SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 6
ปญหาอุปสรรคในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย
การเมืองไทยถึงระยะหัวเลี้ยวหัวตอที่สําคัญยิ่งเพราะสภาพทางสังคม และเศรษฐกิจเปลี่ยนไปมากแตดู
เหมือนวาการพัฒนาระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย ยังคงมีอุปสรรคตาง ๆ โดยเฉพาะปญหาเรื่องโครงสราง
การวิเคราะหปญหาการเมือง จําเปนตองมีกรอบในการมองภาพทั้งในแงภาพรวมคือ มหภาค ( Macro-level )
และจุดเฉพาะคือ สถานการณการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม
โครงสรางในมิติมหภาค
โครงสรางสวนบน
(Super struc ture)
ประกอบดวย รัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง
การเลือกตั้ง รัฐสภา และรัฐบาล (และขาราชการ)
โครงสรางสวนกลาง
(intermediate structure)
ประกอบดวย พรรคการเมือง และกลุมผลักดัน
หรือกลุมผลประโยชนสื่อมวลชน
โครงสรางพื้นฐาน
(infrastructure)
ประกอบดวย การปกครองทองถิ่น
กรอบมหภาคที่จะใชวิเคราะหการเมืองไทยนั้นมองไดจากการแบงโครงสรางการเมืองออกเปน 3 ระดับ
คือ โครงสรางสวนบนซึ่งแบงเปนโครงสรางการเมืองการบริหาร หรือกลไกการเมืองและกลไกรัฐ อันประกอบดวย
รัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง รัฐสภา รัฐบาล (และระบบราชการ) ซึ่งกลไกการเมืองและกลไกรัฐ
ดังกลาว ทําหนาที่บริหารราชการแผนดินเพื่อคนสวนใหญ ซึ่งเปนเจาของประเทศในฐานะตัวแทนคนสวนใหญของ
ประเทศนั้น โครงสรางสวนกลางทําหนาที่เปนตังเชื่อมระหวางโครงสรางสวนบนและโครงสรางพื้นฐาน ประกอบ
ไปดวย พรรคการเมือง กลุมผลักดัน กลุมผลประโยชน และสื่อมวลชน และโครงสรางพื้นฐาน ประกอบดวยการ
ปกครองสวนทองถิ่น
ปญหาการเมืองเปนปญหาหรือความขัดแยงที่มีผลกระทบตอสาธารณะ หรือปญหาของระบบการเมืองที่
เปนอุปสรรคตอการจัดสรรแบงบันทรัพยากรและสิ่งที่มีคาทางสังคม เพื่อความคงอยูและสวัสดิภาพของสังคมโดย
สวนรวม ภารกิจของนักการเมืองในการแกไขปญหาการเมืองก็คือ การชี้ใหเห็นวาอะไรคือกิจกรรมสาธารณะหรือ
ผลประโยชนของสาธารณะอยางแทจริง และการกระตุนโนมนาวชักชวนใหประชาชนไดมีสวนรวมในกิจกรรม
89
หรือผลประโยชนดังกลาวภายใตกรอบแหงศีลธรรม ซึ่งทําใหนักการเมืองมีคุณคามากยิ่งขึ้น และนี่เองคือที่มาของ
นโยบายและการดําเนินงานขององคกรฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติในอันที่จะแกไขความขัดแยงสาธารณะ
การที่จะเขาใจวาปญหาทางการเมืองมีลักษณะอยางไร ขอสังเกตเบื้องตนคือ การทําความเขาใจถึงความ
แตกตางพื้นฐานระหวางความขัดแยงทางสังคมกับความขัดแยงสาธารณะ กลาวโดยสรุปในสถานการณปจจุบันนี้มี
ความขัดแยงทางสังคมเปนจํานวนมากที่เกิดขึ้นซึ่งอาจเปนเรื่องระหวางปจเจกชนซึ่งเปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคม
หรือระหวางกลุมตางๆ ในสังคม หากวาความขัดแยงดังกลาวนี้มีขอบเขตจํากัดทั้งในดานบุคคลที่มีสวน รวมในการ
ขัดแยงหรือเปนการปฏิบัติหนาที่จําเปนของเจาหนาที่ราชการในอันที่จะแกปญหาความขัดแยงทางสังคมได
ขยายตัวกวางขวางออกไปสูสมาชิกสังคมที่มีจํานวนมากขึ้นจนกลายเปนเรื่องสาธารณะ และเกี่ยวของกับภารกิจ
ของนักการเมืองภายใตกระบวบการทางการเมืองความขัดแยงก็จะกลายเปนปญหาทางการเมืองที่จะตองได
รับการแกไข
ตนเหตุของความขัดแยงทางสังคมที่เกิดขึ้นในประเทศตางๆ ที่มี 2 ทางคือ
1. ความแตกแตกทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะกลุมเชื้อชาติ นําไปสูความขัดแยง หรือปญหาสังคมได
ตลอดเวลา ตัวอยางเชน สหรัฐอเมริกา ประกอบดวนตนผิวขาวเปนคนสวนใหญของประเทศ และคนผิวดํา เปนชน
สวนนอย ซึ่งมีอยูประมาณรอยละ 10 ของประชากรทั้งหมด นอกนั้นเปนพวกเม็กซิกัน จีน ญี่ปุน อินเดียนแดง
ฯลฯ คนผิวขาวซึ่งเปนคนสวนใหญของประเทศ ยอมมีวัฒนธรรมที่แตกตางกับคนเชื้อชาติอื่น ประเทศที่
ประกอบดวยประชาชนหลายเชื้อชาติ ยอมมีความแตกตางทางดานประเพณี วัฒนธรรม วิถีการดําเนินชีวิตแมแต
ประเทศไทยก็มีความแตกตาง ความขัดแยงที่เกิดขึ้นจึงเกิดจากความแตกตางดานวัฒนธรรมเปนสําคัญ
2. ความแตกตางทางดานเศรษฐกิจ ในสังคมก็เปนปญหาสังคมที่สําคัญประการหนึ่งเหมือนอยางที่
อดัม สมิท (Adam Smith) ไดกลาวไวเมื่อ 200 ปมาแลววา ทุกๆสังคมมีความแตกตางของดานแรงงานในการ
ผลิตสินคาและการบริการที่จําเปนของประชาชน แมแตในสังคมพื้นฐานก็ยังมีความแตกตางทางดานเศรษฐกิจ
และความแตกตางทางดานเศรษฐกิจนี้ก็นําไปสูความแตกตางทางสังคม
ความแตกตางของสภาพการณและทัศนคติในสังคมยุคปจจุบัน ทําใหเกิดความขัดแยงสังคมและเมื่อความ
ขัดแยงทางสังคม กลายมาเปนเรื่องสาธารณะที่ผลกระทบตอประชาชนจํานวนมากก็หมายความวาความขัดแยงนั้น
ไดเขามาอยูในขอบเขตการเมืองแลว
สําหรับพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนและกลุมบุคคลภายใตสถาบันทางการเมืองในกระบวนการ
ทางการเมืองของไทยมีประเด็นตางๆ มากมาย ภายในขอบเขตทางการเมืองที่ตองการการพัฒนาไปสูระบอบ
ประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ดังนั้นการศึกษาประเด็นปญหาของการเมืองไทยที่มีรูปแบบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยที่เปนรูปแบบของตนเอง ที่ตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองระหวางทหารกับพลเรือน
มาเปนระยะยาวนาน จึงจําเปนตองหยิบยกปญหาที่เกิดขึ้นจากหนาที่ของระบบและปญหาสําคัญอื่นๆ ที่ปรากฏใน
สังคม มาพิจารณาเปนประเด็น ดังนี้
1. ปญหาอุดมการณทางการเมือง
อุดมการณทางการเมือง เปนระบบความเชื่อหรือระบบความคิดที่อธิบายถึงบทบาทของคนในสังคม
อธิบายความสําคัญของคนในสังคม คนกับรัฐ และอธิบายสภาพความเปนไปทางสังคมวาเหตุใดจึงเปนเชนนี้ และ
หนาพึงปรารถนาหรือไม ในความเห็น ความเชื้อของอุดมการณทางการเมืองนั้นมีวาอยางไร ควรมีการปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงหรือไม ถาเปลี่ยนแปลงจะมีวิธีการอยางไร และมีการวาดภาพพจนของคนในสังคมในอนาคตภายหลัง
การนําอุดมการณนั้นๆ มาใชวาจะเปนไปในทิศทางใด ดังนั้นอุดมการณจึงมีขอเรียกรองที่จะใหคนยอมรับ เชื่อมั่น
ศรัทธา เพื่อใหเกิดการรวมมือกันในกลุมชนที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังที่มุงไว
90
เราไมอาจแยกระบบการเมืองออกจากระบบสังคมไดฉันใด เราไมอาจแยกอุดมการณทางการเมืองออก
จากความเชื่อดังเดิม ประเพณีนิยมที่ไดมีการถือปฏิบัติกันมาเปนเวลาชานาน หรือความเชื่อทางศาสนาไดฉันนั้น
แมวาอุดมการณทางการเมืองจะมีเปาหมายโดยเฉพาะคือ เปาหมายทางการเมือง แตกอุดมการณทางการเมืองจะ
ไดรับการยอมรับและมีอิทธิพลมากนอยเพียงใด ในสังคมหนึ่งๆ นั้นยอมขึ้นอยูกับพื้นฐานทางสังคมดังกลาวมาแลว
ดวย
ในสังคมที่มีวิวัฒนาการอัดยืนยาว มีวัฒนธรรมซึ่งมีเอกภาพ มีประชาชนที่ไมมีความแตกตางทางดานเชื้อ
ชาติหรือภาษามากนัก มาศาสนาและระบบความเชื่อหลัก ซึ่งครอบคลุมชีวิตของคนในสังคมสวนใหญมาเปนเวลา
ชานาน และมีความตอเนื่องโดยไมถูกลมรางไป หรือถูกกระทบกระเทือนจากอํานาจภายนอก ( การตกเปนอาณา
นิคม) หรือจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางรวดเร็วและกะทันหัน สังคมประเภทนี้จะไดรับอิทธิพลจาก
วัฒนธรรมดังเดิม และระบบความเชื่อจากศาสนา จนเราเกือบแยกไมออกวาอุดมการณทางการเมืองกับอุดมการณ
ทางสังคม (ศาสนา ระบบความเชื่อทั่วๆ ไป) มีลักษณะแตกตางกันตรงไหน ความเชื่อทางศาสนาจะเขาไปแทรก
ซอนความคิดของคนที่มีตอโลกและชีวิติ และคนในสังคมอาจอธิบายสภาพการณทางเศรษฐกิจและการเมืองโดย
ความคิด ความเชื่อทางศาสนา เปนเครื่องอธิบายแทนที่จะใชความคิดทางการเมือง
สังคมไทยเปนสังคมที่มีลักษณะขางตน ซึ่งมีศาสนาเปนระบบความคิด ความเชื่อ ที่สอนคนในสังคม
เกี่ยวกับชีวิตและการดําเนินชีวิต ตลอดจนกําหนดคุณคาทางสังคมตางๆ ดังนั้นศาสนาจึงเปนที่มาของอุดมการณ
ทางการเมืองของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยกอนที่อารยธรรมและความคิดทางสังคมการเมืองของโลกตะวันตก
จะเขามาเผยแพรในเมืองไทย
ที่มาของอุดมการณทางการเมือง
1. แนวความคิดทางศาสนา
2. แนวความคิดทางการเมือง
3. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
การวิเคราะหลักษณะความขัดแยงดานอุดมการณทางการเมืองของไทย จะตองเริ่มจากการพิจารณา
ลักษณะเดนของสังคมไทย ในฐานะที่เปนสภาพแวดลอมของระบบการเมือง ลักษณะพิเศษของสังคมไทยไดแก
1. สังคมไทยเปนสังคมที่มีวิวัฒนาการมาเปนเวลานาน สถาบันหลัก เชน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีมี
ความตอเนื่อง
2. สังคมไทยเปนสังคมที่มีเอกภาพ แมจะมีความแตกตางทางดานภาษาและเชื้อชาติ
3. สังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรม
4. สังคมไทยมีการแบงชั้นทางสังคมที่ไมเครงครัด
5. พัฒนาการทางสังคมไทยเปนไปในลักษณะวิวัฒนาการมากกวาการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว รุนแรง และ
กะทันหัน
6. ระบบเศรษฐกิจไทยยังไมเปลี่ยนแปลงดานคุณภาพ มีแตการเปลี่ยนแปลงดานปริมาณและวิธีการผลิต
บางประการ
7. สังคมไทยมีความเชื่อทางศาสนา โชคลาง ไสยศาสตร สิ่งที่อยูนอกเหนือการควบคุมของมนุษย
8. สังคมไทยขาดอุดมการณทางการเมืองที่มีเปาหมาย แกรงกลัวอํานาจ
9. สังคมไทยมีสถาบันพระมหากษัตริยที่มีความสามารถในการปรับตัวสูง
จากลักษณะของสภาพแวดลอมของโลกการเมืองไทย ตลอดจนแนวความคิดไดกลายมาเปนปญหาตอการ
เมืองไทย ดังนี้
91
1.1ปญหาของความขัดแยงระหวางสภาพแวดลอมของ
ระบบการเมืองไทยกับอุดมการณทางการเมือง
ภายใตลักษณะและสภาพแวดลอมของสังคมไทย ระบบการเมืองไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการ
ปกครอง พ.ศ.2475 ไดยึดเอาอุดมการณประชาธิปไตย เปนแนวทางในการกําหนดกติการูปแบบการเมือง ดังนั้น
อุดมการณและระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยจึงถือเปนของใหม ในขณะที่พลังตกคางของความคิด ความเชื่อ
ตลอดจนพฤติกรรมแบบดังเดิมดังคงมีความสําคัญอยูและเปนเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหอุดมการณประชาธิปไตย
ไมสามารถฝงรากในสังคมไทยได
1.2ปญหาความขัดแยงระหวางอุดมการณประชาธิปไตยกับอุดมการณคอมมิวนิสต
อุดมการณประชาธิปไตยและอุดมการณคอมมิวนิสตไดเผยแพรเขามาสูตั้งแตกอนการเปลี่ยนแปลง
พ.ศ. 2475 ความขัดแยงระหวางอุดมการณทั้งสองไดปรากฏชัดเจนมาขึ้นภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ได
มีนิสิต นักศึกษา ปญญาชน กรรมกร และชาวนาที่เริ่มสูญเสียศรัทธาและหมดหวังตอระบบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตย เริ่มหันไปสูอุดมการณคอมมิวนิสตในฐานะที่เปนทางเลือกใหม เหตุที่เปนเชนนี้ก็เพราะปจจัยหลาย
ประการ คือ
1. ระบบการปกครอง มีลักษณะผูขาดอยูกับคนกลุมนอยที่มีอํานาจทั้งการเมือง และเศรษฐกิจ
2. ระบบการเมืองขาดวัฒนธรรม รัฐบาลที่คุมอํานาจปฏิเสธการใหสิทธิเสริภาพทางการเมืองที่สมบรูณ
3. ระบบการเมืองแบบรวมอํานาจไวที่ศูนยกลางภายใตคณะผูนําที่ตักตวงผลประโยชน
4. ระบบเศรษฐกิจแบบนายทุนเสรีนิยม มือใครยาวสาวไดสาวเอา เพื่อประโยชนคนกลุมนอย
5. การขยายตัวของเมืองหลวง และเมืองใหญในอัตราที่รวดเร็ว ทําใหเกิดการไหลบาของแรงงานจาก
ชนบทเขาเมือง
6. การเสื่อมโทรมของสถาบันทางศาสนา
7. ระบบความเชื่อดั่งเดิม คานิยมของสังคมไทยถูกทาทายดวยความคิดที่เปนวิทยาศาสตรมีเหตุผล
8. การขยายอิทธิพลของอเมริกาและสงครามอินโดจีน จนประเทศไทยเขาไปเกี่ยวของสัมพันธจนมี
ฐานทัพอเมริกันในประเทศไทย
สภาพการเหลานี้ มีผลทําใหประชาธิปไตยตองเผชิญกับการทาทายจากอุดมการณคอมมิวนิสตอยางทั่ว
ดาน จุดออนที่สําคัญที่สุดของอุดมการณประชาธิปไตย ไดแก รูปธรรมของอุดมการณ คือ ระบบการเมืองนั้นมิไดมี
ลักษณะเปนประชาธิปไตยอยางแทจริง ดังนั้น อุดมการณคอมมิวนิสตจึงทาทายอุดมการณประชาธิปไตย ทั้งใน
ดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง
1.3 ปญหาความขัดแยงทางความคิดระหวางทหารกับพลเรือน
ความขัดแยงทางความคิดระหวางทหารกับพลเรือน ในที่นี้หมายถึงความขัดแยงทางความคิดเกี่ยวกับ
การเมืองและสถาบัน ตลอดจนกระบวบการทางการเมืองแบบประชาธิปไตย การขัดแยงทางความคิดนี้ เริ่มแตที่ได
มีการเปลี่ยนแปลงทางกรเมือง พ.ศ. 2575 เปนตนมาก การเขาแทรกแซงทางการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร
โดยคณะทหาร การที่ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญถึง 16 ฉบับ มีการปฏิวัติรัฐประหารที่สําเร็จ 9 ครั้ง และที่ไมสําเร็จ
7 ครั้ง เปนการสะทอนใหเห็นถึงความขัดแยงทางความคิดที่มีอยูในหมูทหารที่เปนผูคุมกําลังอาวุธที่สามารถ
นํามาใชในการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองกับนักการเมืองและกลุมพลังทางการเมืองนอกวงหารทหาร ซึ่งในที่นี้เรียก
รวมกันไปวา พลเรือน โดยจะจํากัดอยูเฉพาะฝายพลเรือนที่ยึดถืออุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตยที่ให
ความ
92
สําคัญดานอํานาจแกพรรคการเมือง และสภาผูแทนราษฎรเปนสําคัญ
ความขัดแยงระหวางทหารกับพลเรือนเกี่ยวกับการเมือง สถาบัน และกระบวนการทางการเมืองแบบ
ประชาธิปไตยนั้น มีเหตุมาจากปจจัยหลายประการที่สําคัญ ไดแก ลักษณะของอาชีพทหาร องคกรทหาร
