SlideShare a Scribd company logo
1 of 51
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง :
อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์
มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย (
ประวัติผู้บรรยาย :
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
• Baby Boomer รุ่นสุดท้าย
• วท.บ. เทคนิคการแพทย์ คณะแพทย์ จุฬาฯ
• วท.ม. พยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทย์ รามาธิบดี
• M.Sc. Biomedical Engineering , U. Southern
California
• เลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์
มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (2008 – 2011)
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย (
1. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ”
มิใช่สิ่งเดียวกัน ในการรับรู้ของผู้คน
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ทาไมต้องการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล
(ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร)
• ต้องการมี Autonomyในการบริหารมหาวิทยาลัยที่ดี
ที่เป็นเลิศในประเทศไทยและระดับสากล :
A good teacher is the beginning of a great university
• ระบบราชการเหมาะกับ การทาซ้า ไม่ใช่ระบบสาหรับ นวัตกรรม
และ ความคิดสร้างสรรค์ มีขีดจากัดในการคัดสรร พัฒนา
ส่งเสริม และรักษาคนดี คนมีศักยภาพ
• การ ประเมินอย่างต่อเนื่อง ประกันคุณภาพ ค่าตอบแทนที่ดีข้้น
• มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มีส่วน
เกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders)
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
พระราชดาริเรื่องจัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของ
สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก
พระบิดาแห่งการอุดมศ้กษาไทย (2471)
“........ การที่มหาวิทยาลัยจะมีความเป็นเลิศทางวิชาการ จะมีเสรีภาพ
ทางวิชาการอยู่ในระบบที่เป็นอิสระ และสมบูรณ์ในตนเอง ต้องจัด
โครงสร้างในลักษณะพิเศษ เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็น “สมองต้นความคิด
ของชาติ” ได้.....มหาวิทยาลัยจ้งไม่ควรสังกัดกระทรวงธรรมการ ..
มหาวิทยาลัยควรเป็นอิสระข้้นแก่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
โดยตรง หรือข้้นแก่คณะอภิรัฐมนตรี .... ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไป
เบื้องหน้า ก็ควรเป็นไปในทางที่มหาวิทยาลัย จะมีอิสรภาพมากข้้น
....... มีทุนรอน และ ผลประโยชน์รายได้ที่มากพอโดยไม่ต้องอาศัย
งบประมาณจากรัฐบาลเท่านั้น...... “
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
หลักการของมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล ( ป๋ วย อึ๊งภากรณ์, สิปปนนท์
เกตุทัต,กาแหง พลางกูร,เกษม สุวรรณกุล,สวัสดิ์ สกุลไทย , 2510)
“ มหาวิทยาลัยเป็ นส่วนหนึ่งของรัฐบาล มหาวิทยาลัยมีอิสระ
พอสมควร แต่ยังดาเนินการตามนโยบายการศึกษาของรัฐบาล
และรัฐบาลมีสิทธิส่งคนมานั่งในสภามหาวิทยาลัย มีสิทธิที่จะ
ตรวจสอบบัญชี ตรวจงานของมหาวิทยาลัยได้ มหาวิทยาลัย
ในกากับของรัฐบาลจะมีลักษณะเดียวกับธนาคารชาติ ซึ่งอยู่
ภายใต้กระทรวงการคลังเช่นกัน แต่มิได้ เป็ นส่วนหนึ่งของ
กระทรวงการคลัง ”
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
แนวคิดเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ผันแปร
ปรับตัว โอนอ่อน ไปตามสภาพวัฒนธรรมของ
องค์กรการศึกษา สภาพการเมือง เศรษฐกิจ
สังคม ตลอดจนผลกระทบจากภายนอกประเทศ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย (
2. สุดท้ายแล้ว สถาบันอุดมศ้กษาทุก
แห่งก็จะต้องไปจบที่ “มหาวิทยาลัย
ในกากับของรัฐ” !?!?!?
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
ปัจจัยสนับสนุนเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• แผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว (พ.ศ. 2533-2547)
• การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นระหว่างมหาวิทยาลัย ระดับชาติ นานาชาติ
• จัดทาแผนปรับสถานภาพเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ปี 2541-
2545
• ปรับระบบการบรรจุบุคลากรเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย ตั้งแต่
ปี งบประมาณ พ.ศ. 2542
• มีพนักงานมหาวิทยาลัยมากกว่าข้าราชการ
• มีระบบบริหารงานบุคคลมากกว่า 2 ระบบ
• มีระบบบริหารการเงินและพัสดุมากกว่า 1 ระบบ
• การบริหารงานวิชาการ มิได้สิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยทุกเรื่อง
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
ร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ
ปฏิเสธไม่ได้ว่า พรบ. มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ส่วน
ใหญ่มีลักษณะแทบจะไม่แตกต่างกัน ผลประกันคุณภาพ
ก็ไม่ค่อยจะต่างกัน แต่พอลงไปเดินดูสภาพสถานที่
รายละเอียด ลักษณะการเรียนการสอน วิจัย ฯลฯ มี
ความหลากหลายอยางมาก
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
“ มหาวิ ทยาลัย ในกากับของ รัฐ ”
มหากาพย์ แห่งความเปลี่ยนแปลง
ในกระบวนการจัดการศึกษาไทย
สู่การเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง
ภายใต้ “ ม ห ก ร ร ม คื น ค ว า ม สุ ข ”
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ
รัฐ
ร่างพระราชบัญญัติ
คณะรัฐมนตรี
ไม่รับหลักการ
เห็นชอบ
รับหลักการ
วาระที่ ๓ ไม่เห็นชอบ
วาระที่ ๑
สภานิติบัญญัติ
วาระที่ ๒ตั้งกรรมาธิการพิจารณา
เสนอโปรดเกล้าฯ
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
สนช.
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มิได้มีแค่เรื่อง พรบ.
• ขนาด ประเภท ทาเล ที่ตั้งของมหาวิทยาลัย
• ที่สาคัญคือ คน ระบบ วัฒนธรรมองค์กร
