SlideShare a Scribd company logo
1 of 90
Download to read offline
!
!
!
!
!
!
!
!!!
!
!
!
!
!
!
พย.บ. (เกียรตินิยม)!
RTU Ubon
พย.ม.การพยาบาลผู้ใหญ่!
HCU
ปร.ด. การบริหารการพาบาล!
CTU	 :	 กำลังศึกษา
ติดต่อ : Tel. 095-849-9681, Line ID : nutt-chut , E-mail:nutt_chut@hotmail.comการศึกษา
เฉพาะทางการพยาบาลสาขา:-
1. Cath-Lab
สถาบันโรคทรวงอก
2. ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช
3. ศาสตร์และศิลปะการสอนพยาบาล
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
5 . ผู้สูงอายุ
มหาวิทยาลัยมหิดล
โดย ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท)
4. การพยาบาลโรคผิวหนัง
สถาบันโรคผิวหนัง
น.บ. (นิติศาสตร์)!
TU	 :	 กำลังศึกษา
!
Rajabhat University
College of Nursing and Health
Suansunundha
การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต
!
ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง
Lecture No.1 / 27 มิ.ย.60 / 13.00-14.30 น.
บรรยายแก่ นศ.พยาบาลศาสตร์ ปี 2
ในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
(เอกสารเสริมการบรรยาย)
ในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
ชัชวาล วงค์สารี. (2560). เอกสารประกอบการสอน (สไลด์) วิชา การพยาบาลผู้ใหญ่ 2
เรื่อง การประเมินระบบไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง.
บรรยาย 27 มิถุนายน 2560 ณ วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนันทา.(อัดสำเนา).
Chutchavarn, W.(2017). Hand out of Adult Nursing II : Hemodynamic !
! Monitoring of ! Nursing Care patients with Critical illness, !! !
! emergency & chronic illness . Collage of Nursing and
Health. June 27, 2017, Lecture at Suansunundha Rajabhaj University.
(Copy Print).
!
! Online : www.teacher.ssru.ac.th>chutchavarn_wo
การนำเอกสารนี้ไปอ้างอิง
1
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
วิจิตรา กุสุมภ์และคณะ. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม. กทม:!
สหประชาพานิชย์.!
Marianne, C., & Suzanne, M. B., (2010). AACN essentials of critical care nursing. 2nd USA: The
McGrow-hill companies.
! ! Meg, G. & Judith, L. M., (2011). Nursing care plans diagnoses, interrentions, and outcomes.
! ! ! 7th USA: evolve.!
! Smelzer,SC,Bare,BG.,Hinkle,KH. (2013.). Brunner&Suddarth’s Textbook of Medical-Surgical
! ! Nursing.12 ed. Philadelphia : Lippincott Williams&Wilkins.
สืบค้นเพิ่มเติม
Internet Keywords; “…………” + pdf ให้อ่าน EVB ตั้งเเต่ระดับ 7 ขั้นไป !
!
ไทย : การประเมินระบบไหลเวียนเลือด/ การประเมินเเรงดันหลอดเลือดดำส่วนกลาง/การประเมิน
! ! ! แรงดันในหลอดเลือดแดง!
Eng. : PA Catheter Monitoring, A-Line Monitoring, PCWP Monitoring, CVP
! ! ! Monitoring, Hemodynamic Monitoring
2
1
3
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
2
3
4
Terminology of illness: Hemodynamic Monitoring
Principle of : Monitoring PA ,PCWP,AL,CVP
Concept Assessment in Pateint : Critical ,Emergency & Chronic!
>>> concept Monitoring
TOPIC OUT LINE
Monitoring : Hemodynamic and Parameter Matters in Critical
Care
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
4
ท่านมองเห็นอย่างไรบ้าง : Thinking
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Respective with Picture Define Thinking
5
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Respective with Picture Define Thinking
6
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
นศ.สามารถอธิบายสรีรวิทยาการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียน
โลหิตข้อบ่งชี้ในการวัดการไหลเวียน การพยาบาลผู้ป่วยก่อน ขณะ และหลังใส่
เครื่องวัดการไหลเวียนเเละความดันโลหิต/ภาวะเเทรกซ้อน โดยประยุกต์ใช้
กระบวนการพยาบาลเพื่อการดูแลทั้งผู้ป่วยเเละครอบครัวได้อย่างถูก
บอก: บอกความหมาย / ลำดับการดูแล /!
การพยาบาลที่เหมาะสมเเละที่ไม่เหมาะสมได้!
บอก: วิธีการสร้างเสริมสุขภาพ-การป้องกันโรค/
หลักการช่วยเเพทย์รักษา/หลักการฟื้นฟูสภาพ, !
กม. ที่เกี่ยวข้อง
!
เราจะช่วยเขา ให้ดีขึ้นได้อย่างไร
TOPIC OBJECTIVE :
ต้องรู้ ควรจะ/น่าจะรู้
7
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Terminology of Hemodynamic Monitoring
8
Hemodynamic Monitoring - -> >เป็นอุปกรณ์/เครื่องมือเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ซึ่งมีบทบาทสำคัญ ที่ใช้ ในระหว่างการดูแลผู้ป่วยโดยมีหน้าที่หลักสำคัญ 2 ประการ ได้แก่
ช่วยในการวินิจฉัยกรณีทีมีการเปลี่ยนของระบบไหลเวียนโลหิต
ช่วยในการประเมินการตอบสนองของผู้ป่วยต่อการรักษา
Hemodynamic Monitoring มี 2 วิธี ดังนี้
Non – Invasive Hemodynamic Monitoring
Invasive Hemodynamic Monitoring
ต่างกันที่ความถูกต้องเเละ
ความเเม่นยำของค่าที่วัดได้
ใช้เทคโนโลยีเเละขั้นสูงเป็นเครื่องมือโดยใส่เข้าไปที่หัวใจเเละหลอดเลือดแดงไปที่ปอด (Pulmonary
Artery)เพื่อวัดความดันของความดันภายในหัวใจ ปริมาณเลือดที่ีฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาที
(Cardiac output) เเละอัตราการเต้นของหัวใจ - - ->> นำข้อมูลมาเเก้ไขภาวะวิกฤตเร่งด่วน
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
9
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Physiology parameter of Circulation in Critical Patient
10
ความรู้พื้นฐานที่นักศึกษาต้องอธิบายได้และจำลักษณะ waveform พร้อมเขียนบันทึกทางการพยาบาลได้ถูกต้อง ;
Pulse Pressure
Blood Pressure
Cardiac Output
Stroke Volume
Preload
Afterload
Contractility
Heart Rate
Ejection Fraction
Cardiac Reserve
Swan – Ganz Catherter
Pulmonary Artery Monitoring
- CVP Proximal
- PCWP
- Calibration
Arterial Pressure Monitoring
Arterial Line
- CVP
- Arterial Waveform
>>Systolic , Diastolic,
>>Dicrotic notch, MAP
- Calibration
: BP
: PP
: CO
: SV
: HR
: EF, LVEF
: PA
: AL, A-line
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Blood Pressure:in Critical Adult Patient
11
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Blood Pressure withDrugs in Critical Adult Patient
12
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
13
Blood Pressure:in Critical Adult Patient
Cerebral Blood Flow
Renal Blood Flow
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
14
Other Pressure
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
15
ปริมาตรของเลือดที่ถูก บีบออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย
ในแต่ละครั้ง/ ที่หัวใจหดตัว
Stroke Volume : SV
ปกติประมาณ 60 - 80 cc/beat หรือ 60 - 130 milliters/beat
อิทธิพลของ Stroke Volume มาจาก 3 ปัจจัย
Preload
Afterload
Contractility
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
16
ปริมาตรของเลือดที่มีอยู่ในหัวใจห้องล่างซ้าย (Left Ventricle) ช่วงท้ายสุดของ
หัวใจคลายตัว (End diagtolic volume :EDV) ทำให้ใยกล้ามเนื้อหัวใจส่วนล่าง
ยืดขยายตัวเต็มก่อนที่จะมีการบีบเลือดออกจากหัวใจช่วง Systole ซึ่งก็คือ
stroke volume
Preload
Preload คือ การวัดค่าจาก ventricular end - diastolic pressure
ข้างขวาคือค่า Central Venous Pressure : CVP
ข้างซ้ายคือค่า Pulmonary Capillary WedgePreload ที่หัวใจ
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
17
Preload (cont.)
>>> Frank & Starling กล่าวว่าความสัมพันธ์ระหว่างประสาท
กล้ามเนื้อหัวใจกับเเรงบีบตัวของหัวใจนั้นคือ ยิ่งเพิ่มปริมาตร
ในห้องหัวใจมากขึ้น เเต่การเพิ่มความยาวของกล้ามเนื้อหัวใจ
มีขีดจำกัด ถ้าปริมาตรมีการเพิ่มมากเกินขีดจำกัด ถ้าปริมาตร
เพิ่มมากเกินไป จะทำให้การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง
ทำให้ SV & CO ลดน้อยลงด้วย
(Vitello-Cicciu & O’Sullivan, 1997)
กล้ามเนื้อหัวใจปกติจะยืดขยายได้ถึง 2.2 ไมครอน โดยสามารถยืด
ขยายด้เต็มที่ 12 mmHg ซึ่งจะช่วยเพิ่มเเรงบีบตัวมากขึ้น
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
18
Aterload
ปริมาตรที่เหลือคงค้างใน Ventricle
เมื่อสิ้นสุดการบีบตัวของหัวใจ!
( End Systolic Volume: ESV)
แรงตึงตัวเเละแรงต้านของหัวใจห้อง
ล่างเกิดในขณะที่หัวใจห้องล่างบีบตัว
>>>> หากเเรงตึงตัวมีมากจะส่งผลให้เกิด
การบีบตัวได้ลดลง เเละเลือดก็จะออกจาก
หัวใจห้องล่างได้ลดลง
กล่าวอีกนัยหนึ่ง เเรงต้านที่เกิดขึ้นใน ventricle นี้จะเป็นแรงดันที่ทำให้
ventricle ต้องเพิ่มความพยายามอย่างมากในการเปิดAortic &
Pulmonic valve
>>>>
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
19
Preload and Afterload
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
20
Contractility
เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณเลือดที่บีบออกจากหัวใจในเเต่ละครั้ง
เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการยืดหดตัวของใยกล้ามเนื้อหัวใจ ถ้าใยของ
กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างหดรัดตัวดี (แรงเเละเร็ว) ความดันจะสูงขึ้นใน
ระยะที่หัวใจบีบตัว ทำให้เเรงดันในหลอดเลือดหัวใจเพิ่มสูงขึ้น
(Stroke volume และ Cardiac output เพิ่มขึ้น)
ถ้าใยของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างหดรัดตัวไม่ดี จะทำให้เเรงใน
การผลักเลือดออกจากหัวใจห้องล่างลดลง
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
21
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนเลือด
: Preload:
>>> ขาดน้ำ เสียเลือด เช่น อาเจียน ท้องเดิน
รับประทานยาขับปัสสาวะ ตกเลือด
>>> ช๊อก จากสาเหตุต่างๆ
>>> Atrial dysfunction เช่น AF , MI
>>> แรงดันในทรวงอกเพิ่มขึ้น — > เช่น
Ventilator with PEEP,
Tension pressure Thorax
>>> เปลี่ยนท่ารวดเร็วเกินไป - - >
Decrease Venues Return
ลดลง เพิ่มขึ้น
>>> น้ำเกิน เช่น ESRD, CHF, IV loading
>>> หลอดเลือดดำหดตัว เช่น อากาศเย็น
hypovulemic & Cardiogenic shock
>>> หลอดเลือดส่วนปลายมีเเรงต้าน
ลดลง - -> เลือดไหลกลับหัวใจเพิ่ม Ex.
ไข้ ตั้งครรภ์
>>> นอนศีรษะต่ำยกขาสูง
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
22
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนเลือด
: Afterload:
ลดลง เพิ่มขึ้น
>>> แรงต้านในหลอดเลือดแดงลดลง!
Ex.neurogenic & anaphylactic !
shock
>>> แรงต้านทานสู่ Aortic valve !
ลดลง
>>>ผลจากการใช้ IABP
( Intra aortic balloon pump)
>>> มีการเพิ่มขึ้นของเเรงต้าน!
ทานในหลอดเลือดแดง !
เช่น จากยา adrenaline ,
epinephrine และ
arteriosclerosis
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
23
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนเลือด
: Contractility:
ลดลง เพิ่มขึ้น
>>> acidosis in body
>>> MI , CHF
>>> Hypoxia
>>> Intake drugs : !
Ex. barbiturate!
! ! beta-blocker!
anesthesia!
>>> Hypernatremia !
Hyperkalemia
>>> จากยา adrenaline ,!
epinephrine
>>> มีการกระตุ้นของ Sympathetic!
! ! ! ! ! ! ! nerve
>>> มีการเพิ่มขึ้นของ Preload &
Afterload
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
24
สรุปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ SV
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
25
Heart Rate : HR
Sympathetic N. > > > > Increase Rate !
Ex. exercise , pain, anxiety,
hypovolumia
Parasympathetic N. > > > > Increase Rate !
! ! ! ! ! ! (Valsava maneuver)
Ex. cough , suction, N/V
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
26
Ejection Fraction : EF
สัดส่วน (ratio) เปอร์เซ็นต์ของปริมาตรเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ
ห้องล่างซ้ายในเเต่ละครั้งที่หัวใจบีบตัว
ค่าปกติ 65 ± 8%
Ejection Fraction (EF) ใช้เป็นดัชนี้วัดสมรรถนะการบีบตัวของ
หัวใจห้องล่างซ้ายเเละเป็นดัชนีพยากรณ์โรค Ex. EF < 30 %
แสดงถึงหัวใจวายอย่างรุนเเรง
EF = SV/LVEDV หรือ (EDV – ESV) / EDV
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
27
Cardiac Reserve
เป็นความสามารถของหัวใจในการเพิ่มเเรงบีบตัว เพื่อขับเลือดออก
จากหัวใจให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายที่มีความต้องการ
ออกซิเจนสูง โดยทั่วไปเราสามารถเพิ่ม Cardiac Output ได้ถึง 5 เท่า
ของ Cardiac Output ในขณะพัก
สรุปเพื่อนำไปใช้ >>>> บุคคลที่มี cardiac Reserve ต่ำ
ทำให้ไม่สามารถทนต่อการออกเเรงได้ ทำให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ง่าย
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Catheter line for Hemodynamic Monitoring
28
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
29
Invasive Hemodynamic monitoring
การใส่อุปกรณ์เข้าไปใน Pulmonary artery และ Artery เพื่อวัดค่า
สำคัญ 4 ประการ ดังนี้
1. Pulmonary Artery Pressure (PA)
2. CardiacOutput (CO)
3. Intra Arterial Pressure (AP)
4. Central Venous Pressure (CVP)
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
30
ข้อบ่งใช้ในการใส่เครื่องมือเพื่อเข้าไปประเมินระบบไหลเวียน!
และความดันโลหิตจากภายใน!
1. Acute MI ที่ยังอยู่ในระยะวิกฤตและเฉียบพลัน อันได้เเก่มีปัญหา!
ดังนี้
- Hypotension
- Pulmonary Congestion
- Hyperpnea and severe Fatigue
- Severe Arrhythmia
- Involvement other area myocardial infarction and ischemia
2. Shock : Hypovolemic , Septic , Cardiogenic
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
31
ข้อบ่งใช้ในการใส่เครื่องมือเพื่อเข้าไปประเมินระบบไหลเวียน!
และความดันโลหิตจากภายใน (ต่อ)!
3. ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากการผ่าตัด ได้เเก่
- การผ่าตัดหัวใจ
- การผ่าตัดหลอดเลือด
- ในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุรุนเเรงหรือบาดเจ็บหลายระบบ
4. ความผิดปกติจากกายวิภาค
- Ventricular septum rupture - Pericardium tamponade
- Papillary muscle rupture - Acute respiratory failure
- Pulmonary embolism
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
32
1. Pulmonary Artery Monitoring : PA
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
33
1.Pulmonary Artery Monitoring : PA
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
34
ภาพแสดง Swan ganz catheter
1. Pulmonary Artery Monitoring : PA
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
35
1. Pulmonary Artery Monitoring : PA
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
36
1.Pulmonary Artery Monitoring : PA
เป็นการใส่ Swan ganz catheter เข้าไปวัดความดันเเละปริมาตร
การไหลเวียนความดันโลหิต ซึ่งสามารถวัดที่ Ventricle ได้โดยตรง
สายสีเหลือง สีเเดง สีฟ้า จะโผล่พ้นผิวกายออกบริเวณ
Internal jugular vein ส่วนลำตัวของสายจะทอดผ่าน
Aortic & Pulmonic valve เเละปลายสายจะไปสิ้นสุด
ที่ Pulmonary Artery
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
37
1.PA Catheter (Swan-Ganz Catheter)
Swan - Ganz Catheter ลักษณะเป็นท่อเล็กๆ ส่วนปลายมีตัวนำ
และเเปลงสัญญาณ (Transducer) คอยเปลี่ยนสัญญาณแรงดันใน
หลอดเลือดและหัวใจให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า ให้ปรากฎออกมาใน
ลักษณะเป็นกราฟ (waveform) ผ่านจอมอนิเตอร์
บริเวณปลายสายเหนือจุดเเปลงสัญญาณจะมีลูกโป่งขนาดเล็กที่มี
ความทนเอาไว้สำหรับ Inflate ลูกโป่งให้พอก
ออกเพื่อให้มีเเรงต้านในการพัดพาปลายสายไป
ตามทิศทางของเลือดที่ออกจากหัวใจ เพื่อให้
ปลายสายไปวางที่ Pulmonary Artery
Swan - Ganz Catheter >>> เป็น Flow directed / mutiple lumen 2-5 lumen
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
38
ประโยชน์ในการใส่ ข้อบ่งชี้ในการใส่
-
1.PA Catheter (Swan-Ganz Catheter)
- วัดความดันของหัวใจข้างขวา
- วัดความดันของหลอดเลือดปอด(PCWP)
: วัดแบบ indirect ค่าที่ได้จะใกล้เคียงกับ
LAP จึงใช้เเทน LVEDP หรือ Preload
- ใช้หา Cardiac Output โดยใช้
เทคนิค Themodilution	

