มาตรา 40 เด็ก เยาวชน สตรี ผู้สูงอายุ หรือผู้ พิการ หรือทุพพลภาพ ย่อมมีสิทธิได้รับความ คุ้มครองในการดำเนินกระบวนพิจารณาคดีอย่าง เหมาะสม และย่อมมีสิทธิได้รับการปฏิบัติที่เหมาะ สมในคดีที่เกี่ยวกับความรุนแรงทางเพศ 35
  • 36. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 53 บุคคลซึ่งมีอายุเกินหกสิบปีบริ บูรณ์และไม่มีรายได้เพียงพอแก่การยังชีพ มี สิทธิได้รับสวัสดิการ สิ่งอำนวยความสะดวกอัน เป็นสาธารณะอย่างสมศักดิ์ศรีและความช่วย เหลือที่เหมาะสมจากรัฐ 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ) 36
  • 37. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 80 รัฐต้องดำเนินการตามแนวนโยบายด้าน สังคม การสาธารณสุข การศึกษา และวัฒนธรรม ดัง ต่อไปนี้ (1) คุ้มครองและพัฒนาเด็กและเยาวชน สนับสนุน การอบรมเลี้ยงดูและให้การศึกษาปฐมวัย ส่งเสริม ความเสมอภาคของหญิงและชาย เสริมสร้างและพัฒนา ความเป็นปึกแผ่นของสถาบันครอบครัวและชุมชน รวม ทั้งต้องสงเคราะห์และจัดสวัสดิการให้แก่ผู้สูงอายุ ผู้ ยากไร้ ผู้พิการหรือทุพพลภาพ และผู้อยู่ในสภาวะยาก ลำบาก ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นและพึ่งพาตนเองได้ 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ) 37
  • 38. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 3. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 (ต่อ) หมวด 5 แนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ มาตรา 84 รัฐต้องดำเนินการตามแนว นโยบายด้านเศรษฐกิจ ดังต่อไปนี้ (4) จัดให้มีการออมเพื่อการดำรงชีพในยาม ชราแก่ประชาชนและเจ้าหน้าที่ของรัฐอย่างทั่ว ถึง 38
  • 39. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 4. นโยบายด้านสาธารณสุข 1. พัฒนางานสาธารณสุข ตามแนวพระราชดำริ และโครงการ เฉลิมพระเกียรติเพื่อเทิดพระเกียรติพระบรมวงศานุวงศ์ 2. เพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการที่มี คุณภาพ มาตรฐาน ทั่วถึง เป็นธรรม สร้างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ 3. เร่งรัดมาตรการสร้างสุขภาพโดยมีเป้าหมาย เพื่อลดอัตราป่วย ตาย และผลกระทบจากโรคไม่ติดต่อเรื้องรัง เช่น เบาหวาน ความดัน หัวใจ หลอดเลือดสมอง และมะเร็ง 4. เร่งรัดดำเนินการคุ้มครองผู้บริโภคด้านสุขภาพ ตลอดจนอาหาร ปลอดภัย 5. เตรียมความพร้อม พัฒนาระบบเฝ้าระวัง เตือนภัย การจัดการที่มี ประสิทธิภาพ ทันการณ์ เมื่อเกิดภัยพิบัติโรคระบาด และภัยธรรมชาติ        6. จัดให้มีการดูแลกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มเด็ก กลุ่มสตรี กลุ่ม ผู้สูงอายุ กลุ่มผู้พิการ รวมถึงกลุ่มเป้าหมายเฉพาะอื่น เช่น แรงงานข้ามชาติ 7. สร้างแรงจูงใจและพัฒนาขีดความสามารถของอาสาสมัครสาธารณสุข ทุกคนโดยสนับสนุนอุปกรณ์พื้นฐานที่จำเป็นในการปฏิบัติภารกิจฯ 39
  • 40. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 4. นโยบายด้านสาธารณสุข (ต่อ) 8. สร้างแรงจูงใจแก่บุคลากรสาธารณสุขทุกระดับฯ และความก้าวหน้าในวิชาชีพที่เป็น ธรรม สร้างกลไกพัฒนาสัมพันธ์ที่ดีระหว่างผู้ให้และผู้รับฯ 9. เพิ่มการลงทุนในระบบบริการทุกระดับ ทั้งด้านโครงสร้างพื้นฐาน และอุปกรณ์การแพทย์ ที่จำเป็น มุ่งเน้นการพัฒนาหน่วยบริการปฐมภูมิทั้งในเขตเมืองและเขตชนบท 10. ส่งเสริมการใช้การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ทางเลือก ในระบบบริการ สาธารณสุขทุกระดับ    11. ส่งเสริมการจัดบริการสุขภาพนานาชาติ และระบบโลจิสติกส์ โดยไม่ก่อให้เกิดผลก ระทบกับบริการสุขภาพโดยรวมของคนไทย 12. สนับสนุนความร่วมมือระหว่างภาครัฐและเอกชนในการจัดบริการสุขภาพ 13. พัฒนาระบบข้อมูลสุขภาพให้มีคุณภาพ และบริการข้อมูลสุขภาพสำหรับประชาชนฯ 14. พัฒนา ผลักดันและการบังคับใช้กฎหมายให้เอื้อประโยชน์ต่อการสนับสนุนการดำ เนินงานฯ 15. จัดตั้งศูนย์บำบัด ฟื้นฟู ผู้เสพ ผู้ติดยาเสพติด ควบคุม ป้องกันการใช้สารตั้งต้นใน การผลิตยาเสพติดและเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของสารเสพติดชนิดใหม่ 16. จัดให้มีการสื่อสารสาธารณะด้านสุขภาพเพื่อให้ข้อมูลความรู้แก่ประชาชนอย่างทั่ว ถึง 40
  • 41. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Principle for Older person Nursing Care 41