• ทรัพย์สินอื่นๆ ทั้งที่จับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ อาทิ ชื่อเสียง ผลงาน
สิ่งประดิษฐ์ สิทธิบัตร ศิษย์เก่า ความสัมพันธ์กับชุมชน สังคม เครือข่าย
ฯลฯ
• ความพร้อมที่แท้จริง คือ ความพร้อมอกพร้อมใจ เรื่องเช่นนี้ยากจะ
เกิดขึ้นได้ หากไร้ซึ่ง “ธรรมาภิบาล”
• กระนั้น มหาวิทยาลัยที่ไร้ซึ่งธรรมาภิบาลก็ยังอาจจะออกนอกระบบได้อย่าง
ราบรื่น หากมีความปรารถนาอันแรงกล้าจากสภามหาวิทยาลัย กฎหมาย
ลูกรองรับ และมีคณะทางานเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพพอ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย (
3. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ”
ส่งผลเสียต่อผู้ปฏิบัติงานมาก ทาให้
ผู้บริหารร่ารวยมีอานาจมาก ???
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
• ยังเป็ นหน่วยงานของรัฐ รัฐยังคงเป็ นเจ้าของ 100% ยัง
ได้รับงบประมาณแผ่นดินมากขึ้นทุกปี บุคลากรยังใช้
เครื่องแบบ ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม)
ฯลฯ
• ไม่ใช่การแปรรูป ไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจ ยังเป็ นองค์กรสาธารณะ
ไม่แสวงหากาไร
• สถานะเป็ นนิติบุคคล แต่ไม่เป็ นส่วนราชการ
• มีอิสระในการบริหารงาน แต่โปร่งใสและ ตรวจสอบได้
• เน้นบริหารวิชาการ ยังคงมีกฎหมาย และกฎระเบียบที่มัก
อ้างอิงระบบราชการ
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• มีความเป็ นอิสระทางวิชาการมากขึ้น มีอานาจตัดสิน/
วินิจฉัยเกี่ยวกับปรัชญา/นโยบายทางวิชาการ เปิ ด/ปิ ด
หลักสูตร ปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตร กาหนดวิธีการเรียนการ
สอน การค้นคว้าวิจัยและการเผยแพร่องค์ความรู้
• มีความเป็ นอิสระทางการเงินมากขึ้น มีอานาจตัดสินใจ/
วินิจฉัย /ดาเนินการ เกี่ยวกับแหล่งที่มา/การจัดสรร
ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่มหาวิทยาลัย
• ความเป็ นอิสระในการบริหารงานบุคคลมากขึ้น มีอานาจ
กาหนดระบบบริหารงานบุคคล ตาแหน่ง/กรอบอัตรากาลัง /
ภาระงาน/เงื่อนไขการจ้าง /ค่าตอบแทน/สวัสดิการ/สิทธิ
ประโยชน์ /เลื่อนขั้น-/วินัย /ลงโทษ
มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยอิสระ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• งบประมาณจากรัฐเป็ นเงินอุดหนุนในลักษณะให้มาเป็ นก้อน
(Block Grant)
o เงินอุดหนุนทั่วไปค่าใช้จ่ายประจาปี
o เงินอุดหนุนกองทุนคงยอดเงินต้น
o อุดหนุนค่าใช้จ่ายลงทุน
• เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้
• รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือการลงทุน
และจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
• รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือ การ
ลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย
• ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และค่าบริการ
ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย
• รายได้หรือผลประโยชน์จากการใช้ที่ราชพัสดุหรือจัดหา
ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ
• รายได้หรือผลประโยชน์อย่างอื่น
แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ)
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
1. งบประมาณแผ่นดิน ในรูปเงินอุดหนุนทั่วไป
2. รายได้จากทุนวิจัย
3. รายได้จากการบริการวิชาการ ตลอดจนผลประโยชน์ที่ได้
จากการลงทุนหรือการร่วมลงทุนที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพย์สินทาง
ปัญญาของมหาวิทยาลัย
แหล่งรายได้หลัก 3 ส่วน ที่จะช่วยให้มีความคล่องตัว
สูง ตามคาแนะนาของผู้บริหาร มจธ.
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• รัฐพึงจัดสรรเป็ นจานวนเพียงพอสาหรับค่าใช้จ่ายในการ
ดาเนินการการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อประกันคุณภาพ
การศึกษา
• กรณีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการไม่เพียงพอ มหาวิทยาลัยไม่
สามารถหาจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป
เพิ่มเติม ตามความจาเป็ นของมหาวิทยาลัย
หลักประกันการจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• การปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการเป็ นพนักงาน
มหาวิทยาลัย เป็ นไปโดยความสมัครใจไม่บังคับ
• ยังคงความเป็ นข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ จนกว่าจะ
แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย
(แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพได้ตามบทเฉพาะกาล แสดง
เจตนาแล้วถอนมิได้)
• ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม)
หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
• การสนับสนุนจากรัฐในการปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการ
เป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย
o จัดสรรเงินเพิ่ม 60% (40% เป็ นเงินเพิ่ม
ประสิทธิภาพ 20% เป็ นเงินสวัสดิการ)
o ข้าราชการที่เป็ นสมาชิกกองทุน กบข. สามารถเป็ น
สมาชิกต่อไปได้ ลาออกก็ได้บานาญ (ออกจากราชการ
เพราะเหตุยุบเลิกตาแหน่ง ) เงินสะสมสมทบ เงิน
ประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทน ฯลฯ
ตามสิทธิ
หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร (ต่อ)
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย (
4. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ”
คือหลักประกันด้านสมรรถนะและ
คุณภาพ ???
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
• คุณภาพการเรียนการสอนที่ดีขึ้น จาก อาจารย์ / บุคลากร/
เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ/การจัดสรรทรัพยากร/การคัดเลือก
ผู้เรียน
• คุณภาพงานวิจัย (Research University ?) และสิ่งประดิษฐ์
ดีขึ้น เทียบได้กับมาตรฐานสากล
• เปลี่ยนกระบวนทัศน์ สร้างวัฒนธรรมใหม่ มีการพัฒนาการ
อย่างต่อเนื่อง มีกลไกประเมินเพิ่มประสิทธิภาพ มี
หลักประกันคุณภาพ สร้างผลงานที่ดีด้วยการใช้งบประมาณ
อย่างมีประสิทธิภาพ
ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
• มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders)
• มหาวิทยาลัยมีความคล่องตัวในการบริหารมากขึ้น
• ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาล
• เปิ ดหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน
ได้ (ศ.ดร. สิปนนท์ เกตุทัต เคยกล่าวไว้ว่า หน้าที่ต่อสังคม
ของมหาวิทยาลัย มี 3 เรื่องหลักๆ คือ ตอบสนอง ชี้นา
และ ตักเตือน)
• สวัสดิการของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทียบเท่าเอกชน
ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ)
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
เงินเดือนและค่าตอบแทน
ผลงานดีเด่น
เบี้ยประชุม
ค่าตอบแทนเกินภาระงาน
Allowance
ค่าตอบแทนทางวิชาชีพที่ขาดแคลน
ค่าตอบแทนตาแหน่งทางวิชาการ
ค่าตอบแทนตาแหน่งบริหาร
Basic Salary
คุณวุฒิ
+
ประสบการณ์
Performance
Payscale
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ
ไทย (
5. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ” มี
เป้ าหมายเพื่อการประหยัด
งบประมาณของรัฐ แต่ผลักภาระไป
ให้ ผู้ปกครอง และ นศ. ????
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
• ผู้บริหารจะมีอานาจมากโดยปราศจากการตรวจสอบและไม่มี
ความโปร่งใส (ปัญหาธรรมาภิบาล)
• ค่าเล่าเรียนแพง ? ตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อย
ทางอ้อม
• ผลประโยชน์ตอบแทนที่บุคลากรมหาวิทยาลัยจะได้รับ
• ความพร้อมของ มหาวิทยาลัย
• มหาวิทยาลัยมุ่งขยายจานวนรับ นศ.ใหม่ เพื่อให้ได้รายได้จาก
การลงทะเบียนเรียนมากขึ้นจนอาจทาให้คุณภาพด้อยลง
• คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิ ดสอน อาจจะต้องปิ ดตัว
ลง
ความกังวลเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นไป
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นไป
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นไป
ภาพรวมจานวนนักศึกษา มจธ. ทั้งหมด ปีการศึกษา 2535-
2551
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
• มติคณะรัฐมนตรี 3 มี.ค. 58 ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. เกษตรศาสตร์
และสวนดุสิต และส่งให้ สนช. พิจารณา
• มติคณะรัฐมนตรี 10 มี.ค. 58 ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. ธรรมศาสตร์
และขอนแก่น และส่งให้ สนช. พิจารณา
• มติคณะรัฐมนตรี 17 มี.ค. 58 ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. ศิลปากร และ
ส่งให้ สนช. พิจารณา
• มติคณะรัฐมนตรี 21 กรกฎาคม 2558 ครม. เห็นชอบ ร่าง พรบ.
สงขลาฯ และ มศว. และส่งให้ สนช. พิจารณา
• นอกจากนี้ ยังมีความเคลื่อนไหวของ มรภ.สุนันทา ที่กาลังอยู่ระหว่าง
รับฟังความคิดเห็นของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย
ปี 2558 กับ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
เอกสารประกอบการพิจารณา เรื่อง มหาวิทยาลัยนอกระบบ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕
บางส่วนในบทสรุปของคณะกรรมาธิการ (ต่อ)
...... เจตนารมณ์ท้าย พรบ. มรภ. พ.ศ. ๒๕๔๗ ตั้งธงให้ มรภ. ทั้งหลาย
เป็ นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น จัดการศึกษาให้เหมาะสมกับการ
ดารงชีวิตและประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในท้องถิ่นและสังคม และสอดคล้องกับนโยบายการบริหารและ
จัดการการศึกษาของรัฐตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ .......
เมื่อเป็ นสถาบันการศึกษาเพื่อคนท้องถิ่น ขณะที่ลักษณะทางประชากรศาสตร์
โดยเฉพาะสถานะทางครอบครัวของคนในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ดังนั้น มาตรา
๙ ของ พ.ร.บ. มรภ. พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงระบุให้ชัดเจนลงไปว่า มหาวิทยาลัยจะ
ปฏิเสธการรับสมัครผู้ใดเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือยุติ หรือชะลอการศึกษา
ของนักศึกษาผู้ใดด้วยเหตุเพียงว่าผู้นั้นขาดแคลนทุนทรัพย์อย่างแท้จริงเพื่อจ่าย
ค่าธรรมเนียมการศึกษาต่าง ๆ แก่มหาวิทยาลัยมิได้
To be or Not to be
มหาวิทยาลัยในกากับ
อุ ด ม ศึ ก ษ า ไ ท ย ก็ ยั ง ต้ อ ง เ ผ ชิ ญ กั บ
• สภาพความผันผวนทางนโยบาย
• สภาพการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์
• สภาพการเปลี่ยนแปลงทางความต้องการด้านการศึกษา
• วิถีการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป
• ข้อจากัดทางทรัพยากร
• ผลกระทบจากนอกประเทศ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
สภาพการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์
ระหว่างปี 2513 – 2553 และคาดการณ์ถึงปี
2593
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
สภาพการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รูปแบบการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
สภาพการเปลี่ยนแปลงทางความต้องการด้านการศึกษา
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ข้อจากัดทางทรัพยากร
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
ข้อจากัดทางทรัพยากร
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.)
แล้วยังเรื่องประกันคุณภาพอีกล่ะ
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
แล้วพวกท่านมีความพร้อม ?
ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
ความพร้อมที่แท้จริง
อยู่ที่
ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย
หมายเหตุ ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย เป็นหลักการ ที่ยังผันแปรไปตามวัฒนธรรมองค์กรได้
สภามหาวิทยาลัย
คณะผู้บริหาร
บุคลากร
(สภาคณาจารย์)

