SlideShare a Scribd company logo
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอร ภู่เจริญ
ผู้ช่วยอธิการบดี Lee Kuan Yew School of Public Policy
การทาความเข้าใจบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศสิงคโปร์ในยุค
บูรพาภิวัตน์ ในที่นี้ จะขอกล่าวถึง 3 ด้านหลักๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้
1. ด้านประวัติศาสตร์และสังคม
แนวทางการสร้าง “คน” ให้มีความสามารถในการปรับตัว (resilience)
และมองการณ์ไกล (foresight)
แนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) เป็นแนวคิดหลักที่มีมา
หลังจากได้รับเอกราชจากอังกฤษและแยกตัวเป็นรัฐเดี่ยวจากมาเลเซียตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 หาก
มองในมิติภูมิรัฐศาสตร์ สิงคโปร์มีเพียง คน และ เกาะ ที่เป็นทรัพยากรแห่งชาติ ดังนั้น การดารง
รักษาอธิปไตยของรัฐให้อยู่ต่อไปอย่างยั่งยืนและมีเสถียรภาพในประชาคมโลกนั้น การทาให้
“คน” รู้จักปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในโลกยุคปัจจุบันและมีวิสัยทัศน์ก้าวไกลเพื่อตอบสนอง
ต่อโอกาสและภัยคุกคามต่างๆ จึงเป็นสิ่งสาคัญที่สุดที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
แนวคิดรัฐ-ชาติกับการสร้างประเทศสิงคโปร์
ประเด็นที่ถูกถกเถียงว่าสิงคโปร์เป็นรัฐ-ชาติ (nation-state) หรือเมืองท่า (port-city) นั้น
มีมาอย่างต่อเนื่อง การมองว่าสิงคโปร์ไม่ใช่รัฐ-ชาติ มักถูกอ้างว่าสิงคโปร์เป็นรัฐที่ไม่ได้เกิดจาก
คนที่มีภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม หรือ อัตลักษณ์เดียวกัน จึงทาให้สิงคโปร์ถูกมองว่า
เป็นเมืองท่าตั้งแต่อดีต เพราะเป็นทั้งจุดแวะพักและทางผ่านเพื่อทาการค้าภายใต้อาณานิคม
อังกฤษที่เคยรุ่งเรือง อีกนัยยะหนึ่งอาจกล่าวว่าสิงคโปร์เป็นนครสากล (cosmopolitan city)
ปัจจุบันสิงคโปร์ถูกจัดอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนผ่าน (society in transition) โดยมีความ
หลากหลายทางเชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรมผสมอยู่ในสังคมนี้ การสร้างประเทศสิงคโปร์จึงไม่
ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์” จัดโดย
โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม 2557 เวลา 13.00 -
16.30 น. เวลา 13.00 -16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงาน
กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.)
POLICY BRIEF
วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต
การพัฒนาของสิงคโปร์
ในยุคบูรพาภิวัตน์
บทเรียนต่อประเทศไทย
ฉบับที่ 5 /2558
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2
สามารถใช้แนวคิดรัฐ-ชาติเหมือนรัฐในตะวันตกได้ เพราะจะทาให้ชาวต่างชาติที่พานักอาศัยใน
สิงคโปร์ซึ่งปัจจุบันทารายได้ให้กับรัฐมหาศาลรู้สึกเป็นอื่น (alienate) ต่อรัฐบาลสิงคโปร์
ปัจจุบัน แนวคิดด้านเชื้อชาติและกลุ่มชาติพันธ์ (Race and Ethnic Group) ใน
สิงคโปร์ได้ทวีบทบาทมากขึ้นเนื่องจากสภาพแวดล้อมของโลกได้เปลี่ยนแปลงไป มีการวิพากษ์
ถึงแนวคิดของคนรุ่นใหม่อายุ 20 – 30 ปี กับแนวคิดของคนรุ่นบุกเบิกอายุ 60 – 80 ปี ที่
ค่อนข้างไม่ลงรอยกัน กล่าวคือ คนรุ่นใหม่มักเรียกร้องการปกครองแบบประชาธิปไตยใน
แนวทางตะวันตก และเรียกร้องให้ลดการพึ่งพิงตลาดต่างชาติ เพราะประสบปัญหาที่เป็น
อุปสรรคต่อการดารงชีวิต อาทิ ปัญหารถไฟฟ้าแน่นจนเกินไปเนื่องจากการขยายตัวของ
ประชากรและธุรกิจเอกชน การคมนาคมขนส่งติดขัด ที่พักอาศัยมีราคาสูงอย่างต่อเนื่อง ในแง่นี้
รัฐบาล สิงคโปร์ จึงไม่สามารถนาแนวคิดเรื่องการสร้างรัฐ-ชาติมาปรับใช้ได้เพราะจะทาให้การ
ลงทุนจากชาวต่างชาติตลอดจนแรงงานข้ามชาติที่มาจัดตั้งบรรษัทข้ามชาติจานวนมากกว่า
7,000 บรรษัท เกิดความระส่าระส่ายกับความเหลื่อมล้าของความสาคัญในสิทธิประโยชน์
ระหว่างชาวสิงคโปร์กับชาวต่างชาติ
ในขณะที่คนรุ่นบุกเบิกยังให้ความสนใจกับมรดกตกทอดและผลงานของพรรค People’s
Action Party(PAP) ภายใต้ ลี กวน ยู เพื่อเป็นการโน้มน้าวจิตใจคนรุ่นบุกเบิกให้เลือกพรรค
ตนเองต่อไป PAP เสนอนโยบายให้ความช่วยเหลือผู้ที่มีอายุสูงกว่า 60 ปี (Pioneer Package
Policy) เป็นการให้เงินช่วยเหลือหลังเกษียณอายุการทางาน อย่างไรก็ตาม หลายฝ่ายทั้งภาค
วิชาการและองค์กรอิสระได้วิจารณ์ว่าการออกนโยบายแบบนี้เข้าข่ายประชานิยม เพราะอยากให้
คนรุ่นบุกเบิกที่เคยเลือกพรรค People’s Action Party ได้เลือกต่อไป ผลการเลือกตั้งปี 2011
แสดงให้เห็นว่าความนิยมในพรรค People’s Action Party นั้นลดลง กล่าวคือ พรรคฝ่ายค้าน
ได้รับคะแนนและที่นั่งเพิ่มขึ้นในสภา แนวคิดว่าด้วยรัฐ – ชาติหรือความเป็นสิงคโปร์จึงกลับเข้า
มามีบทบาท อย่างไรก็ดี อัตราส่วนชาวต่างชาติพานักอาศัยและประกอบอาชีพมีมากถึง 40%
ของประชากรทั้งหมด ทาให้พรรค People’s Action Party ต้องหาทางโน้มน้าวให้ประชากรทั้ง
รุ่นบุกเบิกและรุ่นสมัยใหม่กลับมาศรัทธาในพรรคดังเดิม
2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดินโดยยึดหลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism)
นโยบายสาธารณะเปรียบเสมือนหัวใจของการบริหารราชการแผ่นดิน (Statutory Board) ในที่นี้
สิงคโปร์ยึดหลักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ในการใช้บริหารจัดการรัฐ กล่าวคือ นโยบายอะไรก็ตามที่
นาไปปฏิบัติแล้วสัมฤทธิ์ผล จะถูกนามาปรับใช้ให้สอดคล้องกับประเด็นต่างๆ ยกตัวอย่าง บางกรณีที่รัฐ
สามารถดาเนินการได้ดีกว่าภาคเอกชน ก็ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกของรัฐ ในขณะที่บางกรณีที่
เอกชน สามารถจัดการได้มีประสิทธิภาพดีกว่ารัฐ ก็ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกดังกล่าว โดย
ปราศจากความขัดแย้งและการแทรกแซงทางการเมือง รวมถึงไม่เอนเอียงต่อแนวคิดตะวันตก เช่น
อนุรักษ์นิยม รัฐนิยม พาณิชย์นิยม การตลาดนิยม เสรีประชาธิปไตย ตลอดจนเสรีนิยมประชาธิปไตย
เป็นต้น
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3
ความอิสระของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารงาน (Autonomous Agencies) ถือว่าเป็น
การบริหารงานที่ยึดหลักการปฏิบัตินิยมได้อย่างน่าสนใจ โดยการทางานของรัฐกับเอกชนค่อนข้างมี
ความคล้ายคลึงกัน เนื่องจากหน่วยงานราชการของรัฐประพฤติตัวตามกลไก จึงเกิดความไม่ชัดเจน
ระหว่างความเป็นสาธารณะกับความเป็นเอกชน ยกตัวอย่างเช่น นโยบายบ้าน (Housing Policy) ของ
ลี กวน ยู ที่ถูกสร้างโดย Housing Development Board นโยบายนี้ทาให้ประมาณ 80% ของคนสิงคโปร์
มีบ้านเป็นของตนเอง ทั้งนี้ยึดหลักการทากาไรผ่านการลงทุนจานวนมหาศาล ราคาที่พักอาศัยถูกปล่อย
ให้เป็นไปตามกลไกตลาดผสานไปกับค่าครองชีพและสภาพความเป็นอยู่ โดยมี Housing Development
Board เปรียบเสมือนบริษัทอสังหาริมทรัพย์ซึ่งมีรัฐบาลเป็นเจ้าของ
โดยวิสัยทัศน์และความตื่นตัวของ ลี กวน ยู ได้ย้าเสมอว่าการให้ประชาชนมีบ้านเป็นของตนเอง