การกลอมเกลาทางสังคมใหมีการยึดถือคุณคาที่อาจขัดแยงกับคุณคาทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย
โดยเฉพาะอยางยิ่ง สภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การที่ระบอบประชาธิปไตยยัง
อยูในขั้นเริ่มตน และขาดเสถียรภาพ เปนตน
ทหารมีระบบคานิยมเกี่ยวกับ “ คุณธรรมทางทหาร” ที่ไดรับการถายทอดปลูกฝงใหยึดถือรวมกันเปน
อุดมคติของวิชาชีพ คุณธรรมเหลานี้ ไดแก การรักชาติ การหวงแหนมาตุภูมิ ความกลาหาญ การรักเกียรติศักดิ์
ความมีระเบียบวินัย ความสามัคคี การมีประสิทธิภาพในการทํางาน การเคารพเชื่อฟงคําสั่งผูบังคับบัญชา และการ
เสียสละความสุขสวนตัวเพื่อสวนรวม เปนตน
โดยที่คณะทหารมีหนาที่ในการปองกันประเทศ คณะทหารจึงมีเปนหมายที่ตองการสรางเสถียรภาพ และ
ความมั่นคงในสังคมใหมีมากที่สุดเทาที่จะทําได ในสังคมที่มีระบบการเมืองยังไมเขมแข็งสถาบันหลักๆ ทาง
การเมือง เชน พรรคการเมืองยังขาดความเขมแข็ง และตองตกอยูในสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ
เศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ซึ่งในหลายกรณี พลังของการเปลี่ยนแปลงนี้อยูนอกเหนือการควบคุม ( เชน การ
เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจโลก เปนตน ) ความสามรถในสถาบันการเมืองในการแกไข
ปญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว จึงไมสูงนักเปนเหตุใหเกิดการขาดเสถียรภาพทางการเมือง ดังนั้น
สถาบันและกระบวบการทางการเมืองแบบประชาธิปไตย จึงถูกมองวา กอใหเกิดความไมมั่นคงและความวุนวาย
การเมืองที่เนนความสําคัญของกลุมพลังและเปดโอกาสใหกลุมพลังสามารถเคลื่อนไหวได จึงเปนกิจกรรมที่ทหาร
โดยทั่วไปไมนิยมที่จะใหความสนับสนุน ดังจะเห็นไดวาผูนําทหารที่เขาไปดํารงตําแหนงทางการเมืองมักจะปฏิเสธ
วาตนมิใชนักการเมืองและแมวาผูนําทหารในระยะหลังๆ จะกลาวสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยมาขึ้น แตก็ยังมี
เงื่อนไขที่ตองการใหประชาธิปไตยนั้นมีลักษณะที่มีความเปนระเบียบเรียบรอย มีความขัดแยงระหวากลุมตางๆ
นอยและไมนิยมใหกลุมพลังมีการเคลื่อนไหวทางการเมืองมากนัก
อยางไรก็ดี ความคิดทางการเมืองของทหารกับพลเรือนนับตั้งแต พ.ศ. 2523 เปนตนมาไดเปลี่ยนแปลงใน
ลักษณะที่ทั้งสองฝายมีความเห็นพองตองกันมากขึ้นในความจําเปนที่จะตองรักษา ระบบกึ่งประชาธิปไตยนี้ไว
2. ปญหาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เปนสวนสําคัญของกระบวนการทางการเมืองในระบบการเมือง
สมัยใหม และไมควรจํากัดอยูแตการมีสวนรวมที่เปนการสมัครใจและถูกกฎหมาย อยางที่ ไมรอน ไวเนอร (
Myron Weiner ) ไดใหคํานิยามไว แตการมีสวนรวมทางการเมืองควรมีความหมายกวางกวาการมีสวนรวม
ทางการเมืองนั้น ควรหมายถึงกิจกรรมของประชาชนที่มีจุดประสงคจะมีอิทธิพลเหนือการตัดสินใจของรัฐบาล ใน
ความหมายนี้ การมีสวนรวมทางการเมืองจะทั่งที่ถูกตองตามกฎหมาย และสวนที่ผิกฎหมาย มีทั้งวิธีการที่สันติ
และวิธีการใชกําลังรุนแรง เปนทั้งแบบสมัครใจหรือแบบถูกระดมจากผูนําหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด แตการมีสวน
รวมทางการเมืองนั้นมีขอบเขตเฉพาะกรมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน หรือกลุมประชาชนเทานั้น ไม
รวมถึงบทบาททางการเมืองของผูนําหรือของนักการเมือง ซึ่งถือวาเปนบทบาทของผูที่มี “ อาชีพทางการเมือง”
การมีสวนรวมทางการเมืองในความหมายนี้ ที่เห็นไดชัดก็คือ การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของประชาชน
การเขารวมในการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง การชุมนุมประทวง หรือการนัดหยุดงานเพื่อผลทางการเมือง สวนการมี
สวนรวมทางการเมืองที่ผิดกฎหมายหรือการใชกําลังรุนแรงนั้นไดแก การกอการจลาจล การกอการราย เปนตน
สาเหตุของปญหาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
93
2.1 สาเหตุจากวัฒนธรรมทางการเมืองและการศึกษา
วัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทย เปนปจจัยที่ทําใหการมีสวนรวมทางการเมืองของคนไทยอยูใน
ระดับต่ํา เนื่องจากประชาชนโดยทั่วไปมีความเชื่อวา การเมืองหรือการบริหารประเทศเปนเรื่องของกลุมนอยบาง
กลุมเทานั้น ทั้งยังมองออกไปอีกวา การเมืองเปนเรื่องของผลประโยชน เปนเรื่องสกปรก มีการยอมรับในอํานาจ
นิยม ยอมรับในเรื่องของบทบาทและอํานาจของขาราชการ วัฒนธรรมทางการเมืองสามารถปลูกฝงไดโดยผา
การศึกษาอบรมแมวาการศึกษาจะชวยทําใหคนมีสํานึกทางการเมืองมีความมั่นใจในความสามารถทางการเมือง
ของคนมากขึ้นก็ตาม แตการศึกษายังมีวิธีการเสริมสรางหรือถายทอดวัฒนธรรมจากคนรุนหนึ่งมาสูอีกรุนหนึ่ง
การศึกษาของคนไทยนั้นตั้งแตประถม มัธยมและมหาวิทยาลัยมีแนวโนมปลูกฝงเรื่องของอํานาจนิยมมากกวา
ประชาธิปไตย
2.2 สาเหตุมาจากบทบาทพรรคการเมือง
ปญหาที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การขาดซึ่งองคการหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุนใหประชาชนมี
ความตื่นตัวทางการเมืองและจัดการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนใหเปนกลุม เปนกอน มีน้ําหนักและมี
ระเบียบ สถาบันทางการเมืองที่สําคัญ คือ พรรคการเมือง ปจจุบันนี้พรรคการเมืองยังเปนองคการที่ออนแอและ
ขาดการเปนสถาบัน (Institutationization)
ถาพิจารณาจากลักษณะของระบบพรรคที่ขาดความเปนสถาบันแลว ปญหาที่สําคัญที่สุดของพรรคการ
เมืองไทย คือ การขาดองคกรที่ซับซอนพอที่จะเผชิญกับความรับผิดชอบที่เพิ่ม ขึ้นมาอยางรวดเร็วได พรรคการ
เมืองไทยจะตั้งขึ้นเพื่อการรวมตัวของบรรดาสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพื่อสนับสนุนผูนําทางการเมืองคนใดคนหนึ่ง
การสนับสนุนผูนําทางการเมืองนั้นๆ มักเปนเพราะมีความรูจักชอบพอกันเปนการสวนตัว หรือไมก็เปนเรื่องหวัง
ผลประโยชนทาการเมืองเปนสําคัญ เชน ไดรับการแตงตั้งเปนรัฐมนตรี เปนเลขานุการรัฐมนตรี หรือตําแหนงทาง
การเมืองอื่นๆ และถาสมาชิกพรรคสําคัญๆ ไมไดรับการจัดสรรอยางทั่วถึง บรรดาสมาชิกที่ไมไดรับประโยชนอาจ
แยกตัวออกไป ตั้งพรรคใหมเพื่อสนับสนุนคนอื่น นอกจากนี้ถาผูนําพรรคหมดอํานาจทางการเมือง พรรคมักถูกยุบ
หรือแตกสลายไปดวย
ในชวงระหวางป พ.ศ. 2518 และ 2519 หรือแมในชวงป พ.ศ. 2538-2540 ซึ่งเปนชางที่พรรคการเมืองมี
บทบาทสูงนั้น เพราะไมสามารถพัฒนาองคกรของตนใหมีความสลับซับซอนพอที่จะเผชิญกับความรับผิดชอบที่
เพิ่มขึ้นอยางมากเชนกัน ผูนําพรรคประชาธิปตย ชาติไทย ความหวังใหม ชาติพัฒนา และแมแตไทยรักไทย ใน
ปจจุบันตางยอมรับวา ทุกพรรคมีสาขานอยมาก ทั้งที่สาขาพรรคมีความสําคัญอยางมากในการเชื่อมโยงกับ
ประชาชนในเขตเลือกตั้ง และยังหาสมาชิกเขามาเพื่อสรางฐานสนับสนุนทุกไดโดยตรง
นอกจากนี้การบริหารงานภายในพรรคการเมืองยังขาดหนวยงานที่ทํางานที่มีประสิทธิภาพ การแตกแยก
กันภายในพรรคทําใหพรรคการเมืองขาดความเปนสถาบัน อีกทั้งยังไมสามารถสรางฐานมวลชนไดอยางมี
ประสิทธิภาพ พรรคยังตองใชความสัมพันธสวนตังของบรรดา ส.ส. เพื่อสรางความสัมพันธกับมวลชน ประชาชน
เองยังคงเลือกผูสมัครโดยคํานึงถึงคุณลักษณะสวนตัวของผูสมัครมากวาชื่อเสียงของพรรค ดังนั้น ยังตองใชเวลาอีก
นานกวาที่พรรคจะสามารถพัฒนาฐานสนับสนุนจากมวลชนไดอยางแนนแฟน ซึ่งลักษณะของพรรคการเมืองเชนนี้
ยังไมมีความขัดแยงพอเพียงที่จะกระตุนหรือสงเสริมการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนใหขยายตัว
กวางขวาง และมีความหมายทางการเมืองอยางแทจริง
2.3 สาเหตุจากสภาพแวดลอมทางการเมือง
94
สภาพแวดลอมทางการเมือง เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ไมไดรับการสนับสนุนการมีสวนรวมทาง
การเมืองของประชาชนใหกวางขวาง สภาพทางการเมืองเชนนี้ คือ สภาพที่มีการตอสูกันระหวางผูนํากลุมที่มี
ความเห็นทางการเมืองแตกตางกัน ผูนําพลเรือนซึ่งตองการขยายการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เพราะ
นั่นคือ ฐานอํานาจทางการเมืองของตน กับผูนําทหารซึ่งไมนิยมใหมีการขยายตัวทางการเมืองของประชาชน
เนื่องจากผูนําทางทหารเปนกลุมที่มีอํานาจทางการเมือง และครอบงําทางการเมืองไดมากกวาผูนําพลเรือน
สภาพความขัดแยงเชนนี้ยอมเปนอุปสรรคที่สําคัญประการหนึ่งตอการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการ
เมือง ทั้งนี้ เนื่องจากยังมีผูนําบางกลุมมีทัศนคติที่ไมเห็นดวยกับการขยายการมีสวนรวมทางการเมือง และถากลุมนี้
มีอํานาจทางการเมืองมากขึ้น การมีสวนรวมทางการเมืองอาจถูกกดดันใหลดนอยลง หรือแปรเปลี่ยนสภาพการ
จากการมีสวนรวมแบบเสรีหรือสมัครใจมาเปนการมีสวนรวมทางการเมืองแบบระดม ทั้งนี้เนื่องจากในปจจุบันทาง
ฝายบริหารไดจัดตั้งองคกรมวลชนตางๆ ขั้นทั้งในเขตชนบทและในเมือง ตลอดจนนพยายามออกมาชวยเหลือและ
พัฒนางานและบุคคลในสังคมมมากขึ้น เชน ไทยอาสาปองกันชาติ กองทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ และฟนฟู
สภาพนักโทษและผูที่เสพยาเสพติด ฯลฯ ดังนั้นถาผูนําทหารเห็นวา การสนับสนุนของมวลชนมีความจําเปนตอการ
เสริมสรางอํานาจทางการเมืองของตนใหมีความเขมแข็งแลวอาจจําตองระดมพลังมวลชนเหลานี้ใหเขามาสนับสนุน
ตนอันจะทําใหการมีสวนรวมทางการเมืองกลายเปนแบบการระดมไดในที่สุด
3. ปญหาการใชรัฐธรรมนูญในประเทศไทย
การใชรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศจะดําเนินไปอยางราบรื่นและชวยใหเกิดความเรียบรอย
ในการปกครอง รวมทั้งสามารถชวยแกปญหาความขัดแยงทางการเมืองการปกครองไดตามวิถีทางประชาธิปไตย
ถากลุมกดดันหรือกลุมผลประโยชนตางๆ ยอมรันในกติกาและเจตนารมณที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญนั้น ในทาง
กลับกันรัฐธรรมนูญจะไมสามารถชวยแกปญหาความขัดแยงทางการเมืองการปกครองได ถาหากวากลุมกดดันหรือ
กลุมผลประโยชนพยายามแสดงอิทธิพลทางการเมืองของตนนอกกรอบกติกาที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญที่ขัดขวาง
การใช หรือแสดงอํานาจทางการเมืองของตน
ปญหาหลักๆ ที่เกิดขึ้นจากการใชรัฐธรรมนูญ คือ
1.ปญหาเกี่ยวกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญไทย
รัฐธรรมนูญทุกฉบับยอมแสดงถึงเจตนารมณของผูสรางรัฐธรรมนูญวา ตองการใหรัฐธรรมนูญฉบับนั้นเปน
กฎหมายสําคัญสนองประโยชนทางการเมืองของกลุมผูทรงอํานาจหรือของมหาชนรัฐธรรมนูญไทยที่ประกาศใหใช
เปนหลักในการปกครองประเทศทั้ง 18 ฉบับนั้น แสดงถึงเจตนารมณของผูยกรางแตกตางกัน ซึ่งแยกไดเปน 3
ประการคือ
1. เพื่อสนองประโยชนของคณะปฏิวัติรัฐประหารหรือเพื่อคณาธิปไตย
2. เพื่อสนองประโยชนของมหาชนหรือเพื่อประชาธิปไตย
3. เพื่อสนองประโยชนของคณะปฏิวัติรัฐประหารไวชั่วขณะระยะเวลาหนึ่งกอนที่จะมีการถายทอด
อํานาจทางการเมืองใหแกประชาชนอยางเต็มที่ หรือเพื่อประชาธิปไตยครึ่งใบ
ดังนั้น ปญหาจึงอาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ไมสอดคลองกับเจตนารมณของรัฐธรรมที่ใชบังคับอยู
ในชวงเวลาหนึ่งซึ่งจะยังผลใหเกิดวิกฤติการณทางรัฐธรรมนูญหรือความขัดแยงทางการเมืองติดตามมา
2. ปญหาการขัดกันระหวางหลักการของรัฐธรรมนูญ
95
สภาพความเปนจริงทางการเมืองไทย
หลักรัฐธรรมนูญที่กลุมการเมืองตกลงนํามาใชเปนหลักการในการปกครองในหวงเวลาหนึ่งๆ มักจะเปนผลของการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่วานี้มักจะเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลง
ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นมากอนแลว ซึ่งอาจกลาวไดวาหลักรัฐธรรมนูญที่นํามาใชเปนหลักในการปกครอง
ในหวงเวลาหนึ่งๆ นั้นจะตองสอดคลองกับสภาพความเปนจริงทางการเมืองที่ดํารงอยูในขณะนั้น จึงจะใชไดอยาง
ราบรื่น และดํารงอยูไดอยางมั่นคง
สําหรับประเทศไทยนําเอาหลักรัฐสภา มีอํานาจสูสุดหรือการปกครอง “ระบบรัฐสภา” มาบัญญัติไวใน
รัฐธรรมนูญไทยและปรากฏวาไมสามารถจะดําเนินการปกครองใหเปนไปตามหลักการดังกลาวเปนผลดี ทั้งนี้เพราะ
สาเหตุสําคัญดังตอไปนี้
1. หลักการของระบบรัฐสภาที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญของไทยทุกๆ ฉบับไมสอดคลองกับสภาพความเปน
จริงทางการเมืองของไทย ผูยกรางรัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับตางรูดีวาการเมืองไทยยังไมมีระบบพรรคการเมืองที่จะ
ทําหนาที่เปนกลใหระบบรัฐสภาดําเนินไปไดจึงพยายามสรางกลไกพิเศษขึ้นมา เพื่อชวยใหหลักระบบของรัฐสภา
ดังกลาวดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลไกพิเศษที่วานี้ปรากฏในรูปตางๆ ดังนี้
1. กําหนดใหมีสมาชิกสภาผูแทนประเภทที่ 2 ที่มาจากการแตงตั้งโดยฝายบริหารเพื่อทําหนาที่เปน
พรรค สนับสนุนรัฐบาลอยูในสภาผูแทนราษฎร
2. กําหนดใหมีสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยฝายบริหาร เพื่อทําหนาที่เปนพรรค
สนับสุนน รัฐบาล ในที่ประชุมรวมของสมาชิกรัฐสภา
3. กําหนอใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตองสังกัดพรรคการเมือง และอยูในวินัยของพรรคการเมือง
ตลอดอายุของสภาผูแทนราษฎรนั้น
2. หลักการของระบบรัฐสภาในรัฐธรรมนูญบางฉบับขัดขวางความทะเยอทะยานทางการเมืองของผูนํา
ฝายทหารของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งหลักการของระบบรัฐสภาที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย 3 ฉบับ
คือ พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2492 และพ.ศ. 2517 รวมไปถึงฉบับปจจุบัน 2550 ซึ่งมีบทบัญญัติหามขาราชการประจํา
ดํารงตําแหนงรัฐมนตรี ในขณะเดียวกัน ซึ่งเปนหลักการที่สอดคลองกับหลักประชาธิปไตยสากล ทําใหผูนําฝาย
ทหารไมพอใจอยางมากที่ถูกกีดกันไมใหดํารงตําแหนงสูงในวงการบริหารดวยควบคูไปกับตําแหนงทางทหาร ดังนั้น
เมื่อมีโอกาสอํานวยผูนําฝายทหารจําทําการลมลางรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ยังผลใหรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยทั้ง
3 ฉบับ ตองลมเลิกไป
3. ปญหาการพิทักษรัฐธรรมนูญไทย
การใชรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองของประเทศนั้นจะดําเนินไปดวยความเรียบรอยไดก็ตอเมื่อ
รัฐธรรมนูญไดรับการพิทักษรัฐธรรมนูญไวในตัวรัฐธรรมนูญอยางชัดเจน เชน รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กําหนดให
ประธานาธิบดีมีหนาที่พิทักษรัฐธรรมนูญ สําหรับประเทศไทยกําหนดวิธีการพิทักษรัฐธรรมนูญไว 2 ประการคือ
1. กําหนดใหตุลาการรัฐธรรมนูญ เปนผูชีขาดกฎหมายที่ขัดแยงกับรัฐธรรมนูญใหเปนโมฆะใชบังคับมิได
2. กําหนดใหประชาชนมีหนาที่พิทักษการปกครองตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ การที่รัฐธรรมนูญ
กําหนดใหประชาชนมีหนาที่พิทักษรัฐธรรมนูญนั้นเปนมาตรการที่มีปญหาอยูมาก และตามที่ปรากฏนั้นประชาชน
ไมเคยทําหนาที่พิทักษรัฐธรรมนูญใหพนจากการถูกลมเลิกโดยการปฏิวัติรัฐประหารเลยทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุ 2
ประการ คือ
1. รัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับมิไดเกิดมาจากความตองการและไมไดเคยรับความเห็นชอบของคน
ไทยสวนใหญเลย
96
2. รัฐธรรมนูญไมไดชวยแกไขปญหาเศรษฐกิจและสังคม อันเปนปญหาเฉพาะหนาของคนไทยสวน
ใหญ
จึงอาจกลาวไดวา ปญหาการพิทักษรัฐธรรมนูญจะหมดไป ถาตัวรัฐธรรมนูญเองเปนพลังทางการเมืองที่
เขมแข็ง อันหมายถึงวา ตัวรัฐธรรมนูญนั้นสามารถใหประโยชนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม อยางเปนที่
พอใจแกกลุมพลังประชาชนตางๆ อยางแจงชัด ยอมจะทําใหกลุมพลังประชาชนตางๆ นั้น คอยพิทักษรัฐธรรมนูญ
นั้นไวตลอดเวลา
4. ปญหาการถายทอดอํานาจทางการเมือง
การถายทอดอํานาจทางการเมือง หมายถึง การที่มนุษยหรือประชาชนซึ่งมารวมกันอยูเปนหมูเหลาและ
กลายสภาพมาเปนสังคม ไดมอบหมายใหองคกรทางการเมือง หรือผูปกครองหรือรัฐบาลดําเนินการปกครองและ
รักษาระเบียบความสงบเรียบรอยของสังคมไว สวนลักษณะของการถายทอดอํานาจทางการเมืองนั้นอาจตั้งอยูบน
รากความยินยอมของผูใตการปกครอง หรือเปนการใชกําลังบังคับผูอยูใตการปกครองก็ไดคณะบุคคลหรือองคกร
ทางการเมืองที่ผลัดเปลี่ยนเขามาใชอํานาจทางการเมืองแทนประชาชนนี้อาจจะเปนไปโดยสันติวิธี หรือรุนแรงก็ได
ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับระบบการเมืองในขณะนั้น
การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบ
ประชาธิปไตย อาจกลาวไดวา สวนหนนึ่งเปนปญหาของการเขาสวนรวมในการปกครองประเทศในฐานะที่
ประชาชนเปนเจาของอํานาจทางการเมือง และปญหาความชอบธรรมในการครองอํานาจทางการเมืองและปญหา
ความชอบธรรมในครองอํานาจทางการเมืองของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย แมวาคณะราษฎรจะมีเปาหมายที่
ทําใหประเทศเปนประชาธิปไตยแบบตะวันตก เพื่อขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมามีสวนรวมในการ
ปกครองประเทศ แตความเปนจริงแลวมีเพียงคณะบุคคลเพียงกลุมนอยที่อยูในระบบราชการเทานั้นที่ผลัดเปลี่ยน
กันเขามาครองอํานาจทางการเมืองโดยเฉพาะขาราชการฝายทหารอํานาจทางการเมืองที่แทจริงหาไดตกสู
ประชาชนไม
ลักษณะการถายทอดอํานาจทางการเมือง เปนการถายทอดอํานาจโดยการเปลี่ยนแลงการปกครองโดย
คณะราษฎรที่มีตอองคพระมหากษัตริยและอํานาจทางการเมืองไดผลัดเปลี่ยนอยูเฉพาะในหมูสมาชิกชั้นนําของ
คณะราษฎร และตอมามีอํานาจทางการเมืองก็ถูกแยงชิงโดยหมูผูนําของระบบราชการโดยเฉพาะขาราชการฝาย
ทหาร ซึ่งมีกําลังอาวุธเปนฐานอํานาจสนับสนุนพิจารณาปฏิกิริยาของประชาชนโดยทั่วไปที่มีตออํานาจของทหาร ดู
ไดจากการแสดงบทบาทของกลุมผลประโยชนและกลุมอิทธิพลตาง ๆ ในการสรางอิทธิพลตอการตัดสินใจใน
นโยบายตางๆ ของรัฐบาล ในระยะแรกเริ่มนับตั้งแตป พ.ศ. 2500 เปนตนมา กลุมผลประโยชนของไทยเกิดขึ้นนอย
มาก และมีพลังออนแอ แตผลมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติมาใชตั้งแตสมัยสฤษดิ์ ธนะรัชตเปน
ตนมา ไดสรางความเติบโตแกกลุมผลประโยชนและกลุมอิทธิพลตางๆ เปนจํานวนมาก เชน กลุมพอคา นักธุรกิจ
กลุมนักศึกษา กลุมกรรมกร ฯลฯ ซึ่งกลุมเหลานี้พยายามหาทางเขามามีบทบาททางการเมืองมากขึ้นทั้งในรูปพรรค
การเมืองสมาคม และกลุมจัดตั้ง ซึ่งนํามาสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2519 จนในที่สุดเหตุการณ “พฤษภาทมิฬ”
พ.ศ. 2535 ทําใหบทบาทของขาราชการทางการเมืองโดยเฉพาะทหารเริ่มลดนอยลงตามลําดับ
5. ปญหาการดําเนินงานฝายนิติบัญญัติ
ปญหาหลักของฝายนิติบัญญัติของไทยในปจจุบันอาจแบงได 3 ดานใหญ ๆ คือ ปญหาดานโครงสรางและ
ความเปนสถาบันของฝายนิติบัญญัติ ปญหาดานกระบวนการดําเนินการงานของฝายนิติบัญญัติและปญหาดาน
พฤติกรรมของฝายนิติบัญญัติ ดังจะไดอธิบายโดยลําดับ ดังนี้
97
5.1. ปญหาดานโครงสรางและความเปนสถาบันของฝายนิติบัญญัติ
ปญหาดานนี้เปนผลเนื่องมาจากวิวัฒนาการทางการเมืองของไทย ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงกติกาการเมืองการ
ปกครองอยูเปนระยะ ๆ ดังจะเห็นไดวาประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญถึง 18 ฉบับ รัฐธรรมนูญแตละฉบับมีผลใหเกิด
การเปลี่ยนแปลงทางดานสถาบันการเมือง และความสัมพันธระหวางสถาบันทางการเมือง (โดยเฉพาะฝายนิติ
บัญญัติกับฝายบริหาร) อยูเสมอ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลใหโครงสรางของฝายนิติบัญญัติไมสามารถมีรากฐาน
ที่แนนอนและไมอาจพัฒนา โครงสรางนั้นใหอยูในลักษณะที่มีการแบงแยกแจกแจงออกเปนสวนยอยใหมีการ
ปฏิบัติหนาที่ที่เฉพาะเจาะจงลงไปได เพิ่งจะมีรูปแบบที่เปนการแบงแยกอํานาจกับฝายบริหารในรัฐธรรมนูญ พ.ศ.
2550 อันจะเปนการพัฒนาความเปนสถาบันนิติบัญญัติตอไป
โครงสรางทางการเมืองของฝายนิติบัญญัติของฝายที่มีการพัฒนาและมีความสลับซับซอน ตั้งแตการให
ขอมูลขาวสาร การแสดงออกซึ่งผลประโยชน รวบรวมผลประโยชน การหวานลอมชักจูงใหสมาชิกฝายนิติบัญญัติ
ตัดสินใจในนโยบายที่จะเปนประโยชนกับฝายตน ที่เรียกวา “การลอบบี้”(Lobby) ตลอดจนการประเมินผลของ
การปฏิบัติหนาที่ของฝายนิติบัญญัติอีกดวย
แตสําหรับระบอบการเมืองไทยนั้น ฝายนิติบัญญัติเปนโครงสรางทางการเมืองที่มีลักษณะอยูคอนขางโดด
เดี่ยวและความสัมพันธระหวางผูแทนราษฎร ในแงของการเปนโครงสรางของการตัดสินใจทางการเมืองกับ
โครงสรางยอยทางการเมืองอื่นๆ ยังมีไมมากนัก กอนหนาการเลือกตั้ง พ.ศ. 2526 ซึ่งในขณะนั้นรัฐธรรมนูญมิได
บังคับใหผูสมัครเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตองสังกัดพรรคการเมืองพรรคการเมืองจึงมีบทบาทนอยมากสําหรับ
การปฏิบัติการทางการเมืองภายในสภา สายสัมพันธระหวางพรรคการเมืองกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจึงไม
เดนชัดและไมแนนแฟนเหมือนที่เปนปจจุบัน
สําหรับปญหาดานความเปนสถาบันนั้น สวนหนึ่งมาจากปญหาโครงสรางที่ไดกลาวมาแลวที่ควรกลาว
เพิ่มเติมก็คือ การขาดความตอเนื่องของ สถาบันฝายนิติบัญญัติ ทําใหฝายนิติบัญญัติมีโอกาสนอยในการพัฒนาให
เปนสถาบันที่มีประสิทธิภาพและไดรับการยอมรับวา เปนสวนที่ขาดเสียมิไดสําหรับระบอบประชาธิปไตย ความ
เปนสถาบันของโครงสรางทางการเมืองขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการไมเฉพาะแตมีการแบงแยกแจกแจงโครงสราง
ที่สลับซับซอน และการมีอิสระในการดําเนินงานเทานั้น แตยังขึ้นอยูกับความสามารถที่จะแสดงใหปรากฏดวยวา
การคงอยูของโครงสรางทางการเมือง เปนสิ่งสําคัญในการชวยแกไขปญหาสําคัญของสังคมการเมือง และมี
ประโยชนตอประชาชนโดยสวนรวมอีกดวยสาเหตุสําคัญ ไดแก การเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนกติกาหลักของ
ระบอบประชาธิปไตยบอยครั้งทําใหสถาบันฝายนิติบัญญัติขาดความตอเนื่อง และขาดความสัมพันธกับสถาบันทาง
การเมืองอื่นๆที่ควรจะเปนฐานสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝายนิติบัญญัติ จึงเปนเหตุใหขาดความแข็งแกรง และ
ยังไมมีโอกาสพิสูจนถึงคุณประโยชนของฝายนิติบัญญัติใหปรากฏอยางชัดเจนผลประโยชนสวนตัวโดยอาศัยอํานาจ
ทางการเมือง การขาดความเอาใจใสในการปฏิบัติหนาที่ การขาดความกระตือรือรนในการแสวงหาขอมูลและ
ความรูใหมๆที่เปนประโยชนตอการทํางาน การเสนอรางกฎหมายที่มีลักษณะคับแคบไมคํานึงถึงนโยบายในดาน
กวางปญหาดานพฤติกรรมของฝายนิติบัญญัติ จึงมีลักษณะสองดาน คือ ดานหนึ่งเปนปญหาดานพฤติกรรมของ
ฝายนิติบัญญัติ ซึ่งขึ้นอยูกับการประเมินบทบาทและพฤติกรรมของฝายนิติบัญญัติ โดยกลุมพลังทางการเมือง
อื่นๆตลอดจนประชาชนผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งดวย การประเมินดังกลาวมีผลโดยตรงตอความชอบธรรม และ
ความเปนสถาบันของฝายนิติบัญญัติ เพราะถาประเมินไปในทางลบ ฐานะของฝายนิติบัญญัติก็จะออนแอและงาย
ตอการการถูกจํากัดบทบาทสวนอีกลักษณะหนึ่งเปนเรื่องพฤติกรรมสวนบุคคลในแงของการปฏิบัติงานทั้งภายใน
และนอกสภา ตลอดจนกลายเปนผูมีอิทธิพลทางการเมืองในระดับทองถิ่นอีกดวย
ปญหาการดําเนินงานของฝายนิติบัญญัติ เปนปญหาที่สัมพันธกับปญหาการพัฒนาทางการเมืองอยาง
แยกกันไมออกแมวาโลกปจจัยนี้เราไมอาจหวังที่จะใหฝายนิติบัญญัติสามารถมีอํานาจมากที่สุดตามหลัก
98
ประชาธิปไตยดังเดิมไดก็ตามแตการพัฒนาทางการเมืองที่จะเรียกไดวามีความเปนประชาธิปไตยมากขึ้นก็มี
เครื่องบงชี้อยูของฝายนิติบัญญัติในการถวงดุล เหนี่ยวรั้งการใชอํานาจของฝายบริหารมิใหมีการใชอํานาจเกิน
ขอบเขตไปในทางที่อันตรายตอสิทธิและเสรีภาพและชีวิตความเปนอยูของประชาชน
6. ปญหาการดําเนินงานของฝายบริหาร
ในการปกครองประเทศมีการบริหารอยู 2 ระดับ คือ ระดับบนเปนอํานาจเกี่ยวกับการกําหนดนโยบาย
ระดับลางเปนอํานาจดําเนินนโยบาย พลตรีกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ทรงอธิบายวา
“อํานาจการปกครองในการรักษาการใหเปนไปตามกฎหมายมีอยูสองระดับคือ ระดับสูงสุด ไดแก อํานาจ
ของรัฐบาล ( Government) หรือคณะรัฐมนตรี (Council of Ministers) ซึ่งอํานวยการปฏิบัติ (Direct) โดยวาง
นโยบาย (Policy) ไวให อํานาจสูงสุดเรียกวา อํานาจการบริหาร (Executive power) ซึ่งมีกําหนดไวใน
รัฐธรรมนูญ
แตมีอีกระดับหนึ่งรองลงมา ไดแก อํานาจของกระทรวงทบวงกรม ซึ่งจัดดําเนินการปฏิบัติ (Administer)
ใหเปนไปตามนโยบายนั้นทั้งที่มีกําหนดไวในกฎหมายปกครอง (Administrative iaw)
ฝายบริหารประกอบดวยคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญของไทยฉบับพุทธศักราช 2521 ไดญัตติ
วา คณะรัฐมนตรีประกอบดวยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี จํานวนไมเกิน 44 คน มีอํานาจหนาที่ในการบริหาร
ราชการแผนดินภายใตบทบัญญัตินี้ จะเห็นไดวาคณะรัฐมนตรีในฐานะเปนคณะรัฐบาลจะตองมีความรับผิดชอบ
รวมกันตอการปกครองและการบริหารราชการแผนดิน บริหารงานโดยความไววางใจของสภาผูแทนราษฎร และ
รัฐมนตรีทุกคนตองมีงานรับผิดชอบรวมกันตอนโยบายของรัฐบาล
ในสวนของปญหาการดําเนินงานของฝายบริหารของประเทศไทยนั้น แยกพิจารณาไดดังนี้
1. ระยะเวลาของการบริหาร เทาที่ผานมาระยะเวลาในการบริหารของฝายมักไมตอเนื่องมีการเปลี่ยนแปลง
รัฐบาลบอยครั้ง ทําใหการดําเนินงานของฝายบริหารขาดเอกภาพ
2. บุคลิกภาพของผูนํา เปนปจจัยที่สําคัญที่จะสงผลใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปในลักษณะ
ทิศทางใด การตัดสินใจ การมีวิสัยทัศน หรือ การแสดงออกซึ่งอํานาจ เปนบทบาทสําคัญที่ทําใหเกิด
ปญหา
3. การประสานงานของระบบราชการและตัวขาราชการ นับเปนปญหามาระยะยาว เนื่องจากฝายบริหาร
และฝายปฏิบัติงาน ขาดซึ่งการประสานความรวมมือที่ดี ทําใหการดําเนินงานขาดประสิทธิภาพลาชา
4. เครื่องมืออุปกรณในการสื่อสาร ความทันสมัยของอุปกรณตลอดจนเทคโนโลยีที่ใชในการดําเนินงาน เปน
ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารงานเปนไปไดอยางรวดเร็ว แมนยํา มีประสิทธิผล
5. ความรวมมือระหวางรัฐกับองคกรอิสระตางๆ และประชาชนเปนปจจัยสําคัญยิ่งกวาที่จะสงผลใหการ
ดําเนินงานของฝายบริหารมีพลังสนับสนุน เพื่อใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปในทิศทางที่สังคม
และประชาชนตองการ
6. การจัดสรรงบประมาณกับกากระจายรายได เพื่อความเปนธรรมในสังคม ปญหาในการจัดสรรงบประมาณ
ของฝายบริหารจําเปนตองตอบสนองตอประชาชนกลุมตาง ๆ และสอดคลองกับความจําเปนในการพัฒนา
ดานตาง ๆ ของสังคม เพื่อใหเกิดความเปนธรรมของสังคม