  • 42. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com “….that branch of Special Nursing concerned with the ☯ clinical (physical & mental) ☯ rehabilitative ☯ social ☯ preventive aspects of illness and health in the Ageing” How /Who is “Geronto” Nursing ?? 42
  • 43. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com R-A-M-P-S ▪ Reduced body reserve พลังสำรองร่างกายลดลง ▪ Atypical presentation อาการแสดงที่ไม่แน่นอน ▪ Multiple pathology มีหลายโรคในเวลาเดียวกัน ▪ Polypharmacy ได้รับยาหลายชนิด ▪ Social adversity ปัญหาด้านสังคม ลักษณะเฉพาะของผู้สูงอายุที่แตกต่างจากผู้ป่วยทั่วไป 43
  • 44. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ➢ ภาวะหกล้ม Instability (Fall) ➢ การสูญเสียความสามารถในการเดิน Immobility ➢ สติปัญญาเสื่อมถอย Intellectual impairment ➢ ปัสสาวะอุจจาระราด Incontinence ➢ เบื่ออาหาร Inanition ➢ เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ง่าย Iatrogenesis Geriatric Syndrome “Big I’s” 44
  • 45. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 1.Decline in physiologic function & reserve 2.Disease Symptoms - weakness - fatigue - anorexia - undernutrition - weight loss Signs - physiologic changes - balance & gait - deconditioning - falls, - immobility - delirium - injury - acute illness - hospitalization - disability - dependency - death > > Pathophysiology of geriatric syndrome 45
  • 46. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com • Stroke
 • Diabetes
 • Depression • Pneumonia • Heart failure Internal Medical Nursing • Falls • Dementia • Malnutrition • End-of-life care • Urinary incontinence Geriatric Nursing Care (Wenger N et al. Ann Intern Med 2003; 139: 740-47. ) 46
  • 47. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Comprehensive Geriatric Nursing Assessment in Older person Medical Cognition Function Commu nication action Social Presenting symptom or illness - Detials - Functional Impact - Systemic review Past Medical History - Risk Factor - Screening status - Health promotion activities Medications - Indications - Effect -Comprehension - Compliance - Polypharmacy - Dementia - Confusion - Moods - Alcohol -Substance - Abuse - ADL - IADL - Life style - Recent life change -Rehabilita tive potential -Langauge -Hearing -Vision Environment -Current Living -Adaptive -Accessibility -Hazards Socio-Eco. -Family -Caregiver -Finance -Network -Social support -Service health requirement -Ageing receive Usually Assessment Comprehensive Geriatric Assessment (Apply from : functional community screening resource primary care doctor, March 2011; WHO,2017)47
  • 48. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Health care system for the Older person Care 48
  • 49. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com49
  • 50. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com กรอบแนวคิดการจัดบริการ/ระบบการดูแลผู้สูงอายุ ✓Accessibility ✓Continuity of Care ✓Integrated Care ✓Holistic Care ✓Co-ordination of Care • Home Care • Institutional Care • Community Care • Long-Term Care ระบบการดูแลผู้สูงอายุ กรอบแนวคิดการจัดบริการ 50
  • 51. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แผนแม่บทการพัฒนาการแพทย์และสาธารณสุขการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ Healthy Ageing Primary Preventions Treatm ent Rehabilitations Leadership/Governance Service Delivery/ Diversity IT WorkforceDrug/ Technology Finance “เข้าถึง ทั่วถึง เป็นธรรม นำสู่สุขภาพดี” 51
  • 52. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Institutional Care Source: Apply from Hasekawa, NMS, Japan Hospital Rehabilitative care Facility Rehabilitative care Acute care Nursing care Facility Clinic Death Multiple diseases Multiple continuous episodes Chronic care Palliative care Facility Palliative care Ageing Long-term care Success full Ageing 52