- ใช้สำหรับวัด CVP
- Acute MI, CHF ไม่ตอบสนองต่อยา
มีความลำบากในการปรับสมดุลน้ำและยา
- ต้องการวินิจฉัยเเยกโรค ระหว่าง cardiac
shock VS tamponade
- ใส่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาปรับสมดุลน้ำ Ex. ARDS
- AKI, Shock, Severe burn, Pulmonary edema
- ในผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด CABG
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
39
1.PA Catheter (Swan-Ganz Catheter)
ตำแหน่งของเส้นเลือดที่นิยมใส่สาย Swan-Ganz Catheter ได้เเก่
- Internal jugular vein
- Subclavian clavicle vein
- Antecubital vein
- Femoral vein (ยกเว้นในรายที่ต้องทำ CAG + PCI)
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
1. PA : Setting up a Pressure Monitoring
40
Equipment and Supplies
!
-- IV catheter
-- Heparinized flush solution
-- IV pressure bag
-- Pressure transducer
-- Pressure tubing
-- Pressure dome
-- Syringe 10 ml
-- Monitor and Monitor cable
- สาย PA catheter นิยมใช้ quardri lumen
No. 7F
- Set cutdown 1 set/ Anti-septic
- Introducer sheath เบอร์ 8 1ชุด	