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
manit akkhachat
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
manit akkhachat
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
manit akkhachat
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
manit akkhachat
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
Smile Suputtra
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
Smile Suputtra
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
Pa'rig Prig
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
manit akkhachat
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
manit akkhachat
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
manit akkhachat
 
Lesson 1 religion
Lesson 1 religionLesson 1 religion
Lesson 1 religion
manit akkhachat
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
Pa'rig Prig
 

Viewers also liked (17)

Lesson5
Lesson5Lesson5
Lesson5
 
บทที่ 8
บทที่ 8บทที่ 8
บทที่ 8
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Nrru 003
Nrru 003Nrru 003
Nrru 003
 
Nrru 002
Nrru 002Nrru 002
Nrru 002
 
Nrru 001
Nrru 001Nrru 001
Nrru 001
 
Nrru 004
Nrru 004Nrru 004
Nrru 004
 
บทที่3 pptx
บทที่3 pptxบทที่3 pptx
บทที่3 pptx
 
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผาเครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
เครื่องมือพื้นฐานในงานเครื่องปั้นดินเผา
 
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศบทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
บทที่ 2 การรู้สารสนเทศ
 
Lesson 4 christianity
Lesson 4 christianityLesson 4 christianity
Lesson 4 christianity
 
Lesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhismLesson 3 buddhism
Lesson 3 buddhism
 
Lesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunismLesson 2 hindunism
Lesson 2 hindunism
 
Lesson 1 religion
Lesson 1 religionLesson 1 religion
Lesson 1 religion
 
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศบท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
บท 2 แนวคิดเกี่ยวกับการรู้สารสนเทศ
 

Similar to บทที่ 6

แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
ประพันธ์ เวารัมย์
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบweeraboon wisartsakul
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
Klangpanya
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาวัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทยแนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
สาคร ประทาพันธ์
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
Watcharin Chongkonsatit
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยSaiiew
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง daSaiiew
 
ความดี
ความดีความดี
ความดีroh1109
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
CUPress
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
Taraya Srivilas
 

Similar to บทที่ 6 (20)

แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
ข้อสังเกตต่อบทความ มหาวิทยาลัยนอกระบบ
 
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทยทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
ทุนทางสังคมกับการปฏิรูปประเทศไทย
 
2
22
2
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนาการบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา
 
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
การบริหารงานตามหลักอธิปปไตยในพระพุทธศาสนา๒
 
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทยแนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
 
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทยแนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
แนวทางการปฏิรูปประเทศไทย
 
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
1 การพัฒนาที่ยั่งยืน
 
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทยบทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
บทที่ 4สิ่งที่มีอิทธิพลต่อการบริหารราชการไทย
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง daL3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม  และการเมือง da
L3การพัฒนาทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง da
 