  • 53. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Community Care ประสาน Care Manager สำรวจ Care Manager/พยาบาล/พชส./อสส./ชุมชน วิเคราะห์ Care Manager วินิจฉัยสุขภาพผู้สูงอายุในชุมชน ดี เสี่ยง ป่วย Conference Case/ Situation Analysis Health Data Record Community Folders ได้รับมาตรฐาน เข้าถึงครอบคลุม เเละเป็นธรรม Ageing finally needs Nursing Process Standard Ageing Care Nursing Outcome 4M management ผู้สูงอายุสุขภาพดี พึ่งตนเองได้นานที่สุด 53
  • 54. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Community Care • สร้างความตระหนักให้ประชาชนเห็นความสำคัญของผู้สูงอายุ • สร้างความเข้มแข็งและส่งเสริมศักยภาพของชุมชนโดยให้ชุมชนมีส่วนร่วมในงานดูแล สุขภาพจิตผู้สูงอายุ: เพื่อนช่วยเพื่อน • พัฒนาศักยภาพบุคลากรให้สามารถส่งเสริมสุขภาพจิตและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตผู้สูงอายุ ในชุมชน • ส่งเสริมการรวมกลุ่มในการทำกิจกรรมเพื่อส่งเสริมสุขภาพจิตผู้สูงอายุ • การส่งเสริมการทำงานให้กับผู้สูงอายุ งานที่สร้างรายได้/งานบำเพ็ญประโยชน์ • สร้างนวัตกรรมใหม่ๆในการดูแลสุขภาพจิตผู้สูงอายุ / การทาำงานร่วมกันสร้างภาคีเครือข่าย 
 54
  • 55. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Illness -Ideas -Feeling -Function -Expectation Person -Life cycle -Family of origin -History Diseases Family -Family system -Family life cycle Context -Culture -Work -School -Health care system การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Home Health Care 55
  • 56. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Long-Term Care • เป็นระบบบริการสุขภาพร่วมกับระบบการบริการทางสังคม Ageing Frailty Long Term Care (Hospital/Community) Nursing Home Residential Home Assisted Living Facility Assisted Living Facility Palliative Palliative Hospice Death 56 (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี)
  • 57. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สรุปเปรียบเทียบความเเตกต่างการดูแลรูปแบบต่างๆ ประเภท การดูแล ผู้รับบริการ ระดับการดูแล 1. บ้านพักคนชรา (Residential Home) -ช่วยเหลือ ADL -ดูแลจิตสังคม -พยาบาลเยี่ยมเมื่อผู้สูงอายุต้องการ -บริการที่พักและอาหาร -ผู้สูงอายุดูแลตนเองได้เเต่มีฐานะ ยากจน -ขาดคนดูแล -ไม่สามารถอยู่กับครอบครัวได้ ต่ำ 2. สถานที่ให้การ ช่วยเหลือเพื่อดำรง ชีวิต (Assisted Living ) -ระบบขอความช่วยเหลือฉุกเฉิน -นักสังคมสงเคราะห์เยี่ยมเมื่อผู้สูงอายุ ต้องการ -บริการที่พักและอาหาร -ผู้สูงอายุมีข้อจำกัดทางด้าน ร่างกายเกี่ยวข้องกับความพิการ บางส่วน 3.สถานบริบาล (Nursing Home) -บริการทางการพยาบาล 24 ชม. -ช่วยด้าน ADL + Mobility -ดูเเลทดแทนเกือบทั้งหมด -กลุ่มเปราะบาง/ มีโรคเรื้อรัง -มีภาวะทุพลภาพด้านร่างกาย - บกพร่องในการรับรู้ สูง 4.ดูแลระยะยาวใน สถานพยาบาล(LTC) -ดูเเลแบบใกล้ชิดด้านการเเพทย์ และการพยาบาล -ผู้สูงอายุหลังภาวะวิกฤต/ระยะพัก ฟื้นยังต้องพึ่งพิง สูงสุด 5.สถานดูแลระยะ สุดท้าย (Hospice) - Palliative Nursing Care -ผู้สูงอายุโรคมะเร็งระยะสุดท้าย - สมองเสื่อมระยะสุดท้าย สูงสุด 57 (Apply from: Standard & Poors,2010)
  • 58. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com โครงการพัฒนาระบบ ดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึ่งพิงในพื้นที่ตำบล Long Term Care (การบริหารจัดการงบ 600 ล้านบาท) ประเด็นยุทธศาสตร์/ภารกิจหลักพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัย (กิจกรรมเน้นหนักกระทรวง) เป้าหมาย: ผู้สูงอายุติดบ้าน ติดเตียงในชุมชน 100,000 ราย ทุกจังหวัด ทุกอำเภอ 1,000 พื้นที่ การจัดสรรเงิน:600 ล้านบาท 500 ล้านบาท สำหรับกองทุนสุขภาพท้องถิ่น 100 ล้านบาท สำหรับหน่วยปฐมภูมิ กลไกการดำเนินงาน ส่วนกลาง โครงสร้างการบริหารจัดการ บทบาท Core Function ติดตามผลลัพธ์ มีคณะกรรมการร่วม สธ.แลสปสช.