- 1% Xylocain
- T-way 3-4 อัน
- Dome ต่อ T-way 2 อัน สวมเข้ากับ Transducer
- 0.9 NSS 500 ml + Heparin 500 Unit
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
41
1. PA Monitor
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
42
1. PA Waveform
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
43
1. PA Waveform
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
44
หรือ PA distal สุดปลายสายจะอยู่ที่หลอดเลือดฝอยของปอด
เเปลงสัญญาณได้ค่า PA systolic & PA diastolic waveform!
โดยจะเเสดงออกบนหน้าจอในส่วน wedge Pressure (PCWP) ซึ่ง
จะเเสดงผลก็ต่อเมื่อ Inflate balloon เท่านั้น!
> ปกติสายนี้ไว้สำหรับเป็นช่องทางออกของ balloon เท่านั้น!
>> แต่สามารถดูดเลือดตรวจได้กรณี R/O Mixed blood gas
สีเหลือง
หรือ CVP Poximal ปลายสายจะวางที่ตำเเหน่ง Right Atrium !
>>> 5% DW สำหรับวัด Cardiac Output ได้ ** สายนี้ให้เลือด สารน้ำได้
สีฟ้า
เป็น Thermistor port conector กับเครื่องวัด Cardiac Output
เหลือง
วิธีการวัด CO >> ดูดเลือดจากสายสีฟ้ามาผสมกับ 5% DW ( Temp. < 4๐ C)
ปล่อยให้ไหลเข้าสู่ RA ไปรวมกับเลือดในระบบ โดยจะอาศัย Thermomister ที่
ปลาย catheter ตำแหน่ง PA รับและเเปลงสัญญาณให้ทราบค่า CO
Balloon Inflate!
valve (< 1.5 cc)
1. PA Line : function in line
RA infusion port
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
45
1. PA : RA Waveform
“c” wave = closure of the tricuspid valve!
“x” decent = follows closure of the tricuspid valve,!
“y” decent = follows closure of the pulmonic valve
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
46
1.Pulmonary Artery Pressure
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
1.Pulmonary Artery Pressure line
47
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
48
1. Pulmonary Artery Pressure line
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
49
1.ตัวอย่างชุด Pressure Monitoring ที่พร้อมใช้
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
50
1. PCWP :
Pulmonary Capillary Wedge Pressure
systemic circulation
left atrium
left ventricle
aorta
artery
right atrium
ventricle
pulmonary circulation
pulmonary artery
alveolus
pulmonary vein
PA cath. - -> PA —> แรงดัน RV ดันสายไป
หลอดเลือดชั้นลึก จนทำให้ balloon โป่งพองได้
เต็มที่หลอดเลือดแดงที่ปอด>>> และตัวแปลง
สัญญาณทำหน้าที่รับสัญญาณ >> DBP = RV
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
51
1. PCWP :
Pulmonary Capillary Wedge Pressure
ภาพ Wave form ของ Normal Wedge pressure (PCWP) and ECG
ประโยชน์ของ PCWC
ทราบ preload >> ปรับสมดุลน้ำ ยา
บอก Pulmonary congestion
แยก Acute Pulmonary edema
ข้อมูลช่วยในการวินิจฉัยโรค
ค่า PCWC กับ CHF : mmHg
18-20 : เริ่มเกิด/ดีขึ้น
21-25 : ระดับปานกลาง
26-30 : ระดับรุนเเรง
> 30 : น้ำท่วมปวด
ค่าปกติ PCWC = 4-12
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
52
1. PCWP :
Pulmonary Capillary Wedge Pressure
Lung Zone ที่มีผลต่อค่า PCWP
คือ Zone 3
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
53
การเพิ่มความดันใน LVDP เช่น Cardiomyopathy
การเพิ่มความดันใน LAP เช่น MR หรือ MS
การเพิ่มความดันใน Juxtacardiacpressure เช่น cardiac tamponade, high
level of PEEP or CPAP ในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจที่ใส่ PEEP > 10
CmH2O ทำให้ค่า PCWP ที่ได้ไม่เที่ยงตรง ต้องนำค่า PCWP ที่อ่านค่าออก
จากครึ่งหนึ่งของระบบ PEEP ที่ใช้ขณะอ่านค่า PCWP ห้ามหยุดใช้ PEEP
1.PCWP : อาจมีค่าสูงขึ้นผิดปกติได้
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
1. Phebostatic Axis and the Phebostatic Level
54
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
55
1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration
(1) ให้ผู้ป่วยนอนราบกางเเขนข้างที่ติด
เสา Transducer ออก วัดแบ่งครึ่งที่สี
ข้างด้วยไม้บรรทัดยาว
(2) ให้ปลายข้างหนึ่งของไม้บรรทัดอยู่จุด
กลางของสีข้างเเละปลายอีกด้านอยู่ระดับ
ตรงกลาง T-way ที่ต่อจาก Dome Transducer
>>> จากนั้นค่อยๆเลื่อนระดับไม้บรรทักขึ้น ลงจนกระ
ทั้งระดับน้ำใน Ampule อยู่กึ่งกลาง >>> แสดงว่า
อยู่ในระดับเดียวกันกับ Right artial ให้ยึดตรึงโดง
Dome ในระดับนี้
(3) เสียบปลั๊ก Transducer ต่อเข้ากับหัวต่อของ Pressure monitor ก่อนเริ่ม Calibration 30 นาที
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
56
(4) หมุนปิด T-way ให้ปิดสายด้านที่จะวัด เช่น หากจะ
วัด PA ให้หมุนปิดไปด้านสาย PA
(5) หมุน T-way ที่ติดกับ Dome ที่เปิดออกเป็นการวัด
ความดันในระหว่าง Transducerกับบรรยากาศ
(6) กดปุ่น “Pressure ” บน Bedside Pressure Monitor ขึ้นคำ
ว่า Zero เป็นเส้นตรงบนจอภาพ และเส้นนี้ตรงจะลดลงมาอยู่
ระดับล่างสุดตรงกับระดับความดันศูนย์ นั่นคือ เสร็จสิ้นขั้นตอน
การ Calibrations
(7) หมุนปิด T-way ด้านที่เปิดสู่บรรยากาศและหมุนเปิด T-way ด้านผู้ป่วย ซึ่งจะกลายเป็นการวัด
ความดันระหว่าง Dome - Transducer กับสายต่อที่เข้าเส้นเลือดผู้ป่วย
1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
57
1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration
(4) หมุนปิด T-way ใ ห้ปิด
สายด้านที่จะวัด เช่น หากจะ
วัด PA ใ ห้หมุนปิดไปด้าน
สาย PA
(5) หมุน T-way ที่ติดกับ
Dome ที่เปิดออกเป็นการวัด
ค ว า ม ด ั นใ น ระ ห ว ่ า ง
Transducer กับบรรยากาศ
(6) กดปุ่น “Pressure ” บน Bedside Pressure Monitor ขึ้นคำว่า Zero เป็นเส้นตรงบนจอภาพ และเส้น
นี้ตรงจะลดลงมาอยู่ระดับล่างสุดตรงกับระดับความดันศูนย์ นั่นคือ เสร็จสิ้นขั้นตอนการ Calibrations
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration
(8) การ Calibration Transducer ต้องทำทุกครั้งหลังการรับ
เวรเรียบร้อยแล้ว เเละเมื่อผู้ป่วยมีการเปลี่ยนท่านอน/ปรับ
ศีรษะเตียงใหม่ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนสายใหม่ หรือ
Calibration ซ้ำหากต้องการยืนยันค่าความดัน
(7) หมุนปิด T-way ด้านที่เปิดสู่บรรยากาศและหมุนเปิด T-way
ด้านผู้ป่วย ซึ่งจะกลายเป็นการวัดความดันระหว่าง Dome -
Transducer กับสายต่อที่เข้าเส้นเลือดผู้ป่วย
58
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
59
2.Cardiac Output : CO
ค่าปกติ 4-6 lit/min
เป็นปริมาตรเลือดที่ถูกสูบฉีดออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายเข้าสู่ Aorta
และออกไปสู่ระบบไหลเวียนของร่างกายใน 1 นาที ซึ่งมีค่า เท่ากับ
ปริมาณเลือดทีไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา (right atrium)
Cardiac Output (CO) = Heart Rate (HR) x Stroke Volume(SV)
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
60
2.Cardiac Output : CO
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
61
Complications of PA catheter : Nursing
ภาวะเเทรกซ้อน ข้อมูลสนับสนุน การพยาบาล
( 1 ) A r r h y t h m i a จ า ก
Irritation Endocardium ตอน
deflate balloon แล้วเลื่อน
สาย PA มา RA
มี PVC, VT บ่อยทำให้
Decrease Perfusion >>>
CO ลดลง >>>BP drop
>>> Conscious less
- A s s e s s . s i g n , E K G
monitor
- เตรียม Lidocain สำหรับเเก้
VT + Recording
(2) Air Embolism !
จากการเเตกของ Balloon
หรือจากสายต่อของสารน้ำที่
ปิดไม่ถูกทาง หลุด เลื่อน
>>> Conscious less!
>>> ซัก เเขนขา อ่อนแรง!
>>> CVA
- นอนตะเเคงซ้ายศีรษะสูง
- Rapid notify
( 3 ) P u l m o n a r y
Thromboembolism จากการ
เกิด Thrombus เกาะผนังสาย
PA จาก flushing Heparin น้อย
>>> หอบ เหนื่อย แน่น
หน้าอก หัวใจเต้นเร็ว
- Rapid notify
- ให้ Heparin ที่เพียงพอตาม Px.
- Seriose monitoring V/s 72 hr.
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
62
(Cont.)
Complications of PA catheter : Nursing
ภาวะเเทรกซ้อน ข้อมูลสนับสนุน การพยาบาล
(4) PA rupture จาก Inflate
balloon เกินขนาด หรือ
Inflate ขณะปลายสายยังไม่ถึง
ตำแหน่ง
>> ความดันโลหิต่ำ
>> CO ลดลง
>> เลือดไหลสู่ PA ลดลง
- Inflate balloon < 1.5 ml.
- งดการ Flushing สาย PA ถ้า
waveform เเสดง damping
>>เเต่ให้ดูด clotting ออก
( 5) Pulmonary Infraction!
เนื่องจากสายยางอยู่ในตำเเหน่ง
wedge และ balloon inflate
พร้อมกับมี Thrombus เกาะ
รอบๆผนังสาย PA - -> อุดตัน
>> ไอ + ไอเป็นเลือด!
>> เจ็บหน้าอก!
>> ไข้สูง , Respi. friction rup!
>> Hypoxia!
>> Respiratory alkalosis
- Inflate balloon < 1.5 ml.!
- Deflate balloon ทันทีที่ wedge
ปรากฎที่จอ monitor!
- Rapid notify!
- เตรียม X-ray ดูตำแหน่งของสาย
(6) Infection in System
จากเทคนิคการใส่สาย PA
>> Inflammatory + ไข้ +
หนองบริเวณจุดต้นที่ใส่สาย
PA
- Monitoring sepsis shock
- recording V/S + Lesion infected.
- dressing wound PA-cath.
- ATB by Px.
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
63
Nursing in Patient : Pre insertion PA-Catheter
อธิบายประโยชน์ของการใส่ …. ให้ผู้ป่วยเข้าใจ/ตอบข้อซักถามตามที่ผู้ป่วยเเละญาติสงสัย
อธิบายขั้นตอนการใส่ …. แบบสั้นกะทัดรัดด้วยภาษาที่ผู้ป่วยเข้าใจง่าย/ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วย
ด้วยความรู้และบอกผู้ป่วยว่าจะอยู่เคียงข้างผู้ป่วยในขณะที่เเพทย์ทำหัตถการ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบายขณะรอเเพทย์มาใส่ …. หรือขณะเตรียมอุปกรณ์สำหรับใส่
PA - cath.
เตรียมชุด PA monitoring / Set Zero Calibration
เตรียมรถช่วยชีวิตฉุกเฉิน
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
64
Nursing in Patient : Intra - insertion PA-Catheter
ให้กำลังใจด้วยการอยู่เคียงข้างและสัมผัสโอ่นโยนผู้ป่วยขณะที่ใส่ ……
เตรียมอุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อเเละกระตุ้นให้ทุกคนที่เข้าร่วมการทำ
หัตถการใช้เทคนิคการดูเเลที่ปราศจากเชื้อ เช่น ผูก mask, เเกะ/
ฉีกอุปกรณ์ลง set. ด้วย sterile technique
เตรียมสารน้ำเเละอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับทำหัตถการ
จัดท่าผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำ ปลาย้ท่าสูง 30 องศา
ช่วยเเพทย์ขณะใส่ obs. v/s (ยกเว้นไข้)+ clinical sign +
waveform เน้น Arrhythmia และรายงานเเพทย์
เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอน >>>ดูแลผู้ป่วยให้เรียบร้อย>>>บันทึก
ตำเเหน่งสาย+ผิวหนัง >>>เก็บอุปกรณ์
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
65
Nursing in Patient : Post - insertion PA-Catheter
Zero และ Calibration Transducer ทุกเวรหรือทุกครั้งที่ไม่มั่นใจใน waveform
วัดค่า PAD & PCWP ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อเป็น bedline หากปกติให้วัด PCWP
ทุก 2-4 ชั่วโมงได้
ดูแล Pressure tubing ไม่ให้หัดพับงอ หรือเลื่อนหลุด ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด
ในระบบด้วยการให้ Heparin ให้เพียงพอ
ดูแลให้สารน้ำใน Pressure bag มีค่าเเรงดันในช่วง 250-300 mmHg
ตลอดเวลา
ฟังเสียงปอดและประเมินลักษณะการทำงานของปอด เช่น chest X-ray หลังใส่
PA - cath. เสร็จ
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
66
Nursing in Patient : Post - insertion PA-Catheter
ระมัดระวังและดูแลการดึงรั้งหรือเลื่อนหลุดของสาย PA - Catheter เช่น เฝ้าระวัง +
สอนผู้ป่วยเเละญาติให้เข้าใจ
จัดการความปวด ป้องกันการอักเสบบริเวณผิวหนังทางออกต้นสาย PA
(cont.)
เปลี่ยน Pressure tubing , T-way และชุดให้สารน้ำทุก 3 วันและ ประเมิน
Clinical sign+ PA parameter ร่วมกับเเพทย์เพื่อยุติการใส่สาย PA โดยเร็ว
ป้องกันการติดเชื้อ
ดูเเลควบคุมน้ำในร่างกายในเพียงพอโดยใช้ค่า PCWP เป็นเกณฑ์
เปิดสารน้ำจาก Pressure bag ครั้งละ 30-50 มิลลิลิตร Flush สาย PA ทุก 1-2
ชั่วโมง >>> ลดและป้องกันลิ่มเลือดในสาย
ดูแลวัด CO โดยดูดเลือดมาผสมกับสารน้ำเเละดันเข้า RA ด้วยความเร็วเเละเเรง
โดยดูลิ่มเลือดและฟองอากาศก่อนดันทุกครั้ง >>> ปฎิบัติในระบบปิดอย่างต่อเนื่อง
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
67
Nursing in Patient : Post - OFF PA-Catheter
เมื่อผู้ป่วยอาการดีขึ้นเเล้ว แพทย์พิจารณานำสาย Swan Ganz ออกพยาบาลควรปฏิบัติดังนี้
กดบริเวณที่ถอดสาย ด้วย Graze dressing ยึดหลักปราศจาคเชื้อ
วัดความดันโลหิตทุก 15-30 นาทีจนกว่าจะคงที่แล้วค่อยขยับเป็นทุก 1 ชั่วโมง
จับชีพจรส่วนปลายทั้งเเขนเเละขาเทียบจังหวะ ความเเรงทั้งสองข้าง
เพื่อประเมินการอุดตันหลอดเลือดระยะเริ่มต้นหลัง OFF….
ให้ monitor EKG อย่างต่อเนื่องใน 24 ชั่วโงเเรกหลัง OFF เพื่อประเมิน
หาอาการที่ผิดปกติ
ประเมินเลือดที่ออกบริเวณเเผลและลักษณะทางคลินิกที่บ่งชี้ว่าเกิดการอุดกั้นจากลิ่มเลือด
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
68
3.Arterial Pressure Monitoring: AL
AL เป็นการใช้เข็มขนาดเล็กเท่าเข็ม IV
ทั่วไปเปิดนำทางใส่สายเข้าสู่หลอดเลือด
แดงส่วนปลาย เพื่อเเปลงเเรงดันใน
หลอดเลือดแดงมาเป็นสัญญาณไฟฟ้า
ส่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์ส่วนกลางออกมา
ปรากฎ wavefrom บนจอมอนิเตอร์
ข้อดี ความดันโลหิตที่ได้มีความเเม่นยำสูง
เเละวัดได้อย่างต่อเนื่อง เเละสามารถดูด
เลือดออกจากสายนี้ส่งตรวจได้ตลอดเวลา
โดยผู้ป่วยไม่เจ็บตัวซ้ำและไม่ต้องรอแพทย์
เจาะ เช่น ABG
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
69
วัตถุประสงค์ในการใส่ ข้อบ่งชี้ในการใส่
3.AL Catheter (intra-arterial pressure monitoring)
- เพื่อวัด AP อย่างต่อเนื่อง เช่นในผู้ป่วย
- Severe Hypotension- Hypertension
- Multiple blood Sampling
- เพื่อเปิดหลอดเลือดเพื่อการให้ยา เช่น
Angiogram การผ่าตัดบางอย่าง เช่น
Urokinase ใ นกรณีผู้ป่วยมีการอุดตัน
หลอดเลือดที่ขา
- ในระหว่างใส่ IABP
- ในผู้ป่วย Polycythemia vera ที่ต้องทำ
phlebotomy
- ใส่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาความดันโลหิตต่ำ เช่น
ช็อก
- ใส่ในผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด CABG
หรือช็อคอย่างรุนเเรง /หลอดเลือดหดรัดตัว
อย่่างรุนเเรง
- ในรายที่ต้องเจาะเลือดแดงตรวจบ่อยๆ
- เช่น ABG ในผู้ป่วยที่ on Ventilator
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
70
A-line : ตำเเหน่งที่นิยมทำมากที่สุด
Radial Brachial Dorsalis Femoral
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
71
Arterial waveform
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
72
อธิบาย Arterial waveform
ขณะที่ Ventricle บีบตัวเเรงดันในหลอดเลือแดง
จะถูกแปลงค่าเป็นสัญญาณยกตัวของ waveform ที่สูงขึ้น
ดังนั้นยอดสูงสุดที่ได้จาก waveform จึงเป็นผลโดยตรงจาก
การบีบตัวของ LV ค่าปกติ = 90 -140 mmHg.
Systolic
ส่วนที่อยู่ต่ำสุดของ waveform ถ้าเเรงต้านของหลอดเลือดดำส่วน
ปลายเพิ่มขึ้น DBP จะเพิ่มขึ้นซึ่งค่าปกติ เท่ากับ 60 - 90 mmHg
Diastolic
เป็นปุ่มเล็กๆบน waveform ระหว่าง Systolic กับ diastolic ในขณะที่
Systolic กำลังลดต่ำลง ซึ่งจะมีเเรงดันที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่เกิดจาก aortic valve ปิด
Dicrotic noch
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
73
อธิบาย Arterial waveform
ค่าระดับความดันโลหิตที่ทำให้มีการกำซาบเลือด
ซึ่งคำนวณได้จาก Systolic BP + (2 x Diastolic BP)/ 3
Mean Arterial Pressure : MAP, AMP
*** ค่าปกติ เท่ากับ 70-100 mmHg ในคลินิกค่า MAP ต้องมากกว่า 60 mmHg.
จึงจะเพียงพอในการส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย ให้กำซาบเลือด
ได้เพียงพอกับความต้องการ
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
74
A-line
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
75
A-line : Nursing Care
** ใช้เทคนิค Sterile ทุกขั้นตอน
(1) Re calibrate-Zeroing transducer : ทุก 8 ชั่วโมงหรือทุกครั้งที่ไม่มั่นใจใน
waveform หรือทุกครั้งที่มีการเลื่อนหลุดของสาย
(2) เปลี่ยน set Dome , Pressure tubing , IV set ทุก 48 ชั่วโมง
(3) Record + Dressing แผลบริเวณ AL ทุกวันและให้ dressing ทุกครั้งที่เเผลซึม
(4) เฝ้าระวังการอุดตันของหลอดเลือดเเดงโดยการประเมินสีผิว คลำชีพจร เปรียบ
เทียบกันกับอีกข้าง
(5) Record waveform (วิเคราะห์ประกอบ clinical sign ) เเละรายงานเเพทย์เมื่อ
พบในสิ่งที่ผิดปกติอย่างทันท่วงที
การดูดเลือดจาก A-line เพื่อส่งตรวจ
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
- ปิดสัญญาณ Alarm ที่ monitor
- ปิดหาง T-way มาด้าน Transducer
- เช็ดด้าน T-way ที่จะดูดเลือดด้วย Anti septic solution
- ทำ Double Syring ในการดูดเลือดผู้ป่วยออกมาเเล้วส่งตรวจและคืนเลือดให้กับ
- ผู้ป่วยโดยต้องดู Air + Clotting อย่างละเอียด
- Flushing device ไล่เลือดเข้าในสายโดยให้เป็น IV ที่ใสเเละ Clear ตลอดเเนว
- หมุนเปิด T-way ไปด้าน Transducer และเปิด สัญญาณ Alarm
76
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
4.Central Venous Pressure : CVP
77
คือ การวัดความดันเลือดดำส่วนกลาง ที่ RA เพื่อประเมินระ
ดับน้ำเเละเลือดในร่างกาย ซึ่งเป็นการวัดค่าเลือดดำจาก
บริเวณ Superoir Vena Cava และ RA โดยทั้งสองส่วน
นี้จะไม่มีลิ้นกั้น
ค่าปกติของ CVP = 3 - 11 mmHg
การแปลงค่า
CVP (ที่วัดได้เป็น ซม. น้ำ) / 1.36 = CVP (mmHg)
Vitello CCicciu & O’Sullivan,1997)
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
78
4.Central Venous Pressure : CVP
- CVP = RAP
-นิยมวัดในผู้ที่สูญเสียเลือด/น้ำ
- ไม่สามารถบอกสมรรถนะการทำงานของหัวใจข้างซ้ายได้
ค่าปกติ คือ 4-15 cmH2O หรือ 3 - 11 mmHg
-เป็นค่าที่เเสดงถึง Preload ของ RA และเป็นดัชนีบ่งชี้
Intravascular volume
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Central Venous Pressure Monitoring
79
Equipment and Supplies!
-Venous catheter
-IV pole with transducer holder
-Heparinized flush solution
-IV pressure bag
-Pressure transducer
-Pressure tubing
-3-ways stopcocks
-Pressure dome
-Syringe 10 ml
-Monitor and Monitor cable
-Set Venesection
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
80
The Relationship EKG & BP
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
81
Waveform and Cardiac Cycle
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
82
Waveform EKG and CVP Cycle
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
83
Waveform EKG and CVP Cycle
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Phebostatic Axis and the Phebostatic Level
84
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
85
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Summary Hemodynamic monitoring parameter
86
1. Heart rate 60-100 beats/min
2. Blood pressure Systolic 90-140 mmHg
Diastolic 60-90 mmHg
3. Mean arterial pressure 70-105 mmHg
4. Central venous pressure 2-8 mmHg or 3-10 cmH2O
5. Pulmonary artery pressure Systolic 15-25 mmHg
Diastolic 8-15 mmHg
6. Pulmonary capillary 6-12 mmHg
wedge pressure
7. Cardiac output 4-8 L/min
8. Stroke volume 60-130 cc/beat
9. Cardiac index 2.4-3.6 L/min/m2
10.Total blood volume 8.5-9 % of body weight in kg
Parameter normal range for adults
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
Title IAPB : Up Next Critical Cardiology patient
87
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University
Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681
88
Title IAPB : Up Next Critical Cardiology patient
Line ID : nutt-chut / ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) / โทร 095-8499-681
College of Nursing and Health
Suansunundha Rajabhaj University