นั้นจะทาให้ประชาชนมีความสนใจกับราคาที่ดินและทรัพย์สินตลอดจนระบบเศรษฐกิจโดยรวม เมื่อ
ประชาชนซื้อบ้านก็เสมือนลงทุนกับรัฐโดยตรง หลังจากได้กรรมสิทธิ์ในการครอบครองที่พักอาศัย ราคา
จะผันตามกลไกตลาดที่มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนั้นการเป็นเจ้าของที่พักอาศัยยังอิงกับระบบ
โควตา กล่าวคือ เป็นการกาหนดอัตราการอยู่อาศัยร่วมกันของประชากรแต่ละชาติพันธ์ให้เป็นระเบียบ
เรียบร้อย
นอกเหนือจากนี้ นโยบายการสร้างเมืองในสวนสาธารณะ (Singapore: The City in a Garden)
ก็ถือเป็นอีกหนึ่งนโยบายที่มีความน่าสนใจ เนื่องจากภูมิประเทศของสิงคโปร์มีลักษณะเป็นเกาะและมี
พื้นที่ใช้สอยจากัดด้วยพื้นที่ราว 700 ตารางกิโลเมตร ลี กวน ยู จึงริเริ่มนโยบายสร้างเมืองใน
สวนสาธารณะ (Singapore: The City in a Garden) โดยมีแนวคิดหลักคือสร้างสวนสาธารณะที่ขยาย
พื้นที่สีเขียวคู่ขนานไปกับการสร้างเมือง และต้องการให้เป็นพื้นที่สาหรับ live and play ที่พื้นที่
สวนสาธารณะจะไม่จากัดอยู่กับพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งหรือขึ้นอยู่กับกลุ่มชาติพันธ์ใดๆ แต่เป็นพื้นที่ของ
ประชาชนทุกคน
ทั้งนี้ ลี กวน ยู มองว่าการมีพื้นที่สีเขียวจะนาพามาซึ่งความเจริญและมั่งคั่งภายในรัฐเพราะหาก
ปราศจากพื้นที่สีเขียวก็จะไม่มีใครอยากมาอยู่ และอาจจะส่งผลกระทบต่อการลงทุนโดยชาวต่างชาติ
รวมถึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายในรัฐเช่นกัน
3. ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยยึดหลักคุณธรรม (meritocracy)
การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยยึดหลักคุณธรรม (Meritocracy) คือ การสร้างบุคลากรชั้นนา
ภาครัฐผ่านระบบการศึกษาที่ได้การยอมรับจากนานาชาติ โดยระบบการศึกษาในสิงคโปร์ได้รับการ
ยอมรับว่ามีคุณภาพมากที่สุดไม่เพียงแต่ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์เท่านั้น แต่ยังได้รับการยอมรับในระดับ
โลก ระบบการคัดเลือกนักเรียนในระดับ A-Level (เทียบเท่ากับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย)
ประเมินขีดความสามารถส่วนบุคคลโดยการสอบข้อเขียน แต่ในปัจจุบัน การศึกษาในสิงคโปร์ได้เปลี่ยน
มาใช้หลัก Teach less, Learn more คือ ลดการเรียนการสอนในชั่วโมงชั้นเรียนลง เพิ่มการฝึกทักษะ
ต่างๆ (skill sets) ที่จาเป็นในการเข้าสังคมและทางานเพื่อปูพื้นฐานให้นักเรียนมีความพร้อมในการ
เผชิญโลก ดังนั้นรัฐจึงอนุญาตให้โรงเรียนจัดการบริหารการเรียนการสอนเป็นอิสระ (autonomous
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4
school) โรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยได้รับบุคลากรที่มีคุณภาพในระดับนานาชาติและมีอุปกรณ์
การเรียนการสอนที่ทันสมัย สถาบันการศึกษาเป็นเอกเทศโดยไม่ขึ้นตรงกับกระทรวงศึกษาซึ่งยังอยู่
ในช่วงการทดลอง
อย่างไรก็ตาม มีการวิจารณ์โดยนักวิชาการเรื่องระบบคุณธรรมในการรับนักเรียนเข้าเรียน
ยกตัวอย่าง ถ้าพ่อหรือแม่เป็นศิษย์เก่าในโรงเรียนนั้นๆ ลูกที่สอบเข้ามักได้รับเอกสิทธิ์ในการพิจารณา
รายชื่อมาก่อนในลาดับต้นๆ ในแง่นี้ จึงเป็นประเด็นที่ถูกถกเถียงกันในวงกว้าง ไม่เพียงแต่ในหมู่คน
สิงคโปร์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงชาวต่างชาติที่พานักอาศัยและสร้างครอบครัวในสิงคโปร์ด้วย ว่าจริงหรือที่
ระบบคุณธรรมในสิงคโปร์ยังคงมีเสถียรภาพ เพราะการใช้เอกสิทธิ์ดังกล่าวเปรียบเสมือนว่ายังยึดใน
ระบบอุปถัมภ์คือมีการใช้เส้นสายในวงการการศึกษาอยู่ อย่างไรก็ตาม ระบบเส้นสายยังคงมีอยู่ในระบบ
การศึกษาแต่ด้วยจานวนที่ปรากฏน้อยมากจึงถูกระบบคุณธรรมในการคัดเลือกนักเรียนครอบคลุมแบบ
เบ็ดเสร็จจึงไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างสังคมมากนัก
ในที่นี้ จะขอยกตัวอย่าง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่น่าสนใจของสิงคโปร์ ดังนี้
การบรรจุภาษาที่หลากหลาย (Multilingual) ลงในหลักสูตรการศึกษา
สิงคโปร์มีระบบการศึกษาที่เตรียมความพร้อมเพื่อป้อนคนเข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยการ
ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียนการสอน ผนวกกับภาษาที่สอง เช่น ภาษาจีนกลาง
มาเลย์ แทโม่ (อินเดีย) ที่ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนภาษาที่สองได้ตามที่ต้องการ
การนาหลัก Rebranding Strategies มาปรับใช้กับห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์
(National Library Board of Singapore)
การนาหลัก Rebranding Strategies มาปรับใช้กับห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ (National
Library Board of Singapore) ภายใต้การควบคุมของ Singapore’s Statutory Board โดยนา
เทคโนโลยียืม-คืนหนังสือและสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาปรับใช้ตลอดจนจัดตั้งบริษัทให้
คาปรึกษา consultant ที่ขายการบริการให้กับตัวแทนมหาวิทยาลัยประเทศอื่นๆที่มีความสนใจ
ในยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ซึ่งถือว่าเป็นการทารายได้ให้กับห้องสมุดแห่งชาติฯเป็นจานวน
มหาศาล
ระบบ Administrative Officers – (AO)
Administrative Officers – (AO) หมายถึง การคัดสรรนักเรียนในกลุ่มผลสัมฤทธิ์
ศักยภาพสูงสุดจากแต่ละโรงเรียนชั้นนามาศึกษาดูงานในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อเป็นการสร้าง
ความรู้สึกคุ้นเคยและผูกพันต่อองค์กรในระบบราชการ หลังจากสาเร็จการศึกษา บัณฑิตเหล่านี้
สามารถก้าวเข้าสู่ระบบ Fast Track หรือที่เรียกว่า Elite Bureaucracy เป็นการฝึกฝนความ
ชานาญในการทางานทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน โดยข้าราชการเหล่านี้ไม่เพียงแต่มี
ประสบการณ์การทางานแต่ในภาครัฐเท่านั้น แต่ยังสามารถไปเป็นผู้นาองค์กรระดับสูง(Chief
Executive Officer) ในองค์กรเอกชนเช่นกัน ดังนั้น ระบบการทางานภาครัฐจึงมีความเป็น
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5
เอกชนค่อนข้างสูง ปราศจากความเป็นการเมืองและประชาธิปไตย ไม่มีระบบสรรหาแต่งตั้ง
บุคคลพิเศษ ไม่มีระบบ seniority
ในระบบ Administrative Officer รัฐจะเลือกบุคคลที่มีความสามารถและพร้อมต่อการ
ทางานโดยประยุกต์หลักคุณธรรม(Meritocracy) มาปรับใช้และมีอานาจเบ็ดเสร็จ สืบ
เนื่องจาก ระบบการศึกษาที่เข้มข้นจนสามารถวัดศักยภาพที่แท้จริงของนักเรียนในระดับหัวกะทิ
ของประเทศได้ จึงเป็นที่มาของสภาพแวดล้อมการทางานที่เต็มไปด้วยการแข่งขันและปราศจาก
การทุจริต การประเมินประสิทธิภาพบุคลากร (Singapore’s Performance Appraisal) และจะ
เป็นไปตาม Bell Curve เสมอ กล่าวคือ ในองค์กรจะมีบุคลากรชั้นนาประมาณ 10 – 15% ที่
เหลือ 60 – 70% เป็นบุคลากรมาตรฐาน และอีกจานวนหนึ่งราว 10 – 15% ที่จะถูกฝึกอบรม
เพิ่มเติมจึงทาให้นโยบายค่าตอบแทน Clean Wage Policy มีความชัดเจนและเหมาะสมกับ
คุณภาพบุคลากร กล่าวคือ ใครทางานเก่งจะได้ค่าตอบแทนในอัตราที่สูง เนื่องจากรัฐให้