“คณะ กรรมการนโยบาย -ออกกฎระเบียบ /จัดทำคู่มือ แนวทาง/มาตรฐานการดำเนินงาน/ พัฒนาบุคลากร / อบรม Care เขตบริการสุขภาพ/สสจ./ รพศ./รพท. มีคณะกรรมการ สนับสนุนระดับ จังหวัดที่ชัดเจน -ชี้แจงแนวทางการดำเนินงาน -คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย -สนับสนุนการดำเนินงาน/ องค์ความรู้/อบรม Care giver/ M&E - ตามกลไก 5 x 5 -6 เดือน CG 5,000คน / ดูแล OP 30% -9 เดือน CG 6,000คน / ดูแล OP 60% -12เดือน CG 10,000คน / OP 100% -รายงานตามระบบรายงาน ระดับอำเภอ/พื้นที่ มีคณะกรรมการ/ นายอำเภอ เป็นประธาน /CM เป็นเลขาฯ ประเมินคัดกรอง /จัดทำCare plan / ปฏิบัติ งานตามแผนการดูแล / รายงาน ตำบล LTC ผ่านเกณฑ์ ร้อยละ 40 (KPI) - ตามกลไก 5 x 7 - การตรวจราชการ ปกติและจากหน่วยงานภายนอก การออกแบบการบริการสุขภาพผู้สูงอายุแบบ Long-Term Care 58
  • 59. Group 1: Can take care them selves Group 2: Restrict on Activity of Daily Living DeathGroup3: Dependent Intensive Long term Care Ageing Health Service Outcome Goal Indicator Goal Active and Healthy Aging Status: -Dependency Ratio (ADL) -Disease Statistic Process Indicators Service: -Access -Efficiency • The screening / assessment, care planning to find health issues. • Get a promotion, disease prevention, health care and rehabilitation to be effective. • Strengthening family and community involvement in local long-term care. • Dependency ratio decreased and good health behaviors (10 years indicator period) • Incidence of disease burden and significantly reduced (5 year indicator period) 1. Health 2. Social & Environment 3. Other Factors : Education, etc. Conceptual Framework of 
 Older person care Decreased of Dependent ratio of the older person - Health prevention - Health education / skills development body and mind. - Promoting Social Participation Early Detection -Screening -Assessment Healthy Caring, treatment, refer, rehabilitation Increased of Independent ratio of the older person (สถาบันเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ) ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com59
  • 60. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สธ. พม. มหาดไทย สสส. สช. สวรส. เอกชน ศูนย์พัฒนา คุณภาพชีวิต ผส. Care manager Care givers ผู้สูงอายุทีAมีภาวะพึAงพิง ๕๐๐ ลบ.ซืJอบริการ ๑๐๐ ลบ.(on top) บริการ LTC ในหน่วยบริการ หมายเหตุ ชุดสิทธิประโยชน์บริการ LTC ด ้านสาธารณสุขตามที8คณะอนุกรรมการพัฒนาระบบ การดูแลระยะยาวสําหรับผู้สูงอายุที8มีภาวะพึ8งพิงฯ หรือ สปสช.กําหนด เครือข่าย รพ.และ รพ.สต. สนับสนุน บริการ LTC ใน พืJนทีAบริการเชิงรุกทีA ศูนย์ฯ บริการเชิงรุกทีA บ้าน บริการเชิง รุกทีAบ้าน กองทุนหลัก ประกันสุขภาพ อปท. สปสช. ระบบบริการสุขภาพระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้สูงอายุ ที่มีภาวะพึงพิงในประเทศไทย พ.ศ. 2559 (600 ล้านบาท) 60
  • 61. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Frailty Index Functional Ability ADL Service Nurse’s Activity การดูแลผู้สูงอายุตามความเสื่อม : บทบาทพยาบาล GAP of Nursing Care Healthy กลุ่ม 1 ยังเเข็งแรง กลุ่ม 2 มีโรคประจำตัว ตาย - Health prevention - Health education / skills development body and mind. - Promoting Social Participation Early Detection -Screening -Comprehensive geriatric Assessment Harmony Not frailty Early frailty Frailty Long Term Care Geriatric syndrome ชัดเจนขึ้น Specialised long term care (Dementia/ Palliative) กลุ่ม 3 ติดเตียง พิการ Dependent หน่วยบริการสุขภาพ ผู้สูงอายุ คลินิกดูแลรักษาโรคสูงอายุ (Geriatric Clinic) LTC Clinic / Special LTC Unit/ Palliative Care Unit ดูแล รักษา ส่งต่อ ฟื้นฟูสภาพ {Institution/Community (PCU, Family Care Team, Ageing Manager, LTC)} ป้องกัน&ส่งเสริมทั่วไป จัดตั้งชมรมดูแลเฉพาะ คัดกรอง GS - ป้องกันเเละส่งเสริมสุขภาพรายบุคคล - คัดกรองกลุ่มอาการผิดปกติ - ดูแลร่วมรักษา GS และโรคประจำตัว - สุขศึกษา / พัฒนากายใจเฉพาะราย - step up / step down care ดูเเลร่วมฟื้นฟูสภาพ Acute / Palliative care 3rd Preventions slower degenerative diseases Intensive Prevention & Promotion - PP ชะลอการพึ่งพิง - พัฒนามาตรฐานการพยาบาลเพื่อดูแล Geriatrice Syndrome ให้ได้ครบทุกด้าน - ให้การดูแล GS ด้วยนวัตกรรม เผยเเพร่ความรู้ GS ไปทุกแผนก 61