ธรรมชาติ
ธรรมชาติธรรมชาติ
ธรรมชาติ
 
123456
123456123456
123456
 
ความดี
ความดีความดี
ความดี
 
387442 1
387442 1387442 1
387442 1
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทยการสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
การสร้างความสามัคคีปรองดอง ปยป. และ ความสมานฉันท์ในสังคมไทย
 
รายวิชาสังคมศึกษา 6
รายวิชาสังคมศึกษา 6  รายวิชาสังคมศึกษา 6
รายวิชาสังคมศึกษา 6
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 

บทที่ 6

  • 1. บทที่ 6 ปญหาอุปสรรคในการปกครองในระบอบประชาธิปไตยของไทย การเมืองไทยถึงระยะหัวเลี้ยวหัวตอที่สําคัญยิ่งเพราะสภาพทางสังคม และเศรษฐกิจเปลี่ยนไปมากแตดู เหมือนวาการพัฒนาระบบการเมืองแบบประชาธิปไตย ยังคงมีอุปสรรคตาง ๆ โดยเฉพาะปญหาเรื่องโครงสราง การวิเคราะหปญหาการเมือง จําเปนตองมีกรอบในการมองภาพทั้งในแงภาพรวมคือ มหภาค ( Macro-level ) และจุดเฉพาะคือ สถานการณการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม โครงสรางในมิติมหภาค โครงสรางสวนบน (Super struc ture) ประกอบดวย รัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง รัฐสภา และรัฐบาล (และขาราชการ) โครงสรางสวนกลาง (intermediate structure) ประกอบดวย พรรคการเมือง และกลุมผลักดัน หรือกลุมผลประโยชนสื่อมวลชน โครงสรางพื้นฐาน (infrastructure) ประกอบดวย การปกครองทองถิ่น กรอบมหภาคที่จะใชวิเคราะหการเมืองไทยนั้นมองไดจากการแบงโครงสรางการเมืองออกเปน 3 ระดับ คือ โครงสรางสวนบนซึ่งแบงเปนโครงสรางการเมืองการบริหาร หรือกลไกการเมืองและกลไกรัฐ อันประกอบดวย รัฐธรรมนูญ พรรคการเมือง การเลือกตั้ง รัฐสภา รัฐบาล (และระบบราชการ) ซึ่งกลไกการเมืองและกลไกรัฐ ดังกลาว ทําหนาที่บริหารราชการแผนดินเพื่อคนสวนใหญ ซึ่งเปนเจาของประเทศในฐานะตัวแทนคนสวนใหญของ ประเทศนั้น โครงสรางสวนกลางทําหนาที่เปนตังเชื่อมระหวางโครงสรางสวนบนและโครงสรางพื้นฐาน ประกอบ ไปดวย พรรคการเมือง กลุมผลักดัน กลุมผลประโยชน และสื่อมวลชน และโครงสรางพื้นฐาน ประกอบดวยการ ปกครองสวนทองถิ่น ปญหาการเมืองเปนปญหาหรือความขัดแยงที่มีผลกระทบตอสาธารณะ หรือปญหาของระบบการเมืองที่ เปนอุปสรรคตอการจัดสรรแบงบันทรัพยากรและสิ่งที่มีคาทางสังคม เพื่อความคงอยูและสวัสดิภาพของสังคมโดย สวนรวม ภารกิจของนักการเมืองในการแกไขปญหาการเมืองก็คือ การชี้ใหเห็นวาอะไรคือกิจกรรมสาธารณะหรือ ผลประโยชนของสาธารณะอยางแทจริง และการกระตุนโนมนาวชักชวนใหประชาชนไดมีสวนรวมในกิจกรรม
  • 2. 89 หรือผลประโยชนดังกลาวภายใตกรอบแหงศีลธรรม ซึ่งทําใหนักการเมืองมีคุณคามากยิ่งขึ้น และนี่เองคือที่มาของ นโยบายและการดําเนินงานขององคกรฝายบริหารและฝายนิติบัญญัติในอันที่จะแกไขความขัดแยงสาธารณะ การที่จะเขาใจวาปญหาทางการเมืองมีลักษณะอยางไร ขอสังเกตเบื้องตนคือ การทําความเขาใจถึงความ แตกตางพื้นฐานระหวางความขัดแยงทางสังคมกับความขัดแยงสาธารณะ กลาวโดยสรุปในสถานการณปจจุบันนี้มี ความขัดแยงทางสังคมเปนจํานวนมากที่เกิดขึ้นซึ่งอาจเปนเรื่องระหวางปจเจกชนซึ่งเปนสมาชิกสวนหนึ่งของสังคม หรือระหวางกลุมตางๆ ในสังคม หากวาความขัดแยงดังกลาวนี้มีขอบเขตจํากัดทั้งในดานบุคคลที่มีสวน รวมในการ ขัดแยงหรือเปนการปฏิบัติหนาที่จําเปนของเจาหนาที่ราชการในอันที่จะแกปญหาความขัดแยงทางสังคมได ขยายตัวกวางขวางออกไปสูสมาชิกสังคมที่มีจํานวนมากขึ้นจนกลายเปนเรื่องสาธารณะ และเกี่ยวของกับภารกิจ ของนักการเมืองภายใตกระบวบการทางการเมืองความขัดแยงก็จะกลายเปนปญหาทางการเมืองที่จะตองได รับการแกไข ตนเหตุของความขัดแยงทางสังคมที่เกิดขึ้นในประเทศตางๆ ที่มี 2 ทางคือ 1. ความแตกแตกทางวัฒนธรรม โดยเฉพาะกลุมเชื้อชาติ นําไปสูความขัดแยง หรือปญหาสังคมได ตลอดเวลา ตัวอยางเชน สหรัฐอเมริกา ประกอบดวนตนผิวขาวเปนคนสวนใหญของประเทศ และคนผิวดํา เปนชน สวนนอย ซึ่งมีอยูประมาณรอยละ 10 ของประชากรทั้งหมด นอกนั้นเปนพวกเม็กซิกัน จีน ญี่ปุน อินเดียนแดง ฯลฯ คนผิวขาวซึ่งเปนคนสวนใหญของประเทศ ยอมมีวัฒนธรรมที่แตกตางกับคนเชื้อชาติอื่น ประเทศที่ ประกอบดวยประชาชนหลายเชื้อชาติ ยอมมีความแตกตางทางดานประเพณี วัฒนธรรม วิถีการดําเนินชีวิตแมแต ประเทศไทยก็มีความแตกตาง ความขัดแยงที่เกิดขึ้นจึงเกิดจากความแตกตางดานวัฒนธรรมเปนสําคัญ 2. ความแตกตางทางดานเศรษฐกิจ ในสังคมก็เปนปญหาสังคมที่สําคัญประการหนึ่งเหมือนอยางที่ อดัม สมิท (Adam Smith) ไดกลาวไวเมื่อ 200 ปมาแลววา ทุกๆสังคมมีความแตกตางของดานแรงงานในการ ผลิตสินคาและการบริการที่จําเปนของประชาชน แมแตในสังคมพื้นฐานก็ยังมีความแตกตางทางดานเศรษฐกิจ และความแตกตางทางดานเศรษฐกิจนี้ก็นําไปสูความแตกตางทางสังคม ความแตกตางของสภาพการณและทัศนคติในสังคมยุคปจจุบัน ทําใหเกิดความขัดแยงสังคมและเมื่อความ ขัดแยงทางสังคม กลายมาเปนเรื่องสาธารณะที่ผลกระทบตอประชาชนจํานวนมากก็หมายความวาความขัดแยงนั้น ไดเขามาอยูในขอบเขตการเมืองแลว สําหรับพฤติกรรมทางการเมืองของประชาชนและกลุมบุคคลภายใตสถาบันทางการเมืองในกระบวนการ ทางการเมืองของไทยมีประเด็นตางๆ มากมาย ภายในขอบเขตทางการเมืองที่ตองการการพัฒนาไปสูระบอบ ประชาธิปไตยเต็มรูปแบบ ดังนั้นการศึกษาประเด็นปญหาของการเมืองไทยที่มีรูปแบบการปกครองแบบ ประชาธิปไตยที่เปนรูปแบบของตนเอง ที่ตองเผชิญกับการเปลี่ยนแปลงทางการปกครองระหวางทหารกับพลเรือน มาเปนระยะยาวนาน จึงจําเปนตองหยิบยกปญหาที่เกิดขึ้นจากหนาที่ของระบบและปญหาสําคัญอื่นๆ ที่ปรากฏใน สังคม มาพิจารณาเปนประเด็น ดังนี้ 1. ปญหาอุดมการณทางการเมือง อุดมการณทางการเมือง เปนระบบความเชื่อหรือระบบความคิดที่อธิบายถึงบทบาทของคนในสังคม อธิบายความสําคัญของคนในสังคม คนกับรัฐ และอธิบายสภาพความเปนไปทางสังคมวาเหตุใดจึงเปนเชนนี้ และ หนาพึงปรารถนาหรือไม ในความเห็น ความเชื้อของอุดมการณทางการเมืองนั้นมีวาอยางไร ควรมีการปรับปรุง เปลี่ยนแปลงหรือไม ถาเปลี่ยนแปลงจะมีวิธีการอยางไร และมีการวาดภาพพจนของคนในสังคมในอนาคตภายหลัง การนําอุดมการณนั้นๆ มาใชวาจะเปนไปในทิศทางใด ดังนั้นอุดมการณจึงมีขอเรียกรองที่จะใหคนยอมรับ เชื่อมั่น ศรัทธา เพื่อใหเกิดการรวมมือกันในกลุมชนที่จะกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังที่มุงไว
  • 3. 90 เราไมอาจแยกระบบการเมืองออกจากระบบสังคมไดฉันใด เราไมอาจแยกอุดมการณทางการเมืองออก จากความเชื่อดังเดิม ประเพณีนิยมที่ไดมีการถือปฏิบัติกันมาเปนเวลาชานาน หรือความเชื่อทางศาสนาไดฉันนั้น แมวาอุดมการณทางการเมืองจะมีเปาหมายโดยเฉพาะคือ เปาหมายทางการเมือง แตกอุดมการณทางการเมืองจะ ไดรับการยอมรับและมีอิทธิพลมากนอยเพียงใด ในสังคมหนึ่งๆ นั้นยอมขึ้นอยูกับพื้นฐานทางสังคมดังกลาวมาแลว ดวย ในสังคมที่มีวิวัฒนาการอัดยืนยาว มีวัฒนธรรมซึ่งมีเอกภาพ มีประชาชนที่ไมมีความแตกตางทางดานเชื้อ ชาติหรือภาษามากนัก มาศาสนาและระบบความเชื่อหลัก ซึ่งครอบคลุมชีวิตของคนในสังคมสวนใหญมาเปนเวลา ชานาน และมีความตอเนื่องโดยไมถูกลมรางไป หรือถูกกระทบกระเทือนจากอํานาจภายนอก ( การตกเปนอาณา นิคม) หรือจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคมอยางรวดเร็วและกะทันหัน สังคมประเภทนี้จะไดรับอิทธิพลจาก วัฒนธรรมดังเดิม และระบบความเชื่อจากศาสนา จนเราเกือบแยกไมออกวาอุดมการณทางการเมืองกับอุดมการณ ทางสังคม (ศาสนา ระบบความเชื่อทั่วๆ ไป) มีลักษณะแตกตางกันตรงไหน ความเชื่อทางศาสนาจะเขาไปแทรก ซอนความคิดของคนที่มีตอโลกและชีวิติ และคนในสังคมอาจอธิบายสภาพการณทางเศรษฐกิจและการเมืองโดย ความคิด ความเชื่อทางศาสนา เปนเครื่องอธิบายแทนที่จะใชความคิดทางการเมือง สังคมไทยเปนสังคมที่มีลักษณะขางตน ซึ่งมีศาสนาเปนระบบความคิด ความเชื่อ ที่สอนคนในสังคม เกี่ยวกับชีวิตและการดําเนินชีวิต ตลอดจนกําหนดคุณคาทางสังคมตางๆ ดังนั้นศาสนาจึงเปนที่มาของอุดมการณ ทางการเมืองของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งในสมัยกอนที่อารยธรรมและความคิดทางสังคมการเมืองของโลกตะวันตก จะเขามาเผยแพรในเมืองไทย ที่มาของอุดมการณทางการเมือง 1. แนวความคิดทางศาสนา 2. แนวความคิดทางการเมือง 3. การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การวิเคราะหลักษณะความขัดแยงดานอุดมการณทางการเมืองของไทย จะตองเริ่มจากการพิจารณา ลักษณะเดนของสังคมไทย ในฐานะที่เปนสภาพแวดลอมของระบบการเมือง ลักษณะพิเศษของสังคมไทยไดแก 1. สังคมไทยเปนสังคมที่มีวิวัฒนาการมาเปนเวลานาน สถาบันหลัก เชน ศาสนา วัฒนธรรม ประเพณีมี ความตอเนื่อง 2. สังคมไทยเปนสังคมที่มีเอกภาพ แมจะมีความแตกตางทางดานภาษาและเชื้อชาติ 3. สังคมไทยเปนสังคมเกษตรกรรม 4. สังคมไทยมีการแบงชั้นทางสังคมที่ไมเครงครัด 5. พัฒนาการทางสังคมไทยเปนไปในลักษณะวิวัฒนาการมากกวาการเปลี่ยนแปลงที่รวดเร็ว รุนแรง และ กะทันหัน 6. ระบบเศรษฐกิจไทยยังไมเปลี่ยนแปลงดานคุณภาพ มีแตการเปลี่ยนแปลงดานปริมาณและวิธีการผลิต บางประการ 7. สังคมไทยมีความเชื่อทางศาสนา โชคลาง ไสยศาสตร สิ่งที่อยูนอกเหนือการควบคุมของมนุษย 8. สังคมไทยขาดอุดมการณทางการเมืองที่มีเปาหมาย แกรงกลัวอํานาจ 9. สังคมไทยมีสถาบันพระมหากษัตริยที่มีความสามารถในการปรับตัวสูง จากลักษณะของสภาพแวดลอมของโลกการเมืองไทย ตลอดจนแนวความคิดไดกลายมาเปนปญหาตอการ เมืองไทย ดังนี้