More Related Content

What's hot

Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationNarenthorn EMS Center
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfporkhwan
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์Utai Sukviwatsirikul
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuipiyarat wongnai
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..piyarat wongnai
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการUtai Sukviwatsirikul
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilatorChutchavarn Wongsaree
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกPatamaporn Seajoho
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กAiman Sadeeyamu
 

What's hot (20)

ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
Trauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and ResuscitationTrauma Initial assessment and Resuscitation
Trauma Initial assessment and Resuscitation
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdfโครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
โครงการให้ความรู้พยาบาลใหม่ Pdf
 
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yuiการวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
การวัดความดันในหลอดเลือดดำกลาง Yui
 
VAP
VAPVAP
VAP
 
การวัดควา..
การวัดควา..การวัดควา..
การวัดควา..
 
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
Clinical Practice Guidelines for Traumatic Brain Injury 2556
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการคู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
คู่มือการดูแลผู้ป่วยหัวใจล้มเหลวเรื้อรัง แบบบูรณาการ
 
Ppt. stroke1
Ppt. stroke1Ppt. stroke1
Ppt. stroke1
 
Thai nihss
Thai nihssThai nihss
Thai nihss
 
nursing Care patients on ventilator
 nursing  Care patients on   ventilator nursing  Care patients on   ventilator
nursing Care patients on ventilator
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูงคู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
คู่มือการจ่ายยาที่มีความเสี่ยงสูง
 
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอกการดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
การดูแลผู้บาดเจ็บที่ทรวงอก
 
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็กขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
ขนาดยาที่ใช้ในเด็ก
 

Similar to การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเรื้อรัง

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจChutchavarn Wongsaree
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังChutchavarn Wongsaree
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
Tsco annual-meeting-2015
Tsco annual-meeting-2015Tsco annual-meeting-2015
Tsco annual-meeting-2015Nonglak Ban
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
Orthopaedic teleconference
Orthopaedic teleconference Orthopaedic teleconference
Orthopaedic teleconference varapornw
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationstaem
 
Upump โปรแกรมเพื่อชีวิต
Upump โปรแกรมเพื่อชีวิตUpump โปรแกรมเพื่อชีวิต
Upump โปรแกรมเพื่อชีวิตThanapat Kamparn
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxERppk
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfpongpanPlubai
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfpongpanPlubai
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังChutchavarn Wongsaree
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติnawaporn khamseanwong
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์taem
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558Utai Sukviwatsirikul
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaUtai Sukviwatsirikul
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 

Similar to การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเรื้อรัง (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหาโรคของหลอดเลือดโคโรนารี
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับการบำบัดรักษาด้วยเครื่องช่วยหายใจ
 
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรังUpdate การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
Update การพยาบาลผู้ป่วยภาวะหัวใจล้มเหลวเฉียบพลันเเละเรื้อรัง
 
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Adult Nursing II  มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
Adult Nursing II มโนทัศน์การพยาบาลผู้ใหญ่ที่เจ็บป่วยซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Tsco annual-meeting-2015
Tsco annual-meeting-2015Tsco annual-meeting-2015
Tsco annual-meeting-2015
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
Orthopaedic teleconference
Orthopaedic teleconference Orthopaedic teleconference
Orthopaedic teleconference
 
Multiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situationsMultiple trauma in special situations
Multiple trauma in special situations
 
Upump โปรแกรมเพื่อชีวิต
Upump โปรแกรมเพื่อชีวิตUpump โปรแกรมเพื่อชีวิต
Upump โปรแกรมเพื่อชีวิต
 
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docxCase-study-เพชรกร-อริศรา.docx
Case-study-เพชรกร-อริศรา.docx
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
 
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdfแนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
แนวทางเวชปฏิบัติภาวะสมองเสื่อม-ฉบับสมบูรณ์2563.pdf
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนังการพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
การพยาบาลผู้ป่วยโรคผิวหนัง
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานโสตทัศนศึกษา สถาบันมะเร็งแห่งชาติ
 
นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์นวัตกรรมแพทย์
นวัตกรรมแพทย์
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 
CPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinomaCPG for hepatocellular carcinoma
CPG for hepatocellular carcinoma
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 

More from Chutchavarn Wongsaree

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailandChutchavarn Wongsaree
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Chutchavarn Wongsaree
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zการศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zChutchavarn Wongsaree
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลChutchavarn Wongsaree
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุChutchavarn Wongsaree
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...Chutchavarn Wongsaree
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...Chutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...Chutchavarn Wongsaree
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนChutchavarn Wongsaree
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลันChutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์Chutchavarn Wongsaree
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์Chutchavarn Wongsaree
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์Chutchavarn Wongsaree
 
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...Chutchavarn Wongsaree
 

More from Chutchavarn Wongsaree (20)

Effect of dementia on older adult in thailand
Effect of  dementia on older adult in thailandEffect of  dementia on older adult in thailand
Effect of dementia on older adult in thailand
 
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
Current situation in dementia syndrome on older person in thailand issues and...
 