  • 62. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com Frailty (Rockwood and Colleagues,2005) หมายถึง ภาวะเปราะบาง ที่เกิดจากการลดลงด้านพลังงาน ความ สามารถทางกายภาพ การรับรู้และสุขภาพที่ก่อให้เกิดความเสี่ยง อัน เป็นผลจากการทำหน้าที่ของร่างกายที่เสื่อมลง การเปลี่ยนเเปลงทาง อารมณ์และสังคม เทียบกับช่วงชีวิตที่ผ่านมา ผู้สูงอายุที่มีภาวะเปราะบางต้องมีอาการ > 3 ข้อใน 5 ข้อ ดังนี้ 1. น้ำหนักลด 3 กิโลกรัมหรือมากกว่า 5% ของน้ำหนักตัวในรอบ 1 ปีที่ผ่าน มา โดยไม่ตั้งใจหรือไม่ทราบสาเหตุ 2. มีความรู้สึกเหนื่อย หมดแรงง่ายกว่าปกติ 3. มีภาวะกล้ามเนื้ออ่อนเเรง 4. เดินช้าลง 5. การออกแรงในชีวิตประจำวันลดลง (Fried et al,2001) 62
  • 63. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 1. การบริการทางสาธารณสุข - บริการการตรวจคัดกรอง ประเมินความต้องการดูแล - บริการดูแลทีAบ้าน บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้ องกันโรค, - บริการกายภาพบําบัด, บริการกิจกรรมบําบัด และอุปกรณ์เครืAองช่วยทางการแพทย์ บทบาทพยาบาลกับการทำงานเชิงรุกในการดูแลแบบ LTC 2. บริการด้านสังคม เช่น ประสานงานกับทีมสหสาขาเพื8อบริการช่วยเหลืองานบ ้าน การปฏิบัติกิจวัตรประจําวัน , บริการ อุปกรณ์ช่วยเหลือทางสังคม ,กิจกรรมนอกบ ้าน และอื8นๆ 3. สร้างศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ - จัดทําข ้อมูลและแผนดูแลกลุ่มเป้าหมายเป็นรายคน - ฝึกอบรม (In service training) และบริหาร Care giver ให ้บริการเชิงรุก - ให ้บริการ Day care (ฟืSนฟูและกิจกรรมบําบัด) 63
  • 64. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระบบการดูแลผู้สูงอายุในอนาคต • Intermediate Care or Transitional Care • Respite Care • Program of Nursing Specialty in Long Term Care Nurse Manager ระบบการดูแลในสถานการณ์ภัยพิบัติ (disaster) ภัยธรรมชาติ • ระบบการดูแลในสถานการณ์ผันผวนทางการเมือง ความรุนแรง เหตุ ก่อการร้าย ภาวะสงคราม • ระบบการดูแลในประชาคมอาเซียน 64
  • 65. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แผนบูรณาการพัฒนาสุขภาพกลุ่มวัยสูงอายุ 2558-67 (10 ป เป้าประสงค์กระทรวงสาธารณสุข อายุคาดเฉลี่ย ไม่น้อยกว่า ๘๐ ปี และมีสุขภาพดี ไม่น้อยกว่า ๗๒ ปี ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง สามารถ ดำเนินชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม และมีพฤติกรรมสขุภาพที่พึงประสงค์ เป้าหมาย 1 . ร้อยละของผู้สูงอายุที่ต้องการความช่วย เหลือ ในการดำเนินกิจวัตรประจำวันพื้นฐาน
 2.ร้อยละของผู้สูงอายุมีพฤติกรรมสุขภาพที่พึง ประสงค์ เกณฑ์วัด Activity of Daily Living : ADL เครื่องมือวัด ยุทธศาสตร์ที่ 1 ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยุทธศาสตร์ที่ 3 ส นั บ ส นุ น / ส่ ง เสริมสุขภาพ / ป้ อ ง กั น ปั ญ ห า สุขภาพที่พบบ่อย/ คัดกรอง GS พัฒนาเชื่อมโยง ร ะ บ บ บ ริ ก า ร สุ ข ภ า พ จ า ก สถานบริการสู่ ชุมชน พัฒนาการมีส่วน ร่ ว ม ข อ ง ส ถ า น พยาบาล ชุมชน ท้องถิ่น ในการดูแล สุขภาพผู้สูงอายุ กลยุทธ์หลักในการออกแบบการปฏิบัติการพยาบาล 1 . คั ด ก ร อ ง ปั ญ ห า สุขภาพผู้สูงอายุแบบ องค์รวม 2. วิเคราะห์จำแนกกลุ่ม ผู้สูงอายุเพื่อการดูแลที่ เหมาะสมตามสภาพ ปัญหา 3.พัฒนามาตรฐานการ ดพยาบาล GS 4 . เ ป ลี่ ย น เ เ ป ล ง พฤติกรรมเสี่ยงทาง สุขภาพ 1 . เ ริ่ ม จ า ก คั ด ก ร อ ง ปัญหาสุขภาพผู้สูงอายุ ที่พบบ่อย + GS 2. ติดต่อประสานงาน ส่งต่อเพื่อการรักษาที่ เหมาะสม กับสถาน พยาบาล ชุมชน ท้อง ถิ่น 1.ส่งเสริมชุมชนท้องถิ่น ครอบครัวในการดูแลผู้ สูงอายุแบบองค์รวม 2.ดูแลสุขภาพผู้ดูแลผู้ ป่วที่มีภาวะพึ่งพิง 3.ดูแลสิ่งเเวดล้อมให้ เหมาะสม 65
  • 66. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สวัสดิการเเละการสนับสนุนทางสังคม เพื่อการดูแลผู้สูงอายุ 66
