SlideShare a Scribd company logo
Update Management in Wound Care
16 October 2013
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
Agenda
Session 1 : Basic Knowledge in Wound Care
• การหายของแผลการหายของแผล
• Wound Assessment
Session2 : Basic Knowledge in Wound CareSession2 : Basic Knowledge in Wound Care
• Wound Dressing
Session3 : Sharing in Wound Care
• ประสบการณการดูแลแผล
ผิวหนัง (Skin)
ิ ั ป ื้ ื่ ี่ ชั้ ส ี่    ไ 
ผวหนง (Skin)
ผิวหนังของคนเปนเนือเยือทีอยูชันนอกสุด ทีหอหุมรางกายเอาไว
ผิวหนังของผูใหญคนหนึ่งมีเนื้อที่ประมาณ 3,000 ตารางนิ้ว ผิวหนังตามสวน
ตางๆของรางกาย จะหนาประมาณ 1-4 มิลลิเมตร แตกตางกันไปตามอวัยวะ
หนาที่ของผิวหนังหนาทของผวหนง
่1. ปกปองอวัยวะตางๆที่อยูใตลงไปจากอันตรายภายนอก เชน
อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลง ฝุนละออง มลพิษ
2 ั สึ  ิ ั ป ี่ ป ป ส2. รบความรูสกตางๆ ผวหนงเปนทรวมของปลายประสาท และ
ความรูสึก
3 ควบคมอณหภมิของรางกาย ปองกันน้ําไมใหระเหยออกจาก3. ควบคุมอุณหภูมของรางกาย ปองกนนาไมใหระเหยออกจาก
รางกายมากเกินไป ถาอุณหภูมิของรางกายสูงขึ้น ตอมเหงื่อจะขับ
น้ําออกมากขึ้น ทําใหอุณหภูมิลดลง
4. เปนแหลงสังเคราะหวิตามิน D โดยโมเลกุลของผิวหนังจะถูก
กระตุนดวยแสงยูวีขนาดนอยๆ รวมดวยเอนไซมที่ตับและไต
สังเคราะหเปนวิตามิน D ที่มีความจําเปนในการสรางและ ควบคมสงเคราะหเปนวตามน D ทมความจาเปนในการสรางและ ควบคุม
ความแข็งแรงของกระดูกและฟน
โครงสรางของผิวหนังโครงสรางของผวหนง
้1. ชั้นหนังกําพรา (Epidermis)
2. ชั้นหนังแท (Dermis)
3 ั้ ใ  ิ ั (S b t )3. ชันใตผิวหนัง (Subcutaneous)
WoundWound
• รอยแยกที่เกิดขึ้นที่ชั้น epidermisที่จะนําไปสูสภาวการณติด
เชื้อ หรือ Sepsis ได
• is a breach of the epidermis of the skin that can lead to
infection and sepsis
• การที่รางกายไดรับบาดเจ็บมีการทําลายของผิวหนัง อาจเกิด
จากอบัติเหตมากกวา จากเชื้อโรคจากอุบตเหตุมากกวา จากเชอโรค
• ผิวหนังถูกทําลายอาจแยกออกจากกัน หรือ ไมแยกก็ได แตู
เนื้อเยื่อใตชั้นผิวหนัง หลอดเลือดมีการฉีกขาดรวมดวย
ULCERULCER
เปนพยาธิสภาพของผิวหนัง หรือ mucous membrane จัดเปนความ
ิ ป ิ ี่ ึ่ ิ ี ื้ ไป ั ั ีผิดปกติเฉพาะที ซึงเกิดจากการมีเนือตาย หลุดลอกออกไป มักพบหลังจากมี
การอักเสบ และ เนื้อตาย เกิดขึ้นบริเวณเยื่อบุผิวชองปาก กระเพาะอาหาร
ลําไส เปนตนลาไส เปนตน
ประเภทของแผลประเภทของแผล
1. แบงโดยใชผิวหนัง เปนหลัก
2 แบงตามสาเหต2. แบงตามสาเหตุ
3. แบงตามระยะเวลา
4. แบงตามความสะอาด หรือ
ป ปปนเปอนของบาดแผล
5. แบงตามความลึก
แบงโดยใชผิวหนัง เปนหลักแบงโดยใชผวหนง เปนหลก
1 แผลปด (close wound)1. แผลปด (close wound)
ผิวหนังไมฉีกขาด แตเนื้อเยื่อใตผิวหนังจะถูกทําลาย
- Contusion bruise (แผลฟกช้ํา)
- Concussion (แผลกระแทก / กระทบกระเทือน)Concussion (แผลกระแทก / กระทบกระเทอน)
- Rupture เปนการแตกแยกของอวัยวะที่มีลักษณะทึบ
เชน ตับ, มาม เลือดออกมาขังอยูรวมกัน
แบงโดยใชผิวหนัง เปนหลัก
2. แผลเปด (open wound)
แบงโดยใชผวหนง เปนหลก
ผิวหนังแยกออกจากกัน
- Abrasion (แผลถลอก)- Abrasion (แผลถลอก)
- Laceration (แผลฉีกขาด)
- Avulsion Wound (แผลที่มีการตัดขาด
ของเนื้อเยื่อเสนเลือด, เสนประสาท เชนของเนอเยอเสนเลอด, เสนประสาท เชน
แผลที่ถูกรถชน , แผลถูกเครื่องจักรบด)
แบงตามสาเหตแบงตามสาเหตุ
1. แผลผาตัด (Incision of surgical wound)
2. แผลจากอุบัติเหตุ (Traumatic Wound)
แบงตามความสะอาด / การปนเปอน
Cl d ( )
แบงตามความสะอาด / การปนเปอน
• Clean wound (แผลสะอาด)
• Clean to contaminate wound (แผลสะอาดปนเปอน)
• Contaminate wound (แผลปนเปอน)
• Dirty or inflected wound (แผลสกปรก หรือ ติดเชื้อ)• Dirty or inflected wound (แผลสกปรก หรอ ตดเชอ)
แบงตามความลึกของเนื้อเยื่อที่ถกทําลายแบงตามความลกของเนอเยอทถูกทาลาย
1. Superficial Wound
2. Partial Thickness (ความลึกอยูที่ระดับ Epidermis และDermis)
3. Full Thickness (มีการสูญเสียชั้นผิวหนัง ทั้งหมดลึกถึง
Subcutaneous muscle, bone)
Superficial WoundSupe c a ou d
เปนแผลที่ผิวหนังมีการเปลี่ยนแปลงไปจากปกติ
โดยผิวหนังยังไมฉีกขาด เชน แผลกดทับระดับ 1โดยผวหนงยงไมฉกขาด เชน แผลกดทบระดบ 1
แผลไฟไหมระดับ 1 และแผลฟกช้ํา
S fi i lSuperficial
Partial-thickness woundPartial thickness wound
เปนแผลที่มีการสูญเสียผิวหนังถึงชั้น dermis
ลักษณะเปนแผลตื้นและ เจ็บปวดมากลกษณะเปนแผลตนและ เจบปวดมาก
Partial Thickness
Full-thickness woundFull thickness wound
ป ี่ ีเปนแผลทีมีการทําลายของ
ผิวหนังทุกชั้น จนถึงเนื้อเยื่อที่อยู
ึ ไป ใ ปลึกลงไป ทําใหเกิดเปนชองวาง
ขึ้น และไมสามารถทําใหขอบแผล
ใ  ั ไ ใกลกันได
Full Thickness
แบงตามระยะเวลา
1 Acute Wound (เปนแผลที่เกิดขึ้นใหมๆ) : แผลหายภาย
แบงตามระยะเวลา
1. Acute Wound (เปนแผลทเกดขนใหมๆ) : แผลหายภาย
ใน 3 สัปดาห
2. Chronic Wound : แผลใชเวลานานมากกวา 3 สัปดาห
เนื้อเยื่อถูกทําลาย มี Sloughing /ู g g /
Necrotic tissue
Chronic Wound (แผลเรื้อรัง)Chronic Wound (แผลเรอรง)
แผลเบาหวาน : เกิดจากการไหลเวียนเลือดบริเวณแผล
ไมดี เนื่องจากพยาธิสภาพของ
โรคเบาหวาน ทําใหหลอดเลือดแข็ง และ
ี ี ใ ตีบลง มีผลใหแผลหายยาก
แผลกดทับ : เกิดจากการกดทับหลอดเลือดเฉพาะที่เปน
เวลานาน เนื้อเยื่อบริเวณนั้นขาดเลือดมา
เลี้ยงจึง เกิดการตายของเนื้อเยื่อ มักพบในเลยงจง เกดการตายของเนอเยอ มกพบใน
ผูปวยที่นอนนานๆ ไมมีการเคลื่อนไหว
แผลที่เกิดจากการฉายรังสีแผลทเกดจากการฉายรงส
ผิวหนังบริเวณที่ถกฉายรังสี จะเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ผวหนงบรเวณทถูกฉายรงส จะเกดการเปลยนแปลงท
ผิวหนัง สีของผิวจะเขมขึ้น การทํางานของเซลลชั้นลางสุดของ
หนังกําพราจะถกยับยั้ง มามีการสรางเซลลใหมขึ้นมาแทนที่ ทําใหหนงกาพราจะถูกยบยง มามการสรางเซลลใหมขนมาแทนท ทาให
ผิวหนังบอบบางและ ออนแอ เริ่มจากผิวหนังเปนผื่นแดง
(Erythema) ผิวหนังเกรียม (Dry desquamation) และผิวหนัง
พุพอง (Moist desquamation)
แผลเนื้อเนา (Gangrene)แผลเนอเนา (Gangrene)
เปนการเนาตายของเนื้อเยื่อ เนื่องจากขาดเลือดมาเลี้ยง
มักใชเรียกกับอวัยวะสวนปลาย เชน แขน ขา นิ้ว การเนาตาย
ของอวัยวะภายในมักเกิดจากการติดเชื่อนํามากอน ทําให
อวัยวะนั้นบวม โตขึ้นมา จนทําใหเลือดมาเลี้ยงลดลง เชน ไส
ิ่ติง
แผลเนื้อเนา พบได 2 ชนิด คือ Dry gangrene และ
Wet gangrene
Wound Healing PhysiologyWound Healing Physiology
