SlideShare a Scribd company logo
1 of 95
Download to read offline
1
บทที 1
บทนํา
1. หลักการและเหตุผล
จากสภาวะสังคมปัจจุบันทีเต็มไปด้วยกระแสวัตถุนิยมและความฟุ่มเฟือยฟุ้ งเฟ้ อจนทํา
ให้คนไทยหลงเดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหาโดยเฉพาะปัญหาหนีสินทีไม่มีวัน
จบสินอย่างไรก็ตามคนไทยยังมีทางออกซึงการจะดํารงชีวิตให้อยู่รอดภายใต้สังคมในปัจจุบัน
แนวทางหนึงทีประชาชนไทยควรยึดถือคือการพึงตนเองรู้จักความพอประมาณและไม่ประมาทตาม
แนวปรัชญา“เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทีทรงมองเห็นถึงความสําคัญ
ของการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเองรู้จักความพอมีพอกินพอมีพอใช้คํานึงถึงหลักเหตุผลและการ
ประมาณตนเองพร้อมกับทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาท โดยเฉพาะการใช้จ่ายเงิน
อันเป็นปัจจัยสําคัญในการดําเนินชีวิต ซึงในปัจจุบันนีในหลายๆครอบครัว ไม่ได้มีโครงการจัดทํา
บัญชีครัวเรือน จึงขาดการควบคุมการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย ส่งผลให้ครอบครัวเกิดภาวะไม่
คล่องตัวทางการเงินภายในครอบครัว อีกทังยังทําให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ทีดี
ขึน เพราะมีการใช้จ่ายอย่างพอตัว ทําให้ไม่ต้องไปกู้หนียืมสินจากแหล่งต่างๆ มาใช้จ่ายใน
ครอบครัว และการทําบัญชีทําให้มีการใช้จ่ายอย่างรอบคอบและไม่ฟุ่มเฟือย รู้จักปรับพฤติกรรมการ
ใช้จ่ายเงิน ว่ามีรายรับจากแหล่งใดบ้าง มีรายจ่ายอะไรบ้าง จํานวนเท่าใด ในแต่ละวัน แต่ละสัปดาห์
แต่ละเดือน และแต่ละปี เพือจะได้เห็นภาพรวมว่าตนเองและครอบครัวมีรายรับเท่าใด รายจ่ายเท่าใด
คงเหลือเท่าใด หรือเงินไม่พอใช้เท่าใด หรือรายจ่ายมากกว่ารายรับ เมือนํารายรับ-รายจ่ายมาบวกลบ
กันแล้วขาดดุล เกินดุลเท่าใด เมือเห็นตัวเลขจะทําให้เรารู้ได้ว่าสิงทีไม่จําเป็นนันมีมากหรือน้อย
สามารถลดได้หรือไม่ จึงทําให้รู้จักใช้จ่ายอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด
ผู้จัดทําจึงมีความประสงค์ทีจะจัดทําบัญชีครัวเรือนเพือบันทึกรายรับ-รายจ่ายให้แก่
ชุมชนบ้านไร่ หมู่6 ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก เพือเป็นการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายใน
ชีวิตประจําวัน ซึงถ้ามีการจดบันทึกบัญชีอย่างถูกต้อง จะสามารถทําให้ในแต่ละครัวเรือนรู้สภาวะ
การเงินของตนเอง จะได้มีการคํานวณ วางแผนการใช้จ่ายได้อย่างพอดี เมือทุกครอบครัวมีการ
บันทึกบัญชีทีถูกต้องแล้วจะทําให้มองเห็นรายจ่ายทีไม่จําเป็น และสามารถนําเงินจํานวนนันมาเป็น
เงินออมได้ ทําให้ครอบครัวมีสภาวะทางการเงินทีคล่องตัวเพิมมากขึน
2
2. วัตถุประสงค์
2.1 เพือให้กลุ่มเป้ าหมายมีความรู้และสามารถจัดทําบัญชีครัวเรือนสําหรับตนเองและ
ครอบครัว
2.2 เพือให้กลุ่มเป้ าหมายได้มีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวอย่างต่อเนืองและ
สมําเสมอ
2.3 เพือให้กลุ่มเป้ าหมายสามารถวางแผนการใช้จ่ายเงินในครอบครัวได้ในอนาคต
3. ขอบเขตของโครงการ
การดําเนินโครงการในครังนีเป็นการให้บริการการทําบัญชีครัวเรือน ทําบัญชีรายรับ-
รายจ่าย เพือให้ชุมชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้เกียวกับการบันทึกบัญชีครัวเรือนได้อย่างถูกต้องตาม
หลักการบัญชี โดยมีกลุ่มเป้ าหมายคือ ชุมชนหมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10
ครัวเรือน ประกอบด้วย
3.1 นายเปียม สงชืน
บ้านเลขที 221 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.2 นางเดือนเพ็ญ อิมเนียม
บ้านเลขที 90/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.3 นายสุรพล บัวคํา
บ้านเลขที 221/2 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.4 นายวิม สมตระกูล
บ้านเลขที 79 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.5 นางสําเนียง เกิดนาค
บ้านเลขที 129 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.6 นางสมาน โคกมะปราง
บ้านเลขที 242 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.7 นายสยาม สมงาน
บ้านเลขที 53 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.8 นางปานรัตน์ หมอรักษา
บ้านเลขที 97/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.9 นางลําเทียน ชัยเชย
บ้านเลขที 223 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3.10 นายสุนทร แป้ นส่ง
บ้านเลขที86/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
3
4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการทําโครงการ
4.1 ครอบครัวกลุ่มเป้ าหมายสามารถบันทึกบัญชีครัวเรือนได้ด้วยตนเอง
4.2 ครอบครัวกลุ่มเป้ าหมายจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย ได้อย่างถูกต้องและสมําเสมอ
4.3 ครอบครัวกลุ่มเป้ าหมายสามารถวางแผนค่าใช้จ่ายในครอบครัวได้
5.นิยามศัพท์
5.1 การบัญชี หมายถึง กระบวนการจัดการในส่วนของบันทึกรายการทางการค้า ได้แก่
การเขียนบันทึกรายการทางการค้า การจําแนกแยกประเภทหมวดหมู่ทางการค้า การสรุปผลการ
ดําเนินงาน รวมไปถึงการวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมูลของนักบัญชี
5.2 เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรัชญาทีพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวทรงชีแนะแนว
ทางการดําเนินชีวิตและการปฏิบัติแก่ประชาชน โดยยึดหลัก “ทางสายกลาง” ท่ามกลางมรสุม
เศรษฐกิจทีต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบัน
5.3 การทําบัญชีครัวเรือน หมายถึง การจดบันทึกรายการเกียวกับการเงินทุกรายการ ทังที
ได้รับเข้ามาและทีต้องจ่ายออกไป เพือศึกษาเปรียบเทียบผลการดําเนินกิจการว่า ได้กําไร หรือ
ขาดทุน เพียงไร
4
บทที 2
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้อง
การศึกษาผลของการจัดทําโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง
จ.พิษณุโลก ในครังนีผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยทีเกียวข้อง เพือ
นํามาเป็นข้อมูลประกอบการศึกษาและอ้างอิง ในการจัดทําโครงการในครังนี โดยแบ่งหัวข้อ
ออกเป็น
1. แนวคิด ทฤษฎี
1.1 ทฤษฎีใหม่ของเศรษฐกิจพอเพียง
1.2 แนวความคิดเกียวกับการจัดทําบัญชี
2. งานวิจัยทีเกียวข้อง
1. แนวคิด ทฤษฎี
1.1 แนวคิด ทฤษฎีใหม่ของเศรษฐกิจพอเพียง (พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว,2542)
เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาทีชีถึงแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของในทุกระดับ ตังแต่
ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไปทาง
สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง
หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นทีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวทีดี
พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลียนแปลงทังภายนอกและภายใน ทังนี
จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิงในการนําวิชาการต่างๆ มา
ใช้ในการวางแผนและการดําเนินทุกขันตอนองค์ประกอบ
ความพอเพียง จะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ได้แก่ ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล และการมีภูมคุ้มกันในตัวทีดี กล่าวคือ กิจกรรมใด ๆ ทีขาดคุณลักษณะใด
คุณลักษณะหนึงไปก็จะไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็นความพอเพียง การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงภายใต้โลกาภิวัฒน์
- เราสามารถนําเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นพืนฐานในการสร้าง
ผลกระทบในแง่บวกทีเกิดขึนจากกระแสโลกาภิวัฒน์ต่อชุมชนและสังคมของเราได้หรือนํามาใช้
เป็นพืนฐานสําหรับการสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบในแง่ลบได้ ดังนี
- เพิมความรู้และขีดความสามารถของคนในชุมชนให้รู้จักตนเอง มีศักยภาพการเรียนรู้
และรู้จักทุนทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนเอง ในระดับทีสามารถวิเคราะห์ข้อมูลทีตนมีอยู่ ให้
สามารถทําความเข้าใจผลกระทบของการเปลียนแปลง เกิดปัญญาความรู้ คือ รู้เขารู้เรา ทังใน
5
ระดับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและระดับโลก เพือจะผลักดันให้เกิดการเตรียมความ
พร้อมและรู้จักเลือกใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ทีเกิดขึนในกระแสโลกาภิวัฒน์ได้เป็นอย่างดี
- สนับสนุนให้เกิดการบริหารจัดการทีดีขึนในระดับต่าง ๆ ทังในระดับการจัดการชีวิต
ตนเอง จัดการภายในครอบครัว จัดการภายในชุมชนและวิสาหกิจระดับต่าง ๆ โดยอาจเริมต้นจาก
การส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใส การจัดทําบัญชีทีดี การมีส่วนร่วมในการรับฟังผู้อืน
- ใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาทีเป็นองค์รวมเพือความสมดุลและยังยืน หรือเป็นยุทธศาสตร์ที
ให้ความสําคัญกับการเตรียมความพร้อม มุ่งรักษาความสมดุลของการพัฒนา เพือเกิดความยังยืน
ของการใช้ดุล 3 ด้านอย่างสมดลได้แก่ ทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร
เศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบธุรกิจ ในทุกระบบเศรษฐกิจนันจะมีกลไกแบ่งหน้าทีจัดสรร
ทรัพยากร และผลิตสินค้าเพือความอยู่ดีกินดีของประชาชน จึงควรทําความเข้าใจว่า กลุ่ม
ผู้ประกอบการในชุมชนตลาดภาคธุรกิจและสถาบันการเงิน ภาคสังคมและศาสนา และภาครัฐ มี
หน้าทีและความสัมพันธ์ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรบ้างกลุ่มผู้ประกอบการในชุมชน
ผู้ประกอบการทีเป็นเจ้าของคนเดียวในอุตสาหกรรมเดียวกัน รวมตัวกันเป็นเครือข่ายทีเหนียวแน่น
และเอืออํานวยต่อกัน เช่น
- กลุ่มการเกษตรช่วยเหลือกันในเรืองวัตถุดิบ ทีอาจซือขายด้วยการแลกเปลียนกัน ในเรือง
อุปกรณ์ ในเรืองความรู้เกียวกับดิน ฯลฯ
-กลุ่มแปรรูปผลิตผลการเกษตรช่วยเหลือกันเรืองการหีบห่อ การจัดส่ง แรงงานฝีมือ
พัฒนาสินค้า สร้างยีห้อ ฯลฯ
- กลุ่มธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์ ทีอาจรวมผู้ชํานาญด้านซอฟแวร์ ฮาร์ดแวร์ และระบบ
สารสนเทศมาบริหารเครือข่ายธุรกิจในชุมชนให้บริหารธุรกิจรายย่อย หน่วยราชการทังในชุมชน
และเขตอืน ๆ ทีอยู่ในพืนทีดําเนินการหลักการสําคัญทีเราเรียนรู้จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ
การปรับปรุงชีวิตอย่างค่อยเป็นค่อยไป และมุ่งวางรากฐานทีมันคงให้ชีวิตก่อน ไม่ได้มุ่งทีจะ
เติบโตเชิงปริมาณในทันที อธิบายได้จากบันไดสามขันสู่การประกอบธุรกิจแบบพอเพียงได้ดังนี
1. เลือกทําธุรกิจทีมีความเสียงน้อย
2. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ
3. เติบโตอย่างมันคง
6
1.2 แนวความคิดเกียวกับการจัดทําบัญชี (สุมานา เศรษฐนันท์,2544)
ได้กล่าวถึงข้อกําหนดเกียวกับการจัดทําบัญชีและงบการเงินตามพระราชบัญญัติ พ.ศ.
2543 ว่าผู้มีหน้าทีจัดทําบัญชีทีเกียวกับธุรกิจ และบริษัท ต้องจัดทําบัญชีดังต่อไปนี ให้ครบถ้วน
ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีทีกําหนดในประการกรมการค้า เรืองการกําหนดชนิดของบัญชีทีต้อง
จัดทําข้อความและรายการทีต้องมีในบัญชีในระยะเวลาทีต้องลงรายการในบัญชี และเอกสาร
ประกอบการลงบัญชี พ.ศ. 2544
1. บัญชีรายวันได้แก่ บัญชีเงินสด บัญชีรายวันซือ บัญชีรายวันขาย
2. บัญชีสินค้า
3. บัญชีแยกประเภท ได้แก่บัญชีแยกประเภทสินค้า
ผู้ประกอบการธุรกิจในรูปนิติบุคคลจะต้องมีหน้าทีจัดทํางบการเงินรอบปีบัญชี โดยธุรกิจประเภท
บริษัทจํากัด จะต้องจัดทํางบดุล งบกําไรขาดทุน งบแดงการเปลียนของผู้ถือหุ้น และหมายเหตุ
ประกอบงบการเงินด้วย
2. งานวิจัยทีเกียวข้อง
( สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล,2550) ได้ศึกษาการวิจัยเรือง การประเมินผลการจดบันทึก
บัญชีครัวเรือนเพือลดปัญหาหนีสินของเกษตรกรในเขตตําบลยุโป อําเภอเมือง จังหวัดยะลา
เกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนในครัวเรือนเฉลีย 66,314 บาทต่อปี ซึง
ประกอบด้วย ค่าอาหารเฉลีย 37,067 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 55.9 ของค่าใช้จ่ายทังหมด ทีเหลือ
เป็นค่าเล่าเรียนของบุตรหลาน ค่าซ่อมแซมบ้าน ค่าเสือผ้า ค่ารักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายอืนๆ
เฉลีย 12,767 3,817 2,543 2,160 และ 7,960 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 19.3 5.8 3.8 3.2 และ12.0 ของ
ค่าใช้จ่ายทังหมดตามลําดับ โครงสร้างค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนในช่วงระยะเวลา 1 ปีทีผ่านมานันมี
ข้อสังเกตทีน่าสนใจคือค่าอาหารของเกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นพวก
เนือสัตว์ ข้าวสาร และผัก เป็นต้นแต่อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายในการบริโภคนีเกษตรกรทีจดบันทึก
บัญชีครัวเรือนซือบริโภคเฉพาะในสิงทีไม่สามารถผลิตเองได้ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายเฉลียของเกษตรกร
ทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนตํา เมือเปรียบเทียบกับราคาค้าบริโภคทีราคาสูงขึนสําหรับค่าใช้จ่าย ใน
การเล่าเรียนของบุตรหลานของเกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนนันพบว่าค่าใช้จ่ายประเภทนีจะ
ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐแล้วก็ตามผู้ปกครองยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนอืนทีต้องรับผิดชอบ เช่น
ค่าอุปกรณ์การเรียนและค่าชุดนักเรียน สําหรับค่าใช้จ่ายอืนๆ นัน เป็นค่าใช้จ่ายในการอยู่ร่วมกัน
ในสังคม เช่น งานแต่งงาน งานศพ งานบวช และ งานบุญตามประเพณี เป็นต้น
ผลจากการศึกษาการประเมินผลการจดบันทึกบัญชีครัวเรือนเพือลดปัญหาหนีสินของ
เกษตรกรในเขตตําบลยุโป อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนส่วน
ใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ทําสวนยางพารา เป็นอาชีพหลัก ค่าใช้จ่ายที
7
เกิดขึนในครัวเรือนส่วนใหญ่ คือ ค่าอาหารและค่าเล่าเรียนของบุตรหลาน ใช้บริการเงินกู้จากกลุ่ม
สัจจะออมทรัพย์ ร้อยละ 89.3 ซึงเป็นแหล่งเงินกู้ในระบบ เกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนมี
เงินออมทุกรายโดยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพือใช้ในยามฉุกเฉินหรือเจ็บไข้ไม่สบาย เกษตรกรที
จดบันทึกบัญชีครัวเรือนแสดงความคิดเห็นว่า ปัจจัยด้านเศรษฐกิจซึงประกอบด้วย ราคาผลผลิต
ราคาปัจจัยการผลิต และค่าใช้จ่ายอืน ๆ ส่งผลต่อการเพิมหรือลดหนีสินในระดับมากทีสุดและ
ระดับมาก สําหรับปัจจัยทางสังคมพบว่า เหตุความไม่สงบในพืนที 3 จังหวัดชายแดนใต้ ซึงมีผล
ในระดับมากต่อการเพิมหรือลดของหนีสิน และปัจจัยด้านการเมืองมีผลต่อหนีสิน เพิมหรือลด
ระดับปานกลาง สําหรับเกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือน จํานวน 30 ราย นัน หลังการจด
บันทึกส่วนใหญ่มีรายได้เพิมขึน มีค่าใช้จ่ายลดลง มีหนีสินลดลง และมีเงินออมเพิมขึน นําข้อมูล
ทีจดบันทึกมาบริหารจัดการในการควบคุมพฤติกรรมการใช้จ่าย
(รุจศิริสัญลักษณ์,2550) ได้ศึกษาการวิจัยเรืองการทําบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกค้า
ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษา
คือ เกษตรกรทีเป็นลูกค้าของธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ใน 5 อําเภอของ
จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ อําเภอสันป่าตอง อําเภอสันกําแพง อําเภอสันทราย อําเภอแม่ริม และ
อําเภอหางดง จํานวน 396 ราย เครืองมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติ
ทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลียค่าตําสุด ค่าสูงสุด และส่วน
เบียงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรร้อยละ 63.4 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลีย 49.54 ปี มีสมาชิกใน
ครัวเรือนเฉลีย 3.74 คนต่อครัวเรือน หนึงในสามของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจบการศึกษาในระดับ
ปวช./ปวท. มีรายได้ในครัวเรือนเฉลีย 60,873.74 บาทต่อปี เกษตรกรร้อยละ 64.4 มีภาระหนีสิน
กับธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร แหล่งข่าวสารทีมีอิทธิพลมากทีสุดต่อการทํา
บัญชีครัวเรือนของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างคือ ธ.ก.ส.
(วาริพิณ มงคลสมัย,2551) ได้ทําการศึกษาวิจัยเรืองการจัดการความรู้ทางการบัญชี
เพือพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการผลิต ผลิตภัณฑ์ลําไยอบแห้งสีทองของกลุ่มเกษตรกรบ้านเหมือง
กวัก ตําบลมะเขือแจ้ อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน การวิจัยเชิงปฏิบัติการครังนี มีวัตถุประสงค์เพือ
ศึกษาการจัดทําบัญชีของกลุ่มเกษตรกรบ้านเหมืองกวัก หมู่ 5 ตําบลมะเขือแจ้ อําเภอเมือง
จังหวัดลําพูน เพือการพัฒนาการจัดทําบัญชีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพือแก้ไขปัญหา
หนีสินและเพือการพึงตนเอง และเพือพัฒนาวิสาหกิจชุมชนภายใต้การพึงพาทรัพยากรภายใน
ชุมชนโดยใช้เวลาการดําเนินงานระหว่างเดือนธันวาคม 2550 ถึง ธันวาคม 2551 ผู้เข้ารวม
โครงการคือ กลุ่มเกษตรกรผู้ทําลําไยอบแห้งสีทองบ้านเหมืองกวัก ตําบลมะเขือแจ้ อําเภอเมือง
8
จังหวัดลําพูน จํานวน 49 คน การดําเนินการวิจัยใช้วิธีการจัดเวทีชุมชน บันทึกภาคสนาม การ
สัมภาษณ์แบบเชิงลึก และการสนทนากลุ่ม
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรบ้านเหมืองกวักมีความรู้ด้านบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุน
และเศรษฐกิจพอเพียง เนืองจากหน่วงงานภาครัฐ เช่น ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ได้เข้า
มาให้ความรู้ด้านบัญชีครัวเรือน เกษตรกรทราบจํานวนต้นทุนการอบลําไยเป็นอย่างดีเนืองจาก
เกษตรกรทําลําไยอบแห้งมานานกว่า 10 ปี และเกษตรกรมีความรู้แนวคิดเรือง เศรษฐกิจพอเพียง
จากสือต่างๆ เช่นโทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ เกษตรกรทราบข้อมูลเกียวกับบัญชีต้นทุนเป็นอย่าง
ดี เนืองจากเกษตรกรมีประสบการณ์การทําลําไยอบแห้งทียาวนานกว่า 10 ปี แต่การบันทึกบัญชี
ต้นทุน เกษตรจะบันทึกบัญชีเฉพาะค่าแรง สําหรับค่าวัตถุดิบและค่าใช้จ่ายในการผลิตไม่ได้บันทึก
ไว้เป็นหลักฐาน
เกษตรบ้านเหมืองกวักมีปัญหาการบันทึกบัญชีครัวเรือนเนืองจากมีรายได้ไม่
สมําเสมอในแต่ละปี ทําให้เกิดความท้อใจในการบันทึกบัญชี โดยเฉพาะเดือนทีเกษตรกรไม่มี
รายได้ มีแต่รายจ่าย แต่อย่างไรก็ตามในช่วงการดําเนินกิจการวิจัยเกษตรกรเริมต้นบันทึกบัญชีอย่าง
สมําเสมอโดยมีทัศนคติว่าการทีครอบครัวบันทึกบัญชีรายรับรายจ่ายจะทําให้เด็กมีวินัยในเรืองการ
ใช้จ่ายเงิน
สําหรับการพัฒนากระบวนการจัดทําบัญชีพบว่าการบันทึกบัญชีมีความยืดหยุ่นตาม
ลักษณะ รายได้ของครอบครัวตามทัศนคติของเกษตรกรต่อการบันทึกบัญชีรายรับรายจ่าย โดย
พบว่าบางครอบครัวบันทึกบัญชีทุกวันและบางครอบครัวบันทึกบัญชีเป็นรายสัปดาห์
การส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนบันทึกบัญชีครัวเรือน นับว่าประสบความสําเร็จ
พอสมควรเนืองจากชุมชนส่งสมุดบัญชีเข้าประกวดจํานวน 5 ครัวเรือนและผลของการบันทึก
บัญชีทําให้ชุมชนสามารถลดค่าใช้จ่ายทีไม่จําเป็น เช่น ค่าหวย จากเดิมซือสูงสุดถึง 500 บาท
แต่เมือบันทึกบัญชีเห็นค่าหวยสูงจึงจะลดค่าหวยลง ปัจจุบันซือไม่เกิน 100 บาท เป็นต้น และ
เป็นกําลังใจในการหารายได้เข้าสู้ครอบครัวได้มากขึน
9
บทที3
ขันตอนและวิธีดําเนินการ
การศึกษาในครังนี เป็นการศึกษาถึงผลสัมฤทธิจากการได้บริการความรู้ตามโครงการบริการบัญชี
ครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก โดยกําหนดขอบเขตประชากร ขาดตัวอย่าง
และวิธีการเลือดตัวอย่าง การเก็บรวมรวมข้อมูล เครืองมือทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี
1. แหล่งข้อมูล
การทําโครงการในครังนีเกียวกับการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของการทําเกษตรกรอย่าง
ถูกต้องในการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้อย่างละเอียด โดยมีกลุ่มเป้ าหมายคือ ชาวบ้าน
เกษตรกรตําบลหนองคล้า จํานวน 10 ราย ประกอบด้วย
1.1 นายเปียม สงชืน
บ้านเลขที 221 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.2 นางเดือนเพ็ญ อิมเนียม
บ้านเลขที 90/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.3 นายสุรพล บัวคํา
บ้านเลขที 221/2 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.4 นายวิม สมตระกูล
บ้านเลขที 79 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.5 นางสําเนียง เกิดนาค
บ้านเลขที 129 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.6 นางสมาน โคกมะปราง
บ้านเลขที 242 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.7 นายสยาม สมงาน
บ้านเลขที 53 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.8 นางปานรัตน์ หมอรักษา
บ้านเลขที 97/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.9 นางลําเทียน ชัยเชย
บ้านเลขที 223 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
1.10 นายสุนทร แป้ นส่ง
บ้านเลขที86/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
10
2. การเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาครังนีใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 ลักษณะคือ
2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถสมซึง
สอบถามจากผู้ทีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง
จ.พิษณุโลก จํานวน 10 คน
2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) ศึกษาผลสัมฤทธิของกลุ่มเป้ าหมายหลังจากที
นักศึกษาได้ออกมาให้บริการความรู้ และศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร เอกสารงานวิจัยที
เกียวข้อง
3. การวิเคราะห์ข้อมูล
3.1 เครืองมือทีใช้ในการศึกษา
เครืองมือทีใช้การรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามทีสร้างขึนตามวัตถุประสงค์ของ
การศึกษา โดยแบ่งลักษณะของแบบสอบถามออกเป็น 4 ชุด คือ
3.1.1 แบบสอบถามประเมิน ความรู้/ ความเข้าใจ/ พฤติกรรม ก่อนทําโครงการ
3.1.2 แบบสอบถามประเมินการให้บริการความรู้ ณ วันทีทําการ
3.1.3 แบบสอบถามติดตามผลหลังการให้บริการความรู้
3.1.4 แบบสอบถามประเมินโครงการ
โดยแต่ละชุดจะแบ่งข้อมูลในการเก็บออกเป็น 3 ส่วน คือ
ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปเกียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที 2 ข้อมูลเกียวกับความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที 3 ข้อเสนอแนะอืน
3.2 การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึงข้อมูลที
รวบรวมได้จากแบบสอบถามจะนํามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics)
ประกอบด้วย ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลียเลขคณิต (Mean)
หลังจากผู้ศึกษาได้ทําการสอบถามกลุ่มเป้ าหมายตามทีกําหนดไว้เรียบร้อยแล้ว นําข้อมูลที
ได้จากการสอบถามมาทําการประมวลผล เพือเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเป็น
แบบ Likert Scale (กุณฑลี เวชสาร, 2540) ซึงใช้มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ โดยกําหนด
เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี
11
มากทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 5
มาก ให้นําหนักคะแนนเป็น 4
ปานกลาง ให้นําหนักคะแนนเป็น 3
น้อย ให้นําหนักคะแนนเป็น 2
น้อยทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 1
โดยทีเกณฑ์การแปลผลจะพิจารณาจากค่าเฉลีย ซึงได้กลีบไปเป็นค่าระดับ (ยุทธ
ไวยวรรณ์, 2544) ดังนี
ค่าคะแนนเฉลีย 4.50-5.00 เป็นค่าระดับคะแนนมากทีสุด
ค่าคะแนนเฉลีย 3.50-4.49 เป็นค่าระดับคะแนนมาก
ค่าคะแนนเฉลีย 2.50-3.49 เป็นค่าระดับคะแนนปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลีย 1.50-2.49 เป็นค่าระดับคะแนนน้อย
ค่าคะแนนเฉลีย 1.00-1.49 เป็นค่าระดับคะแนนน้อยทีสุด
12
บทที 4
ผลการศึกษา
การศึกษาเรือง ผลสัมฤทธิจากการให้บริการความรู้ตามโครงการ บริการบัญชีครัวเรือน
หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก โดยใช้เครืองมือทีใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ
แบบสอบถามทีสร้างขึนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาโดยแบ่งลักษณะแบบสอบถามออกเป็น 4
ชุดคือ
1. แบบสอบถามประเมินความต้องการทางบัญชี
2. แบบสอบถามประเมินผลการให้บริการความรู้
3. แบบสอบถามติดตามผลหลังการให้บริการความรู้
4. แบบสอบถามประเมินโครงการ
โดยแต่ละชุดจะแบ่งข้อมูลในการเก็บออกเป็น 3 ส่วน คือ
ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปเกียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที 2 ข้อมูลเกียวกับความเห็นและการประเมิน
ส่วนที 3 ข้อเสนอแนะอืน ๆ
รายละเอียดผลการศึกษา แบบสอบถามกลุ่มเป้ าหมายตามโครงการเผยแพร่ความรู้การทํา
บัญชีรายรับ-รายจ่ายให้ชาวบ้าน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10 ชุด มี
ดังต่อไปนี
ส่วนที 1 : ข้อมูลทัวไปเกียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที 1 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ
เพศ จํานวน(คน) ร้อยละ
ชาย 5 50
หญิง 5 50
รวม 10 100
จากตารางที 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จํานวน 5 คน คิดเป็น
ร้อยละ 50 และเพศชาย จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50
13
ตารางที 2 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ
อายุ จํานวน(คน) ร้อยละ
ตํากว่า 30 ปี - -
31-40 2 20
41-50 3 30
51-60 3 30
61 ปีขึนไป 2 20
รวม 10 100
จากตารางที 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มีอายุระหว่าง 41- 50 ปี กับ 51 – 60 ปี มาก
ทีสุด จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30 รองลงมา คือ อายุระหว่าง 31-40 ปี กับ 61 ปีขึนไป
จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20
ตารางที 3 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามสถานภาพ
สถานภาพ จํานวน(คน) ร้อยละ
โสด - -
สมรส 8 80
หย่าร้าง 2 20
รวม 10 100
จากตารางที 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานภาพสมรส มากทีสุด จํานวน 8 คน
คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมา คือ สถานภาพหย่าร้าง จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20
ตารางที 4 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามระดับการศึกษา
ระดับการศึกษา จํานวน(คน) ร้อยละ
ตํากว่าประถมศึกษา - -
ประถมศึกษา 5 50
มัธยมศึกษา(ตอนต้น) 4 40
มัธยมศึกษา(ตอนปลาย) - -
ปริญญาตรี 1 10
สูงกว่าปริญญาตรี - -
รวม 10 100
14
จากตารางที 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาในระดับ
ประถมศึกษา มากทีสุด จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา คือ การศึกษาในระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คือ การศึกษาในระดับปริญญา
ตรี จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10
ตารางที 5 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามรายได้ (ต่อเดือน)
รายได้(ต่อเดือน) จํานวน(คน) ร้อยละ
น้อยกว่า 2,001 4 40
2,001 – 3,000 5 50
3,001 – 4,000 - -
4,001 – 5,000 1 10
5,001 – 6,000 - -
6,001 ขึนไป - -
รวม 10 100
จากตารางที 5 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีรายได้ระหว่าง 2,001-3,000 มาก
ทีสุด จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา คือ มีรายได้ระหว่าง น้อยกว่า 2,001 จํานวน
4 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คือ มีรายได้ระหว่าง 4,001-5,000 จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อย
ละ 10
15
ส่วนที 2 ข้อมูลเกียวกับความเห็นของผู้ร่วมโครงการซึงเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม
ตารางที 6 แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลียความต้องการความรู้ทางบัญชี
ที รายการ
ระดับความเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
1
ท่านต้องการนําบัญชีรายรับ
ไปใช้ในครัวเรือนมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
6
60
1
10
-
-
1
10
3.80 มาก
2
ท่านต้องการนําบัญชีค่าใช้จ่าย
ไปใช้ในครัวเรือนมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
2
20
1
10
-
-
3.80 มาก
3
ท่านต้องการนําบัญชีต้นทุน
วัตถุดิบไปใช้ในครัวเรือนมาก
น้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
1
10
4
40
-
-
2
20
3.30 ปานกลาง
4
ท่ า น ต้ อ ง ก า ร นํ า บั ญ ชี
ค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือน
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
3
30
2
20
-
-
3
30
3.10 ปานกลาง
5
ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม
รายรับไปใช้ในครัวเรือนมาก
น้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
5
50
1
10
1
10
-
-
4 มาก
6
ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม
ค่าใช้จ่ายไปใช้ในครัวเรือน
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
2
20
-
-
1
10
3.70 มาก
7
ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม
ต้นทุนการผลิตไปใช้ใน
ครัวเรือนมากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
1
10
4
40
3
30
-
-
2
20
3.20 ปานกลาง
8
ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม
ค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือน
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
2
20
3
30
-
-
3
30
3 ปานกลาง
16
ที รายการ
ระดับความเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
9
ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษา
ดําเนินโครงการกับท่านมาก
น้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
3
30
-
-
-
-
3.9 มาก
10
ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษา
จัดทําสมุดบัญชีให้กับท่าน
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
3
30
-
-
-
-
3.9 มาก
รวม
จํานวน
ร้อยละ
21
21
41
41
24
24
2
2
12
12
3.57 มาก
จากตารางที 6 พบว่า ความเห็นความต้องการความรู้ทางบัญชีของผู้ตอบแบบสอบถามมี
ดังนี
1. ท่านต้องการนําบัญชีรายรับไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่
ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.80
2. ท่านต้องการนําบัญชีค่าใช้จ่ายไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น
อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.80
3. ท่านต้องการนําบัญชีต้นทุนวัตถุดิบไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.30
4. ท่านต้องการนําบัญชีค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.10
5. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มรายรับไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4
6. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มค่าใช้จ่ายไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.70
7. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มต้นทุนการผลิตไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วน
ใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.20
8. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3
17
9. ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษาดําเนินโครงการกับท่านมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90
10. ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษาจัดทําสมุดบัญชีให้กับท่านมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90
โดยรวมความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามความต้องการความรู้ตามโครงการบริการบัญชี
ครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.57 ถือว่า
อยู่ในระดับมาก รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ ท่านต้องการรับแบบฟอร์มรายรับไป
ใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4 รองลงมา คือ ท่านต้องการให้กลุ่ม
นักศึกษาดําเนินโครงการกับท่านมากน้อยเพียงใด กับ ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษาจัดทําสมุด
บัญชีให้กับท่านมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.90 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมี
ค่าเฉลียความเห็นน้อยทีสุด คือ ท่านต้องการรับแบบฟอร์มค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือนมากน้อย
เพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3
18
ตารางที 7 แสดงจํานวน ร้อยละและค่าเฉลียประเมินผลการให้บริการความรู้ ณ วันทีไปทําการ
สอน
ที รายการ
ระดับความเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