  • 67. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สวัสดิการสังคม (Social Welfare) The Nation Association Social Workers (NASW) ให้ความหมายว่า เป็นระบบของ ประเทศเกี่ยวกับโครงการ ผลประโยชน์และบริการที่ช่วย ให้ประชาชนได้พบกับความต้องการด้านสังคม เศรษฐกิจ การศึกษา สุขภาพอนามัย เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตและคงอยู่ ในสังคมได้อย่างปกติสุข (Charles Zastron, 1996, p. 6 อ้างถึงใน ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, 2549, หน้า 26) สวัสดิการสังคม 67
  • 68. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สวัสดิการสังคม คือ ระบบการจัดบริการสังคม เพื่อแก้ไขปัญหาสังคมอัน เนื่องมาจาก ▪การที่ประชาชนไม่สามารถดำรงชีวิตในสังคมได้ ▪ไม่สามารถปรับตัวเข้ากับระบบของสังคม และ ▪ไม่สามารถปฏิบัติหน้าที่ทางสังคมของตนเองได้ ▪บริการดังกล่าวต้องตอบสนองความต้องการพื้นฐานของประชาชน และความมั่นคงทางสังคมในระดับมาตรฐาน ▪เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน (ศศิพัฒน์ ยอดเพชร, 2549) สวัสดิการสังคม 68
  • 69. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com 1. การประกันสังคม (Social Insurance) 2. การช่วยเหลือสาธารณะ (Public Assistance) 3. บริการสังคม (Social Services) 3.1 สุขภาพอนามัย 3.2 การศึกษา 3.3 ที่อยู่อาศัย 3.4 การมีงานทำและมีรายได้ 3.5 บริการสังคม 3.6 นันทนาการ ลักษณะสวัสดิการสังคม 69
  • 70. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com แนวคิดในการจัดสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุ • Residual Model (บรรเทาปัญหา) คือ การให้ ความช่ วยเหลือจาก ภาครัฐ เมื่อบุคคลและครอบครัว ไม่สามารถช่วยเหลือตัวเองได้แล้ว เช่น ไทย • Institutional Model คือ การจัดบริการช่วยเหลือโดยคำนึงถึงสิทธิ ทางสังคมและความรับผิดชอบทางสังคม เช่น สวีเดน • การบรรเทา/ แก้ไข ปัญหาเฉพาะหน้า – กรมประชาสงเคราะห์ ต่อมา เน้นการพึ่งพาตนเองก่อน (Deinstitutionalization) สวัสดิการในสังคมไทย 70
  • 71. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย แบบมีกฏหมายรองรับ •ระบบบำเหน็จบำนาญข้าราชการ •กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ •กองทุนประกันสังคม •กองทุนสำรองเลี้ยงชีพ •กองทุนผู้สูงอายุ แบบไม่เป็นทางการ •ระบบสวัสดิการชุมชน เช่น กลุ่มสัจจะวันละบาท • กองทุนฌาปนกิจ ระบบที่กำลังพัฒนา • ระบบบำนาญแห่งชาติ โดยกองทุนการออมแห่งชาติ (กอช) ซึ่งเป็นนิติบุคคล –ระดับขั้นและจำนวนเงินที่สมทบในแต่ละวัย »อายุ 20-30 ปี ออม 100 บาท ได้รับสมทบจากรัฐบาล 50 บาท »กล่าวคือ ออม 100 บาท ในวันที่อายุครบ 20 ปี จะกลายเป็น 200,000 บาท ในวันอายุครบ 60 ปี »อายุ 30 ปี 1 เดือน – 50 ปี ออม 100 บาท ได้รับสมทบจากรัฐบาล 80 บาท »อายุ 50 ปี 1 เดือน – 60 ปี ออม 100 บาท ได้รับสมทบจากรัฐบาล 100 บาท •การจ่ายเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุแบบขั้นบันได (รับกับการปกครองส่วนท้องถิ่น ไม่เกี่ยวกับรายได้ กรณีย้ายที่อยู่ให้ไปลงทะเบียนให้ไปจะเเจ้งไม่ เกินพฤศจิกายน *** จะได้รับในปีงบฯ ถัดไป) 71
  • 72. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ) แบบมีกฏหมายกำหนดเป็นนโยบายสาธารณะ ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ การแพทย์และสาธารณสุข 70 ปี ไม่ต้องรอคิว รถไฟแห่งประเทศไทย รถไฟแห่งประเทศไทย ลดค่าโดยสารทุกชั้นตลอดทาง ทุกสาย (ไม่รวมค่าธรรมเนียม) เฉพาะเดือนมิถุนายน-กันยายน โดยผู้สูงอายุไม่ต้องเข้าแถวรอซื้อตั๋ว มีที่นั่งรอรับตั๋ว พนักงานช่วยยกสัมภาระและปฐมพยาบาลเมื่อเจ็บป่วย การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนแห่ง ประเทศไทย (mrt) ลดค่าโดยสารครึ่งราคา บริษัทระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ จำกัด (มหาชน) (รถไฟฟ้า BTS) จัดลิฟต์บริการที่สถานีหมอชิต สยาม อโศก อ่อนนุช และ ช่องนนทรี 72
  • 73. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ องค์การขนส่งมวลชน กรุงเทพ (ขสมก.) ลดค่าโดยสารครึ่งราคา (ไม่รวมค่าธรรมเนียม) ตลอดวัน และมีที่ นั่งสำรองเฉพาะ บริษัทขนส่งจำกัด (บขส.) ลดค่าโดยสารครึ่งราคา (ไม่รวมค่าธรรมเนียม) จัดที่นั่งพักผ่อนและ ห้องสุขา การบินไทย ลดค่าโดยสาร 15% เฉพาะชั้นประหยัด และเที่ยวบินภายในประเทศ อำนวยความสะดวกขึ้นเครื่องเป็นลำดับแรก การบินกรุงเทพ (บางกอก แอร์เวย์) ลดค่าโดยสาร 5% ชั้นประหยัด เฉพาะเที่ยวบินภายในประเทศ อำนวยความสะดวกขึ้นเครื่องเป็นลำดับแรก ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ) 73