ความสาคัญกับกลไกตลาดจึงมีความยืดหยุ่นในการจ่ายค่าตอบแทนซึ่งแปรผันตามระบบ
เศรษฐกิจ ตลอดจนปราศจากระบบเกื้อหนุนเช่นเบี้ยเลี้ยงนอกเวลาในการทากิจกรรมต่างๆ
4. บทเรียนสาหรับประเทศไทย
การเปรียบเทียบกรณีศึกษาระหว่างประเทศไทยกับสิงคโปร์นั้นมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง
ไม่ว่าจะเป็นสภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม อัตลักษณ์
วัฒนธรรม แนวคิดด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนี้สิงคโปร์ถูก
จัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วและมีรายได้ต่อหัวสูงเป็นอันดับต้นๆของโลก ดังนั้นการทาความ
เข้าใจประเทศสิงคโปร์จึงเป็นประโยชน์ไม่น้อยในการเรียนรู้ โดยในที่นี้จะขอยก 3 ประเด็นที่น่าสนใจ
ดังนี้
การศึกษา
หน่วยงานที่กากับดูแลการศึกษาในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งสานักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) มักขาดความเข้าใจในการประเมินผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษา(Quality Assurance) ที่อิงหลัก process-oriented กล่าวคือ ผู้สอนจะถูก
กาหนดให้ส่งแบบการเรียนการสอนและหลักฐานต่างๆ ที่ไม่สามารถตอบโจทย์เชิงปฏิบัติได้ ซึ่ง
ส่งผลให้บัณฑิตที่จบมาแต่ละรุ่นขาดประสิทธิภาพในการทางานและไร้ซึ่งความต่อเนื่อง ในขณะ
ที่สิงคโปร์เน้นผลงานตีพิมพ์วิชาการ ซึ่งงานวิจัยที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติตลอดจน
การทาหน้าที่เป็นคณะกรรมการให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยประยุกต์หลักบริหาร
ราชการให้นักวิชาการปรับตัวและมองการณ์ไกล อีกทั้งยังมีการบริหารงานอาศัยตามกลไก
การตลาดเพื่อประโยชน์ของผู้เรียนและประเทศเป็นสาคัญ
ปัญหาทุจริตและระบบคุณธรรม
สิงคโปร์ใช้เวลาแก้ไขปัญหาการทุจริตทุก รูปแบบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชนเป็นเวลา
ประมาณ 10 ปี หลังจากปี ค.ศ. 1980 รัฐเริ่มนารายได้ที่สะสมมาเพิ่มเงินเดือนข้าราชการและ
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6
ตารวจในอัตราที่สูง ซึ่งสิงคโปร์เป็นประเทศเดียวในโลกที่มีทุนสารองสะสมสูงที่สุด ด้วยเหตุนี้จึง
มีที่มาว่ารากฐานการศึกษาของสิงคโปร์ได้ปลูกฝังระบบคุณธรรมกับข้าราชการจนปฏิบัติกันเป็น
วัฒนธรรม ดังนั้นโอกาสที่เงินทุนสารองจะถูกนามาใช้กับนโยบายต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่ง
นโยบายประชานิยมจึงไม่ปรากฏ ในขณะที่ประเทศไทยค่อนข้างละเลยกับปัญหาดังกล่าว ปล่อย
ให้ภาครัฐและเอกชนเกื้อหนุนกันโดยไม่ได้รับฉันทามติจากประชาชน ปล่อยให้มีจานวนเงินทุน
สารองค่อนข้างต่าและหนี้เสียจานวนมาก อีกทั้งยังมีระบบการศึกษาที่บกพร่องจึงส่งผลกระทบ
โดยรวมที่ยากต่อการแก้ไขและฟื้นฟู
การเมืองการปกครอง
แนวคิดด้านการเมืองการปกครองในสังคมสิงคโปร์ คือการปรับตัวให้ยืดหยุ่นไปกับ
สภาพแวดล้อม สังคมโลกและมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล การเมืองการปกครองสิงคโปร์ค่อนข้างมี
เอกลักษณ์พิเศษ หากดูจากประวัติศาสตร์จะพบว่าพรรค People’s Action Party ได้กุมอานาจ
เบ็ดเสร็จในสภา ตั้งแต่แยกเป็นรัฐเดี่ยวจากมาเลเซีย ดังนั้น เมื่อไม่มีเสียงคัดค้านในสภาจึง
จาเป็นต้องเปิดช่องว่างให้พรรคฝ่ายค้านได้แสดงบทบาทและเสนอข้อเรียกร้องจากประชาชนที่
สนับสนุนพรรคของตนไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือกฝ่ายค้านที่แพ้เลือกตั้งแต่มีคะแนนสูงสุดเข้ามาใน
สภา (Non – Constituency Member of Parliament) หรือแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร
(Nominated Member of Parliament) ที่มาจากภาควิชาการ ตัวแทนธุรกิจเอกชน บุคคลที่ได้
การยอมรับในสังคม หรือเปิดโอกาสให้ลงเลือกตั้งเป็นกลุ่ม (Group Representation
Constituency) ในแต่ละกลุ่มมีสมาชิกชาติพันธุ์ส่วนน้อย(Minorities) อย่างน้อย 2 – 3 คน
ตามแต่ พรรคนั้นๆจะสรรหา และการเลือกประธานาธิบดีจากประชาชนโดยตรง (Elected
Presidency) ซึ่งการเป็นประธานาธิบดีต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ คือมีความรู้เรื่องการเงินการ คลัง
ของประเทศและเป็นผู้เดียวที่สามารถอนุมัติการใช้เงินสารองในชาติได้
บทสรุป
จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่าประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่ประสบความสาเร็จทางด้านการ
ควบคุมบริหารจัดการภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้เงื่อนไขพื้นที่และทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด
และด้วยข้อจากัดดังกล่าวนี้เอง ที่ทาให้สิงคโปร์มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นทรัพยากร
หลักของประเทศ ยิ่งไปกว่านั้น หลักการและแนวทางในการบริหารงานราชการโดยยึดหลักปฏิบัตินิยม
โดยมุ่งเน้นไปที่แนวปฏิบัติอะไรก็ตาม ที่สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การที่
ประเทศไทยจะรับเอาหลักคิด หลักการและแนวทาง ของประเทศที่มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพเฉก
เช่นสิงคโปร์มาปรับใช้กับประเทศไทย จึงเป็นเรื่องทีน่าสนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปฏิรูป
ประเทศไทยต่อไป
********************************************************************************
โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7
ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์
บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล
ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล
บันทึกเทปการประชุม: นาย พิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์
ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ
ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2558
สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ
ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน
ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผศ.ดร.อรอร ภู่เจริญ ท่านสมปอง สงวนบรรพ์
รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ รศ.ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย อ.ทนงศักดิ์ วิกุล
ดร.ดนุวัศ สาคริก พ.ต.ท.ดร.กฤษณพงค์ พูตระกูล ร.ต.อ. จอมเดช ตรีเมฆ
ร.ต.อ. ธรรมนูญ สมบูรณ์ไพศาล อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล คุณ ธานี สุโชดายน
อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ อ.บุญส่ง ชเลธร อ.วันวิชิต บุญโปร่ง อ.อัครเดช
สุภัคกุล
เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com
ที่อยู่ติดต่อ
วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000
โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216
สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900
โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064