More Related Content

Similar to ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ

ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อมSurapol Sriboonsong
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองดำรง โยธารักษ์
 
Good governance 3
Good governance 3Good governance 3
Good governance 3gimzui
 
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมาSurapol Sriboonsong
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Librru Phrisit
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..Lib Rru
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520Pandit Chan
 
ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว
ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียวความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว
ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียวKlangpanya
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...Klangpanya
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันQA Bpi
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated developmenttpsinfo
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทยYaowaluk Chaobanpho
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์Development Science College Puey Ungphakorn,Thammasat University
 

Similar to ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ (18)

RSU SE CENTER
RSU SE CENTERRSU SE CENTER
RSU SE CENTER
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุรินพยาบาลกับกฎหมาย สุริน
พยาบาลกับกฎหมาย สุริน
 
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม02 มหาวิทยาลัยในกำกับ  พรบ และการเตรียมความพร้อม
02 มหาวิทยาลัยในกำกับ พรบ และการเตรียมความพร้อม
 
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเองการพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
การพัฒนาที่มาจากชาวบ้าน/ท้องถิ่นจัดการตนเอง
 
Good governance 3
Good governance 3Good governance 3
Good governance 3
 
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา01 มหาวิทยาลัยในกำกับ  ความเป็นมา
01 มหาวิทยาลัยในกำกับ ความเป็นมา
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ประวัติอไ..
ประวัติอไ..ประวัติอไ..
ประวัติอไ..
 
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
ชีวประวัติรัฐธรรมนูญ2475 2520
 
ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว
ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียวความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว
ความมั่นคงทางพลังงานไม่ได้มีเพียงมิติเดียว
 
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
แนวโน้มและทิศทางการเปลี่ยนแปลงของโลก (Global Trends) ที่อาจส่งผลกระทบต่อความเ...
 
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกันPpt การพัฒนาระบบการประกัน
Ppt การพัฒนาระบบการประกัน
 
human security integrated development
human security integrated developmenthuman security integrated development
human security integrated development
 
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
“ธรรมกาย” กับพุทธศาสนาและการเมืองในประเทศไทย
 
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
บทความ การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoสุรพล ศรีบุญทรง
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสุรพล ศรีบุญทรง
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์สุรพล ศรีบุญทรง
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยสุรพล ศรีบุญทรง
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังสุรพล ศรีบุญทรง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)สุรพล ศรีบุญทรง
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)สุรพล ศรีบุญทรง
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2สุรพล ศรีบุญทรง
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)สุรพล ศรีบุญทรง
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550สุรพล ศรีบุญทรง
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...สุรพล ศรีบุญทรง
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)สุรพล ศรีบุญทรง
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)สุรพล ศรีบุญทรง
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์คสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่นสุรพล ศรีบุญทรง
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์สุรพล ศรีบุญทรง
 

More from สุรพล ศรีบุญทรง (20)

เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWhoเรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
เรียนรู้หลักการศึกษาผ่านคำถามWho
 
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 Hสร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
สร้างการเรียนรู้สากลได้ง่ายๆ ด้วยคำถาม 5 H
 
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550  ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
หนังสือประชุมวิชาการ ปอมท. ปี 2550 ณ โรงแรมรามา การ์เดนส์
 
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัยกระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
กระบวนการพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย
 
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลังภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
ภาคผนวก (หน้า299 317),ปกหลังด้านในและปกหลัง
 
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
ประวัติและผลงานอาจารย์ดีเด่น (หน้า20 32)
 
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
บทความสถานภาพองค์กรและบุคลากร (หน้า197 225)
 
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
National Identity in Education Policy บทความรับเชิญ (หน้า115 172)
 
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550  (หน้า249 274) 2
บทความวิชาการ ประชุม ปอมท. 2550 (หน้า249 274) 2
 
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว  .....บทความเกียรติยศ (หน้า32   40)
หลักการทรงงาน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว .....บทความเกียรติยศ (หน้า32 40)
 
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
ข่าวกิจกรรม ปอมท.(หน้า275 298)
 
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
โครงการประชุมวิชาการประจำปี 2550
 
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
บทความวิชาการ  ปอมท.  2550บทความวิชาการ  ปอมท.  2550
บทความวิชาการ ปอมท. 2550
 
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
5.เรื่องทิศทางข้างหน้าของข้าราชการไทยการบริหารราชการยุคใหม่โดยนายโอภาส เขียวว...
 