Wound Healing (กระบวนการหายของแผล)
แบงได 3 ระยะ
1. ระยะที่มีการอักเสบ (Inflammatory Phase)1. ระยะทมการอกเสบ (Inflammatory Phase)
ใชเวลา 24 -72 ชั่วโมง
่2. ระยะที่เซลลมีการแบงตัว (Proliferative Phase)
เกิดขึ้นประมาณวันที่ 4 -21
3. ระยะปรับตัว (Remodeling Phase)
ใ  ป 6 ัป ใชเวลาประมาณ 6 สัปดาห
WOUND HEALING
Wound Healing ModelWound Healing Model
1. Primary intention wound Healing
2. Secondary intention wound healing
3. Tertiary intention wound healing
Primary intention Wound Healing
ป ี่ ไ  ใ ั้ ั ป
การหายแบบปฐมภูมิ (Primary Intention Healing)
เปนการหายของแผลทีหายไดเอง ในระยะเวลาสัน ๆ มักเปน
แผลสะอาดมีเลือดมาเลี้ยงดี ขอบเรียบ และชิดกัน ไมมีการติดเชื้อ มี
การทําลายของเนื้อเยื่อนอย ซึ่งมีขั้นตอนการหายของแผล โดยจะมีการทาลายของเนอเยอนอย ซงมขนตอนการหายของแผล โดยจะม
การเพิ่มจํานวนของเซลล Epithelium มาปดแผลอยางรวดเร็ว
(ภายใน 24 ชั่วโมง) การติดกันของแผลจะเกิดที่ Basal cell ของชั้น( )
Epidermis ของผิวหนัง การนําขอบแผลเขามาใกลกันจะชวยลดระยะ
ทางการเคลื่อนที่ของเซลล มีการเกิด Granulation tissue นอย
 ไ   ั้ (W d t ti )รางกายไมสรางกระบวนการหดรังของแผล (Wound contraction)
และการเคลื่อนยายของเซลลผิวหนังเพื่อมาปดแผล ทําใหแผลหาย
เร็วและมีแผลเปนนอยมาก เชน แผลผาตัด แผลที่เกิดจากของมีคมเรวและมแผลเปนนอยมาก เชน แผลผาตด แผลทเกดจากของมคม
เปนตน
Primary intentiony
Wound Healing
เปนแผลที่หายโดยการผาตัด
ขอบแผลทั้ง 2 ขางจะถูกดึงเขาหากันู
โดยการเย็บ
กลไกการหายสวนใหญเปนการ
 ti ti สราง connective tissue และ การสราง
ผิวหนังชั้นบน epithelialization ไมมี
การสราง granulation tissue และการสราง granulation tissue และ
wound contraction
Secondary intention wound healing
่
การหายแบบทุติยภูมิ (Secondary Intention healing)
เปนการหายของแผลที่มีขนาดใหญ มีการสูญเสียหรือการ
ทําลายเนื้อเยื่อที่ขอบของบาดแผลทําใหไมสามารถนําขอบของแผลมา
ชิ ั ไ  ื ี่ ี ซ ี่ ีชดกนได หรอบาดแผลทมภาวะแทรกซอน บาดแผลทมการตายของ
เนื้อเยื่อมาก บาดแผลที่เปนหนอง แผลกวาง แผลสกปรก ซึ่งการหาย
ของแผลดังกลาว จะไมเกิดขึ้นจากการงอกของ Epithelium โดยของแผลดงกลาว จะไมเกดขนจากการงอกของ Epithelium โดย
Epithelium จะงอกขึ้นชา เนื่องจากเซลลจะตองเจริญเติบโตไปที่กน
แผลกอน จึงจะกระจายมาปดปากแผล และแผลดังกลาวนี้ มีการสราง
้Granulation tissue มากกวาการเกิด Epithelialization รวมทั้งการเกิด
การหดตัวของบาดแผล (Wound contraction) เพื่อชวยใหปากแผลปด
เมื่อแผลหายจะเห็นแผลเปนชัดเจน และใชเวลานานกวาแผลจะหายเมอแผลหายจะเหนแผลเปนชดเจน และใชเวลานานกวาแผลจะหาย
เชน แผลกดทับ แผลหนาทองที่เปดถึงชั้นผังพืด (Fasica) และแผล
เบาหวาน เปนตนเบาหวาน เปนตน
Delayed primary intentionDelayed primary intention
Wound Healing
 ่เปนแผลทีเปดไวใน
ระยะแรกเนื่องจากมีปจจัยที่ทํา
่ใหสิงแวดลอมในแผลไม
เหมาะสมกับการหายของแผล
ี ื้ ใเชน อาจมีเนือตายอยูในแผล
เมื่อแผลมีสภาพที่เหมาะสมจึง
็ ปเย็บปด
Tertiary intention wound healing
เปนลักษณะการหายของบาดแผลที่ใหเปนไปตาม
การหายแบบตติยภูมิ
เปนลกษณะการหายของบาดแผลทใหเปนไปตาม
กระบวนการสมานแผลตามธรรมชาติ โดยการลางทําความสะอาด
แผลและสรางสิ่งแวดลอมใหกระบวนการหายของแผลเปนไปแบบ
่ ่Secondary Intention ระยะหนึ่งแลวทําการเย็บปดแผล เนื่องจาก
เหตุผลบางประการ เชน แผลเสี่ยงตอการติดเชื้อ แผลหนาทองที่
เปดไวสําหรับใหของเหลวในแผลไหลออกมาได และหลังจากนั้นเปดไวสาหรบใหของเหลวในแผลไหลออกมาได และหลงจากนน
จึงเย็บปดแผล การหายของแผลในลักษณะนี้จะมีโอกาสเกิด
แผลเปนนนแข็งได นอยกวา การหายแบบ Secondary Intentionแผลเปนนูนแขงได นอยกวา การหายแบบ Secondary Intention
Healing
Wound Healing ProcessWound Healing Process
การหายของแผลอาศัยการทํางานของเซลล และการ
เปลี่ยนแปลงทางชีวเคมี ซึ่งเกิดขึ้นทันที เมื่อเนื้อเยื่อไดรับ
็ ป ี่ ิ ึ้  ี ํ ั ี่ ึ่ ับาดเจ็บเปนกระบวนการทีเกิดขึนอยางมีลําดับ คาบเกียวซึงกัน
และกันตอเนื่องกันไปตามระยะเวลาอันเหมาะสม ถาหากมีความ
คลาดเคลื่อนทั้งลําดับขั้นตอน ตลอดจนระยะเวลา สามารถคลาดเคลอนทงลาดบขนตอน ตลอดจนระยะเวลา สามารถ
นํามาซึ่งการหายของแผลที่ผิดปกติได เชนมีการสรางมาก
เกินไปแผลจะนูนแข็งดึงรั้ง หรือถาสรางนอยเกินไปทําใหแผลู
บอบบางหายเร็ว ในผูที่มีรางกายแข็งแรงขั้นตอนตาง ๆ จะมี
ความสม่ําเสมอ ทําใหแผลหายได ดังนั้นความเขาใจ
ป ิ ํ ใ  ํกระบวนการหายของแผลปกติ จะทําใหสามารถกําหนดการ
รักษาแผลที่เหมาะสมได
กลไกการหายของบาดแผลชนิด Full Thickness
แบงไดเปน 3 ระยะคือ
1. ระยะการอักเสบ ( Inflammatory)
2. ระยะการสรางเนื้อเยื่อใหม (New Tissue Formation or Proliferative)
3. การสรางเนื้อเยื่อสวนพื้นฐานและการปรับสภาพเนื้อเยื่อ
(Remodellingหรือ Maturation)
Chronic Wound Healing
• เปนแผลที่ใชเวลานานมากกวา 3 สัปดาห มีเนื้อเยื่อถกเปนแผลทใชเวลานานมากกวา 3 สปดาห มเนอเยอถูก
ทําลาย และมีการตายของเนื้อเยื่อ
• ความผิดปกติของกระบวนการ Remodeling ของ ECM• ความผดปกตของกระบวนการ Remodeling ของ ECM
( Extra Cellular Matrix Protein)
• ความลมเหลวของกระบวนการ Re-Epithelialization
• Prolonged / Repeated of Inflammatory Phaseg p y
Treatment Algorism in
W d M tWound Management
Chronic UlcerChronic Ulcer
Patient Centered
Concerns
Treat the Cause Local Wound Care
Concerns
B t i l B l Moisture BalanceDebridement Bacterial Balance
Infection Control
Cause of Abnormal HealingCause of Abnormal Healinggg
Systemic FactorsSystemic Factors
• Chemotherapy
• Gene Damageg
• Steroids
Nutritional Factors
ChronicChronic
WoundWound
Metabolic Factors
• Diabetes Mellitus
• Renal Failure
Nutritional Factors
• Protein
• Minerals
Renal Failure
Local Factors
• Pressure
• Vitamins
• Infection
• Necrosis
• Desiccation
• Chronic Exudates
ปจจัยที่มีผลตอการหายของแผลปจจยทมผลตอการหายของแผล
1 ปจจัยทั่วไป1.ปจจยทวไป
2 ปจจัยเฉพาะที่2.ปจจยเฉพาะท
ปจจัยที่มีผลตอการหายของแผล
ปจจัยทั่วไป
1.อายุ
2 ภาวะทางโภชนาการ บาหวาน2.ภาวะทางโภชนาการ
3.สภาวะของโรค
เบาหวาน
ไต
4.การไดรับยา เคมีบําบัด
Steroid
5.รังสีรักษา
6 สบบหรี่
Steroid
6.สูบบุหร
ความตองการสารอาหารของ
ผูมีบาดแผล
โปรตีน : (0.8 gm./kg./Day)(0 8 g / g / ay)
- ผูสูงอายุ 1- 1.2 gm./kg./Day