More Related Content

What's hot

20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreenNSTDA THAILAND
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
Klangpanya
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงGuntima NaLove
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนPhakawat Owat
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
สุปราณี เขื่อนขันธ์
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงSuriyakan Yunin
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
กนกพิชญ์ วังวร
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
มนิลา ธงยศ
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
seri_101
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6

What's hot (13)

20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
20100618 research-strengthen-thailand-fullscreen
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีนความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสาธารณรัฐประชาชนจีน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
การจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีนการจัดการศึกษาของจีน
การจัดการศึกษาของจีน
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 

Similar to ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย

แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
Klangpanya
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
Pim-Ngarm Mudha
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
Ruangvit_G
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
Watcharin Chongkonsatit
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Gritiga Soonthorn
 
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
Supha Khamprakhon
 

Similar to ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย (20)

แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)รวมเล่ม (1)
รวมเล่ม (1)
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
 
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
ความขัดแย้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐ (ชุดที่ 1 ภาคแนวคิด)
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
123456
123456123456
123456
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงการพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง
 
Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654Km subject speciallistsocial-020654
Km subject speciallistsocial-020654
 
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
การศึกษาเพื่อความเป็นพลเมือง (ต่อยอด)
 

More from Klangpanya

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
Klangpanya
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
Klangpanya
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
Klangpanya
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
Klangpanya
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
Klangpanya
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
Klangpanya
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
Klangpanya
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Klangpanya
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
Klangpanya
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
Klangpanya
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
Klangpanya
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Klangpanya
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Klangpanya
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
Klangpanya
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Klangpanya
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
Klangpanya
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
Klangpanya
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
Klangpanya
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
Klangpanya
 

More from Klangpanya (20)

ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทยิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
ิวิถีชีวิตของคนจีนรุ่นใหม่ กับการนำเสนอ Soft Power ของไทย
 
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภคการปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
การปฏิวัติทุเรียนไทยในจีน การเกษตร การตลาดและการบริโภค
 
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทยประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
ประสบการณ์การพัฒนาใหม่ในชนบทจีนและไทย
 
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
กระบวนทัศน์การพัฒนาใหม่ บูรณาการเมืองกับชนบท
 
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีนยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
ยุทธศาสตร์การต่างประเทศยุคใหม่ และความสัมพันธ์ระหว่างไทย-จีน
 
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China...
‘Belt and Road Initiative: BRI’: A strengthening path for Thailand and China ...
 
World-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese RelationsWorld-changing and the Thai-Chinese Relations
World-changing and the Thai-Chinese Relations
 
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
Perspectives on China’s Digital Silk Road Framework and the case study of adv...
 
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
The People-to-people Exchange between Thailand and China under the Belt and R...
 
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
พัฒนาการเศรษฐกิจไทย – ลาว บนการเปลี่ยนแปลงภูมิรัฐศาสตร์และภูมิเศรษฐศาสตร์ของภ...
 
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีนความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
ความร่วมมือด้านทรัพยากรน้ำ: โอกาสและความท้าทายในภูมิภาคอินโดจีน
 
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
การเปลี่ยนแปลงผู้นำจีนที่สำคัญที่คาดว่าจะเกิดขึ้น ในการประชุมสมัชชาใหญ่ของพรร...
 
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility PresentationTrends in Social and Environmental Responsibility Presentation
Trends in Social and Environmental Responsibility Presentation
 
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
Trends in Social and Environmental Responsibility - The Challenges of Transbo...
 
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
“澜湄水资源合作” 中泰智库合作倡议 "Lancang-Mekong Water Resources Cooperation" Sino-Thai Thi...
 
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีนPelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
Pelosi: ผู้เติมเชื้อไฟแห่งความเดือดดาล ในความสัมพันธ์สหรัฐฯ และจีน
 
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
ปัญญาในการสร้างสมดุลระหว่างโลกทัศน์กับชีวทัศน์ของนักวิชาการ รองศาสตราจารย์ ดร...
 
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
การเรียนรู้ของนักวิชาการในการสร้างปัญญา เพื่อการเปลี่ยนแปลงที่ดีขึ้นในอนาคต อ...
 