1
การแต่งการของผู้ทีให้ความรู้
มีความเหมาะสมมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
6
60
2
20
1
10
-
-
1
10
4.20 มาก
2
สถานทีในการสอนมีความ
เหมาะสมมากน้อยมาก
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
5
50
2
20
2
20
1
10
-
-
4.10 มาก
3
ความเหมาะสมของเนือหาที
นําไปสอนมีความเหมาะสม
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
1
10
4
40
-
-
2
20
3.30 ปานกลาง
4
ระยะเวลาในการทําการสอน
มีความเหมาะสมมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
3
30
2
20
-
-
3
30
3.10 ปานกลาง
5
กริยา มารยาท ระหว่างการ
สอนมีความเหมาะสมมาก
น้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
5
50
1
10
1
10
-
-
4 มาก
6
ท่านคิดว่าความเอาใจใส่ของ
ผู้สอนทีมีต่อท่านมีมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
2
20
-
-
1
10
3.70 มาก
7
ท่านคิดว่าท่านได้ความรู้จาก
การสอนเพิมขึนมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
1
10
4
40
3
30
-
-
2
20
3.20 ปานกลาง
8
ท่านคิดว่าแบบฟอร์มทีผู้
ความรู้จัดทําให้แก่ท่าน
เหมาะสมสําหรับการทําบัญชี
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
2
20
3
30
-
-
3
30
3 ปานกลาง
19
ที รายการ
ระดับความเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
9
ท่ า น คิ ด ว่ า ท่ า น ไ ด้ รั บ
ประโยชน์ในการให้ความรู้
ครังนีมากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
3
30
-
-
-
-
3.9 มาก
10
ท่านคิดว่าผู้ให้ความรู้มีความ
พร้อมทีจะให้ความรู้แก่ท่าน
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
3
30
-
-
-
-
3.9 มาก
รวม
จํานวน
ร้อยละ
28
28
34
34
24
24
2
2
12
12
3.64 มาก
จากตารางที 7 พบว่าความเห็นหลังการรับบริการความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี
1. การแต่งการของผู้ทีให้ความรู้มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น
อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 84 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.20
2. สถานทีในการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยมากเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ใน
ระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 82 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.10
3. ความเหมาะสมของเนือหาทีนําไปสอนมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.30
4. ระยะเวลาในการทําการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่
ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.10
5. กริยามารยาทระหว่างการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น
อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4
6. ท่านคิดว่าความเอาใจใส่ของผู้สอนทีมีต่อท่านมีมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น
อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.70
7. ท่านคิดว่าท่านได้ความรู้จากการสอนเพิมขึนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่
ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.20
8. ท่านคิดว่าแบบฟอร์มทีผู้ความรู้จัดทําให้แก่ท่านเหมาะสมสําหรับการทําบัญชีมากน้อย
เพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60 โดยค่าเฉลียของความเห็น
เท่ากับ 3
20
9. ท่านคิดว่าท่านได้รับประโยชน์ในการให้ความรู้ครังนีมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี
ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90
10. ท่านคิดว่าผู้ให้ความรู้มีความพร้อมทีจะให้ความรู้แก่ท่านมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่
มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90
โดยรวม ความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามการประเมินผลการให้บริการความรู้ทางบัญชี
ณ วันทีไปทําการสอนตามโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.
พิษณุโลก มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.64 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีค่าเฉลีย
ความเห็นมากทีสุด ได้แก่ การแต่งการของผู้ทีให้ความรู้มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด โดยมี
ค่าเฉลียเท่ากับ 4.20 รองลงมา คือ สถานทีในการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยมากเพียงใด
โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.10 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมีค่าเฉลียความเห็นน้อยทีสุด คือ
ท่านคิดว่าแบบฟอร์มทีผู้ความรู้จัดทําให้แก่ท่านเหมาะสมสําหรับการทําบัญชีมากน้อยเพียงใด โดย
มีค่าเฉลียเท่ากับ 3
21
ตารางที 8 แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลียประเมินผลการติดตามผลการให้บริการความรู้ ณ
วันทีไปทําการสอน
ที รายการ
ระดับความเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
1
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ค ว า ม รู้ ท่ า น มี ค ว า ม รู้
เกียวกับการทําบัญชีเพิมขึน
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
6
60
1
10
-
-
1
10
3.80 มาก
2
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านสามารถแยก
รายรับ-รายจ่ายได้มากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
2
20
1
10
-
-
3.80 มาก
3
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านสามารถทําการ
บันทึกบัญชีด้วยตัวเองได้
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
1
10
4
40
-
-
2
20
3.30 ปานกลาง
4
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านได้ตระหนักถึง
คุณค่าของเงินมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
3
30
2
20
-
-
3
30
3.10 ปานกลาง
5
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านสามารถนําการ
บันทึกบัญชีมาปรับใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้มากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
5
50
1
10
1
10
-
-
4 มาก
6
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ทําให้ท่านสามารถ
ประมาณการใช้จ่ายเงินใน
แต่ ล ะวัน ได้ม าก น้อ ย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
2
20
-
-
1
10
3.70 มาก
22
ที รายการ
ระดับความคิดเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
7
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านสามารถนํา
ข้ อ มู ล ม า ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด
ประโยชน์กับตัวท่านเองได้
มากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
1
10
4
40
3
30
-
-
2
20
3.20 ปานกลาง
8
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ทําให้ท่านสามารถ
ปรับเปลียนพฤติกรรมใน
การใช้จ่ายได้มากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
3
30
-
-
-
-
3.9 มาก
9
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านได้มีการบันทึก
บัญชีอย่างต่อเนืองมากน้อย
เพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
3
30
3
30
-
-
2
20
2
20
3.30 ปานกลาง
10
หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ค ว า ม รู้ ท่ า น ท่ า น แ ล ะ
ครอบครัวมีเงินออมเพิมขึน
จากเดิมมากน้อยเพียงใด
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
3
30
-
-
-
-
3.9 มาก
รวม
จํานวน
ร้อยละ
22
22
42
42
21
21
4
4
11
11
3.60 มาก
จากตารางที 8 พบว่าความเห็นหลังการรับบริการความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี
1. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านมีความรู้เกียวกับการทําบัญชีเพิมขึนมากน้อย
เพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็น
เท่ากับ 3.80
23
2. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถแยกรายรับ-รายจ่ายได้มากน้อยเพียงใด
ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.80
3. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถทําการบันทึกบัญชีด้วยตัวเองได้มากน้อย
เพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็น
เท่ากับ 3.30
4 . หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านได้ตระหนักถึงคุณค่าของเงินมากน้อยเพียงใด
ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ
3.10
5. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถนําการบันทึกบัญชีมาปรับใช้ใน
ชีวิตประจําวันได้มากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80 โดย
ค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4
6. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ทําให้ท่านสามารถประมาณการใช้จ่ายเงินในแต่ละวัน
ได้มากน้อยเพียงใดส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของ
ความเห็นเท่ากับ 3.70
7. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถนําข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวท่าน
เองได้มากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64 โดย
ค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.20
8. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ทําให้ท่านสามารถปรับเปลียนพฤติกรรมในการใช้จ่าย
ได้มากน้อยเพียงใดส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของ
ความเห็นเท่ากับ 3.90
9. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านได้มีการบันทึกบัญชีอย่างต่อเนืองมากน้อยเพียงใด
ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ
3.30
10. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านและครอบครัวมีเงินออมเพิมขึนจากเดิมมากน้อย
เพียงใดส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ
3.90
โดยรวม ความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามการติดตามผลการให้บริการความรู้ ณ วันทีไป
ทําการสอน ตามโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก มี
ค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.60 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด
ได้แก่ หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถนําการบันทึกบัญชีมาปรับใช้ในชีวิตประจําวัน
ได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4 รองลงมา คือ หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ทําให้
24
ท่านสามารถปรับเปลียนพฤติกรรมในการใช้จ่ายได้มากน้อยเพียงใด กับ หลังจากทีนักศึกษาได้ให้
ความรู้ท่านท่านและครอบครัวมีเงินออมเพิมขึนจากเดิมมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ
3.90 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมีค่าเฉลียความเห็นน้อยทีสุด คือ หลังจากทีนักศึกษาได้
ให้ความรู้ท่านได้ตระหนักถึงคุณค่าของเงินมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.10
25
ตารางที 9 แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลียประเมินโครงการ
ที รายการ
ระดับความคิดเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
ประเมินความรู้เกียวกับบัญชีครัวเรือน
1 หลังจากได้รับความรู้ท่านมี
ความเข้าใจในเรืองบัญชี
ครัวเรือน
จํานวน
ร้อยละ
1
10
3
30
6
60
-
-
-
-
3.5 มาก
2 ท่านสามารถบันทึกบัญชี
โดยแยกบัญชี รายรับ-
รายจ่ายได้
จํานวน
ร้อยละ
2
20
2
20
6
60
-
-
-
-
3.6 มาก
3 หลังจากท่านบันทึกบัญชีทํา
ให้ท่านรับรู้ยอดเงินคงเหลือ
ได้
จํานวน
ร้อยละ
2
20
5
50
2
20
1
10
-
-
3.8 มาก
4 ท่านสามารถนํายอดเงิน
คงเหลือไปใช้อนาคตได้
จํานวน
ร้อยละ
2
20
4
40
4
40
-
-
-
-
3.8 มาก
5 ท่านสามารถนําความรู้ทีได้
ไปลงบันทึกบัญชีได้อย่าง
ถูกต้อง
จํานวน
ร้อยละ
1
10
5
50
4
40
-
-
-
-
3.7 มาก
รวม
จํานวน
ร้อยละ
8
16
19
38
22
44
1
2
-
-
3.68 มาก
ประเมินด้านผู้จัดทําโครงการ
6 ความรู้และเนือหาเกียว
เกียวกับบัญชีครัวเรือนของ
ผู้จัดทําโครงการทีนําไป
สอน
จํานวน
ร้อยละ
2
20
4
40
4
40
-
-
-
-
3.8 มาก
7 การเตรียมตัวและความ
พร้อมของผู้จัดทําโครงการ
จํานวน
ร้อยละ
4
40
3
30
3
30
-
-
-
-
4.1 มาก
26
ที รายการ
ระดับความคิดเห็น
5 4 3 2 1 X
ความหมาย
ตามเกณฑ์
8 การรวบรวมข้อมูลของ
ผู้จัดทําโครงการมีความ
ครบถ้วนสมบูรณ์
จํานวน
ร้อยละ
3
30
3
30
4
40
-
-
-
-
3.9 มาก
9 มีการแสดงตัวอย่างการ
บัน ทึ ก บัญ ชี แ ล ะ ส รุ ป
ยอดเงินคงเหลือได้อย่าง
ถูกต้อง
จํานวน
ร้อยละ
3
30
2
20
5
50
-
-
-
-
3.8 มาก
10 สามารถอธิบายเนือหาได้
ชัดเจนและตรงประเด็น
จํานวน
ร้อยละ
3
30
3
30
4
40
-
-
-
-
3.9 มาก
รวม
จํานวน
ร้อยละ
15
30
15
30
20
40
-
-
-
-
3.9 มาก
ประเมินด้านประโยชน์ทีได้รับหลังจากทําการบันทึกบัญชี
11 ท่านสามารถบันทึกบัญชี
รายรับ-รายจ่ายด้วยตนเอง
ได้
จํานวน
ร้อยละ
6
60
3
30
1
10
-
-
-
-
4.5 มากทีสุด
12 ท่านสามารถนําความรู้ทีได้
ไปเผยแพร่ในครอบครัวได้
จํานวน
ร้อยละ
3
30
-
-
3
30
-
-
4
40
2.8 ปาน
กลาง
13 ทําให้ท่านทราบยอดเงิน
คงเหลือได้ง่ายและสะดวก
จํานวน
ร้อยละ
3
30
5
50
-
-
2
20
-
-
3.9 มาก
14 ท่านสามารถลดค่าใช้จ่ายที
ฟุ่มเฟือยได้
จํานวน
ร้อยละ
5
50
1
10
4
40
-
-
-
-
4.1 มาก
15 ทําให้ท่านปรับเปลียน
พฤติกรรมการใช้จ่ายเงินได้
อย่างละเอียดรอบคอบ
จํานวน
ร้อยละ
6
60
-
-
2
20
-
-
2
20
3.8 มาก
รวม
จํานวน
ร้อยละ
23
46
9
18
10
20
2
4
6
12
3.82 มาก
รวมทังหมด
จํานวน
ร้อยละ
46
30.67
43
28.67
52
34.67
3
2
6
4
3.8 มาก
27
จากตารางที 9 พบว่าความเห็นหลังการรับบริการความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี
ประเมินความรู้เกียวกับบัญชีครัวเรือน
1. หลังจากได้รับความรู้ท่านมีความเข้าใจในเรืองบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 70 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.5
2. ท่านสามารถบันทึกบัญชีโดยแยกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่
ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 72 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.6
3. หลังจากท่านบันทึกบัญชีทําให้ท่านรับรู้ยอดเงินคงเหลือได้ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่
ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8
4. ท่านสามารถนํายอดเงินคงเหลือไปใช้อนาคตได้ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ
มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8
5. ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปลงบันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้อง ส่วนใหญ่มีความคิดเห็น
อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.7
โดยรวมความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6
บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก ประเมินความรู้เกียวกับบัญชีครัวเรือนมีค่าเฉลียของ
ความเห็นเท่ากับ 3.68 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่
หลังจากท่านบันทึกบัญชีทําให้ท่านรับรู้ยอดเงินคงเหลือได้ กับ ท่านสามารถนํายอดเงินคงเหลือ
ไปใช้อนาคตได้ โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.8 รองลงมา คือ ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปลงบันทึก
บัญชีได้อย่างถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.7 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมีค่าเฉลีย
ความเห็นน้อยทีสุด คือ หลังจากได้รับความรู้ท่านมีความเข้าใจในเรืองบัญชีครัวเรือน โดยมี
ค่าเฉลียเท่ากับ 3.5
ประเมินด้านผู้จัดทํา
6. ความรู้และเนือหาเกียวเกียวกับบัญชีครัวเรือนของผู้จัดทําโครงการทีนําไปสอน ส่วน
ใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8
7. การเตรียมตัวและความพร้อมของผู้จัดทําโครงการ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ใน
ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 82 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.1
8. การรวบรวมข้อมูลของผู้จัดทําโครงการมีความครบถ้วนสมบูรณ์ ส่วนใหญ่มีความ
คิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.9
9. มีการแสดงตัวอย่างการบันทึกบัญชีและสรุปยอดเงินคงเหลือได้อย่างถูกต้อง ส่วนใหญ่
มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001
001