- ผูที่มีบาดแผลมีความตองการมากกวา
2 /k /D2 gm./kg./Day
(AHCPR 1994)(AHCPR 1994)
ความตองการสารอาหารของ
ผูมีบาดแผล
คารโบไฮเดรต
ผูที่มีบาดแผลเรื้อรัง / แผลกดทับระดับ 3 หรือ 4 ควร
ไดรับพลังงาน 30 50 กิโลแคลลอรี่ / กก / วันไดรบพลงงาน 30 – 50 กโลแคลลอร / กก. / วน
ความตองการสารอาหารของ
ผูมีบาดแผล
วิตามิน และ เกลือแร
เชน วิตามิน A, C สังกะสี และ ธาตุเหล็ก มีสวนสําคัญใน
การสราง Collagen และ การสังเคราะหโปรตีนการสราง Collagen และ การสงเคราะหโปรตน
ปจจัยที่มีผลตอการหายของแผล
ปจจัยเฉพาะที่
1. ตําแหนงของบาดแผล1. ตาแหนงของบาดแผล
2. การไหลเวียนโลหิตบริเวณบาดแผล
3. สิ่งแปลกปลอมภายในแผล
ปจจัยเฉพาะที่
1. ตําแหนงของบาดแผล
- แผลบริเวณที่มีการเคลื่อนไหวอยเสมอแผลบรเวณทมการเคลอนไหวอยูเสมอ
เชน แผลที่เทา, ขา
- แผลที่มีอยูในตําแหนงที่มีการปนเปอนงาย
 ิ  ฝ ็เชน บริเวณกนกบ, ฝเย็บ
IADIAD
(Incontinence Associated Dermatitis)(Incontinence Associated Dermatitis)
เปนการอักเสบของผิวหนังมีลักษณะแดง บวม
อาจมีตุมน้ํา (Blister,Vesciles Erosion ผิวหนังถูก
กัดเซาะจากการสัมผัสสิ่งขับถาย พบไดบอย บริเวณ
อวัยวะสืบพันธุ รอบทวารหนัก ตนขาดานใน กนกบ กน
ยอย
EARLY IAD MODERATE IAD SEVERE IAD
แสดงการหายของแผลหลังจากใชแสดงการหายของแผลหลงจากใช
No sting barrier film สเปรยทุก 12 - 24 ชม.
แสดงการใช Zinc Paste เคลือบผิวหนังแสดงการใช Zinc Paste เคลอบผวหนง
เพื่อปกปองผิวหนังจากการสัมผัสสิ่งขับถาย
แสดงการหายของแผลหลังใช Comfeel
barrier cream วันละ 2 ครั้ง
ปจจัยเฉพาะที่
2. การไหลเวียนโลหิตบริเวณบาดแผล
สภาวะที่ขาดสภาวะที่ขาด OxygenOxygen
• จะทําใหความสามารถของ Leukocytes ในการ
ตอตาน Bacteria ลดลงตอตาน Bacteria ลดลง
• ลดการผลิต Collagen• ลดการผลต Collagen
• ลดความสามารถในการเกิด Epithelialization• ลดความสามารถในการเกด Epithelialization
ปจจัยเฉพาะที่ปจจยเฉพาะท
3. สิ่งแปลกปลอมภายในแผล
- เชน กอนเลือด , เนื้อตาย ,
 G ํ ีเศษผา Gauze, สําลี
ปจจัยที่สงเสริมการหายของแผลปจจยทสงเสรมการหายของแผล
Moist Wound HealingMoist Wound Healing
• มีการตายของเนื้อเยื่อที่ผิวดานบนของบาดแผล
นอยลง
ี ั่ G th F t ึ้• มีการหลัง Growth Factor มากขึน
• กระตนการสรางเสนเลือดใหม (Angiogenesis)กร ตุนการสรางเสนเลอดใหม (Angiogenesis)
• กระตุนการทํางานของ Fibroblast และ
Endothelial Cells
ปจจัยที่สงเสริมการหายของแผลปจจยทสงเสรมการหายของแผล
Moist Wound environment epithelialization rapidly
(ALVARERY, 1988)
- Less painLess pain
- Less trauma upon dressing removal, as well as
acting as a bacterial barriers
ปจจัยที่สงเสริมการหายของแผล
Moist Wound Healing
ปจจยทสงเสรมการหายของแผล
Moist Wound Healing
Macrophage Fibroblast Epithelial cell ทํางานไดMacrophage, Fibroblast Epithelial cell ทางานได
เต็มประสิทธิภาพ
Wi t 1962  ี่ป ไ ใ  ี  ื้ ีWinter,1962 : พบวาแผลทีปดไวใหมีความชุมชืนดีหาย
เร็วกวาแผลที่เปดทิ้งไวใหแหงเปนที่มาของการดูแลแผลแบบ
Moist Wound HealingMoist Wound Healing
Falanga: 2000
-To Dry : Inhibit the rate of granulation andy g
epithelialization
-To Wet : hypergranulation, will not heal maceration
of the surrounding
Factor Affecting Wound HealingFactor Affecting Wound Healing
W d B d P tiWound Bed Preparation
The Process of preparing the wound bedThe Process of preparing the wound bed
to promote optimal healing
Removal of slough and Reduction ofRemoval of slough and
necrotic tissue
Reduction of
bacterial burden
Removing local barriers to healing
Wound Bed PreparationWound Bed PreparationWound Bed Preparation
A methodological approach to the
Wound Bed Preparation
A methodological approach to theA methodological approach to the
treatment of wounds
A methodological approach to the
treatment of wounds
BiofilmBiofilm
Microorganisms (free-floating/planktonic)
tend to attach to surfaces
The initial attachment is reversible
As the Bacteria multiply,They become more firmly attached
Changing gene expression patterns in ways that promote
survival
Bacteria begin to secrete a surrounding matrix known as
extracellular polymeric substance (EPS)The initial attachment is reversiblesurvivalextracellular polymeric substance (EPS)
Fully mature biofilm continuously shed planktonicy y p
bacteria, microcolonies and fragments of biofilm,
which can disperse and attach to other part of the
d b d f i bi fil l iwound bed, forming new biofilm colonies
Biofilms stimulate inflammation, which increase vascular permeability
and production of wound exudate and build up fibrin slough.
Therefore, slough may indicate the presence of biofilm in a wound
NSS glide over the biofilmNSS glide over the biofilm
without removing it.
AgAg
Ag
Biofilm increasedBiofilm increased
resistance to antibiotics
d i tand immune system
Recover from mechanical disrupt
and reform mature biofilm within 24 hours
Wound AssessmentWound Assessment
Assess and monitor wound historyAssess and monitor wound history
and Characteristicsand Characteristics
การบันทึกลักษณะบาดแผล
1. ตําแหนงของแผล
2 การวัดขนาดของแผล2. การวดขนาดของแผล
3. พื้นแผล - สีของแผล
่ ่4. สิ่งขับหลั่งจากแผล
5. ขอบแผล
6. ผิวหนังรอบๆแผล
1.1. ตําแหนงของแผลตําแหนงของแผล
(Wound Location)(Wound Location)
ตําแหนงของแผลมี
ความสําคัญ ในการบงบอกความสาคญ ในการบงบอก
ถึงปญหาที่อาจเกิดขึ้น กับ
ปจจัยการหายของแผล
22.. การวัดขนาดของแผลการวัดขนาดของแผล22.. การวดขนาดของแผลการวดขนาดของแผล
การวัดขนาดของแผล แบบ 2 มิติ (Two Dimensions)
2 1 การวัดแบบเสนตรง คือ ดานกวาง และ ยาว2.1 การวดแบบเสนตรง คอ ดานกวาง และ ยาว
ความกวาง(Width) วัดจากตําแหนง 3 นาฬิกา – 9 นาฬิกา เปนแนวเสนตรง
ความยาว (Length) วัดจากตําแหนง 12 นาฬิกา – 6 นาฬิกา เปนแนวเสนตรง
L thL thLengthLength
Width
22 11 การวัดขนาดของแผลการวัดขนาดของแผล22..11 การวดขนาดของแผลการวดขนาดของแผล
22.. การวัดขนาดของแผลการวัดขนาดของแผล ((ตอตอ))
2.2 การลอกลาย Tracings เปนการลอกขนาดของแผล ลงบน
 ิ
(( ))
แผนพลาสติก
22..22 การลอกลายการลอกลาย TracingsTracings เปนการลอกเปนการลอก