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาลการเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
การเรียนรู้เชิงรุกทางคลินิก ด้วยนวัตกรรมทางการพยาบาล
 
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation zการศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
การศึกษาเเบบผู้ใหญ่ : การเรียนรู้และเข้าใจนักศึกษาพยาบาลยุค generation z
 
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาลทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
ทฤษฏีการสูงอายุและการประยุกต์ใช้ทางการพยาบาล
 
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุมโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
มโนทัศน์การพยาบาลผู้สูงอายุ
 
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...การให้ความรู้แบบเข้มข้น   เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน   ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
การให้ความรู้แบบเข้มข้น เพื่อบำบัดภาวะน้ำเกิน ในผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเคร...
 
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
ความเครียดก่อนการสอบขึ้นทะเบียนใบประกอบวิชาชีพการพยาบาลครั้งแรกของบัณฑิตใหม่ ...
 
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
ประสบการณ์การรับรู้และการจัดการปัญหาด้านเพศสัมพันธ์ของผู้ป่วยเพศชายโรคไตวายเร...
 
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อนการพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
การพยาบาลโรคต่อมไร้ท่อที่ซับซ้อน
 
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
ประสบการณ์การได้รับการสนับสนุนทางสังคมในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้...
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉินบทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
บทบาทพยาบาลในการดูแลหญิงตั้งครรภ์ที่ประสบอุบัติเหตุฉุกเฉิน
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วยบทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลไตเทียมกับการป้องกันและการจัดการภาวะน้ำเกินของผู้ป่วย
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
บทบาทพยาบาลกับการดูแลหญิงตั้งครรภ์ในภาวะไตวายเฉียบพลัน
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
 
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
แนวคิดร่วมสมัยในการจัดการเรียนการสอนสาขาพยาบาลศาสตร์
 
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
บทบาทพยาบาลกับการดูแลผู้ป่วยโรคเรื้อรังที่มีปัญหาเพศสัมพันธ์
 
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...คำนิยามวิธีการสอน  วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
คำนิยามวิธีการสอน วัตถุประสงค์และการวัดประเมินผลที่สอดคล้องกับวิธีการสอนรูปแ...
 

การประเมินระบบไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันเรื้อรัง

  • 1. ! ! ! ! ! ! ! !!! ! ! ! ! ! ! พย.บ. (เกียรตินิยม)! RTU Ubon พย.ม.การพยาบาลผู้ใหญ่! HCU ปร.ด. การบริหารการพาบาล! CTU : กำลังศึกษา ติดต่อ : Tel. 095-849-9681, Line ID : nutt-chut , E-mail:nutt_chut@hotmail.comการศึกษา เฉพาะทางการพยาบาลสาขา:- 1. Cath-Lab สถาบันโรคทรวงอก 2. ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช 3. ศาสตร์และศิลปะการสอนพยาบาล จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 5 . ผู้สูงอายุ มหาวิทยาลัยมหิดล โดย ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) 4. การพยาบาลโรคผิวหนัง สถาบันโรคผิวหนัง น.บ. (นิติศาสตร์)! TU : กำลังศึกษา ! Rajabhat University College of Nursing and Health Suansunundha การประเมินระบบไหลเวียนโลหิต ! ระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง Lecture No.1 / 27 มิ.ย.60 / 13.00-14.30 น. บรรยายแก่ นศ.พยาบาลศาสตร์ ปี 2 ในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (เอกสารเสริมการบรรยาย) ในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน
  • 2. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 ชัชวาล วงค์สารี. (2560). เอกสารประกอบการสอน (สไลด์) วิชา การพยาบาลผู้ใหญ่ 2 เรื่อง การประเมินระบบไหลเวียนโลหิตในผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉินระยะเฉียบพลันและเรื้อรัง. บรรยาย 27 มิถุนายน 2560 ณ วิทยาลัยพยาบาลและสุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏ สวนสุนันทา.(อัดสำเนา). Chutchavarn, W.(2017). Hand out of Adult Nursing II : Hemodynamic ! ! Monitoring of ! Nursing Care patients with Critical illness, !! ! ! emergency & chronic illness . Collage of Nursing and Health. June 27, 2017, Lecture at Suansunundha Rajabhaj University. (Copy Print). ! ! Online : www.teacher.ssru.ac.th>chutchavarn_wo การนำเอกสารนี้ไปอ้างอิง 1
  • 3. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 วิจิตรา กุสุมภ์และคณะ. (2556). การพยาบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตแบบองค์รวม. กทม:! สหประชาพานิชย์.! Marianne, C., & Suzanne, M. B., (2010). AACN essentials of critical care nursing. 2nd USA: The McGrow-hill companies. ! ! Meg, G. & Judith, L. M., (2011). Nursing care plans diagnoses, interrentions, and outcomes. ! ! ! 7th USA: evolve.! ! Smelzer,SC,Bare,BG.,Hinkle,KH. (2013.). Brunner&Suddarth’s Textbook of Medical-Surgical ! ! Nursing.12 ed. Philadelphia : Lippincott Williams&Wilkins. สืบค้นเพิ่มเติม Internet Keywords; “…………” + pdf ให้อ่าน EVB ตั้งเเต่ระดับ 7 ขั้นไป ! ! ไทย : การประเมินระบบไหลเวียนเลือด/ การประเมินเเรงดันหลอดเลือดดำส่วนกลาง/การประเมิน ! ! ! แรงดันในหลอดเลือดแดง! Eng. : PA Catheter Monitoring, A-Line Monitoring, PCWP Monitoring, CVP ! ! ! Monitoring, Hemodynamic Monitoring 2
  • 4. 1 3 College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 2 3 4 Terminology of illness: Hemodynamic Monitoring Principle of : Monitoring PA ,PCWP,AL,CVP Concept Assessment in Pateint : Critical ,Emergency & Chronic! >>> concept Monitoring TOPIC OUT LINE Monitoring : Hemodynamic and Parameter Matters in Critical Care
  • 5. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 4 ท่านมองเห็นอย่างไรบ้าง : Thinking
  • 6. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Respective with Picture Define Thinking 5
  • 7. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Respective with Picture Define Thinking 6
  • 8. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 นศ.สามารถอธิบายสรีรวิทยาการเปลี่ยนแปลงของการไหลเวียน โลหิตข้อบ่งชี้ในการวัดการไหลเวียน การพยาบาลผู้ป่วยก่อน ขณะ และหลังใส่ เครื่องวัดการไหลเวียนเเละความดันโลหิต/ภาวะเเทรกซ้อน โดยประยุกต์ใช้ กระบวนการพยาบาลเพื่อการดูแลทั้งผู้ป่วยเเละครอบครัวได้อย่างถูก บอก: บอกความหมาย / ลำดับการดูแล /! การพยาบาลที่เหมาะสมเเละที่ไม่เหมาะสมได้! บอก: วิธีการสร้างเสริมสุขภาพ-การป้องกันโรค/ หลักการช่วยเเพทย์รักษา/หลักการฟื้นฟูสภาพ, ! กม. ที่เกี่ยวข้อง ! เราจะช่วยเขา ให้ดีขึ้นได้อย่างไร TOPIC OBJECTIVE : ต้องรู้ ควรจะ/น่าจะรู้ 7
  • 9. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Terminology of Hemodynamic Monitoring 8 Hemodynamic Monitoring - -> >เป็นอุปกรณ์/เครื่องมือเฝ้าระวังการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย ซึ่งมีบทบาทสำคัญ ที่ใช้ ในระหว่างการดูแลผู้ป่วยโดยมีหน้าที่หลักสำคัญ 2 ประการ ได้แก่ ช่วยในการวินิจฉัยกรณีทีมีการเปลี่ยนของระบบไหลเวียนโลหิต ช่วยในการประเมินการตอบสนองของผู้ป่วยต่อการรักษา Hemodynamic Monitoring มี 2 วิธี ดังนี้ Non – Invasive Hemodynamic Monitoring Invasive Hemodynamic Monitoring ต่างกันที่ความถูกต้องเเละ ความเเม่นยำของค่าที่วัดได้ ใช้เทคโนโลยีเเละขั้นสูงเป็นเครื่องมือโดยใส่เข้าไปที่หัวใจเเละหลอดเลือดแดงไปที่ปอด (Pulmonary Artery)เพื่อวัดความดันของความดันภายในหัวใจ ปริมาณเลือดที่ีฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาที (Cardiac output) เเละอัตราการเต้นของหัวใจ - - ->> นำข้อมูลมาเเก้ไขภาวะวิกฤตเร่งด่วน
  • 10. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 9
  • 11. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Physiology parameter of Circulation in Critical Patient 10 ความรู้พื้นฐานที่นักศึกษาต้องอธิบายได้และจำลักษณะ waveform พร้อมเขียนบันทึกทางการพยาบาลได้ถูกต้อง ; Pulse Pressure Blood Pressure Cardiac Output Stroke Volume Preload Afterload Contractility Heart Rate Ejection Fraction Cardiac Reserve Swan – Ganz Catherter Pulmonary Artery Monitoring - CVP Proximal - PCWP - Calibration Arterial Pressure Monitoring Arterial Line - CVP - Arterial Waveform >>Systolic , Diastolic, >>Dicrotic notch, MAP - Calibration : BP : PP : CO : SV : HR : EF, LVEF : PA : AL, A-line
  • 12. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Blood Pressure:in Critical Adult Patient 11
  • 13. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Blood Pressure withDrugs in Critical Adult Patient 12
  • 14. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 13 Blood Pressure:in Critical Adult Patient Cerebral Blood Flow Renal Blood Flow
  • 15. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 14 Other Pressure
  • 16. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 15 ปริมาตรของเลือดที่ถูก บีบออกจากหัวใจห้องล่างซ้าย ในแต่ละครั้ง/ ที่หัวใจหดตัว Stroke Volume : SV ปกติประมาณ 60 - 80 cc/beat หรือ 60 - 130 milliters/beat อิทธิพลของ Stroke Volume มาจาก 3 ปัจจัย Preload Afterload Contractility
  • 17. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 16 ปริมาตรของเลือดที่มีอยู่ในหัวใจห้องล่างซ้าย (Left Ventricle) ช่วงท้ายสุดของ หัวใจคลายตัว (End diagtolic volume :EDV) ทำให้ใยกล้ามเนื้อหัวใจส่วนล่าง ยืดขยายตัวเต็มก่อนที่จะมีการบีบเลือดออกจากหัวใจช่วง Systole ซึ่งก็คือ stroke volume Preload Preload คือ การวัดค่าจาก ventricular end - diastolic pressure ข้างขวาคือค่า Central Venous Pressure : CVP ข้างซ้ายคือค่า Pulmonary Capillary WedgePreload ที่หัวใจ
  • 18. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 17 Preload (cont.) >>> Frank & Starling กล่าวว่าความสัมพันธ์ระหว่างประสาท กล้ามเนื้อหัวใจกับเเรงบีบตัวของหัวใจนั้นคือ ยิ่งเพิ่มปริมาตร ในห้องหัวใจมากขึ้น เเต่การเพิ่มความยาวของกล้ามเนื้อหัวใจ มีขีดจำกัด ถ้าปริมาตรมีการเพิ่มมากเกินขีดจำกัด ถ้าปริมาตร เพิ่มมากเกินไป จะทำให้การบีบตัวของกล้ามเนื้อหัวใจลดลง ทำให้ SV & CO ลดน้อยลงด้วย (Vitello-Cicciu & O’Sullivan, 1997) กล้ามเนื้อหัวใจปกติจะยืดขยายได้ถึง 2.2 ไมครอน โดยสามารถยืด ขยายด้เต็มที่ 12 mmHg ซึ่งจะช่วยเพิ่มเเรงบีบตัวมากขึ้น
  • 19. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 18 Aterload ปริมาตรที่เหลือคงค้างใน Ventricle เมื่อสิ้นสุดการบีบตัวของหัวใจ! ( End Systolic Volume: ESV) แรงตึงตัวเเละแรงต้านของหัวใจห้อง ล่างเกิดในขณะที่หัวใจห้องล่างบีบตัว >>>> หากเเรงตึงตัวมีมากจะส่งผลให้เกิด การบีบตัวได้ลดลง เเละเลือดก็จะออกจาก หัวใจห้องล่างได้ลดลง กล่าวอีกนัยหนึ่ง เเรงต้านที่เกิดขึ้นใน ventricle นี้จะเป็นแรงดันที่ทำให้ ventricle ต้องเพิ่มความพยายามอย่างมากในการเปิดAortic & Pulmonic valve >>>>
  • 20. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 19 Preload and Afterload
  • 21. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 20 Contractility เป็นปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อปริมาณเลือดที่บีบออกจากหัวใจในเเต่ละครั้ง เป็นผลที่เกิดขึ้นจากการยืดหดตัวของใยกล้ามเนื้อหัวใจ ถ้าใยของ กล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างหดรัดตัวดี (แรงเเละเร็ว) ความดันจะสูงขึ้นใน ระยะที่หัวใจบีบตัว ทำให้เเรงดันในหลอดเลือดหัวใจเพิ่มสูงขึ้น (Stroke volume และ Cardiac output เพิ่มขึ้น) ถ้าใยของกล้ามเนื้อหัวใจห้องล่างหดรัดตัวไม่ดี จะทำให้เเรงใน การผลักเลือดออกจากหัวใจห้องล่างลดลง
  • 22. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 21 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนเลือด : Preload: >>> ขาดน้ำ เสียเลือด เช่น อาเจียน ท้องเดิน รับประทานยาขับปัสสาวะ ตกเลือด >>> ช๊อก จากสาเหตุต่างๆ >>> Atrial dysfunction เช่น AF , MI >>> แรงดันในทรวงอกเพิ่มขึ้น — > เช่น Ventilator with PEEP, Tension pressure Thorax >>> เปลี่ยนท่ารวดเร็วเกินไป - - > Decrease Venues Return ลดลง เพิ่มขึ้น >>> น้ำเกิน เช่น ESRD, CHF, IV loading >>> หลอดเลือดดำหดตัว เช่น อากาศเย็น hypovulemic & Cardiogenic shock >>> หลอดเลือดส่วนปลายมีเเรงต้าน ลดลง - -> เลือดไหลกลับหัวใจเพิ่ม Ex. ไข้ ตั้งครรภ์ >>> นอนศีรษะต่ำยกขาสูง
  • 23. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 22 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนเลือด : Afterload: ลดลง เพิ่มขึ้น >>> แรงต้านในหลอดเลือดแดงลดลง! Ex.neurogenic & anaphylactic ! shock >>> แรงต้านทานสู่ Aortic valve ! ลดลง >>>ผลจากการใช้ IABP ( Intra aortic balloon pump) >>> มีการเพิ่มขึ้นของเเรงต้าน! ทานในหลอดเลือดแดง ! เช่น จากยา adrenaline , epinephrine และ arteriosclerosis
  • 24. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 23 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการไหลเวียนเลือด : Contractility: ลดลง เพิ่มขึ้น >>> acidosis in body >>> MI , CHF >>> Hypoxia >>> Intake drugs : ! Ex. barbiturate! ! ! beta-blocker! anesthesia! >>> Hypernatremia ! Hyperkalemia >>> จากยา adrenaline ,! epinephrine >>> มีการกระตุ้นของ Sympathetic! ! ! ! ! ! ! ! nerve >>> มีการเพิ่มขึ้นของ Preload & Afterload
  • 25. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 24 สรุปปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ SV
  • 26. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 25 Heart Rate : HR Sympathetic N. > > > > Increase Rate ! Ex. exercise , pain, anxiety, hypovolumia Parasympathetic N. > > > > Increase Rate ! ! ! ! ! ! ! (Valsava maneuver) Ex. cough , suction, N/V
  • 27. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 26 Ejection Fraction : EF สัดส่วน (ratio) เปอร์เซ็นต์ของปริมาตรเลือดที่ถูกบีบออกจากหัวใจ ห้องล่างซ้ายในเเต่ละครั้งที่หัวใจบีบตัว ค่าปกติ 65 ± 8% Ejection Fraction (EF) ใช้เป็นดัชนี้วัดสมรรถนะการบีบตัวของ หัวใจห้องล่างซ้ายเเละเป็นดัชนีพยากรณ์โรค Ex. EF < 30 % แสดงถึงหัวใจวายอย่างรุนเเรง EF = SV/LVEDV หรือ (EDV – ESV) / EDV