  • 74. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ) ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ สายการบินนกแอร์ / แอร์เอเชีย อำนวยความสะดวกขึ้นเครื่องเป็นลำดับแรก หน่วยงานที่รับผิดชอบ ท่าอากาศยานทุกแห่ง จัดบริการสิ่งอำนวยความสะดวก ได้แก่ ลิฟต์ โทรศัพท์ ทางลาด ห้องสุขา มุมพักผ่อน การทางพิเศษแห่ง ประเทศไทย จัดบริการห้องน้ำเฉพาะที่ด่านดินแดง ด่านสุขุมวิท 62 และด่านบางนา ผู้สูงอายุต้องแจ้งและแสดงบัตรประจำตัวประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ก่อน ซื้อตั๋วโดยสารบริการขนส่งสาธารณะ การทางพิเศษแห่ง ประเทศไทย จัดบริการห้องน้ำเฉพาะที่ด่านดินแดง ด่านสุขุมวิท 62 และด่านบางนา ผู้สูงอายุต้องแจ้งและแสดงบัตรประจำตัวประชาชนต่อเจ้าหน้าที่ก่อน ซื้อตั๋วโดยสารบริการขนส่งสาธารณะ 74
  • 75. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ระบบสวัสดิการสังคมสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย (ต่อ) ด้าน สิทธิ/การจัดบริการ การช่วยเหลือในทาง คดี ให้คำแนะนำ ปรึกษา ความรู้ทางกฎหมาย จัดหาทนายความ ช่วยเหลือ สนับสนุนค่าใช้จ่ายในการให้ความช่วยเหลือ ว่า ความ แก้ต่างคดี และได้รับการดูแลจากอาสาสมัครคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพในพื้นที่ ด้านการช่วยเหลือผู้ สูงอายุที่ถูกทารุณ กรรม ช่วยเหลือผู้สูงอายุจากการถูกทารุณกรรม ถูกทอดทิ้ง เป็นเงิน ไม่เกิน 500 บาท ผู้เลี้ยงดูบิดา มารดา ได้รับการลดหย่อนภาษีเงินได้ จำนวน 30,000 บาท ต่อผู้สูง อายุ 1 คน 75
  • 76. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เจตคติ เเละ จริยธรรม ในการดูเเลผู้สูงอายุสมัยใหม่ 76
  • 77. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com77 เจตคติกับการดูแลผู้สูงอายุ หมายถึง จิตวิญญาณของพยาบาลที่มีต่อผู้สูงอายุ อันเป็นเเรงขับที่ เเท้จริงที่เก็บ ซ่อนไว้ภายใน (ความคิด ความรู้สึก อารมณ์ การ วางแผน) ซึ่งมีทั้งทางบวกและทางลบ ซึ่งยังไม่ปรากฏออกมาให้เห็น เป็นพฤติกรรม (จริยศาสตร์) (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี) Myth ความเชื่อผิดๆ เกี่ยวกับผู้สูงอายุ ปัจจัยที่มีผลต่อเจตคติ Stereotype แง่คิดมุมมอง จนก่อเกิดภาพ ในใจ Prejudice พื้นฐานกรอบการคิด (สังคม วัฒนธรรม กฏหมาย สภาพ แวดล้อม) Discrimination การแบ่งแยก ซึ่งจะเเปลผันตาม Stereotype (Hummert, M.L.,2011)
  • 78. มโนจริยศาสตร์กับการสร้างสรรค์ คุณธรรม จริยธรรม บันได 2 ขั้นนำความเจริญสู่ชีวิต คุณ !! มีคุณธรรมแล้วหรือยัง ขยัน ประหยัด ซื่อสัตย์ มีวินัย สุภาพ สะอาด สามัคคี มีน้ำใจ พฤติกรรมในเงาธรรม ความจริงที่เป็นความดี ที่เป็นคำสอนให้เกิดพฤติกรรมที่เป็นประโยชน์ เอกสิทธิ์เเห่งตน การทำประโยชน์ การไม่ทำอันตราย การบอกความจริง การรักษาความลับ ความเสมอภาคและยุติธรรม ค่านิยมตามหลักธรรม การพยาบาลผู้สูงอายุ ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com (ที่มา : กลั่นกรองและสรุปโดย ชัชวาล วงค์สารี) 78
  • 79. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com79 “วยาคติ”กับการดูแลผู้สูงอายุ วยาคติ = Ageism : อคติต่อความสูงอายุ แก่ ชราภาพ หัวดื้อ น่าเบื่อ ไม่อดทน ขี้หงุดหงิด คิดช้า เข้าใจยาก ตามโลกไม่ทัน มีอคติต่อผู้สูงอายุ ผู้สูงอายุคิดลบตาม เกิดภาพในใจ ก่อเกิดอคติต่อตนเอง คุณค่าตนเองลดลง แยกตัว Cognitive degernative Frailty (ประยุกต์จาก : กมลชนก ขำสุวรรณ, 2555)
  • 80. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ท่านจะประยุกต์ใช้หลักจริยศาสตร์ ในการดูแลผู้สูงอายุได้อย่างไร หลักการจริยศาสตร์ 6 ประการ 1. การทำประโยชน์ 2. การไม่ทำอันตราย 3. ความเสมอภาค 4. การบอกความจริง 5. การเคารพเอกสิทธิ 6. การรักษาความลับ แนวคิดทางจริยศาสตร์ 1. เอื้ออาทร 2. ความร่วมมือ 3. ความรับผิดชอบ 4. การทำหน้าที่เเทน (Fry & Johnstone, 2002) 80 หลักจรรยาบรรณวิชาชีพ ICN 1. มีความรับผิดชอบ 2. ให้ข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนให้เซ็นยินยอม 3. รักษาความลับ 4. ใช้วิจารณญาณแลกเปลี่ยนข้อมูล (ชัชวาล วงค์สารี และคณะ , 2557 )