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงSuttipong Pratumvee
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงนิเวช แสงคำ
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียงseri_101
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงPhichit Kophon
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2Vilaporn Khankasikam
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียงjiko2505
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงKruwaw-ru Kan
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1Panukant Buddalao
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsTeetut Tresirichod
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...freelance
 
ศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลังศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลังTaraya Srivilas
 

What's hot (20)

Econ
EconEcon
Econ
 
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงงานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
งานนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
เศรษฐกิจพอเพียง.Ppt2
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
002
002002
002
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1พอเพียงนำเสนอ 1
พอเพียงนำเสนอ 1
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditions
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
บ้านโคกอีโด่ย --โครงการวิจัยเอกสารชุมชนต้นแบบที่นำแนวคิดพระราชดำริเรื่องเศรษฐ...
 
ศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลังศก พพ กระทรวงการคลัง
ศก พพ กระทรวงการคลัง
 
Sufficiency economy
Sufficiency economySufficiency economy
Sufficiency economy
 

Viewers also liked

โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนChonlada078
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013Kruthai Kidsdee
 
การออม
การออมการออม
การออมfalanfriend
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษาjeabjeabloei
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)Kruthai Kidsdee
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนKruthai Kidsdee
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีmaethaya
 
Questionnaire
QuestionnaireQuestionnaire
Questionnairesakonpon
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยrubtumproject.com
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทSittidet Nawee
 

Viewers also liked (20)

007
007007
007
 
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือนโครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
โครงการจัดทำบัญชีครัวเรือน
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 
W200753 53
W200753 53W200753 53
W200753 53
 
004
004004
004
 
การออม
การออมการออม
การออม
 
040
040040
040
 
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
3ประเมินผลโครงการการศึกษาดูงานสาขาการวิจัยและประเมินผลการศึกษา
 
025
025025
025
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
1.แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน (1)
 
010
010010
010
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดีแบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
แบบประเมินโครงการแสดงความยินดี
 
005
005005
005
 
Questionnaire
QuestionnaireQuestionnaire
Questionnaire
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัยตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
ตัวอย่างแบบสอบถามงานวิจัย
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน5บท
 
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรมตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
ตัวอย่างแบบประเมินการฝึกอบรม
 

Similar to 001

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงjo
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงsudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงsapay
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02sapay
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงnarudon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงWongduean Phumnoi
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2ratthirod
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001Thidarat Termphon
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงbanlangkhao
 

Similar to 001 (20)

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02Random 100809002816-phpapp02
Random 100809002816-phpapp02
 
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียงเว็บเศรษฐกิจพอเพียง
เว็บเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการบทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
บทความวิชาการ โยนิโสมนสิการ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
การพัฒนาเศรษกิจชุมชนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงบทที่ 2
 
Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2Phil0351sm ch2
Phil0351sm ch2
 
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
ทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อทำดีถวายพ่อ
ทำดีถวายพ่อ
 