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdfppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
ppt อ.ชัยวัฒน์.pdf
 
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
650324_ประสบการณ์กับการศึกษาที่นำสู่การสร้างปัญญา.pdf
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์ : บทเรียนต่อประเทศไทย

  • 1. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 1 ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อรอร ภู่เจริญ ผู้ช่วยอธิการบดี Lee Kuan Yew School of Public Policy การทาความเข้าใจบริบททางการเมือง เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรมของประเทศสิงคโปร์ในยุค บูรพาภิวัตน์ ในที่นี้ จะขอกล่าวถึง 3 ด้านหลักๆ ที่น่าสนใจ ดังนี้ 1. ด้านประวัติศาสตร์และสังคม แนวทางการสร้าง “คน” ให้มีความสามารถในการปรับตัว (resilience) และมองการณ์ไกล (foresight) แนวคิดการปรับตัว(resilience) และมองการณ์ไกล(foresight) เป็นแนวคิดหลักที่มีมา หลังจากได้รับเอกราชจากอังกฤษและแยกตัวเป็นรัฐเดี่ยวจากมาเลเซียตั้งแต่ปี ค.ศ. 1960 หาก มองในมิติภูมิรัฐศาสตร์ สิงคโปร์มีเพียง คน และ เกาะ ที่เป็นทรัพยากรแห่งชาติ ดังนั้น การดารง รักษาอธิปไตยของรัฐให้อยู่ต่อไปอย่างยั่งยืนและมีเสถียรภาพในประชาคมโลกนั้น การทาให้ “คน” รู้จักปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมในโลกยุคปัจจุบันและมีวิสัยทัศน์ก้าวไกลเพื่อตอบสนอง ต่อโอกาสและภัยคุกคามต่างๆ จึงเป็นสิ่งสาคัญที่สุดที่ต้องมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง แนวคิดรัฐ-ชาติกับการสร้างประเทศสิงคโปร์ ประเด็นที่ถูกถกเถียงว่าสิงคโปร์เป็นรัฐ-ชาติ (nation-state) หรือเมืองท่า (port-city) นั้น มีมาอย่างต่อเนื่อง การมองว่าสิงคโปร์ไม่ใช่รัฐ-ชาติ มักถูกอ้างว่าสิงคโปร์เป็นรัฐที่ไม่ได้เกิดจาก คนที่มีภาษา ขนบธรรมเนียม วัฒนธรรม หรือ อัตลักษณ์เดียวกัน จึงทาให้สิงคโปร์ถูกมองว่า เป็นเมืองท่าตั้งแต่อดีต เพราะเป็นทั้งจุดแวะพักและทางผ่านเพื่อทาการค้าภายใต้อาณานิคม อังกฤษที่เคยรุ่งเรือง อีกนัยยะหนึ่งอาจกล่าวว่าสิงคโปร์เป็นนครสากล (cosmopolitan city) ปัจจุบันสิงคโปร์ถูกจัดอยู่ในสังคมแห่งการเปลี่ยนผ่าน (society in transition) โดยมีความ หลากหลายทางเชื้อชาติ ภาษา และวัฒนธรรมผสมอยู่ในสังคมนี้ การสร้างประเทศสิงคโปร์จึงไม่ ถอดความจากการนาเสนอในที่ประชุมเวที Think Tank เรื่อง “ยุทธศาสตร์การพัฒนาของสิงคโปร์ในยุคบูรพาภิวัตน์” จัดโดย โครงการคลังปัญญาเพื่ออภิวัฒน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต วันศุกร์ที่ 19 ธันวาคม 2557 เวลา 13.00 - 16.30 น. เวลา 13.00 -16.30 น. ณ ห้องประชุม ชั้น 4 อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ลาดพร้าว กรุงเทพมหานครฯ ภายใต้การสนับสนุนของสานักงาน กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และมูลนิธิสถาบันสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ (สปส.) POLICY BRIEF วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต การพัฒนาของสิงคโปร์ ในยุคบูรพาภิวัตน์ บทเรียนต่อประเทศไทย ฉบับที่ 5 /2558
  • 2. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 2 สามารถใช้แนวคิดรัฐ-ชาติเหมือนรัฐในตะวันตกได้ เพราะจะทาให้ชาวต่างชาติที่พานักอาศัยใน สิงคโปร์ซึ่งปัจจุบันทารายได้ให้กับรัฐมหาศาลรู้สึกเป็นอื่น (alienate) ต่อรัฐบาลสิงคโปร์ ปัจจุบัน แนวคิดด้านเชื้อชาติและกลุ่มชาติพันธ์ (Race and Ethnic Group) ใน สิงคโปร์ได้ทวีบทบาทมากขึ้นเนื่องจากสภาพแวดล้อมของโลกได้เปลี่ยนแปลงไป มีการวิพากษ์ ถึงแนวคิดของคนรุ่นใหม่อายุ 20 – 30 ปี กับแนวคิดของคนรุ่นบุกเบิกอายุ 60 – 80 ปี ที่ ค่อนข้างไม่ลงรอยกัน กล่าวคือ คนรุ่นใหม่มักเรียกร้องการปกครองแบบประชาธิปไตยใน แนวทางตะวันตก และเรียกร้องให้ลดการพึ่งพิงตลาดต่างชาติ เพราะประสบปัญหาที่เป็น อุปสรรคต่อการดารงชีวิต อาทิ ปัญหารถไฟฟ้าแน่นจนเกินไปเนื่องจากการขยายตัวของ ประชากรและธุรกิจเอกชน การคมนาคมขนส่งติดขัด ที่พักอาศัยมีราคาสูงอย่างต่อเนื่อง ในแง่นี้ รัฐบาล สิงคโปร์ จึงไม่สามารถนาแนวคิดเรื่องการสร้างรัฐ-ชาติมาปรับใช้ได้เพราะจะทาให้การ ลงทุนจากชาวต่างชาติตลอดจนแรงงานข้ามชาติที่มาจัดตั้งบรรษัทข้ามชาติจานวนมากกว่า 7,000 บรรษัท เกิดความระส่าระส่ายกับความเหลื่อมล้าของความสาคัญในสิทธิประโยชน์ ระหว่างชาวสิงคโปร์กับชาวต่างชาติ ในขณะที่คนรุ่นบุกเบิกยังให้ความสนใจกับมรดกตกทอดและผลงานของพรรค People’s Action Party(PAP) ภายใต้ ลี กวน ยู เพื่อเป็นการโน้มน้าวจิตใจคนรุ่นบุกเบิกให้เลือกพรรค ตนเองต่อไป PAP เสนอนโยบายให้ความช่วยเหลือผู้ที่มีอายุสูงกว่า 60 ปี (Pioneer Package Policy) เป็นการให้เงินช่วยเหลือหลังเกษียณอายุการทางาน อย่างไรก็ตาม หลายฝ่ายทั้งภาค วิชาการและองค์กรอิสระได้วิจารณ์ว่าการออกนโยบายแบบนี้เข้าข่ายประชานิยม เพราะอยากให้ คนรุ่นบุกเบิกที่เคยเลือกพรรค People’s Action Party ได้เลือกต่อไป ผลการเลือกตั้งปี 2011 แสดงให้เห็นว่าความนิยมในพรรค People’s Action Party นั้นลดลง กล่าวคือ พรรคฝ่ายค้าน ได้รับคะแนนและที่นั่งเพิ่มขึ้นในสภา แนวคิดว่าด้วยรัฐ – ชาติหรือความเป็นสิงคโปร์จึงกลับเข้า มามีบทบาท อย่างไรก็ดี อัตราส่วนชาวต่างชาติพานักอาศัยและประกอบอาชีพมีมากถึง 40% ของประชากรทั้งหมด ทาให้พรรค People’s Action Party ต้องหาทางโน้มน้าวให้ประชากรทั้ง รุ่นบุกเบิกและรุ่นสมัยใหม่กลับมาศรัทธาในพรรคดังเดิม 2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดินโดยยึดหลักการปฏิบัตินิยม (pragmatism) นโยบายสาธารณะเปรียบเสมือนหัวใจของการบริหารราชการแผ่นดิน (Statutory Board) ในที่นี้ สิงคโปร์ยึดหลักปฏิบัตินิยม (Pragmatism) ในการใช้บริหารจัดการรัฐ กล่าวคือ นโยบายอะไรก็ตามที่ นาไปปฏิบัติแล้วสัมฤทธิ์ผล จะถูกนามาปรับใช้ให้สอดคล้องกับประเด็นต่างๆ ยกตัวอย่าง บางกรณีที่รัฐ สามารถดาเนินการได้ดีกว่าภาคเอกชน ก็ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกของรัฐ ในขณะที่บางกรณีที่ เอกชน สามารถจัดการได้มีประสิทธิภาพดีกว่ารัฐ ก็ควรปล่อยให้เป็นไปตามกลไกดังกล่าว โดย ปราศจากความขัดแย้งและการแทรกแซงทางการเมือง รวมถึงไม่เอนเอียงต่อแนวคิดตะวันตก เช่น อนุรักษ์นิยม รัฐนิยม พาณิชย์นิยม การตลาดนิยม เสรีประชาธิปไตย ตลอดจนเสรีนิยมประชาธิปไตย เป็นต้น
  • 3. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 3 ความอิสระของหน่วยงานภาครัฐในการบริหารงาน (Autonomous Agencies) ถือว่าเป็น การบริหารงานที่ยึดหลักการปฏิบัตินิยมได้อย่างน่าสนใจ โดยการทางานของรัฐกับเอกชนค่อนข้างมี ความคล้ายคลึงกัน เนื่องจากหน่วยงานราชการของรัฐประพฤติตัวตามกลไก จึงเกิดความไม่ชัดเจน ระหว่างความเป็นสาธารณะกับความเป็นเอกชน ยกตัวอย่างเช่น นโยบายบ้าน (Housing Policy) ของ ลี กวน ยู ที่ถูกสร้างโดย Housing Development Board นโยบายนี้ทาให้ประมาณ 80% ของคนสิงคโปร์ มีบ้านเป็นของตนเอง ทั้งนี้ยึดหลักการทากาไรผ่านการลงทุนจานวนมหาศาล ราคาที่พักอาศัยถูกปล่อย ให้เป็นไปตามกลไกตลาดผสานไปกับค่าครองชีพและสภาพความเป็นอยู่ โดยมี Housing Development Board เปรียบเสมือนบริษัทอสังหาริมทรัพย์ซึ่งมีรัฐบาลเป็นเจ้าของ โดยวิสัยทัศน์และความตื่นตัวของ ลี กวน ยู ได้ย้าเสมอว่าการให้ประชาชนมีบ้านเป็นของตนเอง นั้นจะทาให้ประชาชนมีความสนใจกับราคาที่ดินและทรัพย์สินตลอดจนระบบเศรษฐกิจโดยรวม เมื่อ ประชาชนซื้อบ้านก็เสมือนลงทุนกับรัฐโดยตรง หลังจากได้กรรมสิทธิ์ในการครอบครองที่พักอาศัย ราคา จะผันตามกลไกตลาดที่มีแนวโน้มสูงขึ้นเรื่อยๆ นอกจากนั้นการเป็นเจ้าของที่พักอาศัยยังอิงกับระบบ โควตา กล่าวคือ เป็นการกาหนดอัตราการอยู่อาศัยร่วมกันของประชากรแต่ละชาติพันธ์ให้เป็นระเบียบ เรียบร้อย นอกเหนือจากนี้ นโยบายการสร้างเมืองในสวนสาธารณะ (Singapore: The City in a Garden) ก็ถือเป็นอีกหนึ่งนโยบายที่มีความน่าสนใจ เนื่องจากภูมิประเทศของสิงคโปร์มีลักษณะเป็นเกาะและมี พื้นที่ใช้สอยจากัดด้วยพื้นที่ราว 700 ตารางกิโลเมตร ลี กวน ยู จึงริเริ่มนโยบายสร้างเมืองใน สวนสาธารณะ (Singapore: The City in a Garden) โดยมีแนวคิดหลักคือสร้างสวนสาธารณะที่ขยาย พื้นที่สีเขียวคู่ขนานไปกับการสร้างเมือง และต้องการให้เป็นพื้นที่สาหรับ live and play ที่พื้นที่ สวนสาธารณะจะไม่จากัดอยู่กับพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่งหรือขึ้นอยู่กับกลุ่มชาติพันธ์ใดๆ แต่เป็นพื้นที่ของ ประชาชนทุกคน ทั้งนี้ ลี กวน ยู มองว่าการมีพื้นที่สีเขียวจะนาพามาซึ่งความเจริญและมั่งคั่งภายในรัฐเพราะหาก ปราศจากพื้นที่สีเขียวก็จะไม่มีใครอยากมาอยู่ และอาจจะส่งผลกระทบต่อการลงทุนโดยชาวต่างชาติ รวมถึงเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจภายในรัฐเช่นกัน 3. ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยยึดหลักคุณธรรม (meritocracy) การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยยึดหลักคุณธรรม (Meritocracy) คือ การสร้างบุคลากรชั้นนา ภาครัฐผ่านระบบการศึกษาที่ได้การยอมรับจากนานาชาติ โดยระบบการศึกษาในสิงคโปร์ได้รับการ ยอมรับว่ามีคุณภาพมากที่สุดไม่เพียงแต่ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์เท่านั้น แต่ยังได้รับการยอมรับในระดับ โลก ระบบการคัดเลือกนักเรียนในระดับ A-Level (เทียบเท่ากับระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย) ประเมินขีดความสามารถส่วนบุคคลโดยการสอบข้อเขียน แต่ในปัจจุบัน การศึกษาในสิงคโปร์ได้เปลี่ยน มาใช้หลัก Teach less, Learn more คือ ลดการเรียนการสอนในชั่วโมงชั้นเรียนลง เพิ่มการฝึกทักษะ ต่างๆ (skill sets) ที่จาเป็นในการเข้าสังคมและทางานเพื่อปูพื้นฐานให้นักเรียนมีความพร้อมในการ เผชิญโลก ดังนั้นรัฐจึงอนุญาตให้โรงเรียนจัดการบริหารการเรียนการสอนเป็นอิสระ (autonomous