 ส ิ ส ิขนาดของแผล ลงบนแผนพลาสติกขนาดของแผล ลงบนแผนพลาสติก
33.. พื้นแผลพื้นแผล (Wound bed)(Wound bed)33.. พนแผลพนแผล (Wound bed)(Wound bed)
ใชหลัก Red Yellow Black Classification System (Diane
้M. Cooper, 1992) แบงพื้นแผลออกตามลักษณะของสี
สีแดง (Red Wound) : เปน แผลที่มีตมเนื้อเล็กๆสีแดงสแดง (Red Wound) : เปน แผลทมตุมเนอเลกๆสแดง
หรือ สีชมพูออน และ ชุมชื้น แสดงใหเห็นถึงเนื้อเยื่อที่กําลังเจริญขึ้น
ใหม (granulation tissue)ใหม (granulation tissue)
สีเหลืองสีเหลือง (Yellow Wound)(Yellow Wound) : เปนสีของสิ่งขับหลั่งที่ออกจาก
้ ่ แผลโดยทีแบคทีเรียปนออกมา จะมีลักษณะของเนื้อตายที่เปอยยุยสี
เหลือง (fibrous slough)
สีดํา (Black Wound) : เปนแผลที่เนื้อตายเกิดจากการขาด
เลือดไปเลี้ยงเลอดไปเลยง
สีของแผล
สีแดง Red Wound เปนแผลที่มีตุมเนื้อเล็กๆ สีแดง หรือ
้ ้ ่ ่
สของแผล
ุ
สีชมพูออน และ ชุมชื้น แสดงใหเห็นถึงเนื้อเยื่อที่กําลังเจริญ
ขึ้นใหม (Granulation Tissue) เปนแผลที่มีการเจริญดีแลว
GranulationGranulation
Objective of treatment
To minimize dressing change and protect
wound from infection and further
trauma
To maintain moisture in the wound bed
to promote moist wound healing
Characteristic of Dressing Required
 Low adherence to wound , Dressing that
t i t d h lipromote moist wound healing
Epithelialisingp g
Objective of treatmentObjective of treatment
To Protect skin and prevent further
ki b kdskin breakdown
To minimize dressing change
Characteristic of Dressing Required
 Dressing with good moisture vapour permeability,
to prevent excess moisture accumulation that canto prevent excess moisture accumulation that can
lead to skin maceration
สีของแผลสของแผล
สีเหลือง Yellow Wound เปนสี
สิ่ ั ั่ ี่ โ ีของสิงขับหลังทีออกจากแผลโดยมี
เชื้อแบคทีเรียปนออกมา พรอมกับ
สิ่งขับหลั่งจะเห็นเปนลักษณะของ
เนื้อตายที่เปอยยุยสีเหลือง
(Fibrous Slough)
สีของแผลสีของแผล
สีดํา Black Wound :เปนแผลที่มีเนื้อตายมากที่สุด เกิดจาก
้
สของแผลสของแผล
ุ
การขาดเลือดไปเลี้ยง มีสีดํา ลักษณะแหงแข็ง (Eschar)
เนื้อตาย เราอาจพบไดหลายรปแบบไดแกเนื้อตาย เราอาจพบไดหลายรปแบบไดแก
 Soft yellow slough คือเนื้อที่ตาย
เนอตาย เราอาจพบไดหลายรูปแบบไดแกเนอตาย เราอาจพบไดหลายรูปแบบไดแก
y g
แลวมีลักษณะเปนแผนหรือเสนสีเหลือง
คอนขางนิ่ม
 Gray brown sloughคือเนื้อที่ตายแลว
้
y g
มีลักษณะเปนแผนหรือเสนสีน้ําตาล
เทาคอนขางนิ่ม
 Hard black หรือ Escharคือเนื้อที่
ตายแลวมีลักษณะเปนแผนหรือสีดํา
แข็งติดแนนกับเนื้อ
NecroticNecrotic
Objective of Treatment
 To debride the black eschar
 Hydrate the Wound site gently Hydrate the Wound site gently
 Epithilial cells cannot migrate overp g
Necrotic tissue
TerminologyTerminology
Undermining Granulation
Slough
EpithelializationEpithelialization
Eschar/Necrosis
Wound edge attached
Exudate
4 สิ่งขับหลั่งจากแผล4. สงขบหลงจากแผล
การประเมินลักษณะของสิ่งขับหลั่งที่ออกจากแผล จะการประเมนลกษณะของสงขบหลงทออกจากแผล จะ
ประเมินชนิด ปริมาณ สี กลิ่น และลักษณะของสิ่งขับหลั่ง
Mild (นอย)
ปริมาณ Moderate (ปานกลาง)Moderate (ปานกลาง)
Excessive (มาก)
4 สิ่งขับหลั่งจากแผล (ตอ)4. สงขบหลงจากแผล (ตอ)
ปริมาณสิ่งขับหลั่ง
MildMild
่ ่4. สิงขับหลังจากแผล (ตอ)
ปริมาณสิ่งขับหลั่ง
M dM dModerateModerate
4. สิ่งขับหลั่งจากแผล (ตอ)4. สงขบหลงจากแผล (ตอ)
ปริมาณสิ่งขับหลั่ง
ExcessiveExcessive
4. สิ่งขับหลั่งจากแผล (ตอ)( )
ลักษณะสิ่งขับหลั่งลกษณะสงขบหลง
แบงเปนแบงเปน
 น้ําสีเหลืองฟางคอนขางใส (Serous)
 น้ําสีเหลืองฟางใสมีเลือดปนเล็กนอย
(Hemoserous)
 เลือด (Sanguineous)เลอด (Sanguineous)
 หนอง (Purulent)
5. ขอบแผล และ
6. ผิวหนังรอบๆแผล
ตองประเมิน และ ตรวจสอบ ความผิดปกติ เชน
 Maceration (ผิวหนังเปอยยุย)
 Desiccation (ผิวหนังแหง) Desiccation (ผวหนงแหง)
 Blister (ตุมพองใส)
 Papules, Pustules (ตุมหนอง)
Wound CleansingWound CleansingWound CleansingWound Cleansing
G lGoal To get rid of Bacteria
Necrotic Slough ExudateNecrotic, Slough, Exudate
Residual topical of the wound
ขอควรคํานึงในการทําความสะอาดแผลขอควรคานงในการทาความสะอาดแผล
• Nontraumatic technique
• Normal saline เปนน้ํายาลางแผลที่ดี
ที่สุด
• Avoid antiseptic agent
Gently the wound with a physiologic
saline solution
The patient can prepare a saline solution atThe patient can prepare a saline solution at
home by using 1 gallon of distilled water and 8
teaspoons of table salt The solution is boiled andteaspoons of table salt. The solution is boiled and
then cooled to room temperature before use.
Richard M Stillman
Update Aug 19 2008Update. Aug 19,2008
Northwest Medical Center
การทําความสะอาดแผลกดทับระดับที่ 2 ขึ้นไป
ไ  ใ  ti ti ื่ ไป ํไมควรใช antiseptic เนืองจากจะไปทําลาย
พื้นผิวของแผล
(B b 2001)(Barbara 2001)
้ใชเพียง 0.9% NSS เทานั้นในการลางแผล
เนื่องจากไมทําอันตรายตอเนื้อเยื่อ การใช
ti ti ํ ั ิ ั ป ิ (i t tantiseptic เหมาะสําหรับผิวหนังปกติ (intact
skin) ไมใชแผล และการเลือกใช antiseptic ที่
เหมาะสมตองขึ้นอยกับชนิดของ bacteria ดวยเหมาะสมตองขนอยูกบชนดของ bacteria ดวย
AHCPR (1992)
Wound CleansingWound CleansingWound CleansingWound Cleansing
แผลระยะงอกขยาย (granulation)
* เช็ดรอบแผลดวย NSS
* ลางแผลโดยใช 0.9% NSS + syringe 20 cc
non-needle
Wound CleansingWound CleansingWound CleansingWound Cleansing
แผลที่ปนเปอนและมีเนื้อตาย (slough & necrotic
tissue)tissue)
ใช 0.9% NSS + syringe 20 cc with needle no.18
( ลางแผลโดยใชแรงดัน 10-15 ปอนด ตอตารางนิ้ว ใช
syringe ขนาด 35 ml + needle no.19 )
Method of Cleansing WoundMethod of Cleansing WoundMethod of Cleansing WoundMethod of Cleansing Wound
 Irrigation with normal saline
 U f W d D i P d t Use of Wound Dressing Products
Antiseptic and Disinfectants are not
recommended in woundrecommended in wound
-Damage to nearly healingg g
- Increase bacteria resistance
lMoore 1992, Blunt 2001
ตารางแสดงชนิดของน้ํายาฆาเชื้อตารางแสดงชนิดของน้ํายาฆาเชื้อ