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
4.เรื่องการบริหารราชการยุคใหม่โดยดร.สมโภชน์ นพคุณ (หน้า83 99)
 
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
3.เรื่องระบบ admission,o netและa-net โดยศ.ดร.อุทุมพร (หน้า 71-82)
 
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลียการศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
การศึกษาเปรียบเทียบกลไกธรรมาภิบาลในอุดมศึกษาไทยและออสเตรเลีย
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์คการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒  ณ    รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๑๐/๒๕๕๒ ณ รร.เซ็นจูรี่ พาร์ค
 
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
การประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่นการประชุม  ปอมท.  สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒  ณ    ม.ขอนแก่น
การประชุม ปอมท. สมัยสามัญ ครั้งที่ ๙/๒๕๕๒ ณ ม.ขอนแก่น
 
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ  ม.เกษตรศาสตร์
การประชุมสมัยสามัญ ปอมท. ครั้งที่ 8/2552 ณ ม.เกษตรศาสตร์
 

ไขข้อข้องใจ มหาวิทยาลัยในกำกับ

  • 1. ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.)
  • 2. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ ไทย ( ประวัติผู้บรรยาย : ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ • Baby Boomer รุ่นสุดท้าย • วท.บ. เทคนิคการแพทย์ คณะแพทย์ จุฬาฯ • วท.ม. พยาธิวิทยาคลินิก คณะแพทย์ รามาธิบดี • M.Sc. Biomedical Engineering , U. Southern California • เลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์ มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (2008 – 2011)
  • 3. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ ไทย ( 1. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ” มิใช่สิ่งเดียวกัน ในการรับรู้ของผู้คน ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 4. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ทาไมต้องการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล (ดร.กฤษณพงศ์ กีรติกร) • ต้องการมี Autonomyในการบริหารมหาวิทยาลัยที่ดี ที่เป็นเลิศในประเทศไทยและระดับสากล : A good teacher is the beginning of a great university • ระบบราชการเหมาะกับ การทาซ้า ไม่ใช่ระบบสาหรับ นวัตกรรม และ ความคิดสร้างสรรค์ มีขีดจากัดในการคัดสรร พัฒนา ส่งเสริม และรักษาคนดี คนมีศักยภาพ • การ ประเมินอย่างต่อเนื่อง ประกันคุณภาพ ค่าตอบแทนที่ดีข้้น • มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มีส่วน เกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders) ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 5. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) พระราชดาริเรื่องจัดจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยของ สมเด็จพระมหิตลาธิเบศรอดุลยเดชวิกรมบรมราชชนก พระบิดาแห่งการอุดมศ้กษาไทย (2471) “........ การที่มหาวิทยาลัยจะมีความเป็นเลิศทางวิชาการ จะมีเสรีภาพ ทางวิชาการอยู่ในระบบที่เป็นอิสระ และสมบูรณ์ในตนเอง ต้องจัด โครงสร้างในลักษณะพิเศษ เพื่อให้มหาวิทยาลัยเป็น “สมองต้นความคิด ของชาติ” ได้.....มหาวิทยาลัยจ้งไม่ควรสังกัดกระทรวงธรรมการ .. มหาวิทยาลัยควรเป็นอิสระข้้นแก่องค์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว โดยตรง หรือข้้นแก่คณะอภิรัฐมนตรี .... ถ้าจะมีการเปลี่ยนแปลงต่อไป เบื้องหน้า ก็ควรเป็นไปในทางที่มหาวิทยาลัย จะมีอิสรภาพมากข้้น ....... มีทุนรอน และ ผลประโยชน์รายได้ที่มากพอโดยไม่ต้องอาศัย งบประมาณจากรัฐบาลเท่านั้น...... “ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 6. หลักการของมหาวิทยาลัยในกากับรัฐบาล ( ป๋ วย อึ๊งภากรณ์, สิปปนนท์ เกตุทัต,กาแหง พลางกูร,เกษม สุวรรณกุล,สวัสดิ์ สกุลไทย , 2510) “ มหาวิทยาลัยเป็ นส่วนหนึ่งของรัฐบาล มหาวิทยาลัยมีอิสระ พอสมควร แต่ยังดาเนินการตามนโยบายการศึกษาของรัฐบาล และรัฐบาลมีสิทธิส่งคนมานั่งในสภามหาวิทยาลัย มีสิทธิที่จะ ตรวจสอบบัญชี ตรวจงานของมหาวิทยาลัยได้ มหาวิทยาลัย ในกากับของรัฐบาลจะมีลักษณะเดียวกับธนาคารชาติ ซึ่งอยู่ ภายใต้กระทรวงการคลังเช่นกัน แต่มิได้ เป็ นส่วนหนึ่งของ กระทรวงการคลัง ” ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 7. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) แนวคิดเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ผันแปร ปรับตัว โอนอ่อน ไปตามสภาพวัฒนธรรมของ องค์กรการศึกษา สภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ตลอดจนผลกระทบจากภายนอกประเทศ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 8. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ ไทย ( 2. สุดท้ายแล้ว สถาบันอุดมศ้กษาทุก แห่งก็จะต้องไปจบที่ “มหาวิทยาลัย ในกากับของรัฐ” !?!?!? ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 9. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) ปัจจัยสนับสนุนเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ • แผนพัฒนาอุดมศึกษา ระยะยาว (พ.ศ. 2533-2547) • การแข่งขันที่รุนแรงขึ้นระหว่างมหาวิทยาลัย ระดับชาติ นานาชาติ • จัดทาแผนปรับสถานภาพเสนอคณะรัฐมนตรีอนุมัติ ปี 2541- 2545 • ปรับระบบการบรรจุบุคลากรเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย ตั้งแต่ ปี งบประมาณ พ.ศ. 2542 • มีพนักงานมหาวิทยาลัยมากกว่าข้าราชการ • มีระบบบริหารงานบุคคลมากกว่า 2 ระบบ • มีระบบบริหารการเงินและพัสดุมากกว่า 1 ระบบ • การบริหารงานวิชาการ มิได้สิ้นสุดที่สภามหาวิทยาลัยทุกเรื่อง ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 10. ร่าง พรบ.ในกากับของรัฐ ปฏิเสธไม่ได้ว่า พรบ. มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ส่วน ใหญ่มีลักษณะแทบจะไม่แตกต่างกัน ผลประกันคุณภาพ ก็ไม่ค่อยจะต่างกัน แต่พอลงไปเดินดูสภาพสถานที่ รายละเอียด ลักษณะการเรียนการสอน วิจัย ฯลฯ มี ความหลากหลายอยางมาก รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 11. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 13.
  • 14. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) “ มหาวิ ทยาลัย ในกากับของ รัฐ ” มหากาพย์ แห่งความเปลี่ยนแปลง ในกระบวนการจัดการศึกษาไทย สู่การเปลี่ยนแปลงอีกครั้ง ภายใต้ “ ม ห ก ร ร ม คื น ค ว า ม สุ ข ” ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของ รัฐ
  • 15. ร่างพระราชบัญญัติ คณะรัฐมนตรี ไม่รับหลักการ เห็นชอบ รับหลักการ วาระที่ ๓ ไม่เห็นชอบ วาระที่ ๑ สภานิติบัญญัติ วาระที่ ๒ตั้งกรรมาธิการพิจารณา เสนอโปรดเกล้าฯ ประกาศในราชกิจจานุเบกษา สนช.
  • 16. มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มิได้มีแค่เรื่อง พรบ. • ขนาด ประเภท ทาเล ที่ตั้งของมหาวิทยาลัย • ที่สาคัญคือ คน ระบบ วัฒนธรรมองค์กร • ทรัพย์สินอื่นๆ ทั้งที่จับต้องได้ และจับต้องไม่ได้ อาทิ ชื่อเสียง ผลงาน สิ่งประดิษฐ์ สิทธิบัตร ศิษย์เก่า ความสัมพันธ์กับชุมชน สังคม เครือข่าย ฯลฯ • ความพร้อมที่แท้จริง คือ ความพร้อมอกพร้อมใจ เรื่องเช่นนี้ยากจะ เกิดขึ้นได้ หากไร้ซึ่ง “ธรรมาภิบาล” • กระนั้น มหาวิทยาลัยที่ไร้ซึ่งธรรมาภิบาลก็ยังอาจจะออกนอกระบบได้อย่าง ราบรื่น หากมีความปรารถนาอันแรงกล้าจากสภามหาวิทยาลัย กฎหมาย ลูกรองรับ และมีคณะทางานเตรียมความพร้อมที่มีประสิทธิภาพพอ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 17. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ ไทย ( 3. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ” ส่งผลเสียต่อผู้ปฏิบัติงานมาก ทาให้ ผู้บริหารร่ารวยมีอานาจมาก ??? ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 18. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) • ยังเป็ นหน่วยงานของรัฐ รัฐยังคงเป็ นเจ้าของ 100% ยัง ได้รับงบประมาณแผ่นดินมากขึ้นทุกปี บุคลากรยังใช้ เครื่องแบบ ได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม) ฯลฯ • ไม่ใช่การแปรรูป ไม่เป็ นรัฐวิสาหกิจ ยังเป็ นองค์กรสาธารณะ ไม่แสวงหากาไร • สถานะเป็ นนิติบุคคล แต่ไม่เป็ นส่วนราชการ • มีอิสระในการบริหารงาน แต่โปร่งใสและ ตรวจสอบได้ • เน้นบริหารวิชาการ ยังคงมีกฎหมาย และกฎระเบียบที่มัก อ้างอิงระบบราชการ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยนอกระบบ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 19. • มีความเป็ นอิสระทางวิชาการมากขึ้น มีอานาจตัดสิน/ วินิจฉัยเกี่ยวกับปรัชญา/นโยบายทางวิชาการ เปิ ด/ปิ ด หลักสูตร ปรับปรุง/พัฒนาหลักสูตร กาหนดวิธีการเรียนการ สอน การค้นคว้าวิจัยและการเผยแพร่องค์ความรู้ • มีความเป็ นอิสระทางการเงินมากขึ้น มีอานาจตัดสินใจ/ วินิจฉัย /ดาเนินการ เกี่ยวกับแหล่งที่มา/การจัดสรร ทรัพยากรให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่มหาวิทยาลัย • ความเป็ นอิสระในการบริหารงานบุคคลมากขึ้น มีอานาจ กาหนดระบบบริหารงานบุคคล ตาแหน่ง/กรอบอัตรากาลัง / ภาระงาน/เงื่อนไขการจ้าง /ค่าตอบแทน/สวัสดิการ/สิทธิ ประโยชน์ /เลื่อนขั้น-/วินัย /ลงโทษ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ  มหาวิทยาลัยอิสระ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 20. • งบประมาณจากรัฐเป็ นเงินอุดหนุนในลักษณะให้มาเป็ นก้อน (Block Grant) o เงินอุดหนุนทั่วไปค่าใช้จ่ายประจาปี o เงินอุดหนุนกองทุนคงยอดเงินต้น o อุดหนุนค่าใช้จ่ายลงทุน • เงินหรือทรัพย์สินที่มีผู้อุทิศให้ • รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือการลงทุน และจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นมา