  • 4. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 4 school) โรงเรียน วิทยาลัย และมหาวิทยาลัยได้รับบุคลากรที่มีคุณภาพในระดับนานาชาติและมีอุปกรณ์ การเรียนการสอนที่ทันสมัย สถาบันการศึกษาเป็นเอกเทศโดยไม่ขึ้นตรงกับกระทรวงศึกษาซึ่งยังอยู่ ในช่วงการทดลอง อย่างไรก็ตาม มีการวิจารณ์โดยนักวิชาการเรื่องระบบคุณธรรมในการรับนักเรียนเข้าเรียน ยกตัวอย่าง ถ้าพ่อหรือแม่เป็นศิษย์เก่าในโรงเรียนนั้นๆ ลูกที่สอบเข้ามักได้รับเอกสิทธิ์ในการพิจารณา รายชื่อมาก่อนในลาดับต้นๆ ในแง่นี้ จึงเป็นประเด็นที่ถูกถกเถียงกันในวงกว้าง ไม่เพียงแต่ในหมู่คน สิงคโปร์เท่านั้น แต่ยังรวมถึงชาวต่างชาติที่พานักอาศัยและสร้างครอบครัวในสิงคโปร์ด้วย ว่าจริงหรือที่ ระบบคุณธรรมในสิงคโปร์ยังคงมีเสถียรภาพ เพราะการใช้เอกสิทธิ์ดังกล่าวเปรียบเสมือนว่ายังยึดใน ระบบอุปถัมภ์คือมีการใช้เส้นสายในวงการการศึกษาอยู่ อย่างไรก็ตาม ระบบเส้นสายยังคงมีอยู่ในระบบ การศึกษาแต่ด้วยจานวนที่ปรากฏน้อยมากจึงถูกระบบคุณธรรมในการคัดเลือกนักเรียนครอบคลุมแบบ เบ็ดเสร็จจึงไม่ส่งผลกระทบต่อโครงสร้างสังคมมากนัก ในที่นี้ จะขอยกตัวอย่าง แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ที่น่าสนใจของสิงคโปร์ ดังนี้ การบรรจุภาษาที่หลากหลาย (Multilingual) ลงในหลักสูตรการศึกษา สิงคโปร์มีระบบการศึกษาที่เตรียมความพร้อมเพื่อป้อนคนเข้าสู่ตลาดแรงงาน โดยการ ใช้ภาษาอังกฤษเป็นภาษาหลักในการเรียนการสอน ผนวกกับภาษาที่สอง เช่น ภาษาจีนกลาง มาเลย์ แทโม่ (อินเดีย) ที่ผู้เรียนสามารถเลือกเรียนภาษาที่สองได้ตามที่ต้องการ การนาหลัก Rebranding Strategies มาปรับใช้กับห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ (National Library Board of Singapore) การนาหลัก Rebranding Strategies มาปรับใช้กับห้องสมุดแห่งชาติสิงคโปร์ (National Library Board of Singapore) ภายใต้การควบคุมของ Singapore’s Statutory Board โดยนา เทคโนโลยียืม-คืนหนังสือและสื่อการเรียนรู้ออนไลน์มาปรับใช้ตลอดจนจัดตั้งบริษัทให้ คาปรึกษา consultant ที่ขายการบริการให้กับตัวแทนมหาวิทยาลัยประเทศอื่นๆที่มีความสนใจ ในยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ ซึ่งถือว่าเป็นการทารายได้ให้กับห้องสมุดแห่งชาติฯเป็นจานวน มหาศาล ระบบ Administrative Officers – (AO) Administrative Officers – (AO) หมายถึง การคัดสรรนักเรียนในกลุ่มผลสัมฤทธิ์ ศักยภาพสูงสุดจากแต่ละโรงเรียนชั้นนามาศึกษาดูงานในหน่วยงานภาครัฐ เพื่อเป็นการสร้าง ความรู้สึกคุ้นเคยและผูกพันต่อองค์กรในระบบราชการ หลังจากสาเร็จการศึกษา บัณฑิตเหล่านี้ สามารถก้าวเข้าสู่ระบบ Fast Track หรือที่เรียกว่า Elite Bureaucracy เป็นการฝึกฝนความ ชานาญในการทางานทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน โดยข้าราชการเหล่านี้ไม่เพียงแต่มี ประสบการณ์การทางานแต่ในภาครัฐเท่านั้น แต่ยังสามารถไปเป็นผู้นาองค์กรระดับสูง(Chief Executive Officer) ในองค์กรเอกชนเช่นกัน ดังนั้น ระบบการทางานภาครัฐจึงมีความเป็น
  • 5. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 5 เอกชนค่อนข้างสูง ปราศจากความเป็นการเมืองและประชาธิปไตย ไม่มีระบบสรรหาแต่งตั้ง บุคคลพิเศษ ไม่มีระบบ seniority ในระบบ Administrative Officer รัฐจะเลือกบุคคลที่มีความสามารถและพร้อมต่อการ ทางานโดยประยุกต์หลักคุณธรรม(Meritocracy) มาปรับใช้และมีอานาจเบ็ดเสร็จ สืบ เนื่องจาก ระบบการศึกษาที่เข้มข้นจนสามารถวัดศักยภาพที่แท้จริงของนักเรียนในระดับหัวกะทิ ของประเทศได้ จึงเป็นที่มาของสภาพแวดล้อมการทางานที่เต็มไปด้วยการแข่งขันและปราศจาก การทุจริต การประเมินประสิทธิภาพบุคลากร (Singapore’s Performance Appraisal) และจะ เป็นไปตาม Bell Curve เสมอ กล่าวคือ ในองค์กรจะมีบุคลากรชั้นนาประมาณ 10 – 15% ที่ เหลือ 60 – 70% เป็นบุคลากรมาตรฐาน และอีกจานวนหนึ่งราว 10 – 15% ที่จะถูกฝึกอบรม เพิ่มเติมจึงทาให้นโยบายค่าตอบแทน Clean Wage Policy มีความชัดเจนและเหมาะสมกับ คุณภาพบุคลากร กล่าวคือ ใครทางานเก่งจะได้ค่าตอบแทนในอัตราที่สูง เนื่องจากรัฐให้ ความสาคัญกับกลไกตลาดจึงมีความยืดหยุ่นในการจ่ายค่าตอบแทนซึ่งแปรผันตามระบบ เศรษฐกิจ ตลอดจนปราศจากระบบเกื้อหนุนเช่นเบี้ยเลี้ยงนอกเวลาในการทากิจกรรมต่างๆ 4. บทเรียนสาหรับประเทศไทย การเปรียบเทียบกรณีศึกษาระหว่างประเทศไทยกับสิงคโปร์นั้นมีความแตกต่างกันอย่างสิ้นเชิง ไม่ว่าจะเป็นสภาพการเมือง เศรษฐกิจ สังคม ขนบธรรมเนียมประเพณี ความเชื่อ ค่านิยม อัตลักษณ์ วัฒนธรรม แนวคิดด้านการบริหารราชการแผ่นดิน ตลอดจนการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ทั้งนี้สิงคโปร์ถูก จัดให้อยู่ในกลุ่มประเทศที่พัฒนาแล้วและมีรายได้ต่อหัวสูงเป็นอันดับต้นๆของโลก ดังนั้นการทาความ เข้าใจประเทศสิงคโปร์จึงเป็นประโยชน์ไม่น้อยในการเรียนรู้ โดยในที่นี้จะขอยก 3 ประเด็นที่น่าสนใจ ดังนี้ การศึกษา หน่วยงานที่กากับดูแลการศึกษาในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งสานักงานรับรอง มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(สมศ.) มักขาดความเข้าใจในการประเมินผลสัมฤทธิ์ ทางการศึกษา(Quality Assurance) ที่อิงหลัก process-oriented กล่าวคือ ผู้สอนจะถูก กาหนดให้ส่งแบบการเรียนการสอนและหลักฐานต่างๆ ที่ไม่สามารถตอบโจทย์เชิงปฏิบัติได้ ซึ่ง ส่งผลให้บัณฑิตที่จบมาแต่ละรุ่นขาดประสิทธิภาพในการทางานและไร้ซึ่งความต่อเนื่อง ในขณะ ที่สิงคโปร์เน้นผลงานตีพิมพ์วิชาการ ซึ่งงานวิจัยที่ได้รับการยอมรับในระดับนานาชาติตลอดจน การทาหน้าที่เป็นคณะกรรมการให้กับหน่วยงานภาครัฐและเอกชน โดยประยุกต์หลักบริหาร ราชการให้นักวิชาการปรับตัวและมองการณ์ไกล อีกทั้งยังมีการบริหารงานอาศัยตามกลไก การตลาดเพื่อประโยชน์ของผู้เรียนและประเทศเป็นสาคัญ ปัญหาทุจริตและระบบคุณธรรม สิงคโปร์ใช้เวลาแก้ไขปัญหาการทุจริตทุก รูปแบบทั้งในภาครัฐและภาคเอกชนเป็นเวลา ประมาณ 10 ปี หลังจากปี ค.ศ. 1980 รัฐเริ่มนารายได้ที่สะสมมาเพิ่มเงินเดือนข้าราชการและ