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
001
001001
001
 
032
032032
032
 
044
044044
044
 
043
043043
043
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 
036
036036
036
 

001

  • 1. 1 บทที 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล จากสภาวะสังคมปัจจุบันทีเต็มไปด้วยกระแสวัตถุนิยมและความฟุ่มเฟือยฟุ้ งเฟ้ อจนทํา ให้คนไทยหลงเดินทางผิดไปตามกระแสนิยมจนกลายเป็นปัญหาโดยเฉพาะปัญหาหนีสินทีไม่มีวัน จบสินอย่างไรก็ตามคนไทยยังมีทางออกซึงการจะดํารงชีวิตให้อยู่รอดภายใต้สังคมในปัจจุบัน แนวทางหนึงทีประชาชนไทยควรยึดถือคือการพึงตนเองรู้จักความพอประมาณและไม่ประมาทตาม แนวปรัชญา“เศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทีทรงมองเห็นถึงความสําคัญ ของการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับตัวเองรู้จักความพอมีพอกินพอมีพอใช้คํานึงถึงหลักเหตุผลและการ ประมาณตนเองพร้อมกับทรงเตือนสติประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาท โดยเฉพาะการใช้จ่ายเงิน อันเป็นปัจจัยสําคัญในการดําเนินชีวิต ซึงในปัจจุบันนีในหลายๆครอบครัว ไม่ได้มีโครงการจัดทํา บัญชีครัวเรือน จึงขาดการควบคุมการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย ส่งผลให้ครอบครัวเกิดภาวะไม่ คล่องตัวทางการเงินภายในครอบครัว อีกทังยังทําให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีชีวิตความเป็นอยู่ทีดี ขึน เพราะมีการใช้จ่ายอย่างพอตัว ทําให้ไม่ต้องไปกู้หนียืมสินจากแหล่งต่างๆ มาใช้จ่ายใน ครอบครัว และการทําบัญชีทําให้มีการใช้จ่ายอย่างรอบคอบและไม่ฟุ่มเฟือย รู้จักปรับพฤติกรรมการ ใช้จ่ายเงิน ว่ามีรายรับจากแหล่งใดบ้าง มีรายจ่ายอะไรบ้าง จํานวนเท่าใด ในแต่ละวัน แต่ละสัปดาห์ แต่ละเดือน และแต่ละปี เพือจะได้เห็นภาพรวมว่าตนเองและครอบครัวมีรายรับเท่าใด รายจ่ายเท่าใด คงเหลือเท่าใด หรือเงินไม่พอใช้เท่าใด หรือรายจ่ายมากกว่ารายรับ เมือนํารายรับ-รายจ่ายมาบวกลบ กันแล้วขาดดุล เกินดุลเท่าใด เมือเห็นตัวเลขจะทําให้เรารู้ได้ว่าสิงทีไม่จําเป็นนันมีมากหรือน้อย สามารถลดได้หรือไม่ จึงทําให้รู้จักใช้จ่ายอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด ผู้จัดทําจึงมีความประสงค์ทีจะจัดทําบัญชีครัวเรือนเพือบันทึกรายรับ-รายจ่ายให้แก่ ชุมชนบ้านไร่ หมู่6 ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก เพือเป็นการจดบันทึกรายรับ-รายจ่ายใน ชีวิตประจําวัน ซึงถ้ามีการจดบันทึกบัญชีอย่างถูกต้อง จะสามารถทําให้ในแต่ละครัวเรือนรู้สภาวะ การเงินของตนเอง จะได้มีการคํานวณ วางแผนการใช้จ่ายได้อย่างพอดี เมือทุกครอบครัวมีการ บันทึกบัญชีทีถูกต้องแล้วจะทําให้มองเห็นรายจ่ายทีไม่จําเป็น และสามารถนําเงินจํานวนนันมาเป็น เงินออมได้ ทําให้ครอบครัวมีสภาวะทางการเงินทีคล่องตัวเพิมมากขึน
  • 2. 2 2. วัตถุประสงค์ 2.1 เพือให้กลุ่มเป้ าหมายมีความรู้และสามารถจัดทําบัญชีครัวเรือนสําหรับตนเองและ ครอบครัว 2.2 เพือให้กลุ่มเป้ าหมายได้มีการจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย ในครอบครัวอย่างต่อเนืองและ สมําเสมอ 2.3 เพือให้กลุ่มเป้ าหมายสามารถวางแผนการใช้จ่ายเงินในครอบครัวได้ในอนาคต 3. ขอบเขตของโครงการ การดําเนินโครงการในครังนีเป็นการให้บริการการทําบัญชีครัวเรือน ทําบัญชีรายรับ- รายจ่าย เพือให้ชุมชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้เกียวกับการบันทึกบัญชีครัวเรือนได้อย่างถูกต้องตาม หลักการบัญชี โดยมีกลุ่มเป้ าหมายคือ ชุมชนหมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10 ครัวเรือน ประกอบด้วย 3.1 นายเปียม สงชืน บ้านเลขที 221 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.2 นางเดือนเพ็ญ อิมเนียม บ้านเลขที 90/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.3 นายสุรพล บัวคํา บ้านเลขที 221/2 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.4 นายวิม สมตระกูล บ้านเลขที 79 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.5 นางสําเนียง เกิดนาค บ้านเลขที 129 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.6 นางสมาน โคกมะปราง บ้านเลขที 242 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.7 นายสยาม สมงาน บ้านเลขที 53 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.8 นางปานรัตน์ หมอรักษา บ้านเลขที 97/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.9 นางลําเทียน ชัยเชย บ้านเลขที 223 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 3.10 นายสุนทร แป้ นส่ง บ้านเลขที86/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
  • 3. 3 4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการทําโครงการ 4.1 ครอบครัวกลุ่มเป้ าหมายสามารถบันทึกบัญชีครัวเรือนได้ด้วยตนเอง 4.2 ครอบครัวกลุ่มเป้ าหมายจดบันทึกรายรับ-รายจ่าย ได้อย่างถูกต้องและสมําเสมอ 4.3 ครอบครัวกลุ่มเป้ าหมายสามารถวางแผนค่าใช้จ่ายในครอบครัวได้ 5.นิยามศัพท์ 5.1 การบัญชี หมายถึง กระบวนการจัดการในส่วนของบันทึกรายการทางการค้า ได้แก่ การเขียนบันทึกรายการทางการค้า การจําแนกแยกประเภทหมวดหมู่ทางการค้า การสรุปผลการ ดําเนินงาน รวมไปถึงการวิเคราะห์และการแปลความหมายข้อมูลของนักบัญชี 5.2 เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง ปรัชญาทีพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัวทรงชีแนะแนว ทางการดําเนินชีวิตและการปฏิบัติแก่ประชาชน โดยยึดหลัก “ทางสายกลาง” ท่ามกลางมรสุม เศรษฐกิจทีต้องเผชิญอยู่ในปัจจุบัน 5.3 การทําบัญชีครัวเรือน หมายถึง การจดบันทึกรายการเกียวกับการเงินทุกรายการ ทังที ได้รับเข้ามาและทีต้องจ่ายออกไป เพือศึกษาเปรียบเทียบผลการดําเนินกิจการว่า ได้กําไร หรือ ขาดทุน เพียงไร
  • 4. 4 บทที 2 แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้อง การศึกษาผลของการจัดทําโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก ในครังนีผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยทีเกียวข้อง เพือ นํามาเป็นข้อมูลประกอบการศึกษาและอ้างอิง ในการจัดทําโครงการในครังนี โดยแบ่งหัวข้อ ออกเป็น 1. แนวคิด ทฤษฎี 1.1 ทฤษฎีใหม่ของเศรษฐกิจพอเพียง 1.2 แนวความคิดเกียวกับการจัดทําบัญชี 2. งานวิจัยทีเกียวข้อง 1. แนวคิด ทฤษฎี 1.1 แนวคิด ทฤษฎีใหม่ของเศรษฐกิจพอเพียง (พระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระ เจ้าอยู่หัว,2542) เศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาทีชีถึงแนวทางการดํารงอยู่และปฏิบัติตนของในทุกระดับ ตังแต่ ระดับครอบครัว ระดับชุมชนจนถึงระดับรัฐ ทังในการพัฒนาและบริหารประเทศให้ดําเนินไปทาง สายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจเพือให้ก้าวทันต่อโลกยุคโลกาภิวัตน์ ความพอเพียง หมายถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็นทีจะต้องมีระบบภูมิคุ้มกันในตัวทีดี พอสมควรต่อการมีผลกระทบใด ๆ อันเกิดจากการเปลียนแปลงทังภายนอกและภายใน ทังนี จะต้องอาศัยความรอบรู้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิงในการนําวิชาการต่างๆ มา ใช้ในการวางแผนและการดําเนินทุกขันตอนองค์ประกอบ ความพอเพียง จะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะพร้อม ๆ กัน ได้แก่ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมคุ้มกันในตัวทีดี กล่าวคือ กิจกรรมใด ๆ ทีขาดคุณลักษณะใด คุณลักษณะหนึงไปก็จะไม่สามารถเรียกได้ว่าเป็นความพอเพียง การประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงภายใต้โลกาภิวัฒน์ - เราสามารถนําเอาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็นพืนฐานในการสร้าง ผลกระทบในแง่บวกทีเกิดขึนจากกระแสโลกาภิวัฒน์ต่อชุมชนและสังคมของเราได้หรือนํามาใช้ เป็นพืนฐานสําหรับการสร้างภูมิคุ้มกันต่อผลกระทบในแง่ลบได้ ดังนี - เพิมความรู้และขีดความสามารถของคนในชุมชนให้รู้จักตนเอง มีศักยภาพการเรียนรู้ และรู้จักทุนทางเศรษฐกิจและสังคมของชุมชนเอง ในระดับทีสามารถวิเคราะห์ข้อมูลทีตนมีอยู่ ให้ สามารถทําความเข้าใจผลกระทบของการเปลียนแปลง เกิดปัญญาความรู้ คือ รู้เขารู้เรา ทังใน
  • 5. 5 ระดับตนเอง ครอบครัว ชุมชน ประเทศชาติและระดับโลก เพือจะผลักดันให้เกิดการเตรียมความ พร้อมและรู้จักเลือกใช้ประโยชน์จากสถานการณ์ทีเกิดขึนในกระแสโลกาภิวัฒน์ได้เป็นอย่างดี - สนับสนุนให้เกิดการบริหารจัดการทีดีขึนในระดับต่าง ๆ ทังในระดับการจัดการชีวิต ตนเอง จัดการภายในครอบครัว จัดการภายในชุมชนและวิสาหกิจระดับต่าง ๆ โดยอาจเริมต้นจาก การส่งเสริมให้เกิดความโปร่งใส การจัดทําบัญชีทีดี การมีส่วนร่วมในการรับฟังผู้อืน - ใช้ยุทธศาสตร์การพัฒนาทีเป็นองค์รวมเพือความสมดุลและยังยืน หรือเป็นยุทธศาสตร์ที ให้ความสําคัญกับการเตรียมความพร้อม มุ่งรักษาความสมดุลของการพัฒนา เพือเกิดความยังยืน ของการใช้ดุล 3 ด้านอย่างสมดลได้แก่ ทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากร เศรษฐกิจพอเพียงกับการประกอบธุรกิจ ในทุกระบบเศรษฐกิจนันจะมีกลไกแบ่งหน้าทีจัดสรร ทรัพยากร และผลิตสินค้าเพือความอยู่ดีกินดีของประชาชน จึงควรทําความเข้าใจว่า กลุ่ม ผู้ประกอบการในชุมชนตลาดภาคธุรกิจและสถาบันการเงิน ภาคสังคมและศาสนา และภาครัฐ มี หน้าทีและความสัมพันธ์ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงอย่างไรบ้างกลุ่มผู้ประกอบการในชุมชน ผู้ประกอบการทีเป็นเจ้าของคนเดียวในอุตสาหกรรมเดียวกัน รวมตัวกันเป็นเครือข่ายทีเหนียวแน่น และเอืออํานวยต่อกัน เช่น - กลุ่มการเกษตรช่วยเหลือกันในเรืองวัตถุดิบ ทีอาจซือขายด้วยการแลกเปลียนกัน ในเรือง อุปกรณ์ ในเรืองความรู้เกียวกับดิน ฯลฯ -กลุ่มแปรรูปผลิตผลการเกษตรช่วยเหลือกันเรืองการหีบห่อ การจัดส่ง แรงงานฝีมือ พัฒนาสินค้า สร้างยีห้อ ฯลฯ - กลุ่มธุรกิจด้านคอมพิวเตอร์ ทีอาจรวมผู้ชํานาญด้านซอฟแวร์ ฮาร์ดแวร์ และระบบ สารสนเทศมาบริหารเครือข่ายธุรกิจในชุมชนให้บริหารธุรกิจรายย่อย หน่วยราชการทังในชุมชน และเขตอืน ๆ ทีอยู่ในพืนทีดําเนินการหลักการสําคัญทีเราเรียนรู้จากปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงก็คือ การปรับปรุงชีวิตอย่างค่อยเป็นค่อยไป และมุ่งวางรากฐานทีมันคงให้ชีวิตก่อน ไม่ได้มุ่งทีจะ เติบโตเชิงปริมาณในทันที อธิบายได้จากบันไดสามขันสู่การประกอบธุรกิจแบบพอเพียงได้ดังนี 1. เลือกทําธุรกิจทีมีความเสียงน้อย 2. พัฒนาเครือข่ายความร่วมมือ 3. เติบโตอย่างมันคง
  • 6. 6 1.2 แนวความคิดเกียวกับการจัดทําบัญชี (สุมานา เศรษฐนันท์,2544) ได้กล่าวถึงข้อกําหนดเกียวกับการจัดทําบัญชีและงบการเงินตามพระราชบัญญัติ พ.ศ. 2543 ว่าผู้มีหน้าทีจัดทําบัญชีทีเกียวกับธุรกิจ และบริษัท ต้องจัดทําบัญชีดังต่อไปนี ให้ครบถ้วน ถูกต้องตามหลักเกณฑ์และวิธีทีกําหนดในประการกรมการค้า เรืองการกําหนดชนิดของบัญชีทีต้อง จัดทําข้อความและรายการทีต้องมีในบัญชีในระยะเวลาทีต้องลงรายการในบัญชี และเอกสาร ประกอบการลงบัญชี พ.ศ. 2544 1. บัญชีรายวันได้แก่ บัญชีเงินสด บัญชีรายวันซือ บัญชีรายวันขาย 2. บัญชีสินค้า 3. บัญชีแยกประเภท ได้แก่บัญชีแยกประเภทสินค้า ผู้ประกอบการธุรกิจในรูปนิติบุคคลจะต้องมีหน้าทีจัดทํางบการเงินรอบปีบัญชี โดยธุรกิจประเภท บริษัทจํากัด จะต้องจัดทํางบดุล งบกําไรขาดทุน งบแดงการเปลียนของผู้ถือหุ้น และหมายเหตุ ประกอบงบการเงินด้วย 2. งานวิจัยทีเกียวข้อง ( สมบูรณ์ เจริญจิระตระกูล,2550) ได้ศึกษาการวิจัยเรือง การประเมินผลการจดบันทึก บัญชีครัวเรือนเพือลดปัญหาหนีสินของเกษตรกรในเขตตําบลยุโป อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนมีค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนในครัวเรือนเฉลีย 66,314 บาทต่อปี ซึง ประกอบด้วย ค่าอาหารเฉลีย 37,067 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 55.9 ของค่าใช้จ่ายทังหมด ทีเหลือ เป็นค่าเล่าเรียนของบุตรหลาน ค่าซ่อมแซมบ้าน ค่าเสือผ้า ค่ารักษาพยาบาล และค่าใช้จ่ายอืนๆ เฉลีย 12,767 3,817 2,543 2,160 และ 7,960 บาทต่อปี คิดเป็นร้อยละ 19.3 5.8 3.8 3.2 และ12.0 ของ ค่าใช้จ่ายทังหมดตามลําดับ โครงสร้างค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนในช่วงระยะเวลา 1 ปีทีผ่านมานันมี ข้อสังเกตทีน่าสนใจคือค่าอาหารของเกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนส่วนใหญ่เป็นพวก เนือสัตว์ ข้าวสาร และผัก เป็นต้นแต่อย่างไรก็ตามค่าใช้จ่ายในการบริโภคนีเกษตรกรทีจดบันทึก บัญชีครัวเรือนซือบริโภคเฉพาะในสิงทีไม่สามารถผลิตเองได้ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายเฉลียของเกษตรกร ทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนตํา เมือเปรียบเทียบกับราคาค้าบริโภคทีราคาสูงขึนสําหรับค่าใช้จ่าย ใน การเล่าเรียนของบุตรหลานของเกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนนันพบว่าค่าใช้จ่ายประเภทนีจะ ได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐแล้วก็ตามผู้ปกครองยังมีค่าใช้จ่ายในส่วนอืนทีต้องรับผิดชอบ เช่น ค่าอุปกรณ์การเรียนและค่าชุดนักเรียน สําหรับค่าใช้จ่ายอืนๆ นัน เป็นค่าใช้จ่ายในการอยู่ร่วมกัน ในสังคม เช่น งานแต่งงาน งานศพ งานบวช และ งานบุญตามประเพณี เป็นต้น ผลจากการศึกษาการประเมินผลการจดบันทึกบัญชีครัวเรือนเพือลดปัญหาหนีสินของ เกษตรกรในเขตตําบลยุโป อําเภอเมือง จังหวัดยะลา เกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนส่วน ใหญ่เป็นเพศหญิง จบการศึกษาระดับประถมศึกษา ทําสวนยางพารา เป็นอาชีพหลัก ค่าใช้จ่ายที