ชนิดน้ํายาฆาเชื้อ ฤทธิ์ของยาฆาเชื้อ ขอควรพิจารณา
Hypochlorite solutions
Dakin’s solution
Chiorpactin
- ใชไดผลดีกับเชื้อ
Staphylococcus
Streptococcus
- มีพิษตอ Fibroblast
ในความเขมขนปกติ
ตองปองกันผิวหนังรอบๆChiorpactin Streptococcus
- ละลายเนื้อเยื่อที่ตายแลว
- ระงับกลิ่น
- ตองปองกนผวหนงรอบๆ
แผล เพื่อปองกันการทําลาย
ของผิวหนัง
Povidone-iodine
Preparations
- ใชไดผลกับเชื้อแบคทีเรียทุกชนิด
เมื่อใชกับผิวหนังที่ไมมีแผล หรือแผล
เล็กที่สะอาด
- มีพิษตอ Fibroblast
ในความเขมขนปกติ
ยังมีขอสงสัยถึง- ยงมขอสงสยถง
ประสิทธิภาพในแผลที่ติด
เชื้อ
อาจเปนสาเหตของพิษ- อาจเปนสาเหตุของพษ
ไอโอดีนเมื่อใชในแผลใหญ
เปนเวลานาน
ตารางแสดงชนิดของน้ํายาฆาเชื้อตารางแสดงชนิดของน้ํายาฆาเชื้อ
((  ))((ตอตอ))
ชนิดน้ํายาฆาเชื้อ ฤทธิ์ของยาฆาเชื้อ ขอควรพิจารณา
Acetic acid - ใชไดผลดีกับเชื้อ
Pseudomonas aeruginosa
้
- มีพิษตอ Fibroblast
ในความเขมขนมาตรฐาน
่ ่ในแผลตืน - เปลียนสีสารขับหลัง และ
อาจทําใหเกิดการเขาใจผิด
วาการติดเชื้อไดรับการกําจัด
แลว
Hydrogen peroxide -ใหกระบวนการทําความสะอาด
และการตัดเล็มเนื้อตายโดยปฏิกิริยา
- สามารถทําใหเกิดแผลใน
เนื้อเยื่อที่สรางใหมไดฏ
การเกิดฟอง - มีพิษตอ Fibroblast
- ไมควรใชใสในแผลโดย
วิธีใชแรงดันเพราะสามารถวธใชแรงดนเพราะสามารถ
ทําใหเกิดแกสแทรกอยูใต
ผิวหนังไดคลายๆ gas
gangreneg g
ตารางแสดงชนิดของน้ํายาฆาเชื้อตารางแสดงชนิดของน้ํายาฆาเชื้อ
((ตอตอ))
ชนิดน้ํายาฆาเชื้อ ฤทธิ์ของยาฆาเชื้อ ขอควรพิจารณา
0 9 % Normal Saline - เปนน้ํายาที่ใชกับแผลทกชนิดเปน0.9 % Normal Saline - เปนนายาทใชกบแผลทุกชนดเปน
Gold Standard
- ลดจํานวน Bacteria
ที่มา : ปรับปรุงจาก Scotts & Whitney 1996 : 1272
คุณสมบัติของ Alcoholุ
ในการทําลายเชื้อแตละชนิด
เชื้อ ระยะเวลาในการทําลายเชื้อ
แบคทีเรีย 10 วินาที( บริเวณผิวหนังได 90% ในเวลา 2 นาที)
วัณโรค (เชื้อในเสมหะ) 15 วินาที
้เชื้อรา 20 นาที
ไวรัสตับอักเสบ บี 10 นาที
HIV 5 ีHIV 5 นาที
สปอรของแบคทีเรีย ทําลายไมได
สมหวัง ดานชัยวิวัตร 2536:19
1.1. การจัดการกับเนื้อตายการจัดการกับเนื้อตาย
(An(An--ongoing debridementongoing debridement))
Method of DebridementMethod of Debridement
Surgical/ Sharp Autolytic
Mechanical Enzymatic
- Wet to Dry
Forceful Irrigation
- Proteolytic Enzyme
- Fibrinolysin- Forceful Irrigation - Fibrinolysin
Necrosis Management/ Method ofNecrosis Management/ Method of
DebridementDebridement
Enzymatic DebridementEnzymatic Debridement
Post Sharp Debridement
enzyme begun 2-16-00
Day 7 2-23-00
Repeat Sharp Debridement
Day 14 3-1-00
Day 35 3-22-00 Day 49 4-5-00 Day 70 4-26-00
Mechanical DebridementMechanical Debridement
Wet to Dry
ใช Gauze +0.9 % NSS ใสในแผลที่มีเนื้อ
ป ิ้ ไ  ื่ ป ํ ึ  Gตาย ปดแผลทิงไว เมือเปดทําแผล ดึงผา Gauze
ขึ้นมาตรงๆ เนื้อตายจะหลุดติดตามมา แตถาดึงผา
G ี่ ั ไ    ํ ใ  ํ ั ื้Gauze ทียังไมแหงออกกอน จะทําใหการกําจัดเนือ
ตายไดผลไมดี
Mechanical DebridementMechanical Debridement
Forceful irrigation
ใชในกรณีแผลปนเปอน
และมีเนื้อตายโดยใชแรงดันน้ําและมเนอตายโดยใชแรงดนนา
ขนาด 10 – 15 ปอนดตอตารางนิ้ว
(0 9% NSS ใน Syringe 20 cc(0.9% NSS ใน Syringe 20 cc.
และเข็มเบอร 18)
Consideration in selective
method of debridement
Ch i f th dChoice of method
 Relate to the general goal of patient care
 Frequency of procedure
 Degree of selectivity desired to avoid Degree of selectivity desired to avoid
damage to healthy tissue and
complicationcomplication
 Costs
Exudate management by choosingg y g
appropriate dressing
When choosing the most
i d i f dappropriate dressing for wound,
ask yourself
• Is the wound wet or dry ?
(i.e.: how much drainage, if any)
• How deep is the wound ?o deep s t e ou d
• What does the wound bed look like ?
(i.e.: red, yellow, black)
• Is the wound infected ?
Guideline for assessment and management of wound
South Gloucestershire (NHS 2006)
Infection ControlInfection Control
The key measure that can help prevent
wound infection/ colonization include
- Hand hygiene before and after handing wound
and dressings.and dressings.
- Using either soap and water or alcohol hand
rub/ gel
- Wearing gloves when handling woundsg g g
Guideline for assessment and management of wound
South Gloucestershire (NHS 2006)
End of SessionEnd of Session 11End of SessionEnd of Session 11
Wound Dressingg
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
Wound DressingWound Dressing
เจาหนาที่พยาบาลเจาหนาทพยาบาล
Th P d t H it k ?The Product – How it works ?
Bacterial burden กับ wound healing process
Contaminated Colonized Increased Infected
Bacterial burden
Healing Slow Healing Delayed Healing Non-Healing
Wound DressingWound Dressing
Moist wound dressing:
Rate of re-epithelialization >50% compareRate of re epithelialization >50% compare
with dry wound
The Agency for Health Care Policy and
Research (AHCPR)Research (AHCPR)
recommendation for clinicians regarding
correct wound dressing procedures, consistcorrect wound dressing procedures, consist
of 7 point:
1. ปลอยใหมีการ
แลกเปลี่ยนกาซได
ั4. รักษา
อุณหภูมิของ
2. รักษา
ความชมชื้นุ ู
แผลให
ใกลเคียงกับ
ความชุมชน
ของแผลคุณสมบัติวัสดุปด
ี่ ึ ป ใกลเคยงกบ
อุณหภูมิของ
แผลทีพึงประสงค
รางกาย
3. ปองกันไมใหเชื้อ
โรคผานเขาออกไดโรคผานเขาออกได
5. ไมรบกวนการหาย
ป ั
ของแผล12. ไมตอง
เปลี่ยนบอย
6. ปลอดภย
ในการเปลยนบอย
นํามาใช
11 ปรับ
คุณสมบัติวัสดุปด
่ 
7. ไมมีสิ่ง
ื
11. ปรบ
รูปรางใหเขา
แผลทีพึงประสงค หลงเหลือ
คางในแผล
กับสวนตาง
ของรางกาย
ไมติดแผล
ของรางกาย
ได
8. สามารถดูดซับ
ไดมาก
9. ราคา10. สามารถ
็ ไ  ไดมากเหมาะสมมองเห็นแผลได
คณสมบัติวัสดปดแผลที่พึงประสงคคุณสมบตวสดุปดแผลทพงประสงค
่1. ปลอยใหมีการแลกเปลี่ยนกาซได
คณสมบัติวัสดปดแผลที่พึงประสงคคุณสมบตวสดุปดแผลทพงประสงค
2 ั  ื้2. รักษาความชุมชืนของแผล
Characteristic - vapour permeableCharacteristic - vapour permeable
- fluid barrier
คณสมบัติวัสดปดแผลที่พึงประสงคคุณสมบตวสดุปดแผลทพงประสงค