  • 4. 91 1.1ปญหาของความขัดแยงระหวางสภาพแวดลอมของ ระบบการเมืองไทยกับอุดมการณทางการเมือง ภายใตลักษณะและสภาพแวดลอมของสังคมไทย ระบบการเมืองไทยภายหลังการเปลี่ยนแปลงการ ปกครอง พ.ศ.2475 ไดยึดเอาอุดมการณประชาธิปไตย เปนแนวทางในการกําหนดกติการูปแบบการเมือง ดังนั้น อุดมการณและระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยจึงถือเปนของใหม ในขณะที่พลังตกคางของความคิด ความเชื่อ ตลอดจนพฤติกรรมแบบดังเดิมดังคงมีความสําคัญอยูและเปนเหตุสําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหอุดมการณประชาธิปไตย ไมสามารถฝงรากในสังคมไทยได 1.2ปญหาความขัดแยงระหวางอุดมการณประชาธิปไตยกับอุดมการณคอมมิวนิสต อุดมการณประชาธิปไตยและอุดมการณคอมมิวนิสตไดเผยแพรเขามาสูตั้งแตกอนการเปลี่ยนแปลง พ.ศ. 2475 ความขัดแยงระหวางอุดมการณทั้งสองไดปรากฏชัดเจนมาขึ้นภายหลังเหตุการณ 14 ตุลาคม 2516 ได มีนิสิต นักศึกษา ปญญาชน กรรมกร และชาวนาที่เริ่มสูญเสียศรัทธาและหมดหวังตอระบบการปกครองแบบ ประชาธิปไตย เริ่มหันไปสูอุดมการณคอมมิวนิสตในฐานะที่เปนทางเลือกใหม เหตุที่เปนเชนนี้ก็เพราะปจจัยหลาย ประการ คือ 1. ระบบการปกครอง มีลักษณะผูขาดอยูกับคนกลุมนอยที่มีอํานาจทั้งการเมือง และเศรษฐกิจ 2. ระบบการเมืองขาดวัฒนธรรม รัฐบาลที่คุมอํานาจปฏิเสธการใหสิทธิเสริภาพทางการเมืองที่สมบรูณ 3. ระบบการเมืองแบบรวมอํานาจไวที่ศูนยกลางภายใตคณะผูนําที่ตักตวงผลประโยชน 4. ระบบเศรษฐกิจแบบนายทุนเสรีนิยม มือใครยาวสาวไดสาวเอา เพื่อประโยชนคนกลุมนอย 5. การขยายตัวของเมืองหลวง และเมืองใหญในอัตราที่รวดเร็ว ทําใหเกิดการไหลบาของแรงงานจาก ชนบทเขาเมือง 6. การเสื่อมโทรมของสถาบันทางศาสนา 7. ระบบความเชื่อดั่งเดิม คานิยมของสังคมไทยถูกทาทายดวยความคิดที่เปนวิทยาศาสตรมีเหตุผล 8. การขยายอิทธิพลของอเมริกาและสงครามอินโดจีน จนประเทศไทยเขาไปเกี่ยวของสัมพันธจนมี ฐานทัพอเมริกันในประเทศไทย สภาพการเหลานี้ มีผลทําใหประชาธิปไตยตองเผชิญกับการทาทายจากอุดมการณคอมมิวนิสตอยางทั่ว ดาน จุดออนที่สําคัญที่สุดของอุดมการณประชาธิปไตย ไดแก รูปธรรมของอุดมการณ คือ ระบบการเมืองนั้นมิไดมี ลักษณะเปนประชาธิปไตยอยางแทจริง ดังนั้น อุดมการณคอมมิวนิสตจึงทาทายอุดมการณประชาธิปไตย ทั้งใน ดานสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง 1.3 ปญหาความขัดแยงทางความคิดระหวางทหารกับพลเรือน ความขัดแยงทางความคิดระหวางทหารกับพลเรือน ในที่นี้หมายถึงความขัดแยงทางความคิดเกี่ยวกับ การเมืองและสถาบัน ตลอดจนกระบวบการทางการเมืองแบบประชาธิปไตย การขัดแยงทางความคิดนี้ เริ่มแตที่ได มีการเปลี่ยนแปลงทางกรเมือง พ.ศ. 2575 เปนตนมาก การเขาแทรกแซงทางการเมืองโดยการปฏิวัติรัฐประหาร โดยคณะทหาร การที่ประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญถึง 16 ฉบับ มีการปฏิวัติรัฐประหารที่สําเร็จ 9 ครั้ง และที่ไมสําเร็จ 7 ครั้ง เปนการสะทอนใหเห็นถึงความขัดแยงทางความคิดที่มีอยูในหมูทหารที่เปนผูคุมกําลังอาวุธที่สามารถ นํามาใชในการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองกับนักการเมืองและกลุมพลังทางการเมืองนอกวงหารทหาร ซึ่งในที่นี้เรียก รวมกันไปวา พลเรือน โดยจะจํากัดอยูเฉพาะฝายพลเรือนที่ยึดถืออุดมการณทางการเมืองแบบประชาธิปไตยที่ให ความ
  • 5. 92 สําคัญดานอํานาจแกพรรคการเมือง และสภาผูแทนราษฎรเปนสําคัญ ความขัดแยงระหวางทหารกับพลเรือนเกี่ยวกับการเมือง สถาบัน และกระบวนการทางการเมืองแบบ ประชาธิปไตยนั้น มีเหตุมาจากปจจัยหลายประการที่สําคัญ ไดแก ลักษณะของอาชีพทหาร องคกรทหาร การกลอมเกลาทางสังคมใหมีการยึดถือคุณคาที่อาจขัดแยงกับคุณคาทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย โดยเฉพาะอยางยิ่ง สภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นอยางรวดเร็ว การที่ระบอบประชาธิปไตยยัง อยูในขั้นเริ่มตน และขาดเสถียรภาพ เปนตน ทหารมีระบบคานิยมเกี่ยวกับ “ คุณธรรมทางทหาร” ที่ไดรับการถายทอดปลูกฝงใหยึดถือรวมกันเปน อุดมคติของวิชาชีพ คุณธรรมเหลานี้ ไดแก การรักชาติ การหวงแหนมาตุภูมิ ความกลาหาญ การรักเกียรติศักดิ์ ความมีระเบียบวินัย ความสามัคคี การมีประสิทธิภาพในการทํางาน การเคารพเชื่อฟงคําสั่งผูบังคับบัญชา และการ เสียสละความสุขสวนตัวเพื่อสวนรวม เปนตน โดยที่คณะทหารมีหนาที่ในการปองกันประเทศ คณะทหารจึงมีเปนหมายที่ตองการสรางเสถียรภาพ และ ความมั่นคงในสังคมใหมีมากที่สุดเทาที่จะทําได ในสังคมที่มีระบบการเมืองยังไมเขมแข็งสถาบันหลักๆ ทาง การเมือง เชน พรรคการเมืองยังขาดความเขมแข็ง และตองตกอยูในสภาพการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและ เศรษฐกิจอยางรวดเร็ว ซึ่งในหลายกรณี พลังของการเปลี่ยนแปลงนี้อยูนอกเหนือการควบคุม ( เชน การ เปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจโลก เปนตน ) ความสามรถในสถาบันการเมืองในการแกไข ปญหาที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงดังกลาว จึงไมสูงนักเปนเหตุใหเกิดการขาดเสถียรภาพทางการเมือง ดังนั้น สถาบันและกระบวบการทางการเมืองแบบประชาธิปไตย จึงถูกมองวา กอใหเกิดความไมมั่นคงและความวุนวาย การเมืองที่เนนความสําคัญของกลุมพลังและเปดโอกาสใหกลุมพลังสามารถเคลื่อนไหวได จึงเปนกิจกรรมที่ทหาร โดยทั่วไปไมนิยมที่จะใหความสนับสนุน ดังจะเห็นไดวาผูนําทหารที่เขาไปดํารงตําแหนงทางการเมืองมักจะปฏิเสธ วาตนมิใชนักการเมืองและแมวาผูนําทหารในระยะหลังๆ จะกลาวสนับสนุนระบอบประชาธิปไตยมาขึ้น แตก็ยังมี เงื่อนไขที่ตองการใหประชาธิปไตยนั้นมีลักษณะที่มีความเปนระเบียบเรียบรอย มีความขัดแยงระหวากลุมตางๆ นอยและไมนิยมใหกลุมพลังมีการเคลื่อนไหวทางการเมืองมากนัก อยางไรก็ดี ความคิดทางการเมืองของทหารกับพลเรือนนับตั้งแต พ.ศ. 2523 เปนตนมาไดเปลี่ยนแปลงใน ลักษณะที่ทั้งสองฝายมีความเห็นพองตองกันมากขึ้นในความจําเปนที่จะตองรักษา ระบบกึ่งประชาธิปไตยนี้ไว 2. ปญหาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน การมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เปนสวนสําคัญของกระบวนการทางการเมืองในระบบการเมือง สมัยใหม และไมควรจํากัดอยูแตการมีสวนรวมที่เปนการสมัครใจและถูกกฎหมาย อยางที่ ไมรอน ไวเนอร ( Myron Weiner ) ไดใหคํานิยามไว แตการมีสวนรวมทางการเมืองควรมีความหมายกวางกวาการมีสวนรวม ทางการเมืองนั้น ควรหมายถึงกิจกรรมของประชาชนที่มีจุดประสงคจะมีอิทธิพลเหนือการตัดสินใจของรัฐบาล ใน ความหมายนี้ การมีสวนรวมทางการเมืองจะทั่งที่ถูกตองตามกฎหมาย และสวนที่ผิกฎหมาย มีทั้งวิธีการที่สันติ และวิธีการใชกําลังรุนแรง เปนทั้งแบบสมัครใจหรือแบบถูกระดมจากผูนําหรือบุคคลหนึ่งบุคคลใด แตการมีสวน รวมทางการเมืองนั้นมีขอบเขตเฉพาะกรมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน หรือกลุมประชาชนเทานั้น ไม รวมถึงบทบาททางการเมืองของผูนําหรือของนักการเมือง ซึ่งถือวาเปนบทบาทของผูที่มี “ อาชีพทางการเมือง” การมีสวนรวมทางการเมืองในความหมายนี้ ที่เห็นไดชัดก็คือ การไปลงคะแนนเสียงเลือกตั้งของประชาชน การเขารวมในการรณรงคหาเสียงเลือกตั้ง การชุมนุมประทวง หรือการนัดหยุดงานเพื่อผลทางการเมือง สวนการมี สวนรวมทางการเมืองที่ผิดกฎหมายหรือการใชกําลังรุนแรงนั้นไดแก การกอการจลาจล การกอการราย เปนตน สาเหตุของปญหาการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน
  • 6. 93 2.1 สาเหตุจากวัฒนธรรมทางการเมืองและการศึกษา วัฒนธรรมทางการเมืองของคนไทย เปนปจจัยที่ทําใหการมีสวนรวมทางการเมืองของคนไทยอยูใน ระดับต่ํา เนื่องจากประชาชนโดยทั่วไปมีความเชื่อวา การเมืองหรือการบริหารประเทศเปนเรื่องของกลุมนอยบาง กลุมเทานั้น ทั้งยังมองออกไปอีกวา การเมืองเปนเรื่องของผลประโยชน เปนเรื่องสกปรก มีการยอมรับในอํานาจ นิยม ยอมรับในเรื่องของบทบาทและอํานาจของขาราชการ วัฒนธรรมทางการเมืองสามารถปลูกฝงไดโดยผา การศึกษาอบรมแมวาการศึกษาจะชวยทําใหคนมีสํานึกทางการเมืองมีความมั่นใจในความสามารถทางการเมือง ของคนมากขึ้นก็ตาม แตการศึกษายังมีวิธีการเสริมสรางหรือถายทอดวัฒนธรรมจากคนรุนหนึ่งมาสูอีกรุนหนึ่ง การศึกษาของคนไทยนั้นตั้งแตประถม มัธยมและมหาวิทยาลัยมีแนวโนมปลูกฝงเรื่องของอํานาจนิยมมากกวา ประชาธิปไตย 2.2 สาเหตุมาจากบทบาทพรรคการเมือง ปญหาที่สําคัญประการหนึ่ง คือ การขาดซึ่งองคการหรือสถาบันทางการเมืองที่คอยกระตุนใหประชาชนมี ความตื่นตัวทางการเมืองและจัดการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนใหเปนกลุม เปนกอน มีน้ําหนักและมี ระเบียบ สถาบันทางการเมืองที่สําคัญ คือ พรรคการเมือง ปจจุบันนี้พรรคการเมืองยังเปนองคการที่ออนแอและ ขาดการเปนสถาบัน (Institutationization) ถาพิจารณาจากลักษณะของระบบพรรคที่ขาดความเปนสถาบันแลว ปญหาที่สําคัญที่สุดของพรรคการ เมืองไทย คือ การขาดองคกรที่ซับซอนพอที่จะเผชิญกับความรับผิดชอบที่เพิ่ม ขึ้นมาอยางรวดเร็วได พรรคการ เมืองไทยจะตั้งขึ้นเพื่อการรวมตัวของบรรดาสมาชิกสภาผูแทนราษฎร เพื่อสนับสนุนผูนําทางการเมืองคนใดคนหนึ่ง การสนับสนุนผูนําทางการเมืองนั้นๆ มักเปนเพราะมีความรูจักชอบพอกันเปนการสวนตัว หรือไมก็เปนเรื่องหวัง ผลประโยชนทาการเมืองเปนสําคัญ เชน ไดรับการแตงตั้งเปนรัฐมนตรี เปนเลขานุการรัฐมนตรี หรือตําแหนงทาง การเมืองอื่นๆ และถาสมาชิกพรรคสําคัญๆ ไมไดรับการจัดสรรอยางทั่วถึง บรรดาสมาชิกที่ไมไดรับประโยชนอาจ แยกตัวออกไป ตั้งพรรคใหมเพื่อสนับสนุนคนอื่น นอกจากนี้ถาผูนําพรรคหมดอํานาจทางการเมือง พรรคมักถูกยุบ หรือแตกสลายไปดวย ในชวงระหวางป พ.ศ. 2518 และ 2519 หรือแมในชวงป พ.ศ. 2538-2540 ซึ่งเปนชางที่พรรคการเมืองมี บทบาทสูงนั้น เพราะไมสามารถพัฒนาองคกรของตนใหมีความสลับซับซอนพอที่จะเผชิญกับความรับผิดชอบที่ เพิ่มขึ้นอยางมากเชนกัน ผูนําพรรคประชาธิปตย ชาติไทย ความหวังใหม ชาติพัฒนา และแมแตไทยรักไทย ใน ปจจุบันตางยอมรับวา ทุกพรรคมีสาขานอยมาก ทั้งที่สาขาพรรคมีความสําคัญอยางมากในการเชื่อมโยงกับ ประชาชนในเขตเลือกตั้ง และยังหาสมาชิกเขามาเพื่อสรางฐานสนับสนุนทุกไดโดยตรง นอกจากนี้การบริหารงานภายในพรรคการเมืองยังขาดหนวยงานที่ทํางานที่มีประสิทธิภาพ การแตกแยก กันภายในพรรคทําใหพรรคการเมืองขาดความเปนสถาบัน อีกทั้งยังไมสามารถสรางฐานมวลชนไดอยางมี ประสิทธิภาพ พรรคยังตองใชความสัมพันธสวนตังของบรรดา ส.ส. เพื่อสรางความสัมพันธกับมวลชน ประชาชน เองยังคงเลือกผูสมัครโดยคํานึงถึงคุณลักษณะสวนตัวของผูสมัครมากวาชื่อเสียงของพรรค ดังนั้น ยังตองใชเวลาอีก นานกวาที่พรรคจะสามารถพัฒนาฐานสนับสนุนจากมวลชนไดอยางแนนแฟน ซึ่งลักษณะของพรรคการเมืองเชนนี้ ยังไมมีความขัดแยงพอเพียงที่จะกระตุนหรือสงเสริมการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชนใหขยายตัว กวางขวาง และมีความหมายทางการเมืองอยางแทจริง 2.3 สาเหตุจากสภาพแวดลอมทางการเมือง