  • 28. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 27 Cardiac Reserve เป็นความสามารถของหัวใจในการเพิ่มเเรงบีบตัว เพื่อขับเลือดออก จากหัวใจให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกายที่มีความต้องการ ออกซิเจนสูง โดยทั่วไปเราสามารถเพิ่ม Cardiac Output ได้ถึง 5 เท่า ของ Cardiac Output ในขณะพัก สรุปเพื่อนำไปใช้ >>>> บุคคลที่มี cardiac Reserve ต่ำ ทำให้ไม่สามารถทนต่อการออกเเรงได้ ทำให้เกิดภาวะหัวใจวายได้ง่าย
  • 29. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Catheter line for Hemodynamic Monitoring 28
  • 30. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 29 Invasive Hemodynamic monitoring การใส่อุปกรณ์เข้าไปใน Pulmonary artery และ Artery เพื่อวัดค่า สำคัญ 4 ประการ ดังนี้ 1. Pulmonary Artery Pressure (PA) 2. CardiacOutput (CO) 3. Intra Arterial Pressure (AP) 4. Central Venous Pressure (CVP)
  • 31. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 30 ข้อบ่งใช้ในการใส่เครื่องมือเพื่อเข้าไปประเมินระบบไหลเวียน! และความดันโลหิตจากภายใน! 1. Acute MI ที่ยังอยู่ในระยะวิกฤตและเฉียบพลัน อันได้เเก่มีปัญหา! ดังนี้ - Hypotension - Pulmonary Congestion - Hyperpnea and severe Fatigue - Severe Arrhythmia - Involvement other area myocardial infarction and ischemia 2. Shock : Hypovolemic , Septic , Cardiogenic
  • 32. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 31 ข้อบ่งใช้ในการใส่เครื่องมือเพื่อเข้าไปประเมินระบบไหลเวียน! และความดันโลหิตจากภายใน (ต่อ)! 3. ผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงที่จะได้รับอันตรายจากการผ่าตัด ได้เเก่ - การผ่าตัดหัวใจ - การผ่าตัดหลอดเลือด - ในผู้ป่วยที่ได้รับอุบัติเหตุรุนเเรงหรือบาดเจ็บหลายระบบ 4. ความผิดปกติจากกายวิภาค - Ventricular septum rupture - Pericardium tamponade - Papillary muscle rupture - Acute respiratory failure - Pulmonary embolism
  • 33. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 32 1. Pulmonary Artery Monitoring : PA
  • 34. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 33 1.Pulmonary Artery Monitoring : PA
  • 35. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 34 ภาพแสดง Swan ganz catheter 1. Pulmonary Artery Monitoring : PA
  • 36. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 35 1. Pulmonary Artery Monitoring : PA
  • 37. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 36 1.Pulmonary Artery Monitoring : PA เป็นการใส่ Swan ganz catheter เข้าไปวัดความดันเเละปริมาตร การไหลเวียนความดันโลหิต ซึ่งสามารถวัดที่ Ventricle ได้โดยตรง สายสีเหลือง สีเเดง สีฟ้า จะโผล่พ้นผิวกายออกบริเวณ Internal jugular vein ส่วนลำตัวของสายจะทอดผ่าน Aortic & Pulmonic valve เเละปลายสายจะไปสิ้นสุด ที่ Pulmonary Artery
  • 38. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 37 1.PA Catheter (Swan-Ganz Catheter) Swan - Ganz Catheter ลักษณะเป็นท่อเล็กๆ ส่วนปลายมีตัวนำ และเเปลงสัญญาณ (Transducer) คอยเปลี่ยนสัญญาณแรงดันใน หลอดเลือดและหัวใจให้เป็นสัญญาณไฟฟ้า ให้ปรากฎออกมาใน ลักษณะเป็นกราฟ (waveform) ผ่านจอมอนิเตอร์ บริเวณปลายสายเหนือจุดเเปลงสัญญาณจะมีลูกโป่งขนาดเล็กที่มี ความทนเอาไว้สำหรับ Inflate ลูกโป่งให้พอก ออกเพื่อให้มีเเรงต้านในการพัดพาปลายสายไป ตามทิศทางของเลือดที่ออกจากหัวใจ เพื่อให้ ปลายสายไปวางที่ Pulmonary Artery Swan - Ganz Catheter >>> เป็น Flow directed / mutiple lumen 2-5 lumen
  • 39. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 38 ประโยชน์ในการใส่ ข้อบ่งชี้ในการใส่ - 1.PA Catheter (Swan-Ganz Catheter) - วัดความดันของหัวใจข้างขวา - วัดความดันของหลอดเลือดปอด(PCWP) : วัดแบบ indirect ค่าที่ได้จะใกล้เคียงกับ LAP จึงใช้เเทน LVEDP หรือ Preload - ใช้หา Cardiac Output โดยใช้ เทคนิค Themodilution - ใช้สำหรับวัด CVP - Acute MI, CHF ไม่ตอบสนองต่อยา มีความลำบากในการปรับสมดุลน้ำและยา - ต้องการวินิจฉัยเเยกโรค ระหว่าง cardiac shock VS tamponade - ใส่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาปรับสมดุลน้ำ Ex. ARDS - AKI, Shock, Severe burn, Pulmonary edema - ในผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด CABG
  • 40. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 39 1.PA Catheter (Swan-Ganz Catheter) ตำแหน่งของเส้นเลือดที่นิยมใส่สาย Swan-Ganz Catheter ได้เเก่ - Internal jugular vein - Subclavian clavicle vein - Antecubital vein - Femoral vein (ยกเว้นในรายที่ต้องทำ CAG + PCI)
  • 41. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 1. PA : Setting up a Pressure Monitoring 40 Equipment and Supplies ! -- IV catheter -- Heparinized flush solution -- IV pressure bag -- Pressure transducer -- Pressure tubing -- Pressure dome -- Syringe 10 ml -- Monitor and Monitor cable - สาย PA catheter นิยมใช้ quardri lumen No. 7F - Set cutdown 1 set/ Anti-septic - Introducer sheath เบอร์ 8 1ชุด - 1% Xylocain - T-way 3-4 อัน - Dome ต่อ T-way 2 อัน สวมเข้ากับ Transducer - 0.9 NSS 500 ml + Heparin 500 Unit
  • 42. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 41 1. PA Monitor
  • 43. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 42 1. PA Waveform
  • 44. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 43 1. PA Waveform
  • 45. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 44 หรือ PA distal สุดปลายสายจะอยู่ที่หลอดเลือดฝอยของปอด เเปลงสัญญาณได้ค่า PA systolic & PA diastolic waveform! โดยจะเเสดงออกบนหน้าจอในส่วน wedge Pressure (PCWP) ซึ่ง จะเเสดงผลก็ต่อเมื่อ Inflate balloon เท่านั้น! > ปกติสายนี้ไว้สำหรับเป็นช่องทางออกของ balloon เท่านั้น! >> แต่สามารถดูดเลือดตรวจได้กรณี R/O Mixed blood gas สีเหลือง หรือ CVP Poximal ปลายสายจะวางที่ตำเเหน่ง Right Atrium ! >>> 5% DW สำหรับวัด Cardiac Output ได้ ** สายนี้ให้เลือด สารน้ำได้ สีฟ้า เป็น Thermistor port conector กับเครื่องวัด Cardiac Output เหลือง วิธีการวัด CO >> ดูดเลือดจากสายสีฟ้ามาผสมกับ 5% DW ( Temp. < 4๐ C) ปล่อยให้ไหลเข้าสู่ RA ไปรวมกับเลือดในระบบ โดยจะอาศัย Thermomister ที่ ปลาย catheter ตำแหน่ง PA รับและเเปลงสัญญาณให้ทราบค่า CO Balloon Inflate! valve (< 1.5 cc) 1. PA Line : function in line RA infusion port
  • 46. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 45 1. PA : RA Waveform “c” wave = closure of the tricuspid valve! “x” decent = follows closure of the tricuspid valve,! “y” decent = follows closure of the pulmonic valve
  • 47. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 46 1.Pulmonary Artery Pressure
  • 48. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 1.Pulmonary Artery Pressure line 47
  • 49. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 48 1. Pulmonary Artery Pressure line
  • 50. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 49 1.ตัวอย่างชุด Pressure Monitoring ที่พร้อมใช้
  • 51. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 50 1. PCWP : Pulmonary Capillary Wedge Pressure systemic circulation left atrium left ventricle aorta artery right atrium ventricle pulmonary circulation pulmonary artery alveolus pulmonary vein PA cath. - -> PA —> แรงดัน RV ดันสายไป หลอดเลือดชั้นลึก จนทำให้ balloon โป่งพองได้ เต็มที่หลอดเลือดแดงที่ปอด>>> และตัวแปลง สัญญาณทำหน้าที่รับสัญญาณ >> DBP = RV
  • 52. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 51 1. PCWP : Pulmonary Capillary Wedge Pressure ภาพ Wave form ของ Normal Wedge pressure (PCWP) and ECG ประโยชน์ของ PCWC ทราบ preload >> ปรับสมดุลน้ำ ยา บอก Pulmonary congestion แยก Acute Pulmonary edema ข้อมูลช่วยในการวินิจฉัยโรค ค่า PCWC กับ CHF : mmHg 18-20 : เริ่มเกิด/ดีขึ้น 21-25 : ระดับปานกลาง 26-30 : ระดับรุนเเรง > 30 : น้ำท่วมปวด ค่าปกติ PCWC = 4-12
  • 53. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 52 1. PCWP : Pulmonary Capillary Wedge Pressure Lung Zone ที่มีผลต่อค่า PCWP คือ Zone 3
  • 54. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 53 การเพิ่มความดันใน LVDP เช่น Cardiomyopathy การเพิ่มความดันใน LAP เช่น MR หรือ MS การเพิ่มความดันใน Juxtacardiacpressure เช่น cardiac tamponade, high level of PEEP or CPAP ในผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจที่ใส่ PEEP > 10 CmH2O ทำให้ค่า PCWP ที่ได้ไม่เที่ยงตรง ต้องนำค่า PCWP ที่อ่านค่าออก จากครึ่งหนึ่งของระบบ PEEP ที่ใช้ขณะอ่านค่า PCWP ห้ามหยุดใช้ PEEP 1.PCWP : อาจมีค่าสูงขึ้นผิดปกติได้
  • 55. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 1. Phebostatic Axis and the Phebostatic Level 54
  • 56. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 55 1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration (1) ให้ผู้ป่วยนอนราบกางเเขนข้างที่ติด เสา Transducer ออก วัดแบ่งครึ่งที่สี ข้างด้วยไม้บรรทัดยาว (2) ให้ปลายข้างหนึ่งของไม้บรรทัดอยู่จุด กลางของสีข้างเเละปลายอีกด้านอยู่ระดับ ตรงกลาง T-way ที่ต่อจาก Dome Transducer >>> จากนั้นค่อยๆเลื่อนระดับไม้บรรทักขึ้น ลงจนกระ ทั้งระดับน้ำใน Ampule อยู่กึ่งกลาง >>> แสดงว่า อยู่ในระดับเดียวกันกับ Right artial ให้ยึดตรึงโดง Dome ในระดับนี้ (3) เสียบปลั๊ก Transducer ต่อเข้ากับหัวต่อของ Pressure monitor ก่อนเริ่ม Calibration 30 นาที
  • 57. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 56 (4) หมุนปิด T-way ให้ปิดสายด้านที่จะวัด เช่น หากจะ วัด PA ให้หมุนปิดไปด้านสาย PA (5) หมุน T-way ที่ติดกับ Dome ที่เปิดออกเป็นการวัด ความดันในระหว่าง Transducerกับบรรยากาศ (6) กดปุ่น “Pressure ” บน Bedside Pressure Monitor ขึ้นคำ ว่า Zero เป็นเส้นตรงบนจอภาพ และเส้นนี้ตรงจะลดลงมาอยู่ ระดับล่างสุดตรงกับระดับความดันศูนย์ นั่นคือ เสร็จสิ้นขั้นตอน การ Calibrations (7) หมุนปิด T-way ด้านที่เปิดสู่บรรยากาศและหมุนเปิด T-way ด้านผู้ป่วย ซึ่งจะกลายเป็นการวัด ความดันระหว่าง Dome - Transducer กับสายต่อที่เข้าเส้นเลือดผู้ป่วย 1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration
  • 58. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 57 1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration (4) หมุนปิด T-way ใ ห้ปิด สายด้านที่จะวัด เช่น หากจะ วัด PA ใ ห้หมุนปิดไปด้าน สาย PA (5) หมุน T-way ที่ติดกับ Dome ที่เปิดออกเป็นการวัด ค ว า ม ด ั นใ น ระ ห ว ่ า ง Transducer กับบรรยากาศ (6) กดปุ่น “Pressure ” บน Bedside Pressure Monitor ขึ้นคำว่า Zero เป็นเส้นตรงบนจอภาพ และเส้น นี้ตรงจะลดลงมาอยู่ระดับล่างสุดตรงกับระดับความดันศูนย์ นั่นคือ เสร็จสิ้นขั้นตอนการ Calibrations
  • 59. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 1.Balancing (Zeroing) a Pressure Transducer: Calibration (8) การ Calibration Transducer ต้องทำทุกครั้งหลังการรับ เวรเรียบร้อยแล้ว เเละเมื่อผู้ป่วยมีการเปลี่ยนท่านอน/ปรับ ศีรษะเตียงใหม่ หรือเมื่อมีการเปลี่ยนสายใหม่ หรือ Calibration ซ้ำหากต้องการยืนยันค่าความดัน (7) หมุนปิด T-way ด้านที่เปิดสู่บรรยากาศและหมุนเปิด T-way ด้านผู้ป่วย ซึ่งจะกลายเป็นการวัดความดันระหว่าง Dome - Transducer กับสายต่อที่เข้าเส้นเลือดผู้ป่วย 58
  • 60. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 59 2.Cardiac Output : CO ค่าปกติ 4-6 lit/min เป็นปริมาตรเลือดที่ถูกสูบฉีดออกจากหัวใจห้องล่างซ้ายเข้าสู่ Aorta และออกไปสู่ระบบไหลเวียนของร่างกายใน 1 นาที ซึ่งมีค่า เท่ากับ ปริมาณเลือดทีไหลกลับเข้าสู่หัวใจห้องบนขวา (right atrium) Cardiac Output (CO) = Heart Rate (HR) x Stroke Volume(SV)
  • 61. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 60 2.Cardiac Output : CO