  • 21. • รายได้หรือผลประโยชน์ที่ได้จากการร่วมลงทุนหรือ การ ลงทุนและจากทรัพย์สินของมหาวิทยาลัย • ค่าธรรมเนียม ค่าบารุง ค่าตอบแทน เบี้ยปรับ และค่าบริการ ต่าง ๆ ของมหาวิทยาลัย • รายได้หรือผลประโยชน์จากการใช้ที่ราชพัสดุหรือจัดหา ประโยชน์ในที่ราชพัสดุ • รายได้หรือผลประโยชน์อย่างอื่น แหล่งรายได้ของมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ) ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 22. 1. งบประมาณแผ่นดิน ในรูปเงินอุดหนุนทั่วไป 2. รายได้จากทุนวิจัย 3. รายได้จากการบริการวิชาการ ตลอดจนผลประโยชน์ที่ได้ จากการลงทุนหรือการร่วมลงทุนที่เกี่ยวเนื่องกับทรัพย์สินทาง ปัญญาของมหาวิทยาลัย แหล่งรายได้หลัก 3 ส่วน ที่จะช่วยให้มีความคล่องตัว สูง ตามคาแนะนาของผู้บริหาร มจธ. ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 23. • รัฐพึงจัดสรรเป็ นจานวนเพียงพอสาหรับค่าใช้จ่ายในการ ดาเนินการการพัฒนามหาวิทยาลัยเพื่อประกันคุณภาพ การศึกษา • กรณีค่าใช้จ่ายในการดาเนินการไม่เพียงพอ มหาวิทยาลัยไม่ สามารถหาจากแหล่งอื่นได้ รัฐพึงจัดสรรเงินอุดหนุนทั่วไป เพิ่มเติม ตามความจาเป็ นของมหาวิทยาลัย หลักประกันการจัดสรรเงินงบประมาณจากรัฐ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 24. • การปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการเป็ นพนักงาน มหาวิทยาลัย เป็ นไปโดยความสมัครใจไม่บังคับ • ยังคงความเป็ นข้าราชการ ลูกจ้างส่วนราชการ จนกว่าจะ แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพเป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย (แสดงเจตนาเปลี่ยนสถานภาพได้ตามบทเฉพาะกาล แสดง เจตนาแล้วถอนมิได้) • ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ตามบัญชี 7 (เดิม) หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 25. • การสนับสนุนจากรัฐในการปรับเปลี่ยนสถานภาพข้าราชการ เป็ นพนักงานมหาวิทยาลัย o จัดสรรเงินเพิ่ม 60% (40% เป็ นเงินเพิ่ม ประสิทธิภาพ 20% เป็ นเงินสวัสดิการ) o ข้าราชการที่เป็ นสมาชิกกองทุน กบข. สามารถเป็ น สมาชิกต่อไปได้ ลาออกก็ได้บานาญ (ออกจากราชการ เพราะเหตุยุบเลิกตาแหน่ง ) เงินสะสมสมทบ เงิน ประเดิม เงินชดเชย และผลประโยชน์ตอบแทน ฯลฯ ตามสิทธิ หลักประกันด้านสิทธิประโยชน์ของบุคลากร (ต่อ) ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 26. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ ไทย ( 4. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ” คือหลักประกันด้านสมรรถนะและ คุณภาพ ??? ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 27. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) • คุณภาพการเรียนการสอนที่ดีขึ้น จาก อาจารย์ / บุคลากร/ เครื่องมือ อุปกรณ์ต่างๆ/การจัดสรรทรัพยากร/การคัดเลือก ผู้เรียน • คุณภาพงานวิจัย (Research University ?) และสิ่งประดิษฐ์ ดีขึ้น เทียบได้กับมาตรฐานสากล • เปลี่ยนกระบวนทัศน์ สร้างวัฒนธรรมใหม่ มีการพัฒนาการ อย่างต่อเนื่อง มีกลไกประเมินเพิ่มประสิทธิภาพ มี หลักประกันคุณภาพ สร้างผลงานที่ดีด้วยการใช้งบประมาณ อย่างมีประสิทธิภาพ ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 28. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) • มหาวิทยาลัยมีความรับผิดรับชอบ (Accountability) ต่อผู้มี ส่วนเกี่ยวข้องทุกส่วน (Stakeholders) • มหาวิทยาลัยมีความคล่องตัวในการบริหารมากขึ้น • ลดภาระค่าใช้จ่ายของรัฐบาล • เปิ ดหลักสูตรเพื่อตอบสนองความต้องการของตลาดแรงงาน ได้ (ศ.ดร. สิปนนท์ เกตุทัต เคยกล่าวไว้ว่า หน้าที่ต่อสังคม ของมหาวิทยาลัย มี 3 เรื่องหลักๆ คือ ตอบสนอง ชี้นา และ ตักเตือน) • สวัสดิการของบุคลากรในมหาวิทยาลัยเทียบเท่าเอกชน ความคาดหวังเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ (ต่อ) ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 29. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) เงินเดือนและค่าตอบแทน ผลงานดีเด่น เบี้ยประชุม ค่าตอบแทนเกินภาระงาน Allowance ค่าตอบแทนทางวิชาชีพที่ขาดแคลน ค่าตอบแทนตาแหน่งทางวิชาการ ค่าตอบแทนตาแหน่งบริหาร Basic Salary คุณวุฒิ + ประสบการณ์ Performance Payscale ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 31. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศ ไทย ( 5. “มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ” มี เป้ าหมายเพื่อการประหยัด งบประมาณของรัฐ แต่ผลักภาระไป ให้ ผู้ปกครอง และ นศ. ???? ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 32. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) • ผู้บริหารจะมีอานาจมากโดยปราศจากการตรวจสอบและไม่มี ความโปร่งใส (ปัญหาธรรมาภิบาล) • ค่าเล่าเรียนแพง ? ตัดโอกาสทางการศึกษาของผู้มีรายได้น้อย ทางอ้อม • ผลประโยชน์ตอบแทนที่บุคลากรมหาวิทยาลัยจะได้รับ • ความพร้อมของ มหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยมุ่งขยายจานวนรับ นศ.ใหม่ เพื่อให้ได้รายได้จาก การลงทะเบียนเรียนมากขึ้นจนอาจทาให้คุณภาพด้อยลง • คณะหรือหลักสูตรที่ไม่คุ้มทุนในการเปิ ดสอน อาจจะต้องปิ ดตัว ลง ความกังวลเรื่องมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 33. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 34.
  • 35.
  • 38. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) มหาวิทยาลัยในกากับ : ความเป็นไป ภาพรวมจานวนนักศึกษา มจธ. ทั้งหมด ปีการศึกษา 2535- 2551
  • 39.
  • 40. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) • มติคณะรัฐมนตรี 3 มี.ค. 58 ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. เกษตรศาสตร์ และสวนดุสิต และส่งให้ สนช. พิจารณา • มติคณะรัฐมนตรี 10 มี.ค. 58 ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. ธรรมศาสตร์ และขอนแก่น และส่งให้ สนช. พิจารณา • มติคณะรัฐมนตรี 17 มี.ค. 58 ครม. เห็นชอบร่าง พรบ. ศิลปากร และ ส่งให้ สนช. พิจารณา • มติคณะรัฐมนตรี 21 กรกฎาคม 2558 ครม. เห็นชอบ ร่าง พรบ. สงขลาฯ และ มศว. และส่งให้ สนช. พิจารณา • นอกจากนี้ ยังมีความเคลื่อนไหวของ มรภ.สุนันทา ที่กาลังอยู่ระหว่าง รับฟังความคิดเห็นของบุคลากรภายในมหาวิทยาลัย ปี 2558 กับ มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 41. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) เอกสารประกอบการพิจารณา เรื่อง มหาวิทยาลัยนอกระบบ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๕ บางส่วนในบทสรุปของคณะกรรมาธิการ (ต่อ) ...... เจตนารมณ์ท้าย พรบ. มรภ. พ.ศ. ๒๕๔๗ ตั้งธงให้ มรภ. ทั้งหลาย เป็ นสถาบันอุดมศึกษาเพื่อการพัฒนาท้องถิ่น จัดการศึกษาให้เหมาะสมกับการ ดารงชีวิตและประกอบอาชีพของคนในท้องถิ่น โดยคานึงถึงการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในท้องถิ่นและสังคม และสอดคล้องกับนโยบายการบริหารและ จัดการการศึกษาของรัฐตาม พรบ. การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ....... เมื่อเป็ นสถาบันการศึกษาเพื่อคนท้องถิ่น ขณะที่ลักษณะทางประชากรศาสตร์ โดยเฉพาะสถานะทางครอบครัวของคนในท้องถิ่นที่แตกต่างกัน ดังนั้น มาตรา ๙ ของ พ.ร.บ. มรภ. พ.ศ. ๒๕๔๗ จึงระบุให้ชัดเจนลงไปว่า มหาวิทยาลัยจะ ปฏิเสธการรับสมัครผู้ใดเข้าศึกษาในมหาวิทยาลัย หรือยุติ หรือชะลอการศึกษา ของนักศึกษาผู้ใดด้วยเหตุเพียงว่าผู้นั้นขาดแคลนทุนทรัพย์อย่างแท้จริงเพื่อจ่าย ค่าธรรมเนียมการศึกษาต่าง ๆ แก่มหาวิทยาลัยมิได้
  • 42. To be or Not to be มหาวิทยาลัยในกากับ อุ ด ม ศึ ก ษ า ไ ท ย ก็ ยั ง ต้ อ ง เ ผ ชิ ญ กั บ • สภาพความผันผวนทางนโยบาย • สภาพการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์ • สภาพการเปลี่ยนแปลงทางความต้องการด้านการศึกษา • วิถีการเรียนรู้ที่เปลี่ยนแปลงไป • ข้อจากัดทางทรัพยากร • ผลกระทบจากนอกประเทศ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 43. สภาพการเปลี่ยนแปลงทางประชากรศาสตร์ ระหว่างปี 2513 – 2553 และคาดการณ์ถึงปี 2593 ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 49. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย(ปอมท.) แล้วยังเรื่องประกันคุณภาพอีกล่ะ ไขข้อข้องใจเรื่อง : มหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ
  • 51. รศ. สุรพล ศรีบุญทรง : อดีตเลขาธิการที่ประชุมประธานสภาอาจารย์มหาวิทยาลัยแห่งประเทศไทย (ปอมท.) ความพร้อมที่แท้จริง อยู่ที่ ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย หมายเหตุ ธรรมาภิบาลในมหาวิทยาลัย เป็นหลักการ ที่ยังผันแปรไปตามวัฒนธรรมองค์กรได้ สภามหาวิทยาลัย คณะผู้บริหาร บุคลากร (สภาคณาจารย์)