  • 7. 94 สภาพแวดลอมทางการเมือง เปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งที่ไมไดรับการสนับสนุนการมีสวนรวมทาง การเมืองของประชาชนใหกวางขวาง สภาพทางการเมืองเชนนี้ คือ สภาพที่มีการตอสูกันระหวางผูนํากลุมที่มี ความเห็นทางการเมืองแตกตางกัน ผูนําพลเรือนซึ่งตองการขยายการมีสวนรวมทางการเมืองของประชาชน เพราะ นั่นคือ ฐานอํานาจทางการเมืองของตน กับผูนําทหารซึ่งไมนิยมใหมีการขยายตัวทางการเมืองของประชาชน เนื่องจากผูนําทางทหารเปนกลุมที่มีอํานาจทางการเมือง และครอบงําทางการเมืองไดมากกวาผูนําพลเรือน สภาพความขัดแยงเชนนี้ยอมเปนอุปสรรคที่สําคัญประการหนึ่งตอการขยายตัวของการมีสวนรวมทางการ เมือง ทั้งนี้ เนื่องจากยังมีผูนําบางกลุมมีทัศนคติที่ไมเห็นดวยกับการขยายการมีสวนรวมทางการเมือง และถากลุมนี้ มีอํานาจทางการเมืองมากขึ้น การมีสวนรวมทางการเมืองอาจถูกกดดันใหลดนอยลง หรือแปรเปลี่ยนสภาพการ จากการมีสวนรวมแบบเสรีหรือสมัครใจมาเปนการมีสวนรวมทางการเมืองแบบระดม ทั้งนี้เนื่องจากในปจจุบันทาง ฝายบริหารไดจัดตั้งองคกรมวลชนตางๆ ขั้นทั้งในเขตชนบทและในเมือง ตลอดจนนพยายามออกมาชวยเหลือและ พัฒนางานและบุคคลในสังคมมมากขึ้น เชน ไทยอาสาปองกันชาติ กองทุนเพื่อความมั่นคงของชาติ และฟนฟู สภาพนักโทษและผูที่เสพยาเสพติด ฯลฯ ดังนั้นถาผูนําทหารเห็นวา การสนับสนุนของมวลชนมีความจําเปนตอการ เสริมสรางอํานาจทางการเมืองของตนใหมีความเขมแข็งแลวอาจจําตองระดมพลังมวลชนเหลานี้ใหเขามาสนับสนุน ตนอันจะทําใหการมีสวนรวมทางการเมืองกลายเปนแบบการระดมไดในที่สุด 3. ปญหาการใชรัฐธรรมนูญในประเทศไทย การใชรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองประเทศจะดําเนินไปอยางราบรื่นและชวยใหเกิดความเรียบรอย ในการปกครอง รวมทั้งสามารถชวยแกปญหาความขัดแยงทางการเมืองการปกครองไดตามวิถีทางประชาธิปไตย ถากลุมกดดันหรือกลุมผลประโยชนตางๆ ยอมรันในกติกาและเจตนารมณที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญนั้น ในทาง กลับกันรัฐธรรมนูญจะไมสามารถชวยแกปญหาความขัดแยงทางการเมืองการปกครองได ถาหากวากลุมกดดันหรือ กลุมผลประโยชนพยายามแสดงอิทธิพลทางการเมืองของตนนอกกรอบกติกาที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญที่ขัดขวาง การใช หรือแสดงอํานาจทางการเมืองของตน ปญหาหลักๆ ที่เกิดขึ้นจากการใชรัฐธรรมนูญ คือ 1.ปญหาเกี่ยวกับเจตนารมณของรัฐธรรมนูญไทย รัฐธรรมนูญทุกฉบับยอมแสดงถึงเจตนารมณของผูสรางรัฐธรรมนูญวา ตองการใหรัฐธรรมนูญฉบับนั้นเปน กฎหมายสําคัญสนองประโยชนทางการเมืองของกลุมผูทรงอํานาจหรือของมหาชนรัฐธรรมนูญไทยที่ประกาศใหใช เปนหลักในการปกครองประเทศทั้ง 18 ฉบับนั้น แสดงถึงเจตนารมณของผูยกรางแตกตางกัน ซึ่งแยกไดเปน 3 ประการคือ 1. เพื่อสนองประโยชนของคณะปฏิวัติรัฐประหารหรือเพื่อคณาธิปไตย 2. เพื่อสนองประโยชนของมหาชนหรือเพื่อประชาธิปไตย 3. เพื่อสนองประโยชนของคณะปฏิวัติรัฐประหารไวชั่วขณะระยะเวลาหนึ่งกอนที่จะมีการถายทอด อํานาจทางการเมืองใหแกประชาชนอยางเต็มที่ หรือเพื่อประชาธิปไตยครึ่งใบ ดังนั้น ปญหาจึงอาจเกิดขึ้นจากการเคลื่อนไหวทางการเมืองที่ไมสอดคลองกับเจตนารมณของรัฐธรรมที่ใชบังคับอยู ในชวงเวลาหนึ่งซึ่งจะยังผลใหเกิดวิกฤติการณทางรัฐธรรมนูญหรือความขัดแยงทางการเมืองติดตามมา 2. ปญหาการขัดกันระหวางหลักการของรัฐธรรมนูญ
  • 8. 95 สภาพความเปนจริงทางการเมืองไทย หลักรัฐธรรมนูญที่กลุมการเมืองตกลงนํามาใชเปนหลักการในการปกครองในหวงเวลาหนึ่งๆ มักจะเปนผลของการ เปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่เกิดขึ้น โดยการเปลี่ยนแปลงทางการเมืองที่วานี้มักจะเปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลง ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เกิดขึ้นมากอนแลว ซึ่งอาจกลาวไดวาหลักรัฐธรรมนูญที่นํามาใชเปนหลักในการปกครอง ในหวงเวลาหนึ่งๆ นั้นจะตองสอดคลองกับสภาพความเปนจริงทางการเมืองที่ดํารงอยูในขณะนั้น จึงจะใชไดอยาง ราบรื่น และดํารงอยูไดอยางมั่นคง สําหรับประเทศไทยนําเอาหลักรัฐสภา มีอํานาจสูสุดหรือการปกครอง “ระบบรัฐสภา” มาบัญญัติไวใน รัฐธรรมนูญไทยและปรากฏวาไมสามารถจะดําเนินการปกครองใหเปนไปตามหลักการดังกลาวเปนผลดี ทั้งนี้เพราะ สาเหตุสําคัญดังตอไปนี้ 1. หลักการของระบบรัฐสภาที่บัญญัติไวในรัฐธรรมนูญของไทยทุกๆ ฉบับไมสอดคลองกับสภาพความเปน จริงทางการเมืองของไทย ผูยกรางรัฐธรรมนูญไทยทุกฉบับตางรูดีวาการเมืองไทยยังไมมีระบบพรรคการเมืองที่จะ ทําหนาที่เปนกลใหระบบรัฐสภาดําเนินไปไดจึงพยายามสรางกลไกพิเศษขึ้นมา เพื่อชวยใหหลักระบบของรัฐสภา ดังกลาวดําเนินไปไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล กลไกพิเศษที่วานี้ปรากฏในรูปตางๆ ดังนี้ 1. กําหนดใหมีสมาชิกสภาผูแทนประเภทที่ 2 ที่มาจากการแตงตั้งโดยฝายบริหารเพื่อทําหนาที่เปน พรรค สนับสนุนรัฐบาลอยูในสภาผูแทนราษฎร 2. กําหนดใหมีสมาชิกวุฒิสภา ซึ่งมาจากการเลือกตั้งโดยฝายบริหาร เพื่อทําหนาที่เปนพรรค สนับสุนน รัฐบาล ในที่ประชุมรวมของสมาชิกรัฐสภา 3. กําหนอใหสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตองสังกัดพรรคการเมือง และอยูในวินัยของพรรคการเมือง ตลอดอายุของสภาผูแทนราษฎรนั้น 2. หลักการของระบบรัฐสภาในรัฐธรรมนูญบางฉบับขัดขวางความทะเยอทะยานทางการเมืองของผูนํา ฝายทหารของไทย โดยเฉพาะอยางยิ่งหลักการของระบบรัฐสภาที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ ประชาธิปไตย 3 ฉบับ คือ พ.ศ. 2489 พ.ศ. 2492 และพ.ศ. 2517 รวมไปถึงฉบับปจจุบัน 2550 ซึ่งมีบทบัญญัติหามขาราชการประจํา ดํารงตําแหนงรัฐมนตรี ในขณะเดียวกัน ซึ่งเปนหลักการที่สอดคลองกับหลักประชาธิปไตยสากล ทําใหผูนําฝาย ทหารไมพอใจอยางมากที่ถูกกีดกันไมใหดํารงตําแหนงสูงในวงการบริหารดวยควบคูไปกับตําแหนงทางทหาร ดังนั้น เมื่อมีโอกาสอํานวยผูนําฝายทหารจําทําการลมลางรัฐธรรมนูญประชาธิปไตย ยังผลใหรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยทั้ง 3 ฉบับ ตองลมเลิกไป 3. ปญหาการพิทักษรัฐธรรมนูญไทย การใชรัฐธรรมนูญเปนหลักในการปกครองของประเทศนั้นจะดําเนินไปดวยความเรียบรอยไดก็ตอเมื่อ รัฐธรรมนูญไดรับการพิทักษรัฐธรรมนูญไวในตัวรัฐธรรมนูญอยางชัดเจน เชน รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา กําหนดให ประธานาธิบดีมีหนาที่พิทักษรัฐธรรมนูญ สําหรับประเทศไทยกําหนดวิธีการพิทักษรัฐธรรมนูญไว 2 ประการคือ 1. กําหนดใหตุลาการรัฐธรรมนูญ เปนผูชีขาดกฎหมายที่ขัดแยงกับรัฐธรรมนูญใหเปนโมฆะใชบังคับมิได 2. กําหนดใหประชาชนมีหนาที่พิทักษการปกครองตามที่กําหนดไวในรัฐธรรมนูญ การที่รัฐธรรมนูญ กําหนดใหประชาชนมีหนาที่พิทักษรัฐธรรมนูญนั้นเปนมาตรการที่มีปญหาอยูมาก และตามที่ปรากฏนั้นประชาชน ไมเคยทําหนาที่พิทักษรัฐธรรมนูญใหพนจากการถูกลมเลิกโดยการปฏิวัติรัฐประหารเลยทั้งนี้เนื่องมาจากสาเหตุ 2 ประการ คือ 1. รัฐธรรมนูญของไทยทุกฉบับมิไดเกิดมาจากความตองการและไมไดเคยรับความเห็นชอบของคน ไทยสวนใหญเลย