  • 7. 7 เกิดขึนในครัวเรือนส่วนใหญ่ คือ ค่าอาหารและค่าเล่าเรียนของบุตรหลาน ใช้บริการเงินกู้จากกลุ่ม สัจจะออมทรัพย์ ร้อยละ 89.3 ซึงเป็นแหล่งเงินกู้ในระบบ เกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือนมี เงินออมทุกรายโดยส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์เพือใช้ในยามฉุกเฉินหรือเจ็บไข้ไม่สบาย เกษตรกรที จดบันทึกบัญชีครัวเรือนแสดงความคิดเห็นว่า ปัจจัยด้านเศรษฐกิจซึงประกอบด้วย ราคาผลผลิต ราคาปัจจัยการผลิต และค่าใช้จ่ายอืน ๆ ส่งผลต่อการเพิมหรือลดหนีสินในระดับมากทีสุดและ ระดับมาก สําหรับปัจจัยทางสังคมพบว่า เหตุความไม่สงบในพืนที 3 จังหวัดชายแดนใต้ ซึงมีผล ในระดับมากต่อการเพิมหรือลดของหนีสิน และปัจจัยด้านการเมืองมีผลต่อหนีสิน เพิมหรือลด ระดับปานกลาง สําหรับเกษตรกรทีจดบันทึกบัญชีครัวเรือน จํานวน 30 ราย นัน หลังการจด บันทึกส่วนใหญ่มีรายได้เพิมขึน มีค่าใช้จ่ายลดลง มีหนีสินลดลง และมีเงินออมเพิมขึน นําข้อมูล ทีจดบันทึกมาบริหารจัดการในการควบคุมพฤติกรรมการใช้จ่าย (รุจศิริสัญลักษณ์,2550) ได้ศึกษาการวิจัยเรืองการทําบัญชีครัวเรือนของเกษตรกรลูกค้า ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ในจังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มตัวอย่างทีใช้ในการศึกษา คือ เกษตรกรทีเป็นลูกค้าของธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ใน 5 อําเภอของ จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ อําเภอสันป่าตอง อําเภอสันกําแพง อําเภอสันทราย อําเภอแม่ริม และ อําเภอหางดง จํานวน 396 ราย เครืองมือทีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติ ทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี ค่าร้อยละ ค่าเฉลียค่าตําสุด ค่าสูงสุด และส่วน เบียงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรร้อยละ 63.4 เป็นเพศชาย มีอายุเฉลีย 49.54 ปี มีสมาชิกใน ครัวเรือนเฉลีย 3.74 คนต่อครัวเรือน หนึงในสามของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างจบการศึกษาในระดับ ปวช./ปวท. มีรายได้ในครัวเรือนเฉลีย 60,873.74 บาทต่อปี เกษตรกรร้อยละ 64.4 มีภาระหนีสิน กับธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร แหล่งข่าวสารทีมีอิทธิพลมากทีสุดต่อการทํา บัญชีครัวเรือนของเกษตรกรกลุ่มตัวอย่างคือ ธ.ก.ส. (วาริพิณ มงคลสมัย,2551) ได้ทําการศึกษาวิจัยเรืองการจัดการความรู้ทางการบัญชี เพือพัฒนาวิสาหกิจชุมชนในการผลิต ผลิตภัณฑ์ลําไยอบแห้งสีทองของกลุ่มเกษตรกรบ้านเหมือง กวัก ตําบลมะเขือแจ้ อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน การวิจัยเชิงปฏิบัติการครังนี มีวัตถุประสงค์เพือ ศึกษาการจัดทําบัญชีของกลุ่มเกษตรกรบ้านเหมืองกวัก หมู่ 5 ตําบลมะเขือแจ้ อําเภอเมือง จังหวัดลําพูน เพือการพัฒนาการจัดทําบัญชีตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพือแก้ไขปัญหา หนีสินและเพือการพึงตนเอง และเพือพัฒนาวิสาหกิจชุมชนภายใต้การพึงพาทรัพยากรภายใน ชุมชนโดยใช้เวลาการดําเนินงานระหว่างเดือนธันวาคม 2550 ถึง ธันวาคม 2551 ผู้เข้ารวม โครงการคือ กลุ่มเกษตรกรผู้ทําลําไยอบแห้งสีทองบ้านเหมืองกวัก ตําบลมะเขือแจ้ อําเภอเมือง
  • 8. 8 จังหวัดลําพูน จํานวน 49 คน การดําเนินการวิจัยใช้วิธีการจัดเวทีชุมชน บันทึกภาคสนาม การ สัมภาษณ์แบบเชิงลึก และการสนทนากลุ่ม ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรบ้านเหมืองกวักมีความรู้ด้านบัญชีครัวเรือน บัญชีต้นทุน และเศรษฐกิจพอเพียง เนืองจากหน่วงงานภาครัฐ เช่น ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์ได้เข้า มาให้ความรู้ด้านบัญชีครัวเรือน เกษตรกรทราบจํานวนต้นทุนการอบลําไยเป็นอย่างดีเนืองจาก เกษตรกรทําลําไยอบแห้งมานานกว่า 10 ปี และเกษตรกรมีความรู้แนวคิดเรือง เศรษฐกิจพอเพียง จากสือต่างๆ เช่นโทรทัศน์ และหนังสือพิมพ์ เกษตรกรทราบข้อมูลเกียวกับบัญชีต้นทุนเป็นอย่าง ดี เนืองจากเกษตรกรมีประสบการณ์การทําลําไยอบแห้งทียาวนานกว่า 10 ปี แต่การบันทึกบัญชี ต้นทุน เกษตรจะบันทึกบัญชีเฉพาะค่าแรง สําหรับค่าวัตถุดิบและค่าใช้จ่ายในการผลิตไม่ได้บันทึก ไว้เป็นหลักฐาน เกษตรบ้านเหมืองกวักมีปัญหาการบันทึกบัญชีครัวเรือนเนืองจากมีรายได้ไม่ สมําเสมอในแต่ละปี ทําให้เกิดความท้อใจในการบันทึกบัญชี โดยเฉพาะเดือนทีเกษตรกรไม่มี รายได้ มีแต่รายจ่าย แต่อย่างไรก็ตามในช่วงการดําเนินกิจการวิจัยเกษตรกรเริมต้นบันทึกบัญชีอย่าง สมําเสมอโดยมีทัศนคติว่าการทีครอบครัวบันทึกบัญชีรายรับรายจ่ายจะทําให้เด็กมีวินัยในเรืองการ ใช้จ่ายเงิน สําหรับการพัฒนากระบวนการจัดทําบัญชีพบว่าการบันทึกบัญชีมีความยืดหยุ่นตาม ลักษณะ รายได้ของครอบครัวตามทัศนคติของเกษตรกรต่อการบันทึกบัญชีรายรับรายจ่าย โดย พบว่าบางครอบครัวบันทึกบัญชีทุกวันและบางครอบครัวบันทึกบัญชีเป็นรายสัปดาห์ การส่งเสริมสนับสนุนให้ชุมชนบันทึกบัญชีครัวเรือน นับว่าประสบความสําเร็จ พอสมควรเนืองจากชุมชนส่งสมุดบัญชีเข้าประกวดจํานวน 5 ครัวเรือนและผลของการบันทึก บัญชีทําให้ชุมชนสามารถลดค่าใช้จ่ายทีไม่จําเป็น เช่น ค่าหวย จากเดิมซือสูงสุดถึง 500 บาท แต่เมือบันทึกบัญชีเห็นค่าหวยสูงจึงจะลดค่าหวยลง ปัจจุบันซือไม่เกิน 100 บาท เป็นต้น และ เป็นกําลังใจในการหารายได้เข้าสู้ครอบครัวได้มากขึน
  • 9. 9 บทที3 ขันตอนและวิธีดําเนินการ การศึกษาในครังนี เป็นการศึกษาถึงผลสัมฤทธิจากการได้บริการความรู้ตามโครงการบริการบัญชี ครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก โดยกําหนดขอบเขตประชากร ขาดตัวอย่าง และวิธีการเลือดตัวอย่าง การเก็บรวมรวมข้อมูล เครืองมือทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี 1. แหล่งข้อมูล การทําโครงการในครังนีเกียวกับการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย ของการทําเกษตรกรอย่าง ถูกต้องในการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้อย่างละเอียด โดยมีกลุ่มเป้ าหมายคือ ชาวบ้าน เกษตรกรตําบลหนองคล้า จํานวน 10 ราย ประกอบด้วย 1.1 นายเปียม สงชืน บ้านเลขที 221 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.2 นางเดือนเพ็ญ อิมเนียม บ้านเลขที 90/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.3 นายสุรพล บัวคํา บ้านเลขที 221/2 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.4 นายวิม สมตระกูล บ้านเลขที 79 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.5 นางสําเนียง เกิดนาค บ้านเลขที 129 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.6 นางสมาน โคกมะปราง บ้านเลขที 242 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.7 นายสยาม สมงาน บ้านเลขที 53 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.8 นางปานรัตน์ หมอรักษา บ้านเลขที 97/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.9 นางลําเทียน ชัยเชย บ้านเลขที 223 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 1.10 นายสุนทร แป้ นส่ง บ้านเลขที86/1 หมู่ 6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก
  • 10. 10 2. การเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครังนีใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 ลักษณะคือ 2.1 ข้อมูลปฐมภูมิ(Primary Data) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถสมซึง สอบถามจากผู้ทีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10 คน 2.2 ข้อมูลทุติยภูมิ(Secondary Data) ศึกษาผลสัมฤทธิของกลุ่มเป้ าหมายหลังจากที นักศึกษาได้ออกมาให้บริการความรู้ และศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร เอกสารงานวิจัยที เกียวข้อง 3. การวิเคราะห์ข้อมูล 3.1 เครืองมือทีใช้ในการศึกษา เครืองมือทีใช้การรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามทีสร้างขึนตามวัตถุประสงค์ของ การศึกษา โดยแบ่งลักษณะของแบบสอบถามออกเป็น 4 ชุด คือ 3.1.1 แบบสอบถามประเมิน ความรู้/ ความเข้าใจ/ พฤติกรรม ก่อนทําโครงการ 3.1.2 แบบสอบถามประเมินการให้บริการความรู้ ณ วันทีทําการ 3.1.3 แบบสอบถามติดตามผลหลังการให้บริการความรู้ 3.1.4 แบบสอบถามประเมินโครงการ โดยแต่ละชุดจะแบ่งข้อมูลในการเก็บออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปเกียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที 2 ข้อมูลเกียวกับความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที 3 ข้อเสนอแนะอืน 3.2 การประมวลผลและการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึงข้อมูลที รวบรวมได้จากแบบสอบถามจะนํามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ประกอบด้วย ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลียเลขคณิต (Mean) หลังจากผู้ศึกษาได้ทําการสอบถามกลุ่มเป้ าหมายตามทีกําหนดไว้เรียบร้อยแล้ว นําข้อมูลที ได้จากการสอบถามมาทําการประมวลผล เพือเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเป็น แบบ Likert Scale (กุณฑลี เวชสาร, 2540) ซึงใช้มาตราส่วนประเมินค่า 5 ระดับ โดยกําหนด เกณฑ์การให้คะแนน ดังนี
  • 11. 11 มากทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 5 มาก ให้นําหนักคะแนนเป็น 4 ปานกลาง ให้นําหนักคะแนนเป็น 3 น้อย ให้นําหนักคะแนนเป็น 2 น้อยทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 1 โดยทีเกณฑ์การแปลผลจะพิจารณาจากค่าเฉลีย ซึงได้กลีบไปเป็นค่าระดับ (ยุทธ ไวยวรรณ์, 2544) ดังนี ค่าคะแนนเฉลีย 4.50-5.00 เป็นค่าระดับคะแนนมากทีสุด ค่าคะแนนเฉลีย 3.50-4.49 เป็นค่าระดับคะแนนมาก ค่าคะแนนเฉลีย 2.50-3.49 เป็นค่าระดับคะแนนปานกลาง ค่าคะแนนเฉลีย 1.50-2.49 เป็นค่าระดับคะแนนน้อย ค่าคะแนนเฉลีย 1.00-1.49 เป็นค่าระดับคะแนนน้อยทีสุด