  • 81. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com การดูเเลผู้ดูแลผู้สูงอายุสมัยใหม่ 81
  • 82. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com สมรรถนะจำเป็นต่อการดูแลผู้สูงอายุของพยาบาลวิชาชีพ มี 6 ด้าน (กิตติพร เนาว์สุวรรณ และคณะ, 2560) ดังนี้ 1. จริยธรรม 2. การพยาบาลแบบองค์รวม 3. ส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรค 4. การจัดการดูแลเฉพาะราย 5. การเสริมสร้างพลังอำนาจ 6. การประยุกต์ใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ ขอตัวเเทนนักศึกษา 2 คน อธิบายการนำสมรรถนะข้างต้นไปใช้ดูแลผู้สูงอายุ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ 82
  • 83. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com - การพยาบาลด้วยนวัตกรรม - การพยาบาลในวัฒนธรรมที่หลากหลาย - การจัดการข้อมูลที่บ่งชี้เนื้องานทางการพยาบาล - การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลเฉพาะ ความท้าทายสำคัญของการพยาบาลผู้สูงอายุยุคใหม่ คือ อะไร ? เพิ่ม 83 ควร
  • 84. 39 ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com ด้านสุขภาพ ด้าน ที่อยู่อาศัย ด้านรายได้ มีสุขภาพดี อยู่ในสถานที่ ร่วมกันต่างวัย มีระบบดูแล เพียงพอต่อ การยังชีพ มั่นคง 3 ด้าน “ประเทศไทยต้องมุ่งสู่สังคมสูงอายุที่มีพลัง” สรุป 84
  • 85. 1.กมลชนก ขำสุวรรณ. (2555). ผู้สูงอายุที่ยังคุณประโยชน์ในจังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสังคมภิวัฒน์ คณะ สังคมสงเคราะห์ศาสตร์และสวัสดิการทางสังคม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, (3)3; - 2. ชัชวาล วงค์สารี,อุทัยวรรณ พงษ์บริบูรณ์. (2557) .กฎหมายและจรรยาบรรณวิชาชีพการพยาบาลและกฎหมายอื่นที่ เกี่ยวข้อง. กาญจนบุรี : เอ็น พี เพรส . 3. ศศิพัฒน์ ยอดเพชร. (2549). สวัสดิการผู้สูงอายุ: แนวคิดและวิธีการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์. กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ ก๊อปปี้. 4. พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 และ พ.ศ. 2560. [ออนไลน์] เข้าถึงจาก :http://www.ratchakitcha.soc.go.th/ DATA/PDF/2560/A/131/36.PDF 5. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). ผลการคาดประมาณจำนวนประชากรไทย พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๘๓. กรุงเทพ ; โรงพิมพ์เดือนตุลา 6. Anbacken, E. & Kinoshita, Y. (eds.)(2008). Older people in an international local context: The case of Japan and Sweden. Stockholm: Vardalstiftelsen. 7. Fried L, P, et al. (2001)Frailty in older adults: evidence for a phenotype:J Gerontol A Biol Sci Med Sci. 2001 Mar;56(3):M146-56. 8. Hummert M, L. (2011). Age Stereotypes and Aging. in Handbook of the psychology of Ageing (seven edition): A volume in Handbooks of Aging Pages 249–262. ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เอกสารอ้างอิง 85
  • 86. 8. Jitramontree N, Thayansin T. (2013). Social Welfare for Older Persons in Thailand: Policy and Recommendation. J Pub. Health Dev, 11(3): 39-47. 9. Rockwood and Colleagues. (2005).A global clinical measure of fitness and frailty in elderly people.CMAJ. 2005 Aug 30; 173(5): 489–495. doi:  10.1503/cmaj.050051 10. Standard & Poors. (2010). Global Ageing 2010: An Irreversible Truth. United Nations General Assembly Resolution 46/91. 11. United State . (2017). Ageing. [Online] Available: thttps://esa.un.org/unpd/wpp/Publications/Files/ WPP2017_KeyFindings.pdf ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel : 095-8499-681 / Line: nutt-chut / E-mail: nutt_chut@hotmail.com เอกสารอ้างอิง (ต่อ) เมื่อนำเอกสารไปใช้งานกรุณาอ้างอิง ชัชวาล วงค์สารี.(2561). มโนทัศน์เกี่ยวกับผู้สูงอายุและหลักการพยาบาลผู้สูงอายุ.สไลด์ ประกอบการสอน : วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. [ออนไลน์] เข้าถึงจาก ;http://www.teacher.ssru.ac.th/chutchavarn_wo/ (9 มกราคม 2561) 86