  • 9. 96 2. รัฐธรรมนูญไมไดชวยแกไขปญหาเศรษฐกิจและสังคม อันเปนปญหาเฉพาะหนาของคนไทยสวน ใหญ จึงอาจกลาวไดวา ปญหาการพิทักษรัฐธรรมนูญจะหมดไป ถาตัวรัฐธรรมนูญเองเปนพลังทางการเมืองที่ เขมแข็ง อันหมายถึงวา ตัวรัฐธรรมนูญนั้นสามารถใหประโยชนทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจและสังคม อยางเปนที่ พอใจแกกลุมพลังประชาชนตางๆ อยางแจงชัด ยอมจะทําใหกลุมพลังประชาชนตางๆ นั้น คอยพิทักษรัฐธรรมนูญ นั้นไวตลอดเวลา 4. ปญหาการถายทอดอํานาจทางการเมือง การถายทอดอํานาจทางการเมือง หมายถึง การที่มนุษยหรือประชาชนซึ่งมารวมกันอยูเปนหมูเหลาและ กลายสภาพมาเปนสังคม ไดมอบหมายใหองคกรทางการเมือง หรือผูปกครองหรือรัฐบาลดําเนินการปกครองและ รักษาระเบียบความสงบเรียบรอยของสังคมไว สวนลักษณะของการถายทอดอํานาจทางการเมืองนั้นอาจตั้งอยูบน รากความยินยอมของผูใตการปกครอง หรือเปนการใชกําลังบังคับผูอยูใตการปกครองก็ไดคณะบุคคลหรือองคกร ทางการเมืองที่ผลัดเปลี่ยนเขามาใชอํานาจทางการเมืองแทนประชาชนนี้อาจจะเปนไปโดยสันติวิธี หรือรุนแรงก็ได ทั้งนี้ ขึ้นอยูกับระบบการเมืองในขณะนั้น การเปลี่ยนแปลงการปกครองเมื่อ พ.ศ. 2475 จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยมาสูระบอบ ประชาธิปไตย อาจกลาวไดวา สวนหนนึ่งเปนปญหาของการเขาสวนรวมในการปกครองประเทศในฐานะที่ ประชาชนเปนเจาของอํานาจทางการเมือง และปญหาความชอบธรรมในการครองอํานาจทางการเมืองและปญหา ความชอบธรรมในครองอํานาจทางการเมืองของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย แมวาคณะราษฎรจะมีเปาหมายที่ ทําใหประเทศเปนประชาธิปไตยแบบตะวันตก เพื่อขยายสิทธิและเสรีภาพของประชาชนมามีสวนรวมในการ ปกครองประเทศ แตความเปนจริงแลวมีเพียงคณะบุคคลเพียงกลุมนอยที่อยูในระบบราชการเทานั้นที่ผลัดเปลี่ยน กันเขามาครองอํานาจทางการเมืองโดยเฉพาะขาราชการฝายทหารอํานาจทางการเมืองที่แทจริงหาไดตกสู ประชาชนไม ลักษณะการถายทอดอํานาจทางการเมือง เปนการถายทอดอํานาจโดยการเปลี่ยนแลงการปกครองโดย คณะราษฎรที่มีตอองคพระมหากษัตริยและอํานาจทางการเมืองไดผลัดเปลี่ยนอยูเฉพาะในหมูสมาชิกชั้นนําของ คณะราษฎร และตอมามีอํานาจทางการเมืองก็ถูกแยงชิงโดยหมูผูนําของระบบราชการโดยเฉพาะขาราชการฝาย ทหาร ซึ่งมีกําลังอาวุธเปนฐานอํานาจสนับสนุนพิจารณาปฏิกิริยาของประชาชนโดยทั่วไปที่มีตออํานาจของทหาร ดู ไดจากการแสดงบทบาทของกลุมผลประโยชนและกลุมอิทธิพลตาง ๆ ในการสรางอิทธิพลตอการตัดสินใจใน นโยบายตางๆ ของรัฐบาล ในระยะแรกเริ่มนับตั้งแตป พ.ศ. 2500 เปนตนมา กลุมผลประโยชนของไทยเกิดขึ้นนอย มาก และมีพลังออนแอ แตผลมาจากแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติมาใชตั้งแตสมัยสฤษดิ์ ธนะรัชตเปน ตนมา ไดสรางความเติบโตแกกลุมผลประโยชนและกลุมอิทธิพลตางๆ เปนจํานวนมาก เชน กลุมพอคา นักธุรกิจ กลุมนักศึกษา กลุมกรรมกร ฯลฯ ซึ่งกลุมเหลานี้พยายามหาทางเขามามีบทบาททางการเมืองมากขึ้นทั้งในรูปพรรค การเมืองสมาคม และกลุมจัดตั้ง ซึ่งนํามาสูเหตุการณ 14 ตุลาคม 2519 จนในที่สุดเหตุการณ “พฤษภาทมิฬ” พ.ศ. 2535 ทําใหบทบาทของขาราชการทางการเมืองโดยเฉพาะทหารเริ่มลดนอยลงตามลําดับ 5. ปญหาการดําเนินงานฝายนิติบัญญัติ ปญหาหลักของฝายนิติบัญญัติของไทยในปจจุบันอาจแบงได 3 ดานใหญ ๆ คือ ปญหาดานโครงสรางและ ความเปนสถาบันของฝายนิติบัญญัติ ปญหาดานกระบวนการดําเนินการงานของฝายนิติบัญญัติและปญหาดาน พฤติกรรมของฝายนิติบัญญัติ ดังจะไดอธิบายโดยลําดับ ดังนี้
  • 10. 97 5.1. ปญหาดานโครงสรางและความเปนสถาบันของฝายนิติบัญญัติ ปญหาดานนี้เปนผลเนื่องมาจากวิวัฒนาการทางการเมืองของไทย ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงกติกาการเมืองการ ปกครองอยูเปนระยะ ๆ ดังจะเห็นไดวาประเทศไทยมีรัฐธรรมนูญถึง 18 ฉบับ รัฐธรรมนูญแตละฉบับมีผลใหเกิด การเปลี่ยนแปลงทางดานสถาบันการเมือง และความสัมพันธระหวางสถาบันทางการเมือง (โดยเฉพาะฝายนิติ บัญญัติกับฝายบริหาร) อยูเสมอ การเปลี่ยนแปลงดังกลาวมีผลใหโครงสรางของฝายนิติบัญญัติไมสามารถมีรากฐาน ที่แนนอนและไมอาจพัฒนา โครงสรางนั้นใหอยูในลักษณะที่มีการแบงแยกแจกแจงออกเปนสวนยอยใหมีการ ปฏิบัติหนาที่ที่เฉพาะเจาะจงลงไปได เพิ่งจะมีรูปแบบที่เปนการแบงแยกอํานาจกับฝายบริหารในรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2550 อันจะเปนการพัฒนาความเปนสถาบันนิติบัญญัติตอไป โครงสรางทางการเมืองของฝายนิติบัญญัติของฝายที่มีการพัฒนาและมีความสลับซับซอน ตั้งแตการให ขอมูลขาวสาร การแสดงออกซึ่งผลประโยชน รวบรวมผลประโยชน การหวานลอมชักจูงใหสมาชิกฝายนิติบัญญัติ ตัดสินใจในนโยบายที่จะเปนประโยชนกับฝายตน ที่เรียกวา “การลอบบี้”(Lobby) ตลอดจนการประเมินผลของ การปฏิบัติหนาที่ของฝายนิติบัญญัติอีกดวย แตสําหรับระบอบการเมืองไทยนั้น ฝายนิติบัญญัติเปนโครงสรางทางการเมืองที่มีลักษณะอยูคอนขางโดด เดี่ยวและความสัมพันธระหวางผูแทนราษฎร ในแงของการเปนโครงสรางของการตัดสินใจทางการเมืองกับ โครงสรางยอยทางการเมืองอื่นๆ ยังมีไมมากนัก กอนหนาการเลือกตั้ง พ.ศ. 2526 ซึ่งในขณะนั้นรัฐธรรมนูญมิได บังคับใหผูสมัครเปนสมาชิกสภาผูแทนราษฎรตองสังกัดพรรคการเมืองพรรคการเมืองจึงมีบทบาทนอยมากสําหรับ การปฏิบัติการทางการเมืองภายในสภา สายสัมพันธระหวางพรรคการเมืองกับสมาชิกสภาผูแทนราษฎรจึงไม เดนชัดและไมแนนแฟนเหมือนที่เปนปจจุบัน สําหรับปญหาดานความเปนสถาบันนั้น สวนหนึ่งมาจากปญหาโครงสรางที่ไดกลาวมาแลวที่ควรกลาว เพิ่มเติมก็คือ การขาดความตอเนื่องของ สถาบันฝายนิติบัญญัติ ทําใหฝายนิติบัญญัติมีโอกาสนอยในการพัฒนาให เปนสถาบันที่มีประสิทธิภาพและไดรับการยอมรับวา เปนสวนที่ขาดเสียมิไดสําหรับระบอบประชาธิปไตย ความ เปนสถาบันของโครงสรางทางการเมืองขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการไมเฉพาะแตมีการแบงแยกแจกแจงโครงสราง ที่สลับซับซอน และการมีอิสระในการดําเนินงานเทานั้น แตยังขึ้นอยูกับความสามารถที่จะแสดงใหปรากฏดวยวา การคงอยูของโครงสรางทางการเมือง เปนสิ่งสําคัญในการชวยแกไขปญหาสําคัญของสังคมการเมือง และมี ประโยชนตอประชาชนโดยสวนรวมอีกดวยสาเหตุสําคัญ ไดแก การเปลี่ยนแปลงรัฐธรรมนูญ ซึ่งเปนกติกาหลักของ ระบอบประชาธิปไตยบอยครั้งทําใหสถาบันฝายนิติบัญญัติขาดความตอเนื่อง และขาดความสัมพันธกับสถาบันทาง การเมืองอื่นๆที่ควรจะเปนฐานสนับสนุนการปฏิบัติงานของฝายนิติบัญญัติ จึงเปนเหตุใหขาดความแข็งแกรง และ ยังไมมีโอกาสพิสูจนถึงคุณประโยชนของฝายนิติบัญญัติใหปรากฏอยางชัดเจนผลประโยชนสวนตัวโดยอาศัยอํานาจ ทางการเมือง การขาดความเอาใจใสในการปฏิบัติหนาที่ การขาดความกระตือรือรนในการแสวงหาขอมูลและ ความรูใหมๆที่เปนประโยชนตอการทํางาน การเสนอรางกฎหมายที่มีลักษณะคับแคบไมคํานึงถึงนโยบายในดาน กวางปญหาดานพฤติกรรมของฝายนิติบัญญัติ จึงมีลักษณะสองดาน คือ ดานหนึ่งเปนปญหาดานพฤติกรรมของ ฝายนิติบัญญัติ ซึ่งขึ้นอยูกับการประเมินบทบาทและพฤติกรรมของฝายนิติบัญญัติ โดยกลุมพลังทางการเมือง อื่นๆตลอดจนประชาชนผูมีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งดวย การประเมินดังกลาวมีผลโดยตรงตอความชอบธรรม และ ความเปนสถาบันของฝายนิติบัญญัติ เพราะถาประเมินไปในทางลบ ฐานะของฝายนิติบัญญัติก็จะออนแอและงาย ตอการการถูกจํากัดบทบาทสวนอีกลักษณะหนึ่งเปนเรื่องพฤติกรรมสวนบุคคลในแงของการปฏิบัติงานทั้งภายใน และนอกสภา ตลอดจนกลายเปนผูมีอิทธิพลทางการเมืองในระดับทองถิ่นอีกดวย ปญหาการดําเนินงานของฝายนิติบัญญัติ เปนปญหาที่สัมพันธกับปญหาการพัฒนาทางการเมืองอยาง แยกกันไมออกแมวาโลกปจจัยนี้เราไมอาจหวังที่จะใหฝายนิติบัญญัติสามารถมีอํานาจมากที่สุดตามหลัก
  • 11. 98 ประชาธิปไตยดังเดิมไดก็ตามแตการพัฒนาทางการเมืองที่จะเรียกไดวามีความเปนประชาธิปไตยมากขึ้นก็มี เครื่องบงชี้อยูของฝายนิติบัญญัติในการถวงดุล เหนี่ยวรั้งการใชอํานาจของฝายบริหารมิใหมีการใชอํานาจเกิน ขอบเขตไปในทางที่อันตรายตอสิทธิและเสรีภาพและชีวิตความเปนอยูของประชาชน 6. ปญหาการดําเนินงานของฝายบริหาร ในการปกครองประเทศมีการบริหารอยู 2 ระดับ คือ ระดับบนเปนอํานาจเกี่ยวกับการกําหนดนโยบาย ระดับลางเปนอํานาจดําเนินนโยบาย พลตรีกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ทรงอธิบายวา “อํานาจการปกครองในการรักษาการใหเปนไปตามกฎหมายมีอยูสองระดับคือ ระดับสูงสุด ไดแก อํานาจ ของรัฐบาล ( Government) หรือคณะรัฐมนตรี (Council of Ministers) ซึ่งอํานวยการปฏิบัติ (Direct) โดยวาง นโยบาย (Policy) ไวให อํานาจสูงสุดเรียกวา อํานาจการบริหาร (Executive power) ซึ่งมีกําหนดไวใน รัฐธรรมนูญ แตมีอีกระดับหนึ่งรองลงมา ไดแก อํานาจของกระทรวงทบวงกรม ซึ่งจัดดําเนินการปฏิบัติ (Administer) ใหเปนไปตามนโยบายนั้นทั้งที่มีกําหนดไวในกฎหมายปกครอง (Administrative iaw) ฝายบริหารประกอบดวยคณะรัฐมนตรีและรัฐมนตรี รัฐธรรมนูญของไทยฉบับพุทธศักราช 2521 ไดญัตติ วา คณะรัฐมนตรีประกอบดวยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี จํานวนไมเกิน 44 คน มีอํานาจหนาที่ในการบริหาร ราชการแผนดินภายใตบทบัญญัตินี้ จะเห็นไดวาคณะรัฐมนตรีในฐานะเปนคณะรัฐบาลจะตองมีความรับผิดชอบ รวมกันตอการปกครองและการบริหารราชการแผนดิน บริหารงานโดยความไววางใจของสภาผูแทนราษฎร และ รัฐมนตรีทุกคนตองมีงานรับผิดชอบรวมกันตอนโยบายของรัฐบาล ในสวนของปญหาการดําเนินงานของฝายบริหารของประเทศไทยนั้น แยกพิจารณาไดดังนี้ 1. ระยะเวลาของการบริหาร เทาที่ผานมาระยะเวลาในการบริหารของฝายมักไมตอเนื่องมีการเปลี่ยนแปลง รัฐบาลบอยครั้ง ทําใหการดําเนินงานของฝายบริหารขาดเอกภาพ 2. บุคลิกภาพของผูนํา เปนปจจัยที่สําคัญที่จะสงผลใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปในลักษณะ ทิศทางใด การตัดสินใจ การมีวิสัยทัศน หรือ การแสดงออกซึ่งอํานาจ เปนบทบาทสําคัญที่ทําใหเกิด ปญหา 3. การประสานงานของระบบราชการและตัวขาราชการ นับเปนปญหามาระยะยาว เนื่องจากฝายบริหาร และฝายปฏิบัติงาน ขาดซึ่งการประสานความรวมมือที่ดี ทําใหการดําเนินงานขาดประสิทธิภาพลาชา 4. เครื่องมืออุปกรณในการสื่อสาร ความทันสมัยของอุปกรณตลอดจนเทคโนโลยีที่ใชในการดําเนินงาน เปน ปจจัยสําคัญที่ทําใหการบริหารงานเปนไปไดอยางรวดเร็ว แมนยํา มีประสิทธิผล 5. ความรวมมือระหวางรัฐกับองคกรอิสระตางๆ และประชาชนเปนปจจัยสําคัญยิ่งกวาที่จะสงผลใหการ ดําเนินงานของฝายบริหารมีพลังสนับสนุน เพื่อใหการดําเนินงานของฝายบริหารเปนไปในทิศทางที่สังคม และประชาชนตองการ 6. การจัดสรรงบประมาณกับกากระจายรายได เพื่อความเปนธรรมในสังคม ปญหาในการจัดสรรงบประมาณ ของฝายบริหารจําเปนตองตอบสนองตอประชาชนกลุมตาง ๆ และสอดคลองกับความจําเปนในการพัฒนา ดานตาง ๆ ของสังคม เพื่อใหเกิดความเปนธรรมของสังคม