  • 12. 12 บทที 4 ผลการศึกษา การศึกษาเรือง ผลสัมฤทธิจากการให้บริการความรู้ตามโครงการ บริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก โดยใช้เครืองมือทีใช้ในการรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามทีสร้างขึนตามวัตถุประสงค์ของการศึกษาโดยแบ่งลักษณะแบบสอบถามออกเป็น 4 ชุดคือ 1. แบบสอบถามประเมินความต้องการทางบัญชี 2. แบบสอบถามประเมินผลการให้บริการความรู้ 3. แบบสอบถามติดตามผลหลังการให้บริการความรู้ 4. แบบสอบถามประเมินโครงการ โดยแต่ละชุดจะแบ่งข้อมูลในการเก็บออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที 1 ข้อมูลทัวไปเกียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนที 2 ข้อมูลเกียวกับความเห็นและการประเมิน ส่วนที 3 ข้อเสนอแนะอืน ๆ รายละเอียดผลการศึกษา แบบสอบถามกลุ่มเป้ าหมายตามโครงการเผยแพร่ความรู้การทํา บัญชีรายรับ-รายจ่ายให้ชาวบ้าน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10 ชุด มี ดังต่อไปนี ส่วนที 1 : ข้อมูลทัวไปเกียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที 1 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามเพศ เพศ จํานวน(คน) ร้อยละ ชาย 5 50 หญิง 5 50 รวม 10 100 จากตารางที 1 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จํานวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 50 และเพศชาย จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50
  • 13. 13 ตารางที 2 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามอายุ อายุ จํานวน(คน) ร้อยละ ตํากว่า 30 ปี - - 31-40 2 20 41-50 3 30 51-60 3 30 61 ปีขึนไป 2 20 รวม 10 100 จากตารางที 2 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถาม มีอายุระหว่าง 41- 50 ปี กับ 51 – 60 ปี มาก ทีสุด จํานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30 รองลงมา คือ อายุระหว่าง 31-40 ปี กับ 61 ปีขึนไป จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ตารางที 3 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามสถานภาพ สถานภาพ จํานวน(คน) ร้อยละ โสด - - สมรส 8 80 หย่าร้าง 2 20 รวม 10 100 จากตารางที 3 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีสถานภาพสมรส มากทีสุด จํานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80 รองลงมา คือ สถานภาพหย่าร้าง จํานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ตารางที 4 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามระดับการศึกษา ระดับการศึกษา จํานวน(คน) ร้อยละ ตํากว่าประถมศึกษา - - ประถมศึกษา 5 50 มัธยมศึกษา(ตอนต้น) 4 40 มัธยมศึกษา(ตอนปลาย) - - ปริญญาตรี 1 10 สูงกว่าปริญญาตรี - - รวม 10 100
  • 14. 14 จากตารางที 4 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีระดับการศึกษาในระดับ ประถมศึกษา มากทีสุด จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา คือ การศึกษาในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้น จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คือ การศึกษาในระดับปริญญา ตรี จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ตารางที 5 แสดงจํานวนและร้อยละของผู้ตอบแบบสอบถามจําแนกตามรายได้ (ต่อเดือน) รายได้(ต่อเดือน) จํานวน(คน) ร้อยละ น้อยกว่า 2,001 4 40 2,001 – 3,000 5 50 3,001 – 4,000 - - 4,001 – 5,000 1 10 5,001 – 6,000 - - 6,001 ขึนไป - - รวม 10 100 จากตารางที 5 พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่ มีรายได้ระหว่าง 2,001-3,000 มาก ทีสุด จํานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา คือ มีรายได้ระหว่าง น้อยกว่า 2,001 จํานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 40 รองลงมา คือ มีรายได้ระหว่าง 4,001-5,000 จํานวน 1 คน คิดเป็นร้อย ละ 10
  • 15. 15 ส่วนที 2 ข้อมูลเกียวกับความเห็นของผู้ร่วมโครงการซึงเป็นผู้ตอบแบบสอบถาม ตารางที 6 แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลียความต้องการความรู้ทางบัญชี ที รายการ ระดับความเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 1 ท่านต้องการนําบัญชีรายรับ ไปใช้ในครัวเรือนมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 6 60 1 10 - - 1 10 3.80 มาก 2 ท่านต้องการนําบัญชีค่าใช้จ่าย ไปใช้ในครัวเรือนมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 2 20 1 10 - - 3.80 มาก 3 ท่านต้องการนําบัญชีต้นทุน วัตถุดิบไปใช้ในครัวเรือนมาก น้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 1 10 4 40 - - 2 20 3.30 ปานกลาง 4 ท่ า น ต้ อ ง ก า ร นํ า บั ญ ชี ค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือน มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 3 30 2 20 - - 3 30 3.10 ปานกลาง 5 ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม รายรับไปใช้ในครัวเรือนมาก น้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 5 50 1 10 1 10 - - 4 มาก 6 ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม ค่าใช้จ่ายไปใช้ในครัวเรือน มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 2 20 - - 1 10 3.70 มาก 7 ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม ต้นทุนการผลิตไปใช้ใน ครัวเรือนมากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 1 10 4 40 3 30 - - 2 20 3.20 ปานกลาง 8 ท่านต้องการรับแบบฟอร์ม ค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือน มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 2 20 3 30 - - 3 30 3 ปานกลาง
  • 16. 16 ที รายการ ระดับความเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 9 ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษา ดําเนินโครงการกับท่านมาก น้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 3 30 - - - - 3.9 มาก 10 ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษา จัดทําสมุดบัญชีให้กับท่าน มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 3 30 - - - - 3.9 มาก รวม จํานวน ร้อยละ 21 21 41 41 24 24 2 2 12 12 3.57 มาก จากตารางที 6 พบว่า ความเห็นความต้องการความรู้ทางบัญชีของผู้ตอบแบบสอบถามมี ดังนี 1. ท่านต้องการนําบัญชีรายรับไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.80 2. ท่านต้องการนําบัญชีค่าใช้จ่ายไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.80 3. ท่านต้องการนําบัญชีต้นทุนวัตถุดิบไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.30 4. ท่านต้องการนําบัญชีค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.10 5. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มรายรับไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4 6. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มค่าใช้จ่ายไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.70 7. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มต้นทุนการผลิตไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วน ใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.20 8. ท่านต้องการรับแบบฟอร์มค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3
  • 17. 17 9. ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษาดําเนินโครงการกับท่านมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90 10. ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษาจัดทําสมุดบัญชีให้กับท่านมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90 โดยรวมความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามความต้องการความรู้ตามโครงการบริการบัญชี ครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.57 ถือว่า อยู่ในระดับมาก รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ ท่านต้องการรับแบบฟอร์มรายรับไป ใช้ในครัวเรือนมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4 รองลงมา คือ ท่านต้องการให้กลุ่ม นักศึกษาดําเนินโครงการกับท่านมากน้อยเพียงใด กับ ท่านต้องการให้กลุ่มนักศึกษาจัดทําสมุด บัญชีให้กับท่านมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.90 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมี ค่าเฉลียความเห็นน้อยทีสุด คือ ท่านต้องการรับแบบฟอร์มค่าแรงงานไปใช้ในครัวเรือนมากน้อย เพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3
  • 18. 18 ตารางที 7 แสดงจํานวน ร้อยละและค่าเฉลียประเมินผลการให้บริการความรู้ ณ วันทีไปทําการ สอน ที รายการ ระดับความเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 1 การแต่งการของผู้ทีให้ความรู้ มีความเหมาะสมมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 6 60 2 20 1 10 - - 1 10 4.20 มาก 2 สถานทีในการสอนมีความ เหมาะสมมากน้อยมาก เพียงใด จํานวน ร้อยละ 5 50 2 20 2 20 1 10 - - 4.10 มาก 3 ความเหมาะสมของเนือหาที นําไปสอนมีความเหมาะสม มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 1 10 4 40 - - 2 20 3.30 ปานกลาง 4 ระยะเวลาในการทําการสอน มีความเหมาะสมมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 3 30 2 20 - - 3 30 3.10 ปานกลาง 5 กริยา มารยาท ระหว่างการ สอนมีความเหมาะสมมาก น้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 5 50 1 10 1 10 - - 4 มาก 6 ท่านคิดว่าความเอาใจใส่ของ ผู้สอนทีมีต่อท่านมีมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 2 20 - - 1 10 3.70 มาก 7 ท่านคิดว่าท่านได้ความรู้จาก การสอนเพิมขึนมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 1 10 4 40 3 30 - - 2 20 3.20 ปานกลาง 8 ท่านคิดว่าแบบฟอร์มทีผู้ ความรู้จัดทําให้แก่ท่าน เหมาะสมสําหรับการทําบัญชี มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 2 20 3 30 - - 3 30 3 ปานกลาง
  • 19. 19 ที รายการ ระดับความเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 9 ท่ า น คิ ด ว่ า ท่ า น ไ ด้ รั บ ประโยชน์ในการให้ความรู้ ครังนีมากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 3 30 - - - - 3.9 มาก 10 ท่านคิดว่าผู้ให้ความรู้มีความ พร้อมทีจะให้ความรู้แก่ท่าน มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 3 30 - - - - 3.9 มาก รวม จํานวน ร้อยละ 28 28 34 34 24 24 2 2 12 12 3.64 มาก จากตารางที 7 พบว่าความเห็นหลังการรับบริการความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี 1. การแต่งการของผู้ทีให้ความรู้มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 84 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.20 2. สถานทีในการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยมากเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ใน ระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 82 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.10 3. ความเหมาะสมของเนือหาทีนําไปสอนมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.30 4. ระยะเวลาในการทําการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.10 5. กริยามารยาทระหว่างการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4 6. ท่านคิดว่าความเอาใจใส่ของผู้สอนทีมีต่อท่านมีมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็น อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.70 7. ท่านคิดว่าท่านได้ความรู้จากการสอนเพิมขึนมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.20 8. ท่านคิดว่าแบบฟอร์มทีผู้ความรู้จัดทําให้แก่ท่านเหมาะสมสําหรับการทําบัญชีมากน้อย เพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 60 โดยค่าเฉลียของความเห็น เท่ากับ 3
  • 20. 20 9. ท่านคิดว่าท่านได้รับประโยชน์ในการให้ความรู้ครังนีมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มี ความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90 10. ท่านคิดว่าผู้ให้ความรู้มีความพร้อมทีจะให้ความรู้แก่ท่านมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่ มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90 โดยรวม ความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามการประเมินผลการให้บริการความรู้ทางบัญชี ณ วันทีไปทําการสอนตามโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ. พิษณุโลก มีค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.64 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีค่าเฉลีย ความเห็นมากทีสุด ได้แก่ การแต่งการของผู้ทีให้ความรู้มีความเหมาะสมมากน้อยเพียงใด โดยมี ค่าเฉลียเท่ากับ 4.20 รองลงมา คือ สถานทีในการสอนมีความเหมาะสมมากน้อยมากเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.10 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมีค่าเฉลียความเห็นน้อยทีสุด คือ ท่านคิดว่าแบบฟอร์มทีผู้ความรู้จัดทําให้แก่ท่านเหมาะสมสําหรับการทําบัญชีมากน้อยเพียงใด โดย มีค่าเฉลียเท่ากับ 3