  • 6. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 6 ตารวจในอัตราที่สูง ซึ่งสิงคโปร์เป็นประเทศเดียวในโลกที่มีทุนสารองสะสมสูงที่สุด ด้วยเหตุนี้จึง มีที่มาว่ารากฐานการศึกษาของสิงคโปร์ได้ปลูกฝังระบบคุณธรรมกับข้าราชการจนปฏิบัติกันเป็น วัฒนธรรม ดังนั้นโอกาสที่เงินทุนสารองจะถูกนามาใช้กับนโยบายต่างๆโดยเฉพาะอย่างยิ่ง นโยบายประชานิยมจึงไม่ปรากฏ ในขณะที่ประเทศไทยค่อนข้างละเลยกับปัญหาดังกล่าว ปล่อย ให้ภาครัฐและเอกชนเกื้อหนุนกันโดยไม่ได้รับฉันทามติจากประชาชน ปล่อยให้มีจานวนเงินทุน สารองค่อนข้างต่าและหนี้เสียจานวนมาก อีกทั้งยังมีระบบการศึกษาที่บกพร่องจึงส่งผลกระทบ โดยรวมที่ยากต่อการแก้ไขและฟื้นฟู การเมืองการปกครอง แนวคิดด้านการเมืองการปกครองในสังคมสิงคโปร์ คือการปรับตัวให้ยืดหยุ่นไปกับ สภาพแวดล้อม สังคมโลกและมีวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล การเมืองการปกครองสิงคโปร์ค่อนข้างมี เอกลักษณ์พิเศษ หากดูจากประวัติศาสตร์จะพบว่าพรรค People’s Action Party ได้กุมอานาจ เบ็ดเสร็จในสภา ตั้งแต่แยกเป็นรัฐเดี่ยวจากมาเลเซีย ดังนั้น เมื่อไม่มีเสียงคัดค้านในสภาจึง จาเป็นต้องเปิดช่องว่างให้พรรคฝ่ายค้านได้แสดงบทบาทและเสนอข้อเรียกร้องจากประชาชนที่ สนับสนุนพรรคของตนไม่ว่าจะเป็นการคัดเลือกฝ่ายค้านที่แพ้เลือกตั้งแต่มีคะแนนสูงสุดเข้ามาใน สภา (Non – Constituency Member of Parliament) หรือแต่งตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฏร (Nominated Member of Parliament) ที่มาจากภาควิชาการ ตัวแทนธุรกิจเอกชน บุคคลที่ได้ การยอมรับในสังคม หรือเปิดโอกาสให้ลงเลือกตั้งเป็นกลุ่ม (Group Representation Constituency) ในแต่ละกลุ่มมีสมาชิกชาติพันธุ์ส่วนน้อย(Minorities) อย่างน้อย 2 – 3 คน ตามแต่ พรรคนั้นๆจะสรรหา และการเลือกประธานาธิบดีจากประชาชนโดยตรง (Elected Presidency) ซึ่งการเป็นประธานาธิบดีต้องมีคุณสมบัติเฉพาะ คือมีความรู้เรื่องการเงินการ คลัง ของประเทศและเป็นผู้เดียวที่สามารถอนุมัติการใช้เงินสารองในชาติได้ บทสรุป จากที่กล่าวมา จะเห็นได้ว่าประเทศสิงคโปร์เป็นประเทศที่ประสบความสาเร็จทางด้านการ ควบคุมบริหารจัดการภาครัฐอย่างมีประสิทธิภาพ ภายใต้เงื่อนไขพื้นที่และทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัด และด้วยข้อจากัดดังกล่าวนี้เอง ที่ทาให้สิงคโปร์มุ่งเน้นไปที่การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ ซึ่งเป็นทรัพยากร หลักของประเทศ ยิ่งไปกว่านั้น หลักการและแนวทางในการบริหารงานราชการโดยยึดหลักปฏิบัตินิยม โดยมุ่งเน้นไปที่แนวปฏิบัติอะไรก็ตาม ที่สามารถบรรลุผลสัมฤทธิ์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น การที่ ประเทศไทยจะรับเอาหลักคิด หลักการและแนวทาง ของประเทศที่มีการพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพเฉก เช่นสิงคโปร์มาปรับใช้กับประเทศไทย จึงเป็นเรื่องทีน่าสนใจ เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาและปฏิรูป ประเทศไทยต่อไป ********************************************************************************
  • 7. โครงการคลังปัญญาเพื่อการอภิวัตน์ประเทศไทยในยุคบูรพาภิวัตน์ สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ วิทยาลัยรัฐกิจ มหาวิทยาลัยรังสิต 7 ผู้อานวยการสถาบันคลังปัญญาฯ : ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ บรรณาธิการ: น.ส.ยุวดี คาดการณ์ไกล ถอดความและเรียบเรียง: น.ส.อนันญลักษณ์ อุทัยพิพัฒนากุล บันทึกเทปการประชุม: นาย พิพัฒพงศ์ ชูประสิทธิ์ ผู้ประสานงาน: อ.อารณีย์ วิวัฒนาภรณ์ นางพัชร์พิชา เคียงธนสมบัติ ปีที่พิมพ์: มีนาคม 2558 สานักพิมพ์: มูลนิธิสร้างสรรค์ปัญญาสาธารณะ ผู้เข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยน ศ.ดร.เอนก เหล่าธรรมทัศน์ ผศ.ดร.อรอร ภู่เจริญ ท่านสมปอง สงวนบรรพ์ รศ.ดร.จานง สรพิพัฒน์ รศ.ดร.สมศักดิ์ แต้มบุญเลิศชัย อ.ทนงศักดิ์ วิกุล ดร.ดนุวัศ สาคริก พ.ต.ท.ดร.กฤษณพงค์ พูตระกูล ร.ต.อ. จอมเดช ตรีเมฆ ร.ต.อ. ธรรมนูญ สมบูรณ์ไพศาล อ.จิระโรจน์ มะหมัดกุล คุณ ธานี สุโชดายน อ.ชาคริต เทียบเธียรรัตน์ อ.บุญส่ง ชเลธร อ.วันวิชิต บุญโปร่ง อ.อัครเดช สุภัคกุล เพิ่มเติมได้ที่ www.rsu-brain.com ที่อยู่ติดต่อ วิทยาลัยบริหารรัฐกิจและรัฐศาสตร์ 52/347 พหลโยธิน 87 ตาบลหลักหก อาเภอเมือง จังหวัดปทุมธานี 12000 โทรศัพท์ 02-997-2200 ต่อ 1283 โทรสาร 02-997-2200 ต่อ 1216 สถาบันคลังปัญญาด้านยุทธศาสตร์ฯ อาคารพร้อมพันธุ์ 1 ชั้น 4/2 637/1 ถนนลาดพร้าว เขตจตุจักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 02-930-0026 โทรสาร 02-930-0064