3 ป ั ไ ใ  ชื้ โ   ไ 3. ปองกันไมใหเชอโรคผานเขาออกได
Characteristic - bacterial barrier
คณสมบัติวัสดปดแผลที่พึงประสงคคุณสมบตวสดุปดแผลทพงประสงค
4. รักษาอุณหภูมิของแผลใหใกลเคียงกับอุณหภูมิ
Wound cools down
ุ ู ุ ู
ของรางกาย
Wound cools down
Mitosis
slows
Mitosis
speeds
up
Wound warms up
Effect of Temperature
คณสมบัติวัสดปดแผลที่พึงประสงคคุณสมบตวสดุปดแผลทพงประสงค
Presence insulatesEvaporation cools
Exudate and Temperature
วัสดุปดแผลที่รักษาความชุมชื้น
(Moisture Retentive Dressing)
 ชวยกระตนการเกิด Granulation Tissue ชวยกระตุนการเกด Granulation Tissue
 ชวยกระตุนการสังเคราะห Collagen
 ชวยกระตนการงอกของเยื้อบผิว (Epithelialization) ชวยกระตุนการงอกของเยอบุผว (Epithelialization)
 กรณีที่มีเนื้อตายชวยใหกระบวนการ Autolytic
Debridement มีประสิทธิภาพดีDebridement มประสทธภาพด
ประเภทของวัสดปดแผลปร เภทของวสดุปดแผล
1.Primary Dressing คือ
วัสดุปดแผลที่สัมผัสกับพื้นผิว
2. Secondary Dressing คือ วัสดุ
ปดแผลที่ปดทับ Primary Dressing
ี ชั้ ึ่ ป ั สิ่ ป ป 
ุ
ของแผล บางครั้งเรียกวา
contact layer
อีกชันหนึง ปองกันสิงปนเปอนตางๆ
และชวยในการดูดซับปริมาณสิ่งขับ
หลั่ง
Category of Wound Dressings
•Gauze
•Low-adherent•Low-adherent
dressing
•Transparent adhesive
•Hydrofiber
•Foam
•Transparent adhesive
dressing
H d l
• Silicone Faced
Wound Dressing
•Hydrogel
•Hydrocolloid
g
•Silver compound
dressing
•Alginate
dressing
GauzeGauze
คุณสมบัติ
Primary Dressing
Mechanical debridement
Carrier for medicationPrimary Dressing
Seconary Dressing
Carrier for medication
เปนวัสดุทําความสะอาดแผล
GauzeGauze
ชนิดทอเปนเสนใย : ทําจากฝาย เชน ผากอสปดแผลชนดทอเปนเสนใย : ทาจากฝาย เชน ผากอสปดแผล
ชนิดไมเปนเสนใย : สวนใหญทําจากใยสังเคราะห
Hypertonic Saline Sponge ใยสังเคราะห
่ที่ดูดซับผลึกเกลือไว ไดแก Mesalt
Low-adherent dressingg
คุณสมบัติไมติดแผล
ขอบงชี้ในการใช
แผลที่มี exudate นอย
แผลที่มีความเจ็บปวด
ไดแก urgotul
Mepitel
แผลกําลังจะหาย
บริเวณที่ผิวหนังหลุดลอกงาย
p
Bactigras
Sofratulle
Low-adherent dressingg
Low-adherent dressingg
Fine mesh gauze (polyester
fiber) Coated withfiber) Coated with
hydrocolloid polymer
Semipermeable Film Dressingp g
Transparent adhesive dressing
คุณสมบัติ
กาซซึมผานได น้ําระเหยได ไดแก opsiteกาซซมผานได นาร เหยได
แบคทีเรียและน้ําซึมผานไมได
ไมดดซับสิ่งคัดหลั่ง
p
Tegaderm
Bioclusiveไมดูดซบสงคดหลง Bioclusive
optiskin
Transparent adhesive dressingp g
HydrogelHydrogel
HydrogelHydrogel
สวนประกอบเปนน้ําถึง 50-96 %สวนที่เหลือเปน
Glycerine, Carboxymetylcellulose
คุณสมบัติ
ใ   ื้ ไ   Duoderm gelใหความชุมชืน
เย็น ลดความเจ็บปวด
ํ ใ  ื้ ป 
ไดแก Duoderm gel
Intrasite gel ,Urgogel,
Nugel Tegaderm hydrogelทําใหเนือตายเปอยยุย Nugel,Tegaderm hydrogel
HydrogelHydrogel
HydrocolloidHydrocolloid
HydrocolloidHydrocolloid
 ป l ti ti ี  ี่ ป สวนประกอบ gelatin,pactin มีสวนทีเปนกาวและสวน
ที่เปนอณูซึมซับน้ํา สวนที่เปนกาวจะเปลี่ยนเปนเจลเมื่อถูกกับ
่ ่สิ่งขับหลั่งจากแผล
มีหลายรูปแบบ เชน แผน ผง paste ไดแก
Duoderm ,comfeel,Algoplaque
HydrocolloidHydrocolloid
คณสมบัติคุณสมบต
ทําใหแผลชุมชื้น Autolytic debridement
ปองกันเชื้อโรคเขาสูแผล สวนใหญเปน occlusive
dressingdressing
Mode of action: autolytic debridement
HydrocolloidHydrocolloid
HydrocolloidHydrocolloid
HydrocolloidHydrocolloid
AlginateAlginate
การทํางานของAlginate
AlginateAlginate
ป ั  d ื เปนอนุพันธุของ seaweed หรือสาหรายทะเล
สวนใหญประกอบดวย Calcium alginate และ
S di Al i t ั ไ  ึ 20 Sodium Alginate ดูดซับของเหลวไดมากถึง 20 เทา
ของน้ําหนักวัสดุปดแผล เปลี่ยนเปนเจลเมื่อทํา
ป ิ ิ ิ ั ั ั่ ํ ใ   ื้ปฏิกิริยากับสารคัดหลังจากแผล ทําใหคงความชุมชืน
แกแผล
AlginateAlginate
คุณสมบัติ
้ใหความชุมชื้น
ใชในแผลที่มีสารคัดหลั่งมากใชในแผลทมสารคดหลงมาก
หามเลือดไดเล็กนอยหามเลอดไดเลกนอย
ไดแก Algisit M , Urgosorb,Sorbsan,
Kaltostat
Alginates CMC hydrofibre
• การดูดซับ
• กําจัดเนื้อเปอย (Deslough)
• การดูดซับ
• กําจัดเนื้อเปอย (Deslough)
Alginates CMC hydrofibre
• กาจดเนอเปอย (Deslough)
• ดึงออกไดเปนชิ้นเดียวกัน
(G type)
• กาจดเนอเปอย (Deslough)
• สราง gel ปดกั้นการไหลยอนกลับ
(Gel blocking)
• หามเลือด
ั• การดูดซับ + + +
• กําจัดเนื้อเปอย (Slough removal) + + +
• สราง gel ปดกั้นการไหลยอนกลับ (Gel blocking)g ( g)
• ดึงออกไดเปนชิ้นเดียวกัน
• หามเลือด
Absorption + Drainage
Vertical Gelling to easeg
Removal and preserve the edges
AlginateAlginate
 ํขอแนะนํา
• ใชในแผลที่เปนโพรงมีน้ําเหลืองมาก
• หามใชในแผลที่มีน้ําเหลืองนอย
• ใสใหพอดีกับแผลถาเกินแผลอาจ
ทําใหขอบแผลแฉะ
ความแตกตางของ Calcium Alginate
แบงได 2 ประเภท
1. แตกตางทางดานโครงสรางทางเคมี ของกรด Alginic
Alginic Manuronic Acid ซึมซับน้ําไดดีAlginic Manuronic Acid ซมซบนาไดด
Guluronic Acid รักษาสภาพความเปน
ชิ้นไดดีชนไดด
2. แตกตางทางขบวนการผลิต (Manufacturing Process)
2.1 Needling Process ทอเสนใยเล็กๆเขาดวยกันอยาง
แนนๆ ทําใหเตรียมเปนแผนและเสนไดดี
2.2 Nip Rolling Process ทอแบบหลวมๆ เสนใยจะหลุดงาย
Hydrofiber DressingHydrofiber Dressing
Hydrocolloid fiber ชนิดเสนใยดูด
ซับน้ําเหลืองจากแผลไดมาก ลักษณะการดดขึ้นตรงคลายไสซบนาเหลองจากแผลไดมาก ลกษณ การดูดขนตรงคลายไส
ตะเกียงเปนCohesive gel-blocking หลังจากดูดซับ
เปลี่ยนเปนเจลใสลื่น เย็น คงความชมชื้นใหแผล ไมทําใหผิวหนังเปลยนเปนเจลใสลน เยน คงความชุมชนใหแผล ไมทาใหผวหนง
รอบแผลเปอย ไดแก Aquacel
Hydrofiber
Hydrofiber DressingHydrofiber Dressing
ประกอบดวย 100% sodium carboxy
methylcellulosemethylcellulose
Hydrofiber DressingHydrofiber Dressing
ขอแนะนําขอแนะนา
•ใชในแผลที่เปนโพรงมีน้ําเหลืองมาก
 ใ ใ ี่ ี ้ํ ื  ํ ใ  ึ•หามใชในแผลทีมีนําเหลืองนอยเพราะอาจทําใหดึงออกยาก
•ใสใหเกินแผลเล็กนอย
FoamFoam
FoamFoam
ประกอบดวย
Polyurethane foam ไมมีคุณสมบัติเปนกาวจึง
้ไมติดแผลยอมใหกาซหรือน้ําผานได สามารดูด
ซับของเหลวไดสูงไมไหลยอนกลับทําใหผิวหนัง
รอบแผลไมเปอยยุย
คุณสมบัติ
ทําใหแผลชุมชื้นใชในแผลที่มีสารคัดหลั่งมากไมเหมาะกับุ