  • 21. 21 ตารางที 8 แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลียประเมินผลการติดตามผลการให้บริการความรู้ ณ วันทีไปทําการสอน ที รายการ ระดับความเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 1 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ค ว า ม รู้ ท่ า น มี ค ว า ม รู้ เกียวกับการทําบัญชีเพิมขึน มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 6 60 1 10 - - 1 10 3.80 มาก 2 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านสามารถแยก รายรับ-รายจ่ายได้มากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 2 20 1 10 - - 3.80 มาก 3 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านสามารถทําการ บันทึกบัญชีด้วยตัวเองได้ มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 1 10 4 40 - - 2 20 3.30 ปานกลาง 4 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านได้ตระหนักถึง คุณค่าของเงินมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 3 30 2 20 - - 3 30 3.10 ปานกลาง 5 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านสามารถนําการ บันทึกบัญชีมาปรับใช้ใน ชีวิตประจําวันได้มากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 5 50 1 10 1 10 - - 4 มาก 6 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ทําให้ท่านสามารถ ประมาณการใช้จ่ายเงินใน แต่ ล ะวัน ได้ม าก น้อ ย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 2 20 - - 1 10 3.70 มาก
  • 22. 22 ที รายการ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 7 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านสามารถนํา ข้ อ มู ล ม า ใ ช้ ใ ห้ เ กิ ด ประโยชน์กับตัวท่านเองได้ มากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 1 10 4 40 3 30 - - 2 20 3.20 ปานกลาง 8 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ทําให้ท่านสามารถ ปรับเปลียนพฤติกรรมใน การใช้จ่ายได้มากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 3 30 - - - - 3.9 มาก 9 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านได้มีการบันทึก บัญชีอย่างต่อเนืองมากน้อย เพียงใด จํานวน ร้อยละ 3 30 3 30 - - 2 20 2 20 3.30 ปานกลาง 10 หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ค ว า ม รู้ ท่ า น ท่ า น แ ล ะ ครอบครัวมีเงินออมเพิมขึน จากเดิมมากน้อยเพียงใด จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 3 30 - - - - 3.9 มาก รวม จํานวน ร้อยละ 22 22 42 42 21 21 4 4 11 11 3.60 มาก จากตารางที 8 พบว่าความเห็นหลังการรับบริการความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี 1. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านมีความรู้เกียวกับการทําบัญชีเพิมขึนมากน้อย เพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็น เท่ากับ 3.80
  • 23. 23 2. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถแยกรายรับ-รายจ่ายได้มากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.80 3. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถทําการบันทึกบัญชีด้วยตัวเองได้มากน้อย เพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็น เท่ากับ 3.30 4 . หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านได้ตระหนักถึงคุณค่าของเงินมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 62 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.10 5. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถนําการบันทึกบัญชีมาปรับใช้ใน ชีวิตประจําวันได้มากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 80 โดย ค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4 6. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ทําให้ท่านสามารถประมาณการใช้จ่ายเงินในแต่ละวัน ได้มากน้อยเพียงใดส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของ ความเห็นเท่ากับ 3.70 7. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถนําข้อมูลมาใช้ให้เกิดประโยชน์กับตัวท่าน เองได้มากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 64 โดย ค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.20 8. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ทําให้ท่านสามารถปรับเปลียนพฤติกรรมในการใช้จ่าย ได้มากน้อยเพียงใดส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของ ความเห็นเท่ากับ 3.90 9. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านได้มีการบันทึกบัญชีอย่างต่อเนืองมากน้อยเพียงใด ส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 66 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.30 10. หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านและครอบครัวมีเงินออมเพิมขึนจากเดิมมากน้อย เพียงใดส่วนใหญ่มีความเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.90 โดยรวม ความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามการติดตามผลการให้บริการความรู้ ณ วันทีไป ทําการสอน ตามโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก มี ค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.60 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ท่านสามารถนําการบันทึกบัญชีมาปรับใช้ในชีวิตประจําวัน ได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4 รองลงมา คือ หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ความรู้ทําให้
  • 24. 24 ท่านสามารถปรับเปลียนพฤติกรรมในการใช้จ่ายได้มากน้อยเพียงใด กับ หลังจากทีนักศึกษาได้ให้ ความรู้ท่านท่านและครอบครัวมีเงินออมเพิมขึนจากเดิมมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.90 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมีค่าเฉลียความเห็นน้อยทีสุด คือ หลังจากทีนักศึกษาได้ ให้ความรู้ท่านได้ตระหนักถึงคุณค่าของเงินมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.10
  • 25. 25 ตารางที 9 แสดงจํานวน ร้อยละ และค่าเฉลียประเมินโครงการ ที รายการ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ ประเมินความรู้เกียวกับบัญชีครัวเรือน 1 หลังจากได้รับความรู้ท่านมี ความเข้าใจในเรืองบัญชี ครัวเรือน จํานวน ร้อยละ 1 10 3 30 6 60 - - - - 3.5 มาก 2 ท่านสามารถบันทึกบัญชี โดยแยกบัญชี รายรับ- รายจ่ายได้ จํานวน ร้อยละ 2 20 2 20 6 60 - - - - 3.6 มาก 3 หลังจากท่านบันทึกบัญชีทํา ให้ท่านรับรู้ยอดเงินคงเหลือ ได้ จํานวน ร้อยละ 2 20 5 50 2 20 1 10 - - 3.8 มาก 4 ท่านสามารถนํายอดเงิน คงเหลือไปใช้อนาคตได้ จํานวน ร้อยละ 2 20 4 40 4 40 - - - - 3.8 มาก 5 ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ ไปลงบันทึกบัญชีได้อย่าง ถูกต้อง จํานวน ร้อยละ 1 10 5 50 4 40 - - - - 3.7 มาก รวม จํานวน ร้อยละ 8 16 19 38 22 44 1 2 - - 3.68 มาก ประเมินด้านผู้จัดทําโครงการ 6 ความรู้และเนือหาเกียว เกียวกับบัญชีครัวเรือนของ ผู้จัดทําโครงการทีนําไป สอน จํานวน ร้อยละ 2 20 4 40 4 40 - - - - 3.8 มาก 7 การเตรียมตัวและความ พร้อมของผู้จัดทําโครงการ จํานวน ร้อยละ 4 40 3 30 3 30 - - - - 4.1 มาก
  • 26. 26 ที รายการ ระดับความคิดเห็น 5 4 3 2 1 X ความหมาย ตามเกณฑ์ 8 การรวบรวมข้อมูลของ ผู้จัดทําโครงการมีความ ครบถ้วนสมบูรณ์ จํานวน ร้อยละ 3 30 3 30 4 40 - - - - 3.9 มาก 9 มีการแสดงตัวอย่างการ บัน ทึ ก บัญ ชี แ ล ะ ส รุ ป ยอดเงินคงเหลือได้อย่าง ถูกต้อง จํานวน ร้อยละ 3 30 2 20 5 50 - - - - 3.8 มาก 10 สามารถอธิบายเนือหาได้ ชัดเจนและตรงประเด็น จํานวน ร้อยละ 3 30 3 30 4 40 - - - - 3.9 มาก รวม จํานวน ร้อยละ 15 30 15 30 20 40 - - - - 3.9 มาก ประเมินด้านประโยชน์ทีได้รับหลังจากทําการบันทึกบัญชี 11 ท่านสามารถบันทึกบัญชี รายรับ-รายจ่ายด้วยตนเอง ได้ จํานวน ร้อยละ 6 60 3 30 1 10 - - - - 4.5 มากทีสุด 12 ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ ไปเผยแพร่ในครอบครัวได้ จํานวน ร้อยละ 3 30 - - 3 30 - - 4 40 2.8 ปาน กลาง 13 ทําให้ท่านทราบยอดเงิน คงเหลือได้ง่ายและสะดวก จํานวน ร้อยละ 3 30 5 50 - - 2 20 - - 3.9 มาก 14 ท่านสามารถลดค่าใช้จ่ายที ฟุ่มเฟือยได้ จํานวน ร้อยละ 5 50 1 10 4 40 - - - - 4.1 มาก 15 ทําให้ท่านปรับเปลียน พฤติกรรมการใช้จ่ายเงินได้ อย่างละเอียดรอบคอบ จํานวน ร้อยละ 6 60 - - 2 20 - - 2 20 3.8 มาก รวม จํานวน ร้อยละ 23 46 9 18 10 20 2 4 6 12 3.82 มาก รวมทังหมด จํานวน ร้อยละ 46 30.67 43 28.67 52 34.67 3 2 6 4 3.8 มาก
  • 27. 27 จากตารางที 9 พบว่าความเห็นหลังการรับบริการความรู้ของผู้ตอบแบบสอบถามมีดังนี ประเมินความรู้เกียวกับบัญชีครัวเรือน 1. หลังจากได้รับความรู้ท่านมีความเข้าใจในเรืองบัญชีครัวเรือน ส่วนใหญ่มีความคิดเห็น อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 70 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.5 2. ท่านสามารถบันทึกบัญชีโดยแยกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 72 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.6 3. หลังจากท่านบันทึกบัญชีทําให้ท่านรับรู้ยอดเงินคงเหลือได้ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8 4. ท่านสามารถนํายอดเงินคงเหลือไปใช้อนาคตได้ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8 5. ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปลงบันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้อง ส่วนใหญ่มีความคิดเห็น อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 74 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.7 โดยรวมความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผลโครงการบริการบัญชีครัวเรือน หมู่6 บ้านไร่ ต.ท่าทอง อ.เมือง จ.พิษณุโลก ประเมินความรู้เกียวกับบัญชีครัวเรือนมีค่าเฉลียของ ความเห็นเท่ากับ 3.68 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีค่าเฉลียความเห็นมากทีสุด ได้แก่ หลังจากท่านบันทึกบัญชีทําให้ท่านรับรู้ยอดเงินคงเหลือได้ กับ ท่านสามารถนํายอดเงินคงเหลือ ไปใช้อนาคตได้ โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.8 รองลงมา คือ ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปลงบันทึก บัญชีได้อย่างถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 3.7 ส่วนรายการทีผู้ตอบแบบสอบถามมีค่าเฉลีย ความเห็นน้อยทีสุด คือ หลังจากได้รับความรู้ท่านมีความเข้าใจในเรืองบัญชีครัวเรือน โดยมี ค่าเฉลียเท่ากับ 3.5 ประเมินด้านผู้จัดทํา 6. ความรู้และเนือหาเกียวเกียวกับบัญชีครัวเรือนของผู้จัดทําโครงการทีนําไปสอน ส่วน ใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8 7. การเตรียมตัวและความพร้อมของผู้จัดทําโครงการ ส่วนใหญ่มีความคิดเห็นอยู่ใน ระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 82 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 4.1 8. การรวบรวมข้อมูลของผู้จัดทําโครงการมีความครบถ้วนสมบูรณ์ ส่วนใหญ่มีความ คิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 78 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.9 9. มีการแสดงตัวอย่างการบันทึกบัญชีและสรุปยอดเงินคงเหลือได้อย่างถูกต้อง ส่วนใหญ่ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 76 โดยค่าเฉลียของความเห็นเท่ากับ 3.8