  • 62. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 61 Complications of PA catheter : Nursing ภาวะเเทรกซ้อน ข้อมูลสนับสนุน การพยาบาล ( 1 ) A r r h y t h m i a จ า ก Irritation Endocardium ตอน deflate balloon แล้วเลื่อน สาย PA มา RA มี PVC, VT บ่อยทำให้ Decrease Perfusion >>> CO ลดลง >>>BP drop >>> Conscious less - A s s e s s . s i g n , E K G monitor - เตรียม Lidocain สำหรับเเก้ VT + Recording (2) Air Embolism ! จากการเเตกของ Balloon หรือจากสายต่อของสารน้ำที่ ปิดไม่ถูกทาง หลุด เลื่อน >>> Conscious less! >>> ซัก เเขนขา อ่อนแรง! >>> CVA - นอนตะเเคงซ้ายศีรษะสูง - Rapid notify ( 3 ) P u l m o n a r y Thromboembolism จากการ เกิด Thrombus เกาะผนังสาย PA จาก flushing Heparin น้อย >>> หอบ เหนื่อย แน่น หน้าอก หัวใจเต้นเร็ว - Rapid notify - ให้ Heparin ที่เพียงพอตาม Px. - Seriose monitoring V/s 72 hr.
  • 63. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 62 (Cont.) Complications of PA catheter : Nursing ภาวะเเทรกซ้อน ข้อมูลสนับสนุน การพยาบาล (4) PA rupture จาก Inflate balloon เกินขนาด หรือ Inflate ขณะปลายสายยังไม่ถึง ตำแหน่ง >> ความดันโลหิต่ำ >> CO ลดลง >> เลือดไหลสู่ PA ลดลง - Inflate balloon < 1.5 ml. - งดการ Flushing สาย PA ถ้า waveform เเสดง damping >>เเต่ให้ดูด clotting ออก ( 5) Pulmonary Infraction! เนื่องจากสายยางอยู่ในตำเเหน่ง wedge และ balloon inflate พร้อมกับมี Thrombus เกาะ รอบๆผนังสาย PA - -> อุดตัน >> ไอ + ไอเป็นเลือด! >> เจ็บหน้าอก! >> ไข้สูง , Respi. friction rup! >> Hypoxia! >> Respiratory alkalosis - Inflate balloon < 1.5 ml.! - Deflate balloon ทันทีที่ wedge ปรากฎที่จอ monitor! - Rapid notify! - เตรียม X-ray ดูตำแหน่งของสาย (6) Infection in System จากเทคนิคการใส่สาย PA >> Inflammatory + ไข้ + หนองบริเวณจุดต้นที่ใส่สาย PA - Monitoring sepsis shock - recording V/S + Lesion infected. - dressing wound PA-cath. - ATB by Px.
  • 64. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 63 Nursing in Patient : Pre insertion PA-Catheter อธิบายประโยชน์ของการใส่ …. ให้ผู้ป่วยเข้าใจ/ตอบข้อซักถามตามที่ผู้ป่วยเเละญาติสงสัย อธิบายขั้นตอนการใส่ …. แบบสั้นกะทัดรัดด้วยภาษาที่ผู้ป่วยเข้าใจง่าย/ให้ความมั่นใจกับผู้ป่วย ด้วยความรู้และบอกผู้ป่วยว่าจะอยู่เคียงข้างผู้ป่วยในขณะที่เเพทย์ทำหัตถการ จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่าที่สุขสบายขณะรอเเพทย์มาใส่ …. หรือขณะเตรียมอุปกรณ์สำหรับใส่ PA - cath. เตรียมชุด PA monitoring / Set Zero Calibration เตรียมรถช่วยชีวิตฉุกเฉิน
  • 65. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 64 Nursing in Patient : Intra - insertion PA-Catheter ให้กำลังใจด้วยการอยู่เคียงข้างและสัมผัสโอ่นโยนผู้ป่วยขณะที่ใส่ …… เตรียมอุปกรณ์ที่ปราศจากเชื้อเเละกระตุ้นให้ทุกคนที่เข้าร่วมการทำ หัตถการใช้เทคนิคการดูเเลที่ปราศจากเชื้อ เช่น ผูก mask, เเกะ/ ฉีกอุปกรณ์ลง set. ด้วย sterile technique เตรียมสารน้ำเเละอุปกรณ์ให้พร้อมสำหรับทำหัตถการ จัดท่าผู้ป่วยนอนศีรษะต่ำ ปลาย้ท่าสูง 30 องศา ช่วยเเพทย์ขณะใส่ obs. v/s (ยกเว้นไข้)+ clinical sign + waveform เน้น Arrhythmia และรายงานเเพทย์ เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอน >>>ดูแลผู้ป่วยให้เรียบร้อย>>>บันทึก ตำเเหน่งสาย+ผิวหนัง >>>เก็บอุปกรณ์
  • 66. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 65 Nursing in Patient : Post - insertion PA-Catheter Zero และ Calibration Transducer ทุกเวรหรือทุกครั้งที่ไม่มั่นใจใน waveform วัดค่า PAD & PCWP ทุก 1 ชั่วโมง เพื่อเป็น bedline หากปกติให้วัด PCWP ทุก 2-4 ชั่วโมงได้ ดูแล Pressure tubing ไม่ให้หัดพับงอ หรือเลื่อนหลุด ป้องกันการเกิดลิ่มเลือด ในระบบด้วยการให้ Heparin ให้เพียงพอ ดูแลให้สารน้ำใน Pressure bag มีค่าเเรงดันในช่วง 250-300 mmHg ตลอดเวลา ฟังเสียงปอดและประเมินลักษณะการทำงานของปอด เช่น chest X-ray หลังใส่ PA - cath. เสร็จ
  • 67. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 66 Nursing in Patient : Post - insertion PA-Catheter ระมัดระวังและดูแลการดึงรั้งหรือเลื่อนหลุดของสาย PA - Catheter เช่น เฝ้าระวัง + สอนผู้ป่วยเเละญาติให้เข้าใจ จัดการความปวด ป้องกันการอักเสบบริเวณผิวหนังทางออกต้นสาย PA (cont.) เปลี่ยน Pressure tubing , T-way และชุดให้สารน้ำทุก 3 วันและ ประเมิน Clinical sign+ PA parameter ร่วมกับเเพทย์เพื่อยุติการใส่สาย PA โดยเร็ว ป้องกันการติดเชื้อ ดูเเลควบคุมน้ำในร่างกายในเพียงพอโดยใช้ค่า PCWP เป็นเกณฑ์ เปิดสารน้ำจาก Pressure bag ครั้งละ 30-50 มิลลิลิตร Flush สาย PA ทุก 1-2 ชั่วโมง >>> ลดและป้องกันลิ่มเลือดในสาย ดูแลวัด CO โดยดูดเลือดมาผสมกับสารน้ำเเละดันเข้า RA ด้วยความเร็วเเละเเรง โดยดูลิ่มเลือดและฟองอากาศก่อนดันทุกครั้ง >>> ปฎิบัติในระบบปิดอย่างต่อเนื่อง
  • 68. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 67 Nursing in Patient : Post - OFF PA-Catheter เมื่อผู้ป่วยอาการดีขึ้นเเล้ว แพทย์พิจารณานำสาย Swan Ganz ออกพยาบาลควรปฏิบัติดังนี้ กดบริเวณที่ถอดสาย ด้วย Graze dressing ยึดหลักปราศจาคเชื้อ วัดความดันโลหิตทุก 15-30 นาทีจนกว่าจะคงที่แล้วค่อยขยับเป็นทุก 1 ชั่วโมง จับชีพจรส่วนปลายทั้งเเขนเเละขาเทียบจังหวะ ความเเรงทั้งสองข้าง เพื่อประเมินการอุดตันหลอดเลือดระยะเริ่มต้นหลัง OFF…. ให้ monitor EKG อย่างต่อเนื่องใน 24 ชั่วโงเเรกหลัง OFF เพื่อประเมิน หาอาการที่ผิดปกติ ประเมินเลือดที่ออกบริเวณเเผลและลักษณะทางคลินิกที่บ่งชี้ว่าเกิดการอุดกั้นจากลิ่มเลือด
  • 69. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 68 3.Arterial Pressure Monitoring: AL AL เป็นการใช้เข็มขนาดเล็กเท่าเข็ม IV ทั่วไปเปิดนำทางใส่สายเข้าสู่หลอดเลือด แดงส่วนปลาย เพื่อเเปลงเเรงดันใน หลอดเลือดแดงมาเป็นสัญญาณไฟฟ้า ส่งเข้าสู่คอมพิวเตอร์ส่วนกลางออกมา ปรากฎ wavefrom บนจอมอนิเตอร์ ข้อดี ความดันโลหิตที่ได้มีความเเม่นยำสูง เเละวัดได้อย่างต่อเนื่อง เเละสามารถดูด เลือดออกจากสายนี้ส่งตรวจได้ตลอดเวลา โดยผู้ป่วยไม่เจ็บตัวซ้ำและไม่ต้องรอแพทย์ เจาะ เช่น ABG
  • 70. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 69 วัตถุประสงค์ในการใส่ ข้อบ่งชี้ในการใส่ 3.AL Catheter (intra-arterial pressure monitoring) - เพื่อวัด AP อย่างต่อเนื่อง เช่นในผู้ป่วย - Severe Hypotension- Hypertension - Multiple blood Sampling - เพื่อเปิดหลอดเลือดเพื่อการให้ยา เช่น Angiogram การผ่าตัดบางอย่าง เช่น Urokinase ใ นกรณีผู้ป่วยมีการอุดตัน หลอดเลือดที่ขา - ในระหว่างใส่ IABP - ในผู้ป่วย Polycythemia vera ที่ต้องทำ phlebotomy - ใส่ในผู้ป่วยที่มีปัญหาความดันโลหิตต่ำ เช่น ช็อก - ใส่ในผู้ป่วยที่ต้องได้รับการผ่าตัด CABG หรือช็อคอย่างรุนเเรง /หลอดเลือดหดรัดตัว อย่่างรุนเเรง - ในรายที่ต้องเจาะเลือดแดงตรวจบ่อยๆ - เช่น ABG ในผู้ป่วยที่ on Ventilator
  • 71. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 70 A-line : ตำเเหน่งที่นิยมทำมากที่สุด Radial Brachial Dorsalis Femoral
  • 72. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 71 Arterial waveform
  • 73. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 72 อธิบาย Arterial waveform ขณะที่ Ventricle บีบตัวเเรงดันในหลอดเลือแดง จะถูกแปลงค่าเป็นสัญญาณยกตัวของ waveform ที่สูงขึ้น ดังนั้นยอดสูงสุดที่ได้จาก waveform จึงเป็นผลโดยตรงจาก การบีบตัวของ LV ค่าปกติ = 90 -140 mmHg. Systolic ส่วนที่อยู่ต่ำสุดของ waveform ถ้าเเรงต้านของหลอดเลือดดำส่วน ปลายเพิ่มขึ้น DBP จะเพิ่มขึ้นซึ่งค่าปกติ เท่ากับ 60 - 90 mmHg Diastolic เป็นปุ่มเล็กๆบน waveform ระหว่าง Systolic กับ diastolic ในขณะที่ Systolic กำลังลดต่ำลง ซึ่งจะมีเเรงดันที่เพิ่มขึ้นเล็กน้อยที่เกิดจาก aortic valve ปิด Dicrotic noch
  • 74. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 73 อธิบาย Arterial waveform ค่าระดับความดันโลหิตที่ทำให้มีการกำซาบเลือด ซึ่งคำนวณได้จาก Systolic BP + (2 x Diastolic BP)/ 3 Mean Arterial Pressure : MAP, AMP *** ค่าปกติ เท่ากับ 70-100 mmHg ในคลินิกค่า MAP ต้องมากกว่า 60 mmHg. จึงจะเพียงพอในการส่งเลือดไปเลี้ยงอวัยวะที่สำคัญของร่างกาย ให้กำซาบเลือด ได้เพียงพอกับความต้องการ
  • 75. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 74 A-line
  • 76. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 75 A-line : Nursing Care ** ใช้เทคนิค Sterile ทุกขั้นตอน (1) Re calibrate-Zeroing transducer : ทุก 8 ชั่วโมงหรือทุกครั้งที่ไม่มั่นใจใน waveform หรือทุกครั้งที่มีการเลื่อนหลุดของสาย (2) เปลี่ยน set Dome , Pressure tubing , IV set ทุก 48 ชั่วโมง (3) Record + Dressing แผลบริเวณ AL ทุกวันและให้ dressing ทุกครั้งที่เเผลซึม (4) เฝ้าระวังการอุดตันของหลอดเลือดเเดงโดยการประเมินสีผิว คลำชีพจร เปรียบ เทียบกันกับอีกข้าง (5) Record waveform (วิเคราะห์ประกอบ clinical sign ) เเละรายงานเเพทย์เมื่อ พบในสิ่งที่ผิดปกติอย่างทันท่วงที
  • 77. การดูดเลือดจาก A-line เพื่อส่งตรวจ College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 - ปิดสัญญาณ Alarm ที่ monitor - ปิดหาง T-way มาด้าน Transducer - เช็ดด้าน T-way ที่จะดูดเลือดด้วย Anti septic solution - ทำ Double Syring ในการดูดเลือดผู้ป่วยออกมาเเล้วส่งตรวจและคืนเลือดให้กับ - ผู้ป่วยโดยต้องดู Air + Clotting อย่างละเอียด - Flushing device ไล่เลือดเข้าในสายโดยให้เป็น IV ที่ใสเเละ Clear ตลอดเเนว - หมุนเปิด T-way ไปด้าน Transducer และเปิด สัญญาณ Alarm 76
  • 78. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 4.Central Venous Pressure : CVP 77 คือ การวัดความดันเลือดดำส่วนกลาง ที่ RA เพื่อประเมินระ ดับน้ำเเละเลือดในร่างกาย ซึ่งเป็นการวัดค่าเลือดดำจาก บริเวณ Superoir Vena Cava และ RA โดยทั้งสองส่วน นี้จะไม่มีลิ้นกั้น ค่าปกติของ CVP = 3 - 11 mmHg การแปลงค่า CVP (ที่วัดได้เป็น ซม. น้ำ) / 1.36 = CVP (mmHg) Vitello CCicciu & O’Sullivan,1997)
  • 79. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 78 4.Central Venous Pressure : CVP - CVP = RAP -นิยมวัดในผู้ที่สูญเสียเลือด/น้ำ - ไม่สามารถบอกสมรรถนะการทำงานของหัวใจข้างซ้ายได้ ค่าปกติ คือ 4-15 cmH2O หรือ 3 - 11 mmHg -เป็นค่าที่เเสดงถึง Preload ของ RA และเป็นดัชนีบ่งชี้ Intravascular volume
  • 80. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Central Venous Pressure Monitoring 79 Equipment and Supplies! -Venous catheter -IV pole with transducer holder -Heparinized flush solution -IV pressure bag -Pressure transducer -Pressure tubing -3-ways stopcocks -Pressure dome -Syringe 10 ml -Monitor and Monitor cable -Set Venesection
  • 81. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 80 The Relationship EKG & BP
  • 82. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 81 Waveform and Cardiac Cycle
  • 83. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 82 Waveform EKG and CVP Cycle
  • 84. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 83 Waveform EKG and CVP Cycle
  • 85. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Phebostatic Axis and the Phebostatic Level 84
  • 86. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 85
  • 87. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Summary Hemodynamic monitoring parameter 86 1. Heart rate 60-100 beats/min 2. Blood pressure Systolic 90-140 mmHg Diastolic 60-90 mmHg 3. Mean arterial pressure 70-105 mmHg 4. Central venous pressure 2-8 mmHg or 3-10 cmH2O 5. Pulmonary artery pressure Systolic 15-25 mmHg Diastolic 8-15 mmHg 6. Pulmonary capillary 6-12 mmHg wedge pressure 7. Cardiac output 4-8 L/min 8. Stroke volume 60-130 cc/beat 9. Cardiac index 2.4-3.6 L/min/m2 10.Total blood volume 8.5-9 % of body weight in kg Parameter normal range for adults
  • 88. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 Title IAPB : Up Next Critical Cardiology patient 87
  • 89. College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University Line ID: nutt-chut ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) Tel. 095-8499-681 88 Title IAPB : Up Next Critical Cardiology patient
  • 90. Line ID : nutt-chut / ชัชวาล วงค์สารี (อ.นัท) / โทร 095-8499-681 College of Nursing and Health Suansunundha Rajabhaj University