แผลที่เปนโพรงรองรับแรงกระแทก
ไดแก
il ll llMepilex,Allevyn,Urgocell,C
utinova cavity
FoamFoam
Non
dh t
กันน้ํา/แบคทีเรีย
adherent
Foam
FoamFoam
FoamFoam
Silver compound dressing
แรเงินใชรักษาแผลติดเชื้อ แผลที่เกิดจากความ
รอน แผลเบาหวาน
วัสดปดแผลที่มีแรเงินเปนสวนประกอบที่นิยมใชวสดุปดแผลทมแรเงนเปนสวนประกอบทนยมใช
Silver sulfadiazine และ Silver dressingg
ลักษณะ Silver ที่ดี
-ใชงาย
ปลอย silver สม่ําเสมอเมื่อสัมผัสแผล-ปลอย silver สมาเสมอเมอสมผสแผล
-มีคุณสมบัติทําลายเชื้อ Bacteria ไดหลายชนิด
-คุมคา
Effect of Silver on Bacterial Cell
1. Silver ions interact with
bacterial DNA to inhibit cell
division.
2. Silver ions interfere with the
normal function of the bacterialnormal function of the bacterial
cell causing the cell to shut
down and die.
3. Silver ions bind to and destroy
the outer cell.
Silver dressing ชนิดตางๆSilver dressing ชนดตางๆ
คุณสมบติ
ป 1.Silver เปน broad spectum ตอ yeast ราและ
Bacteria หลายชนิด รวมถึง MRSA, VRE
2.ทําลาย Microorganism โดยการ Inhibitg
cellular Respiration ทําให cell membrane
permeability ผิดปกติ
Silver dressing ชนิดตางๆSilver dressing ชนดตางๆ
i il l i di b h l ll l• Ionic Silver plus in Sodium Carboxymethylcellulose
• Ionic Silver plus in Calcium alginate and• Ionic Silver plus in Calcium alginate and
polyurethane foam
• Nano crystalline Silver
A M h D i i h Sil• Ag Mesh Dressing with Silver
Silver dressingSilver dressing
Ionic Silver plus inp
Sodium Carboxymethylcellulose
• Aquacel Ag ingredients
H d fib N CMC– Hydrofiber: Na-CMC
• Sodium Carboxymethycellulose
– Ionic silver : Ag-CMC
• Silver ion weighs about 1.2% of total
dressing
– Patened weaving process
– If dressing releases more than 1ppm of
silver ion to the exudate, dumping, the
tissue will be stained in black AgCltissue will be stained in black AgCl
precipitation.
Silver dressingSilver dressing
Ionic Silver plus in Calcium alginate
and Polyurethane foamy f
Silver dressingSilver dressing
Magnification of normal silver
Nanocrystalline Silvery
Magnification of Nanocrystalline Silver(<1 micron)
Silver dressingSilver dressing
Ag Mesh Dressing with Silver
Silver sulfadiazineSilver sulfadiazine
คุณสมบัติ การเลือกใชุ
ทําลายเชื้อ Gram positive,
Gram negative
แผลไฟไหม
้ํ Gram negative,
เชื้อรา มีชนิด ครีมและแผน
นํารอนลวก
Silver sulfadiazineSilver sulfadiazine
ชนิดครีม ชนิดแผน
Wound
Summary
Condition?
Wound
Condition?
Necrotic? Infected? Exuding? NormalNecrotic? Infected?
Amount/viscosity?
Exuding? Normal
Debride Resolve Absorb
Amount/viscosity?
Depth? Location? Dressing
selection
Sharing in Wound Care
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
7 November 2012
 หญิงไทยอายุ 51 ป
NF Ri ht f t U/D DM NF Right foot U/D DM
 อาการ ปวดขาขวา 3 วันกอนมา รพ. มี Bleb ขึ้นบวมแดง
12 November 2012
7 December 2012 21 December 2012
11 January 2013
1 February 2013
11 January 2013
 ชายไทยอายุ 65 ปุ
 Dx. NF left foot U/D-IHD DM
 อาการ มีไขสูง มีแผลที่เทาซาย
(Hemorrhagic bleb)(Hemorrhagic bleb)
 Gangrene 2nd and 4th toe
 Refer มาจาก รพ.นครศรีธรรมราช
20 Jan 201220 Jan 2012
5 F b 20125 Feb 2012
6 F b 20126 Feb 2012
Cl i d C iCleansing and Covering
14 Mar 2012 14 May 2012
หลังทํา STSG 1 เดือน
Follow Up หลังจากผานไป 7 เดือน
Follow Up หลังจากผานไป 7 เดือน
DAY 1DAY 1
DAY 1
DAY 4DAY 4
THANK YOUTHANK YOU
ความโชคดีในโลกสีเทา
ความทกขทรมานของผปวยม ุ ม ู
มะเร็งลําไสใหญที่มีทวารใหม ทั้ง
ทางเดินปสสาวะและอุจจาระ คงไมตอง
 ป  ไ ี    ปบรรยายวาเปนอยางไร เพียงแครูวาเปน
มะเร็ง โลกสีชมพูก็กลายเปนสีเทาแลว
แตในความโชคราย ยอมมีความโชคดีแตในความโชคราย ยอมมความโชคด
แฝงอยู
ดังผูปวยที่ขาพเจาและทีม ETู
Nurse ไดดูแลมาตลอด 3 เดือนที่พัก
รักษาตัวในโรงพยาบาล จําไดวาครั้ง
ี่ ป ี้ แรกทีพบผูปวยรายนี พรอมภรรยาและ
ลูกสาว มองเห็นความทุกขในแววตา
และสีหนาของทกคนและสหนาของทุกคน
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
โ ีใ โ ี Pemphigus Vulgarisความโชคดีในโลกสีเทา
ผูปวยผอมมาก รางกายเปน
แผลพพองทั่วลําตัว รวมทั้งคอและแผลพุพองทวลาตว รวมทงคอและ
รักแร สาเหตุจากผิวหนังติดเชื้อ
ภายในหองคละคลุงไปดวยกลิ่นุ
ของผิวหนังที่เนาเปอย ผสมกลิ่น
อุจจาระปสสาวะจาก ถุงรองรับที่
ั่ ึ ั ิ  ไป รัวซึม ยังคิดตอไปวาตลอดเวลา
กอนมาโรงพยาบาลเขาดูแลกัน
อยางไร ตองลําบากแน ๆ เลยอยางไร ตองลาบากแน ๆ เลย
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
ความโชคดีในโลกสีเทาความโชคดในโลกสเทา
โชคดี ที่ขาพเจาเปนหนึ่งในสมาชิก
ทีม สหสาขาวิชาชีพในบทบาท
ETN (E t t l Th i t)ETNurse (Enterostomal Therapist)
ที่ติดตามใหการพยาบาลผูปวยรายนี้
อยางตอเนื่อง เริ่มจากทําแผลชวงแรกอยางตอเนอง เรมจากทาแผลชวงแรก
ครั้งละ 3 ชั่วโมง
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
โ ีใ โ ีความโชคดีในโลกสีเทา
ขณะทําแผล ไมปลอยเวลาใหสูญเปลา ทีมจะวางแผน
พรอมคาดการณและประยุกตใชอุปกรณทําแผลที่มีอยูให
ส ช ใช ัส ป สื้ ํ สื้ เหมาะสม เชน ใชวัสดุปดแผลแทนเสือ และทําเสือตาขาย
คลุมแผล ใหกับผูปวย
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
ความโชคดีในโลกสีเทา
โชคดีของผูปวย… 2 เดือนผาน
ความโชคดในโลกสเทา
ู
ไป การรักษากาวหนาไปในทางที่ดีขึ้น
แผลบริเวณลําตัวแหง ไมมีภาวะติดเชื้อเรา
ใชเวลาทําแผลเหลือเพียง ครั้งละ30 นาทีใชเวลาทาแผลเหลอเพยง ครงละ30 นาท
จากการวางแผนเตรียมจําหนาย ภรรยาสามารถเปลี่ยนถงรองรับรว งแ นเ ร ม น ภรร ส ม รถเ ล นถุงร งร
ไดเหมาะสมและถูกตอง
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
ความโชคดีในโลกสีเทา
ปฏิบัติการสรางเสริมพลังใจ (Empowerment)
ผปวยรายนี้ โชคดีที่มีภรรยาและลกที่รักเขาอยเคียงผูปวยรายน โชคดทมภรรยาและลูกทรกเขาอยูเคยง
ขางตลอดเวลา ขาพเจาซึมซับความสุขของครอบครัวนี้
ได เพราะความโชคดีของขาพเจาที่ไดเปนหนึ่ง
ใ ส ชิ ี ET P li Nในสมาชกทม ET Police Nurse
พ.ต.อ. หญิง ดวงใจ ภูพงศพันธกุล
I.A.D. CI.A.D. CASEASE
Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13

More Related Content

What's hot

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
wichudaice
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
Utai Sukviwatsirikul
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจtechno UCH
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
Utai Sukviwatsirikul
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
Utai Sukviwatsirikul
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
Aphisit Aunbusdumberdor
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
Suradet Sriangkoon
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
Sutthiluck Kaewboonrurn
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์Papawee Laonoi
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
Aphisit Aunbusdumberdor
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผนFmz Npaz
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
Sirinoot Jantharangkul
 

What's hot (20)

การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรืองการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ  บุญเรือง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอารมณ์ผิดปกติ โดย อ.วิไลวรรณ บุญเรือง
 
ภาวะซีด
ภาวะซีดภาวะซีด
ภาวะซีด
 
ความรู้ IC
ความรู้ ICความรู้ IC
ความรู้ IC
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
คู่มือการดูแลผู้ป่วยล้างไตทางช่องท้องสำหรับประชาชน 2557
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจการพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีปัญหา ของระบบทางเดินหายใจ
 
จำแนกประเภท
จำแนกประเภทจำแนกประเภท
จำแนกประเภท
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
Sle guideline
Sle guidelineSle guideline
Sle guideline
 
Cpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in childrenCpg diarrhea in children
Cpg diarrhea in children
 
CLABSI
CLABSICLABSI
CLABSI
 
การจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้นการจัดการความปวดเบื้องต้น
การจัดการความปวดเบื้องต้น
 
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
โครงสร้างและหน้าที่ระบบทางเดินอาหาร 2560
 
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัยSฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
SฺBAR เอสบา การสื่อสารอย่างปลอดภัย
 
บันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาลบันทึกทางการพยาบาล
บันทึกทางการพยาบาล
 
27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์27การตรวจครรภ์
27การตรวจครรภ์
 
Pain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nursesPain management nursing for student nurses
Pain management nursing for student nurses
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
11แผน
11แผน11แผน
11แผน
 
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรคการพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
การพยาบาลผู้ป่วยก่อนและหลังการตรวจเพื่อการวินิจฉัยโรค
 
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
การส่งเสริมการขับถ่ายอุจจาระ 57
 

Viewers also liked

Wound management
Wound managementWound management
Wound management
Sumer Yadav
 
การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.
PaewWaew Chalinee
 
Wound Management
Wound ManagementWound Management
Wound Management
Sepehr Roozdar
 
Wound Care: From then to now
Wound Care: From then to nowWound Care: From then to now
Wound Care: From then to nowKaren Pulido
 
Wound management
Wound managementWound management
Wound management
Elaine Yap
 
WOUND CARE
WOUND CAREWOUND CARE
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
pop Jaturong
 
How To Care for Traumatic Wounds
How To Care for Traumatic WoundsHow To Care for Traumatic Wounds
How To Care for Traumatic Wounds
Kenneth Dickie
 
Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)
Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)
Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)Ted Herbosa
 
En new product algidex
En new product algidexEn new product algidex
En new product algidexcthutqc
 
Presentation
PresentationPresentation

Viewers also liked (17)

Wound Healing & Wound Care
Wound Healing & Wound CareWound Healing & Wound Care
Wound Healing & Wound Care
 
Wound care
Wound careWound care
Wound care
 
Wound management
Wound managementWound management
Wound management
 
การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.การพิสูจน์บาดแผล New.
การพิสูจน์บาดแผล New.
 
Wound Management
Wound ManagementWound Management
Wound Management
 
Wound Care: From then to now
Wound Care: From then to nowWound Care: From then to now
Wound Care: From then to now
 
Wound management
Wound managementWound management
Wound management
 
Woundcare
WoundcareWoundcare
Woundcare
 
WOUND CARE
WOUND CAREWOUND CARE
WOUND CARE
 
Wound dressing
Wound dressingWound dressing
Wound dressing
 
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
หลักพยาธิบ.6การหายของแผลpptx
 
How To Care for Traumatic Wounds
How To Care for Traumatic WoundsHow To Care for Traumatic Wounds
How To Care for Traumatic Wounds
 
Wound management by saumya agarwal
Wound management by saumya agarwalWound management by saumya agarwal
Wound management by saumya agarwal
 
Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)
Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)
Final mpoc presentation roadshow (23 nov2012)
 
En new product algidex
En new product algidexEn new product algidex
En new product algidex
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
First aid
First aidFirst aid
First aid
 

More from Utai Sukviwatsirikul

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
Utai Sukviwatsirikul
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
Utai Sukviwatsirikul
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
Utai Sukviwatsirikul
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Utai Sukviwatsirikul
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
Utai Sukviwatsirikul
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
Utai Sukviwatsirikul
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Utai Sukviwatsirikul
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Utai Sukviwatsirikul
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Utai Sukviwatsirikul
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
Utai Sukviwatsirikul
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
Utai Sukviwatsirikul
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
Utai Sukviwatsirikul
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
Utai Sukviwatsirikul
 

More from Utai Sukviwatsirikul (20)

Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืนNanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
Nanoxร้านยาใช้สื่อ Social อย่างไร ให้ได้ยอดขาย…อย่างยั่งยืน
 
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลันClinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
Clinical Guidance for Acute Pain Management เเนวทางพัฒนาการระงับปวดเฉียบพลัน
 
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
แนวทางการจัดการความเสี่ยงที่ส่งผลต่อต้นทุนการจัดการสินค้าคงคลัง ของร้านขายยา ...
 
Supply chain management
Supply chain managementSupply chain management
Supply chain management
 
Best practice in communication
Best practice in communicationBest practice in communication
Best practice in communication
 
Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554Basic communication skills 2554
Basic communication skills 2554
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoeaSaccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea
 
SME Handbook
SME HandbookSME Handbook
SME Handbook
 
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
การใช้โพรไบโอติกทางการแพทย์ (Medical Uses of Probiotic)
 
Scientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLORScientific evidence of BIOFLOR
Scientific evidence of BIOFLOR
 
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee VaravithyaDrugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
Drugs Used in Acute Diarrhea Wandee Varavithya
 
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
Systematic review with meta-analysis: Saccharomyces boulardii in the preventi...
 
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
Meta-Analysis of Probiotics for the Prevention of Antibiotic Associated Diarr...
 
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
Saccharomyces boulardii in the prevention of antibiotic-associated diarrhoea ...
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูงการประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
การประเมินโอกาสเสี่ยงต่อโรคหัวใจและหลอดเลือดในผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
ความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไตความรู้เรื่องโรคไต
ความรู้เรื่องโรคไต
 
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
แนวทางการพัฒนาการตรวจรักษาโรคจมูกอักเสบภูมิแพ้ในคนไทย (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๕๔)
 
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการพระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
พระราชบัญญัติว่าด้วยราคาสินค้าและบริการ
 
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉินข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
ข้อเท็จจริงเรื่องยาคุมฉุกเฉิน
 

Update management in wound care 16 oct 13